The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ไผ่เพื่อชีวิต

ไผ่เพื่อชีวิต

คาํ นํา 

“ไผเ พอื่ ชวี ิต” จดั ทําขน้ึ เพอื่ ใชก บั กลมุ เปา หมายท่ ี
เปนประชาชนทั่วไป   นักเรียน   นิสิต   นักศึกษา   ซึ่ง 
เกย่ี วขอ งโดยตรงกบั สภาพแวดลอ มซงี่ นบั วนั จะมปี า ไมใ น 
ธรรมชาตลิ ดลง  ไผเปนไมท ีจ่ ะชวยรกั ษาสมดลุ ธรรมชาต ิ
ใหก ลับคืนมาได   นอกจากน้ไี ผยังกอ ใหเกดิ ผลตอบแทน 
เชิงเศรษฐกิจอยา งมาก 

ศู น ย ก าร ศึ ก ษาน อ ก โ ร ง เ รี ย น ภาค ตะ วั น อ อ ก 
หวังเปนอยางย่ิ งวา  ชุดวิชาการศึกษาตามอัธยาศัย 
ชุ ด น้ี จ ะ เ ป น ป ร ะ โ ย ช น ต อ ผู ท่ี ส น ใ น ทั่ ว ไ ป 
และขอขอบคุ ณคณะกรรมการจั ดทําชุ ดวิ ชาและ 
ค ณ ะก ร ร ม กา ร พั ฒ น า แ ละ ป รั บป รุ งห ลั ก สู ต ร 
ทรี่ วมดาํ เนินการ จดั ทาํ ชดุ วิชาชุดนไ้ี ว  ณ  โอกาสน ี้

ศูนยก ารศกึ ษานอกโรงเรียนภาคตะวันออก

สารบญั  

หนา  
คําแนะนาํ การอานและการเรยี น ............................................................ก 
ทดสอบตนเองกอ นเรยี น ........................................................................ข 
โครงสรา งชุดวิชา...................................................................................ค 
ตอนที ่ 1 ไผส รา งสภาพแวดลอมใหด ีไดอ ยา งไร ................................. 1 
ตอนที ่ 2  ไผป ระดับกบั การสรา งสเี ขียว ............................................. 14 
ตอนท ่ี 3  ชนดิ ของไผทน่ี า สนใจ เพื่อปลูกเปนการคา ....................... 25 
ตอนที ่ 4  สวนไผเ ศรษฐกจิ สรางชีวิตสรางธรรมชาติ ........................ 36 
ตอนที่  5  แหลง ผลิตผลติ ภณั ฑไ มไ ผข องเมอื งไทย............................ 47 
ภาคผนวก  ......................................................................................... 58 

-  กจิ กรรมตอนท ่ี 1 ....................................................................... 58 
-  กจิ กรรมตอนท ี่ 2 ....................................................................... 58 
-  กจิ กรรมตอนที ่ 3 ....................................................................... 59 
-  กจิ กรรมตอนท ่ี 4 ....................................................................... 60 
-  กจิ กรรมตอนที่  5 ....................................................................... 60 
เฉลยแบบทดสอบตนเองกอนเรยี น...................................................... 61 
เฉลยกจิ กรรม........................................................................................ 61 
รายการอางอิง ....................................................................................... 63

ไผเ พอ่ื ชวี ติ ก 

คําแนะนาํ การอา น 

1.  ชุดวิชานี้ เปนชุดวิชาการศึกษาตามอัธยาศัย 
ที่ ผู อานจะตองศึกษาดวยตนเอง    ซ่ึ งประกอบดวย 
โครงสรางชุดวชิ า  เนอ้ื หา  จาํ นวน  5 ตอน  และภาคผนวก 
ซ่งึ ประกอบดวย กิจกรรมการเรยี น  เฉลยแบบทดสอบตนเอง 
กอ นเรยี น  และเฉลยกิจกรรม 

2.  ใหผูอาน    อานและทําความเขาใจโครงสราง 
ชดุ วชิ า  โครงสรางตอนโดยละเอียด  แลวจงึ อา นรายละเอยี ด 
เนื้อหาตอนที ่ 1  ถงึ ตอนที่  5  ตามลําดบั  

3.  ผูอานทํากิจกรรมหลังจากศึกษาเนื้อหาทั้ง  5 
ตอน เพื่อทดสอบความเขา ใจของเนอื้ หา 

ไผเพอื่ ชวี ิต ข 

แบบทดสอบตนเองกอนเรยี น 

“ทานรจู กั ไมไผม ากนอ ยเพยี งใด” 

ใหผ ูเ รยี นทําเครื่องหมาย üลงในชอ ง          ในขอ ทถ่ี ูกและทําเครือ่ งหมาย
û ลงใน ชองในขอทีผ่ ดิ  

1.  ไผเปน พชื ตระกลู หญา ทมี่ ขี นาดใหญท ี่สดุ ในโลก 
2.  ไผเ ปน พืชทีม่ รี ากแกวท่ีแขง็ แรง 
3.  ไผจะชว ยเพิ่มพนู ความอดุ มสมบรู ณข องดนิ   ถา ปลูกไผ 
4.  ความชุมชืน้ ในสิ่งแวดลอม  เปนผลมาจากการปลูกไผจ ํานวนมาก ๆ ได 
5.  จงั หวดั ปราจีนบุรีมีพ้นื ทปี่ ลกู ไผนับแสนไร 
6.  ไผเ ปนพืชท่ีไมส ามารถนาํ มาปลกู ตกแตง เพอ่ื ความสวยงามของสภานทไ่ี ด 
7.  ไผเลีย้ งเปนไผทีไ่ มเ หมาะสมตอการทาํ เคร่อื งใชในชวี ติ ประจาํ วนั  
8.  ทกุ สวนของตน ไผส ามารถนาํ มาใชป ระโยชนได 
9. ไผต งเปนไผท ่นี ยิ มปลูกเพ่อื เอาหนอ มาบรโิ ภคและเอาลําตน มาใชป ระโยชน 
10.  มีวิธขี ยายพันธไุ ผโ ดยการนําหนอ มาปลูกเทานัน้  

ไผเพอื่ ชีวิต ค 

โครงสรา งชดุ วชิ า 

ไผเ พ่อื ชวี ติ  

สาระสําคัญ 

นบั วนั ปา ไมใ นธรรมชาตมิ จี ํานวนลดลงซง่ึ สง ผลโดยตรงตอ สภาพ    แวดลอ มใน 
ทางลบ ไผไดรับการยอมรับวา  เปน ไมทช่ี วยปรับสภาพแวดลอ มใหด ีข้ึน ขณะเดยี วกัน 
มีประโยชนใ นการใชสอยทําไดส ารพดั อยาง ตง้ั แตห นอ ออ น ไปถงึ ตน แก  และรากเหงา 

จุดประสงค 

เม่อื ศึกษาชุดวชิ านี้แลว ผเู รยี นสามารถ 
1. อธิบายประโยชนข องไผในการสรางสงิ่ แวดลอมท่ดี ขี ้ึนได 
2. อธิบายชนิดของไผท ป่ี ลกู ประดับเพ่อื ความสวยงามได 
3. อธิบายชนิดของไผท่มี ีการปลกู เล้ียงในเชงิ เศรษฐกจิ ได 
4. อธิบายสวนไผท ่มี กี ารปลกู เลี้ยงในเชิงเศรษฐกิจได 
5. อธิบายการใชประโยชนจากไมไ ผได 

ขอบขายเนื้อหา 

1. ไผสรา งสภาพแวดลอมใหดไี ดอ ยา งไร 
2. ไผป ระดับกับการสรางสเี ขียว 
3. ชนดิ ของไผท ่นี า สนใจ เพื่อปลูกเปนการคา 
4. สวนไผเศรษฐกจิ  สรางชีวิตสรางธรรมชาต ิ
5. แหลงผลติ  ผลิตภัณฑไ มไผข องเมืองไทย 

ตอนที่ 1 

ไผสรางสภาพแวดลอมใหดีไดอยางไร 

สาระสําคัญ 

ไผเปนไมท่ี พบอยู ตามธรรมชาติ  จุดท่ี ไผขึ้ นอยู บงบอกความอุดมสมบูรณ 
ของทองถิ่นไดด ี สถานการณปจจุบนั พ้ืนที่ปาคลอง มีการนําไผม าปลูกเพื่อสรางสภาพ 
แวดลอ ม และการใชสอย 

จุดประสงคการเรยี นร ู

1.  อธิบายประโยชนของไผท ีม่ ตี อ สิง่ แวดลอ มได 
2.  อธิบายขอแตกตา งระหวางพื้นท่ีวางเปลาและพ้ืนท่ีปลูกไผได 

ขอบขายเนื้อหา 

ประโยชนของไผท มี่ ตี อส่ิงแวดลอม

ไผเ พอื่ ชวี ติ   2 

ตอนท่ี 1 

ไผสรางสภาพแวดลอมใหดีไดอยางไร 

เมื่อกอนเมอื งไทยมพี ื้นทปี่ ามากมายมหาศาล จนมคี วามหวาดกลัวกัน อยา งเชน  
ปา ดงพญาเยน็  เมอื่ กอ นเปน ปารกชฎั มาก อนั ตรายจากสงิ สาราสตั ว รวมทงั้ พษิ ไขมาลาเรยี  
เหตุท่ีเปนอยางท่ีกลาวมา  เพราะปาสมบูรณ  เหมาะตอการอยูอาศัยของยุงรวมท้ัง 
สัตวปาอ่ืนๆ คนสวนหน่ึงจึงมีความเขาใจวา  ตองทําลายเทานั้น จึงจะอยูอยางรอด 
ปลอดภัยได 

ภาพ  ปาเขาระยะไกล  ทอี่ ุดมสมบูรณ 

ปจจบุ นั ปา ดงพญาเยน็ โลน  แลง  จนถือเปนตํานานไปแลว  แนะนาํ ตรงนส้ี ักเลก็  
นอย ก็ได ปาดงพญาเย็น พน้ื ท่สี วนใหญอ ยใู นจงั หวดั นครราชสีมา แถบอาํ เภอปากชอง 
ตอกับจังหวัดสระบุรี  ผูคนไดอาศัยพ้ืนดินทําการเกษตร  ซึ่งก็ประสบผลสําเร็จด ี
มีการปลูกพืชไดอ ยางกวา งขวาง ตงั้ แตพชื ทวั่ ไป จนถึงไมเมอื งรอนอยางเงาะและทเุ รยี น 

การยอ นคนื สอู ดตี ของดงพญาเยน็  คงเปน ไดแ ตเ พยี งตาํ นาน ทเี่ ลา ขานกนั  เทา นนั้  
เพราะทุกส่ิ งทุกอยางเปล่ี ยนไปมาก  หรือหากอยากจะสัมผัสบรรยากาศใกล 
เคียงก็ที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ  พ้ื นที่บริเวณนั้นยังคงสภาพใกลเคียงกับอดีตหลาย 
สิง่ หลายอยา งมปี ระกอบกนั  เปนองคป ระกอบที่สมบรู ณ 

เปนท่ียอมรับกันวาภัยแลง  และภัยธรรมชาติตาง  ๆ  ท่ีเกิดข้ึนอยูทุกวันน้ี 
เกิดจากการทําลายปาเปนสาเหตุหลัก  เปรียบเทียบไดงายๆ  ระหวางผืนดินกับ 
รางกายของคน

ไผเ พอ่ื ชวี ติ   3 

ผนื ดนิ ทม่ี ตี น ไมใ บหญา ขนึ้ อย ูยามฝนตกลงมา นา้ํ คอ ย ๆ ไหล  ไมไ หลบา  รนุ แรง 

การเกิดนํ้าทวมอยางฉับพลันจึงมีนอย  ผืนดินท่ีมีปาคลุมก็เชนกัน  เม่ือแดดสอง 

แสงกวาจะรอดสูพ้ื นดินได  ตองผานตนไม  โอกาสที่ดินจะไดรับความรอนอยางรุน 

แรงจึงมีนอ ย 

ปาอดุ มสมบรู ณ 

ตัวคนเราหากเปลือยรางกายรับแสงแดด  รางกายมีโอกาสรอนกวาท่ีใสเส้ือผา 
กรณีฝนตก  หากถอดเสื้อนํ้าฝนท่ีตกใสรางกายไมมีน้ําหลงเหลืออยูเลย  ขณะท่ีใสเสื้อ 
โอกาสที่ถกู ซับดวยเสอ้ื ผา มมี าก  ดังนน้ั   ผนื ดินทม่ี ปี า  ยอมดกี วา ผนื ดนิ ที่ไมม ปี า  

แตเหตุที่ปาไมบ านเราถูกทาํ ลายมากๆ  เปนเพราะความตองการใชประโยชน 
จากตนไม รวมทั้งนําที่ดินมาใชเพ่ือการเกษตรกรรม เปนเพราะทราบสาเหตุวาทาํ ไม 
เกิดความแหงแลง      และจะแกไขอยางไร  จึงมีความสนใจปลูกตนไมอยางจริงจัง 
ปลกู ตน ไมเ พอ่ื ใหเ กิดปา 

ความหลากหลายของต นไม ในบ านเรามีอยู มาก  ที่ สามารถนํามาปลู กเพื่ อ 
ความรม เย็นได ชนดิ ของไมที่ปลกู อาจจะปลูกแลว ไมสามารถตดั ฟนมาใชป ระโยชนไ ด 
เพราะไมมีความเหมาะสม  หรืออยู ในเขตของทางราชการ  แตตนไมสวนหน่ึ ง 
สามารถตัดมาใชใ นเชิงเศรษฐกจิ  เรยี กวาไดประโยชนส องทาง 

ไมอาจปฏิเสธไดวา  ไผเปนพืชที่สารพัดประโยชน  ทั้งน้ีเพราะไผสามารถ 
ใชประโยชนในแงของการปลูกเพ่ือสรางความชุมชื้น  สรางสภาพแวดลอม รวมทั้ง 
นําตน ไผท ่ีปลูกมาใชใ นเชิงอตุ สาหกรรมได

ไผเ พอื่ ชวี ติ   4 

เมืองไทยเรารูคุณคาของตนไผมานานแลว  จึงมีการปลูกสรางในรูปของ 

การรวบรวมพันธุ   เปนแปลงใหผูสนใจไดศึกษาหาความรู  ขณะเดียวกันเอกชน 

ไดป ลกู ไผเพื่อการคาเปนแปลงใหญๆ ตา งประเทศก็ใหความสําคญั เชนกนั  

ม.ล.จารุพันธ  ทองแถม  แหงภาควิชาพืชสวนคณะเกษตรมหาวิทยาลัย 

เกษตรศาสตร  บอกวา  ที่ฮาวาย  สหรัฐอเมริกา  เม่ือกอนปลูกสับปะรดและออยกันมาก 

ขณะน้ี หันมาปลูกไผและศึกษาเร่ื องไผอยางจริงจัง    และฟลิปนสรู จักใชประโยชน 

จากไมไผอยางจริงจังมานานแลว  ถือวาเปนชาติหน่ึ งท่ี เขาใจพืชชนิดน้ี ด ี

ประเทศไทยเราไมนอยหนาตางชาติ  เพราะหลังจากการตัดไมทําไดลําบากมากขึ้ น 

ตน ไผก ็ถ่ กู หยบิ ยกข้ึนมาพิจารณาเปนพืชระดับนาํ  

ไผสรางส่งิ แวดลอ มอยางไร 
ไผอาจจะมีลักษณะทางพฤกษศาสตรตางจากพืชชนิดอื่ น  ตรงท่ี ลําตนมี 
ขอปลอง  กลางปลองกลวง  กระน้ันก็ตาม คุณสมบัติอื่นๆ  ไผเหมือนกับพืชทั่วไป 
ในแงของการรักษาส่ิงแวดลอ ม 
ไผเ ปน พชื ตระกลู หญาทม่ี ขี นาดใหญท ่สี ุดในโลก พจิ ารณาดทู ร่ี าก ไผม  ี รากฝอย 
ถักสานกันไปมาในดิน ชวยใหดินลดการพังทะลาย สังเกตุวา ภูเขาหินปูนท่ีโครงสราง 
ของดินไมเกาะตัวกันแนนนัก  แตเมื่ อมีไผขึ้ นอยู อยางหนาแนน  รากไผจะชวย 
ยึดดนิ ใหแ ขง็ แรงรวมตวั กันอยูได  เปน ตัวอยางท่ีเหน็ ไดช ัดเจน 
ปา ไผ  ทาํ ใหด นิ อดุ มสมบรู ณ    จากประสบการณข องเกษตรกร บรเิ วณใดทตี่ น ไผ 
ขนึ้ อยูอ ยางหนาแนน ดนิ บรเิ วณนน้ั จะอดุ มสมบรู ณ   การหกั ลางถางพง เพือ่ นําพน้ื ทมี่ าใช 
ในการเกษตรจะไมผิดหวังแตอ ยา งใด ทแ่ี นะนําอยางน้ ี ไมไ ดสงเสริมใหมีการตดั ตน ไม 
เพียงแตอยากบอกใหท ราบเทา นนั้ เอง 

ปา ไผ

ไผเ พอ่ื ชีวติ   5 

พนื้ ทร่ี มิ น้าํ  สวนใหญจะพบไผปา ทม่ี ีลาํ สีเขียวขนาดใหญขึ้นอยู    ดนิ บริเวณท ่ี

ไผปาข้ึนอยู  ถือวาเปนดินดีมากทีเดียว        หากพื้นที่เปล่ียนไป  เปนที่สูงข้ึนเปนเนิน 
ชนิดของไผที่พบก็จะเปล่ียนไปดวย      ไผจึงบงบอกสภาพแวดลอมของถิ่นน้ันๆ  ไดด ี

คนที่เดนิ ปาบอย ๆ จะรเู ลยวา ดนิ ตรงไหนดไี มด ี เพราะมชี นดิ ของไผเ ปนตัวบง บอก 

กอไผร ิมนํา้

มีการนาํ ไผเขาไปปลูกแถบอีสานเหนือ อยางจังหวัดนครพนมและหนองคาย 
เปนแปลงใหญ  ๆ  ท้ังน้ีผูสงเสริมใหเกษตรกรปลูก      ตองการสรางธรรมชาติใหดีข้ึน 
ผลท่ี เกิดตามมานั้ นแนนอนเขาตองการตัดฟนผลผลิตเขาโรงงานอุตสาหกรรม 
ทําเยอื่ กระดาษ แตผ ลการดาํ เนนิ การไมประสบผลสาํ เรจ็ มากนกั  เนอ่ื งจากไผเ กดิ ตายขยุ ลง 
จํานวนมาก 

การปลูกตน ไผล งเปนแปลงขนาดใหญ หรอื อาจจะปลกู ขนาดไมมากนกั ก็ตาม 
จะชวยสรางสภาพแวดลอมใหดีข้ึนอยางแนนอน  เร่ิมจากท่ีตนไผคอยปกคลุมผืนดิน 
ลดการถูกกระทบจากดวงอาทติ ยโ ดยตรงของดนิ    ความรอนที่ดินจะระเหยขึน้ สูท องฟา 
จงึ ลดนอ ยลงหรอื ไมมี    ความชนื้ จงึ ยงั คงอย ู    สง่ิ ทต่ี น ไผชว ยได ในเร่ืองของความชนื้ คอื  
ใบไผ รวมทั้งตนท่ีเปนกลุมกอ   ตามปาที่มีความสมบูรณ  ไมวาจะเปนเขตรักษาพันธุ 
สัตวปา หว ยขาแขง  บริเวณนน้ั ปา ไผอดุ มสมบรู ณ    พน้ื ดนิ ดชู ุม ชนื้    น้ําทไี่ หลตามหวยบาง 
สายไมเ คยเหือดแหง  และใสสะอาดตลอดท้งั ป 

การปลูกไผเพื่อการบริโภค  ชวยใหคนมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น  รวมทั้งรบกวน 
สง่ิ แวดลอ มนอย     เปนทยี่ อมรบั กนั วา ไผท่ีปลกู เพ่อื การบรโิ ภคหนอนัน้    ไผต งเปนไผ 
ทป่ี ลกู มากทสี่ ดุ      ปจจัยทใี่ สใ หก บั ตน ไผต งเปน เรอื่ งของปยุ คอกปยุ หมกั   ศตั รทู จ่ี ะทําลาย 

ไผเ พอื่ ชีวติ   6 

แทบมองไมเห็น  จึงไมมีการใชสารกําจัดศัตรูพืชประเภทสารกําจัดแมลงศัตรูพืชใน 

การปลูกไผเพ่ือนําหนอมาบริโภคแตอยางใด       ดังน้ัน   คนบริโภคอาหารจากไผ 

จึงปลอดภัยไรกังวล  พืชอื่ นท่ีมีการใชสารเคมีกําจัดแมลงศัตรูพืชน้ั น  บางครั้งอาจม ี

สารเคมหี ลงเหลือ  และไหลลงสูลาํ คลอง มีผลตกคา งยาวนาน 

สวนหนึง่ ชาวบานเก็บผลผลิตไผจ ากปามาบริโภค  เชน  ไผไร  หนอไผไ รน ้ัน 

มีการบริโภคกันอยางกวางขวาง  ทางภาคอีสานบางจังหวัด  และภาคเหนือ  ถือวา 

เปน อาหาร ที่ไมเ ปนอนั ตราย เนื่องจากเกบ็ ผลผลิตไดจ ากปา โดยตรง 

หนอไมไ ผใ ตโคนกอไผ 

ไผชวยเพิ่ มพูนความอุดมสมบูรณของดิน  แตละปใบไผรวงหลนลงพ้ื นดิน 
มากมายมหาศาล ใบไผท ที่ บั ถมกนั  กลายเปน ปยุ ชน้ั ด ี ชว ยปรบั โครงสรางของดนิ  ใหดขี นึ้  
สง่ิ ทพ่ี สิ จู นไ ด   คอื   ดนิ ขยุ ไผ  มกั จะมกี ารซอ้ื หาดนิ ขยุ ไผไ ปปลกู ตน ไม   ประเภทไมก ระถาง 
อยเู สมอ 

โดยรวมแลว  หากมกี ารรณรงคปลกู ตนไผใ หม ากๆ ไมว า จะวตั ถปุ ระสงค  อนั ใด 
เชน  เพ่ืออุตสาหกรรม เพือ่ การบริโภคหนอตนไผก็จะชว ยใหสง่ิ แวดลอมในบา นเมือง 
เราดีขึ้น 

ไผเล้ียงสรางพืน้ ดนิ ดี ทป่ี ระจันตคาม 
พื้นท่ีของจังหวัดปราจีนบุรีน้ันกวางใหญไพศาลมาก คิดดูก็แลวกัน  ตัอง 
แยกพื้นที่ สวนหน่ึงไปเปนจังหวัดสระแกว  เพราะพื้นท่ีกวางใหญ งานปลูกพืชจึง 
มีหลากหลาย  ท่ีอําเภอเมือง  จังหวัดปราจีนบุรี  ปลูกพืชเมืองรอน  อยางเงาะทุเรียนได 
แตอ ําเภออ่ืน อยา งนาดี ปลูกทเุ รียนไมค อยประสบผลสาํ เรจ็ นัก

ไผเ พอ่ื ชีวติ   7 

ความหลายหลาย  สวนหนึ่งดินเปนตัวบอช้ีไดดี  ท่ีหม ู 5  ตําบลคําโตนด 

อําเภอประจนั ตคาม จงั หวดั ปราจนี บรุ ี มีท่ีดนิ เปน โคกสงู  ไรค นเหลียวแล สภาพท่วั  ๆ ไป 

เปน ทโี่ ลน แลง  โครงสรางของดินเปน หนิ กรวด ทีบ่ รเิ วณดงั กลา วอยกู อ น ถงึ หมทู ี่ 5 

พื้นทีท่ ี่แนะนาํ  คอื   อําเภอประจันตคาม ไปทางอาํ เภอกบนิ ทรบ รุ  ี ประมาณ  5 

กโิ ลเมตร  อยูไมต ดิ ถนนใหญ  ตอ งเลี้ยวซา ยเขา ไป ฟง จากคําบอกเลาแลว นกึ ภาพ เมื่อ 20 

ปกอนออก  เพราะบริเวณใดที่ ปลอยใหรกราง  บริเวณน้ั นขนาดตนไมไมสูงนัก 

แตบริเวณใดที่ปลกู ตน ไม  ความเขียวขจมี ีอยอู ยางชัดเจน 

ภาพ ทางเขา หมทู ่ี 5 ต. คําโตนด อ. กบินทรบ ุรี จ. ปราจีนบรุ  ี

นางเกตุ ทุมมี ชาวบานอยูบานเลขท ่ี 25  หม ู 5  ตําบลคําโตนด เปนผูหนึ่ง 
ที่ ถือครองที่ ดิน  ซ่ึ งเม่ื อกอนมีกิตติศัพทในเร่ื องของความแหงแลง  แตปจจุบัน 
ท่ีบริเวณน้ันกลับชุมเย็น  มีตนไผเล้ียงข้ึนเปนดง  นอกจากพ้ืนที่ปลูกของนางเกตุแลว 
ยงั มขี องเพ่อื นบา น ปลกู ตามอยางกนั  รวมเปนแปลงขนาดใหญ 

นางเกตุเลาวา  บรรพบุรุษของตนเอง  มีท่ีดินอยูหลายสวนดวยกัน  สวนหน่ึง 
เปนที่นา  อยูบริเวณท่ีราบลุม  สวนหนึ่งท่ีสูง เปนเนินกอนเขาหมูบาน  บริเวณเนิน 
กอ นเขา หมบู า นไมไดใชป ระโยชนอ ะไรแลว ก็ไมค อยมีใครคิดอยากใช

ไผเ พอ่ื ชีวติ   8 

จนกระทั่งอยูมาวันหนึ่งบรรพบุรุษของนางเกตุไดนําไผเล้ียงลงปลูกบริเวณท ี่
ดอนจํานวนไมมากนักชวงแรกท่ีปลูกเพื่อนบานไมคอยมีความมั่นใจนัก  วาส่ิงที่ทาํ  
ลงไปนน้ั จะไดผ ล กระนั้นกต็ าม ผูปลกู ไมไดทอ แท  แตมุงม่ันดแู ลตนไผอ ยา งสมาํ่ เสมอ 
ไมใหวัวควายเขาไปแทะเล็ม  หน่ึงปผานไปไผเริ่มแตกหนอ  สองป  ผานไปไผเร่ิมกอ 
ใหญข ึ้น จนถึงปท ่ี 6-7  ไผข ยายกอมลี ําขนาดใหญ อยา งกบั ทน่ี ําตน พันธมุ าสรา งความ 
ภูมิใจใหก บั เจาของเปนอยา งมาก จึงมีการขยายออกปลูกเพม่ิ เติม แรกๆ เจาของนาํ ไมม า 
ใชประโยชนเ อง เชน   ทาํ รัว้    ทาํ เครอื่ งใชตา ง ๆ   ตนพันธุก็ไมตอ งซ้อื ตอ งหาขอกันปลูก 

ภาพ หนอ ไผเ ลี้ยง

ไผเ พอื่ ชวี ติ   9 

ภาพ การเจรญิ เติบโตของไผเ ลย้ี ง 

เวลาผา นไปชวงหน่ึง ผูคนเห็นดีเห็นงามดวย จึงมีการขยายพ้ืนที่ปลูกมากข้ึน 
ขณะเดยี วกัน การใชไมม ีความตองการเพมิ่ ขึน้  จึงมีการซอ้ื ขาย  การซ้ือขายนเี่ องสงผลให 
การปลกู เปน การคาจรงิ  ๆ 

ภาพ ลาํ ไผม ีเนื้อหนา

ไผเ พอื่ ชวี ติ   10 

ภาพ  การปลกู ไผชว ยสรางส่งิ แวดลอ มที่ด ี

จากพื้นท่ีเคยแหงแลงบริเวณท่ีดอนเม่ือปลูกไผมากข้ึนความชุมเย็นกลับมา 
มอี ยางนาอศั จรรยใจยิ่ง มีพน้ื ท่ีบางสว นที่หลงเหลืออยู  เกษตรกรไดน ําขนนุ เขา ไปปลูก 
นาํ กระทอ นเขา ไปปลกู  ปรากฎวางอกงาม ท้ัง ๆ ทีเ่ ม่อื กอ นทาํ ไมได     ขนนุ  รวมถงึ ผลไม 
ชนดิ อ่นื ทป่ี ลูกใกลกับปา ไผ     ไดรสชาตทิ ี่ด ี การดแู ลรักษาไมตองมีมาก   ชาวบานบริเวณ 
น้นั บอกวา  ชวงแลงราวเดือนมีนาคม  เมษายน  เดินเขา ไปยงั ปา ไผ  รสู ึกเยน็ สบายดี  สวน 
หนาฝนนน้ั ไมตอ งหวง เย็นยะเยอื กอยูแลว เหตุท่ีความชุมชน้ื มีขึ้นนั้น เปน ผลมาจากไผ 
ทปี่ ลกู ไวหลายหมนื่ หลาย แสนลํา 

นางเกตบุ อกวา  การปลกู ไผเ ลยี้ ง ไมต องเอาใจใสเ ปนพเิ ศษมากนกั    ดแู ลครงั้ แรก 
เมื่ อรอดตายก็ปลอยตามธรรมชาติอาจจะใหปุ ยคอกบาง  เรื่ องของวัชพืชก็ไมมี 
เมอ่ื การปลกู ผา นพนไปแลว 3 ป  พ้นื ดนิ ดา นลางเปนทีโ่ ลงเตยี น 

ภาพ 
หนอไผนาํ มาปรงุ อาหารโดยทเ่ี ปน พืลผักอนามัย 

ปลอดภัยจากสารพษิ

ไผเ พอ่ื ชีวติ   11 

ประโยชนจากไผเลี้ ยง  หนอนํามาปรุงอาหารไดอรอย  แตไมคอยนิยม 

เพราะลาํ ขายไดราคาดีกวา 

ภาพ  ไผเลีย้ งอายุยงั ไมถงึ ป 

หากปลูกกันตามแบบชาวบาน  จํานวนตนตอไร  อาจจะมีขอจํากัด  แตหาก 
เปน ทางวชิ าการแลว  ใชระยะระหวา งตน  ระหวางแถว 4 x 4 เมตร พืน้ ท่ี 1 ไร   ปลกู ไดร าว 
100 ตน  

ระยะเวลาปลกู ผา นไป 3 ป เจา ของสามารถตัดสางตน ที่มขี นาดเล็กและอายุมาก 
ออกขายได  แตราคาไมแพงจนถึงปท ี่ 7  การตัดเกี่ยวผลผลิตจึงทําไดเต็มท่ี นางเกตุ 
บอกวาไผที่มีขนาดใหญสุด  ความยาวประมาณ 8 เมตร ขายลาํ ละ 20 บาท  ลาํ ขนาด 
กลางขายลําละ 10 บาท ขนาดเล็กขายลําละ  5  บาท  ขนาดจ๋ิวขายลําละ  3-4  บาท 
ราคาอาจจะมีการขึ้นลงบางแตชวง  การขายเจาของไมตองทําอะไร    เพียงแตคอยนับ 
เม่ือมคี นมาตดั วาตัดไดก่ีลาํ เทา น้ันเอง 

นางเกตุบอกวา ตนเองมพี ้นื ทีป่ ลกู ไผเลี้ยงอยรู าว 40 ไร   ขณะนใ้ี หผ ลผลติ     แลว 
17  ไร  แตล ะปมีเงนิ จากการขายลําไผต้ังแต  40,000-100,000  บาท  เปรียบเทียบกับ

ไผเ พอ่ื ชวี ติ   12 

การปลูกไผตงแลว  ไผเลี้ยงมีรายไดตอไรน อยกวา  แตไผเลี้ยงแทบไมไดลงทุนอะไร 

เลยระหวา งป  ปจจัยการผลิตท่ีใหกบั ตนไผ  เชน    สารกาํ จดั ศตั รพู ืชก็ไมตอ งใชเชน กัน 

ทาํ ใหเ กษตรกรมีความปลอดภยั   มีสุขภาพทด่ี  ี

นางเกตุมีลูก  หลานท่ี ประกอบอาชีพคาขายเปนหลัก    งานเกษตรอยาง 

การปลกู ไผเล้ยี งถือวา เปน ส่งิ ท่เี สริมเขา มาแตก ส็ รา งรายไดเ ปน อยา งดี 

พ้ืนท่ีปลูกไผเล้ียงของอําเภอประจันตคาม    ขณะนี้มีอยูเกือบ  3,000  ไร 

ตลาดอยูกับที่    คือ    มีผูมาซื้อไมตองดิ้นรนไปขายท่ีไหน    บางคร้ังไผไดกําหนด 

เวลาขายแลว  แตไมอ ยากขายหรือเห็นวาราคาไมดี  ไมตองขายกไ็ ด 

งานขยายพนั ธไุ ผเ ลย้ี งนนั้   ทาํ ไดย ากพอสมควร  คอื   ตอ งขดุ ตน ทอ่ี ยรู อบนอกออก 

เม่ือไผอายประมาณ  1 ป     ตอ งคาดคะเนวา  ตนไหนพรอ มจะมหี นอ ใหมออกมา  ขุดตน 

แลวนําลงปลูกเลยจะเกิดตนใหมขึ้นมาภายในปน้ัน    และเติบโตเร็วมากในปตอ  ๆ  มา 

ตน ท่ีไมมีหนอ ขุดปลกู ไดเ ชนกัน แตจะเจรญิ เติบโตชา  

ภาพ  ประโยชนจ ากไผเลยี้ ง 

ใครท่ีแวะเวียนเขาไปยังหมู  5  ตําบลคําโตนด  ทุกวันน้ี  จะมีความรูสึกวา 
ถิ่นน้ันมีความสมบูรณ   มีความชุมเย็น   หมูบานผสมผสานไดดีกับปาไม    ถือวา 
เปน ปาเศรษฐกจิ ทอี่ ยูรวมกบั ชุมชนไดเปน อยางดี

ไผเ พอื่ ชีวติ   13 

ภาพ  คณุ บรรพต  เชอ้ื เพชร  เจาหนา ทเี่ กษตร 
สํานกั งานเกษตรอําเภอประจันตคาม 

ทางเจาหนาท่ีเกษตร   ประจําสํานักงานเกษตรอําเภอประจันตคามรวมท้ัง 
เจาหนาท่ี เกษตรจังหวัดปราจีนบุรี    มีความภูมิใจในส่ิ งท่ี เกิดขึ้ นอยางมาก 
หากมีใครตอ งการศกึ ษาดูงาน  ก็จะพาไปศึกษายังจดุ ดังกลา ว  เพราะถือวาเปนหนาตา 
ของจังหวดั เลยทีเดียว

ไผเ พอื่ ชีวติ   14 

ตอนท ี่ 2 

ไผประดบั กับการสรางสีเขียว 

สาระสําคัญ 

เดิมทีมีความเขาใจวาไผปลูกไดเฉพาะพ้ืนที่กวางใหญเทานั้น   แตปจจุบัน 
สามารถ ปลกู ไดใ นพ้นื ท่จี ํากัดรอบ ๆ บาน ทาํ ใหส รางสเี ขยี วรวมท้งั อาณาบรเิ วณไดดี 

จุดประสงคการเรียนร ู

อธบิ ายไผช นิดตาง ๆ ท่ใี ชประดับพรอมทัง้ วธิ ีการปลูกได 

ขอบขายเน้ือหา 

ชนดิ และประโยชนของไผสวยงาม  วธิ ีปลกู และดแู ลรกั ษา

ไผเ พอ่ื ชวี ติ   15 

ตอนที่ 2 

ไผประดบั กับการสรางสีเขียว 

ไผเ ปน ไมป ระดบั ทมี่ ีความสวยงามมาก  ไผบ างชนดิ ทปี่ ลกู เพอ่ื ผลติ หนอ   และลาํ  
แตสามารถนํามาปลูกประดับไดดี    เปรียบเทียบกับชาติอื่ น  ๆ  แลว    ไทยเรา 
ยังนําไผมาประดับนอ ย  ทัง้ น้ีอาจจะเปนเพราะวา   บา นเรามีไมป ระดบั มากมายใหป ลกู  
รวมท้งั ไผ  อยูคกู บั คนไทยเก่ยี วขอ งกบั ชวี ติ   จนถือเปน เรอ่ื งธรรมดาไป 

แปลงรวมพันธุไผท่ีปราจีนบุรี 

จังหวัดปราจีนบรุ  ี  ขน้ึ ชอ่ื วาเปนเมืองไผ  ท้งั น้ีเพราะไผตงท่ีนน่ั เขาลอื ล่นั มาก 
เมอื่ ป  2527  กรมราชทณั ฑ   กระทรวงมหาดไทย  ไดจัดสรา ง  “สวนพนั ธุไผ 
ปราจนี บรุ ”ี ขนึ้  ซง่ึ ตงั้ อยทู ถ่ี นนสายปราจนี บรุ เี ขาใหญ   หลกั กโิ ลเมตรที่ 10.5 บา นเนินสงู  
ตําบลเนินหอม อําเภอเมือง  จงั หวัดปราจนี บรุ ี วัตถปุ ระสงคของการตั้งสวนพันธุไผก ็
เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รติ์  เนอื่ งในมหามงคลสมยั ทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั  ฯ  ทรงเจริญ 
พระชนมพรรษา  5 รอบ  วันท ่ี 5 ธนั วาคม  2530  และในวโรกาสมหามิ่งมงคลพิธรี ัช 
มังคลาภิเษกวันที ่ 2  กรกฎาคม  2531  วัตถุ ประสงคอยางอื่นก็เพื่อเปนศูนยเผยแพร 
ความรทู างวิชาการ  รวบรวมพนั ธไุ ผ  สวน  ตัวอยาง  และสถานทท่ี องเท่ยี ว

ไผเ พอื่ ชีวติ   16 

ภาพกอไผร วกทีส่ วนพนั ธุไผปราจนี บุรี

สวนพนั ธไุ ผเรม่ิ ดําเนินการเมอื่ ปพ.ศ. 2527 เสรจ็ สิน้ เรียบรอ ย  เมื่อปพ.ศ. 2531 
พน้ื ทขี่ องสวนมีทง้ั หมด  327 ไร    ปลูกพนั ธุไผไ วเกือบ  50 สายพนั ธุ    พ้นื ทก่ี วางใหญ 
นอกจากปลูกไผไวจนเตม็ แลว   สวนหน่ึงเปน อาคารศนู ยวิชาการ  จดั แสดงพิพิธภัณฑไ ผ 
ท่ีเนนเคร่ืองจักสาน เชน  ของใสปลา  หวดนึ่งขาว   และอ่ืน ๆ บางช้ินหาดูไดยาก 
และไมเคยพบเห็นมากอน        สําหรับแปลงปลูกไผนั้นมีการจัดการท่ีดี    ไผท่ีเห็น 
นอกจากชนิด ทปี่ ลกู เพ่อื การศึกษาเร่ืองเศรษฐกจิ แลว   ยงั มีชนิดท่ปี ลูกเพื่อการประดับ 

ใครท่ีสนใจศึกษาเร่ืองไผสามารถเขาไปศึกษาได    หากไมเปนทางการ  ก็ตรง 
ไปไดเลย  หากเปนทางการตอ งการขอ มลู   เปนหมูคณะก็ทําหนงั สือผา นทางอธบิ ดกี รม 
ราชทัณฑ   กระทรวงมหาดไทย  จะไดรบั ความสะดวกสบายทเี ดยี ว 

ไผเ พอื่ ชีวติ   17 

สวนพันธุ ไผ    เปนการรวมพันธุ ไผที่ มีทุกภูมิภาคของประเทศไทยไว 

ใครที่อยากศึกษาวาหนาตาไผท่ีเมืองเหนือเปนอยางไรก็ไปดูได   ใครที่อยากชมไผ 

พื้นท่ีสวนใหญข้ึนอยูในท่ีแหงแลงกันดารก็มีใหศึกษา   เขายอพื้นท่ีศึกษาไผเขาไว 

ในแหลง เดยี วกนั   จึงทนุ เวลาไดอยางดีทเี ดียวใครอยากเขาชม    หรือถามรายละเอียด 

อยา งไมเ ปน ทางการนัก  ติดตอทีโ่ ทรศพั ท (037) 212661 

ตน ไผห าปยุ ไดนอ ยทําใหข นาดของกอไผไมใหญน กั  หากที่จาํ กดั แลวยังปลอ ย 

ใหพ มุ กอของไผมมี าก อาจจะมปี ญ หาภายหลงั   คอื   ตน ไมส มบูรณ  และขาดความสวยงาม 

ภาพลําไผเลีย้ งดใู กล ๆ 

ไผเลี้ยง 

ไผเ ล้ยี งมีลาํ ตน สูงกวา   5 เมตร  เสน ผา ศนู ยก ลางลาํ 1-3 เซนติเมตร     ปลองยาว 
20-30 เซนตเิ มตร  ลําสีเขียวมขี นละเอยี ดสขี าวนวล  ไมม ีหนาม    ใบเลก็ เรยี ว  ขนาดความ 
ยาวประมาณ 8-10 เซนตเิ มตร  กวา ง 1-1.5 เซนติเมตร   กาบหุม ลําสนี ํ้าตาลออนหลุดงาย 

ไผเลี้ยงมีลาํ ตนตรง  ชวงลางไมมีกิ่ง  ลําตนชวงลางจึงดูเกลี้ยงสวย  สวนน้ ี
น่ีเองทีใ่ หความสวยแกผ ูป ลกู  

ไผเลี้ยงเปนไผท่ีมีความมหัศจรรย    ปลูกใหงอกงามในดินดีก็ไดหรือยอสวน 
ใหอยูในพ้ืนท่ีจาํ กัดไดเชนกัน  ในเมืองใหญอยางกรงุ เทพฯ  มีการปลูกไผเล้ียงไวต าม 
หนาบานหรือปลูกในกระถางขนาดใหญก็พบเห็นอยูมาก    และนับวันจะมีความสําคัญ 
มากขึ้น

ไผเ พอ่ื ชีวติ   18 

ไผเลี้ยงเปนไผที่มีความมหัศจรรย    ปลูกใหงอกงามในดินดีก็ไดหรือยอสวน 

ใหอยูในพ้ืนท่ีจํากัดไดเชนกัน  ในเมืองใหญอยางกรงุ เทพฯ  มีการปลูกไผเลี้ยงไวตาม 

หนาบานหรือปลูกในกระถางขนาดใหญก็พบเห็นอยูมาก    และนับวันจะมีความสําคัญ 

มากขึ้น 

ไผเ ลยี้ งปลกู งาย  แตการซื้อตนพนั ธทุ ่ีวางขายอยตู ามรา นขายตนไม     ตอ งเลอื ก 
ตนท่ีผานการชํามานานแลวเทานั้น    เพราะหากเพียงแตชําแลวแตกใบ นําไปปลูก 
อาจจะไมประสบความสาํ เร็จได  พื้นที่ไมก วา งนักก็สามารถปลูกไผเ ล้ยี ง    ขอเพยี งแต 
ตัดแตงใหยามมีหนอข้ึนมา  อยาใหมีหนอมากนัก        ลําตนก็ตัดอยาใหสูงเกินไปให 
สมดุลกันกับพ้ืนท่ี

ไผเ พอื่ ชีวติ   19 

ภาพตน ไผน ํา้ เตา 

ไผนํ้าเตา 

ถือวา เปนไผท่ีปลูกเพื่อการประดบั อยางแทจริง  ปลูกอยทู ั่ว ๆ ไปของบานเรา 
เสนห ของไผช นดิ นอ้ี ยทู ่ขี อ ปลอ ง  ซ่งึ สัน้   โปง ตรงกลาง  แลวก่วิ  ตามขอ  คลา ยผลนํา้ เตา  
ลํามีสเี ขียวเขม   สูงประมาณ  3-4 เมตร  ลาํ ตน สะอาด  ไมมคี าย  แขนงส้ัน  และจะออก 
แขนงเม่ือลําสงู ขึ้นจากพื้นประมาณ  1-5 เมตร   แตกออกเปนแขนงเด่ียว ๆ ใบสเี ขียว 
หนอสเี หลอื ง  ขนหนอสนี าํ้ ตาลแก 

ภาพตนไผน า้ํ เตา

ไผเ พอ่ื ชีวติ   20 

ไผสีทอง 

จัดเปน ไผทีม่ ีความสวยงามมากชนิดหนง่ึ   โดยเฉพาะสขี องลาํ ไผส ีทอง   มีชื่อ 

อยางอืน่ อกี   เชน ไผโ ป  ไผท อง  จดั เปน ไผขนาดเล็กถงึ กลาง  ผิวของลํามีสเี หลืองทอง 

ท้ังลาํ   กาบหุมลาํ ตนมีสีน้าํ ตาลออน  ติดอยูกับลาํ ตนเปนระยะ ๆ ใบยอดกาบ  มีฐาน 

กวา งแตย อดแหลม  ลาํ ตน ตรง 

ไผส ที องมเี น้ือของลาํ บาง  ขนึ้ เปนกอไมแ นน  จะแตกกิ่งเฉพาะสวนยอดของลํา 

ประโยชนของไผสีทอง    นิยมปลูกเพ่ื อการประดับ    สวนหน่ึ งใชทําฝา 

ทําเพดานบาน  ท้ังนเี้ พราะเนือ้ ของลาํ ตนบาง   งายตอการทุบ 

สําหรับการปลูกประดับ    เกษตรกรแถบบางกรวยจะขยายพันธุไผสีทอง 

ปลกู ตามสันรองสวน  ใหตน เจรญิ เตบิ โตเตม็ ท่ีแลว กข็ ุดลอมใหก ับผตู องการ  ยามใดทย่ี งั  

ไมมีใครตองการก็ปลูกลงดินใหแตกหนออยูอยางนั้น    เนื่องจากปลูกในพื้นท่ี  น้ํามาก 

การแตกกอจึงยาวนาน  ไดป รมิ าณของลาํ เร็วขน้ึ ในแตละป  นั่นก็หมายถึงการขายไดเงนิ  
เรว็ เชน กัน 

ไผส ที องผวิ เรยี บสเี หลอื งลวนๆ มีไผที่สใี กลเ คียงกบั ไผส ที องคอื ไผเหลอื ง 

ไผเหลือง  คลา ยกบั ไผสีทอง  แตก ารเกดิ ของลาํ ตน ไมต รงไมคอยเปนระเบยี บ 

ไผเหลืองมีแถบสีเขียวใหญเ ล็กสลับตามความยาวของลํา  เนื้อของปลองคอนขางหนา 

กอแนนทึบกวา ไผสีทองมาก 

ภาพกอไผเ พ็ก

ไผเ พอื่ ชวี ติ   21 

ไผเ พก็   เลก็ แตสวย 

ไผเพ็กบางท่ี เรียกวา  “ไผเพ็ก”  หรือ“หญาเพ็ก”  พ้ื นเพเดิมเขาใจวาอย ู

ใ นประเทศไทยหรือไมก็เวียตนาม  เปนไผขนาดเล็กขยายพันธุโดยใชเหงาหรือไหล 

เชนเดียวกับหญาคา    ขึ้นรวมกันเปนกอ    ทอดไปตามพื้นดิน    ดูคลายหญาแพรก 

ลําตนมีขนาดเสนผาศูนยกลาง  2  เซนติเมตร   สูงกวา  50  เซนติเมตร   ปลองส้ัน 

ขอ ถ่ไี มตรง  คดงอ ใบเล็กเรยี วสีเขียว แกมเหลือง  กวางครึง่ เซนติเมตร  ยาวไมเกนิ   10 

เซนติเมตร  หนอท่ีโผลเหนือดินจะเปนลํา  หนอไมนิยมนํามาบริโภค    แตใชตนทาํ  

ประโยชน  เชน ทาํ ไมเทา  ทําคันเบ็ด หรือไมกท็ าํ คางปลกู พืชผักลมลุก 

ไผป ระดบั   มีแนวโนม ดขี ้นึ  

ไมดอกไมประดับ    เปนปจจัยหนึ่ งท่ี มีความจําเปนสําหรับคนในเมือง 
อาคารบานเรือนมีมากมายข้ึนเพียงใด    ไมประดับจําเปนตองใชมากข้ึนเทาน้ั น 
ไผประดับเปนไมประดับชนิดหนึ่ง   ท่ีมีการปลูกเพื่อการคามากข้ึน   เชน ไผนํ้าเตา 
ไผสที อง  รวมทงั้ ไผเล้ยี ง 

ไผเปนพืชที่มคี วามอดทน  ข้ึนไดด ีในสภาพธรรมชาต ิ  เมื่อนาํ มาปลกู เลีย้ งใน 
เมืองก็ขนึ้ ไดด ีเชน กัน 

ตน ไผ  ใหความรูสึกเปนปา  ทุกวันน้ีคนโหยหาธรรมชาต ิ  การปลกู ตน ไผไ ว 
ใหเปนกอ    ยามลมพัดมีเสียงการเสียดสีของใบไผและของลําตนท่ีเอนไหวไปมา 
จะสามารถดึงบรรยากาศความเปนธรรมชาติมาไดระดับหน่ึง

ไผเ พอ่ื ชวี ติ   22 

ไผประดับมีสวนชวยใหบ รรยากาศดีข้ึน  ขณะเดียวกันก็สรา งใหโลกมีสีเขียว 
เมอื่ ปลกู กนั มาก ๆ กจ็ ะเขยี วคร้ึม  มองไปทางไหนกช็ ่นื ตาชนื่ ใจ 
ไผป ระดบั สรางสเี ขยี ว  สรา งธรรมชาติใหไดไมย งิ่ หยอ นไปกวา พชื อนื่  ๆ  ไผบาง 
ชนดิ ถึงกับมชี ่ือวา   “ไผสรางไพร”

ไผเ พอื่ ชวี ติ   23 

ภาพเบื้องหนา เปน เขาใหญ  ธรรมชาติทมี่ ีไผป าขึน้ อยา งหนาแนน

ไผเ พอ่ื ชวี ติ   24 

ภาพไผเ ลยี้ งปลกู มลี าํ ตนเสมอกัน

ไผเ พอื่ ชีวติ   25 

ตอนที่  3 

ชนดิ ของไผท น่ี า สนใจ  เพอ่ื ปลกู เปน การคา  

สาระสําคัญ 

มีการพัฒนาการปลูกไผนาสนในมากในปจจุบัน    ไผบางชนิดไมนาจะทําเปน 
การคาได  แตก ็ทาํ ไดอยา งดี 

จุดประสงคการเรียนร ู

อธิบาย  ไผชนิดตาง ๆ ทป่ี ลกู ในระดบั เศรษฐกิจได 

ขอบขายเน้ือหา 

การเลอื กชนิดไผแ ละการปลูกไผเ พอ่ื การคา

ไผเ พอ่ื ชีวติ   26 

ตอนที่ 3 

ชนดิ ของไผทน่ี า สนใจ  เพอื่ นํามาปลกู เปนการคา 

ประโยชนของตน ไผน้ันมีมากมายมหาศาล  ปจ จบุ นั ไมในธรรมชาตลิ ดนอ ยลง 
ไผเปน พชื ทีใ่ ชทดแทนไดร ะดับหนึ่ง  หรอื ทดแทนไดใ นงานบางอยาง    ดังนน้ั จึงมกี าร 
ปลูกเล้ียงตนไผกันมาก  เพื่อใชงานหลายแขนงเปนตนวา  ปลูกไผเพื่อนาํ เขาโรงงาน 
กระดาษ  อยา งนเี้ ปนตน

ภาพสิง่ ประดิษฐส วย ๆ งามที่จากไผ 

ไผเ พอ่ื ชีวติ   27 

ในแงของการปลูกเพ่อื นําหนอมาบรโิ ภคก็มมี ากเชนกนั  

ภาพหนอ ไผต งที่ยังเลก็ ๆ อยู 

ภาพเครอื่ งดนตร ี  เครอื่ งใช  ทไี่ ดจากไมไ ผ

ไผเ พอื่ ชวี ติ   28 

ภาพไผตงออกดอก

ไผตง    เปนตนไผท่ีใชประโยชนทั้งแงการใชงาน    เพื่อการอุตสาหกรรม  เย่ือ 
กระดาษ  และปลกู บริโภคหนอกย็ ังไรเทียมทานยากที่ไผชนิดอื่นจะแซงได   อยางไร 
ก็ตาม  ไผต งมีอายขุ ยั ระดับหนึง่   เมือ่ ปลายป  2537  ไผตงตายขุยลง  มากกวา   2.5 แสนไร 
สรา งความเสยี หายแกเกษตรกรเปน อยา งมาก 

ไผตงมีอยู  3 สายพนั ธดุ วยกนั คอื   ไผตงเขียว  ไผตงหน ู  และไผตงดาํ    ไผต งดาํ  
เปนไผท่ีเกษตรกรนิยมปลูกมากท่ีสุด   ลําตนมีเสนผานศูนยกลางประมาณ  9-12 
เซนติเมตร   หรือเสนรอบวงประมาณ  30-40  เซนติเมตร   ผิวลําตนมีสีเขียวอมดํา 
จบั ดูรสู กึ สากมอื   ใบมีขนาดใหญ  เหน็ รองใบชดั เจน  หนอ ตงดาํ   ไดรับความนยิ มสงู สดู  
เพราะคุณภาพดี รสชาติหวาน  เนื้อหนอสีขาวละเอียด น้ําหนักหนอยูระหวาง  3-6 
กโิ ลกรมั  สกี าบหนอ สีนาํ้ ตาลปนดาํ  หรอื ดําอมนวล 

ไมไผ   เปนพืชท่ีมีอายุขัยระดับหน่ึงแลวตายลง   ไผตงอยูในขายน้ีเชนกัน 

จังหวัดปราจีนบุรี    มีการนําไผตงเขามาปลูกกวา  80  ปแลว    โดยนําเขามาจากจีน 
แผน ดนิ ใหญ ไผต งออกดอกเปน กอพรอ ม ๆ กนั ทกุ ลํา  โดยใชร ะยะเวลาในการพฒั นาการ 
ออกดอกมากวา 1 ป  เม่อื ออกดอกแลวกต็ ายลงพรอมกนั   ไผท อี่ อกดอกเหมอื นกับไผตง 
คือไผรวก 

เปนทพี่ สิ ูจนไ ดแ ลววา   การนําตน พนั ธุท่ไี ดจากก่งิ ตนแมทมี่ อี ายุมาก ๆ   มาปลูก 
เมอื่ ตน แมต ายแขนงทไ่ี ดจ ากตน แมกจ็ ะตายตามกนั ดว ย  นักวชิ าการเกษตรรวมทงั้ อาจารย 
ในมหาวิทยาลัยได ศึกษาวิ ธีการขยายพันธุ ไผตง  จนขณะน้ี เปนที่ ยอมรับกันแลววา 
หากมีทุน  มีหอ งปฏิบัตกิ าร  เขานิยมขยายพนั ธโุ ดยการเพาะเลย้ี งเนื้อเยือ่   แตหากเปน 
เกษตรกรขยายพันธุโ ดยการเพาะเมลด็ ดที ี่สุด 

ไผเ พอ่ื ชีวติ   29 

การขยายพันธุโดยการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อน้ัน  เปนการลงทุนที่มากพอสมควร 
ผทู ี่นิยมขยายพันธุโดยวธิ นี ี้คอื บรษิ ัทใหญ  ๆ หรือไมก็หนวยงานของทางราชการ

ไผเ พอ่ื ชวี ติ   30 

การเพาะเมล็ด  เกษตรกรทําไดงาย    ซ่ึ งจะไดกลาวถึงไวในตอนท ี่ 5  เปน 
ประสบการณของเกษตรกร  จากจังหวัดสระแกว   วิธีการไมยุงยากทําคลาย  ๆ  กับ 
เพาะเมล็ดพชื อ่ืน ๆ อาจจะตา งบา งตรงทเ่ี พาะอยูภายในโรงเรือนเทา น้นั เอง 

โดยรวมแลวไผตงเปนพืชท่ีนาปลูกมาก    เพราะใหผลตอบแทนในระดับ 
เศรษฐกจิ ได   ไมวาจะเปน ลําตน หรือหนอ 

ศัตรูของไผตงนอกจากตายขุยแลว  ศัตรูอยางหน่ึงที่อยากแนะนาํ  ใหรูจักคือ 
“ดวงงวงเจาะหนอ” 

ดวงงวงเจาะหนอของไผตง  พบวามีการระบาดชว งเดือนสิงหาคม  ถึง เดือน 
ตลุ าคม  การทาํ ลายหนอไมเกิดข้นึ   2 ลกั ษณะดวยกันคอื  

การกัดกนิ   ดว งงวงโตเตม็ วยั   ลาํ ตวั มสี ดี ํา  สว นอกจะมสี เี หลอื งเขม มีความยาว 
ประมาณ 4 เซนตเิ มตร  กดั แทะเน้ือเย่ือออ นของหนอ ไมกนิ เปน อาหาร  ทําใหเ กดิ บาด 
แผลข้ึน    เมื่อมีความชื้นในบรรยากาศสูงเชื้อแบคทีเรียก็จะเขาทําลายบริเวณดังกลาว 
เกิดการเนา และตายในท่ีสุด

ไผเ พอื่ ชวี ติ   31 

การเขาทําลายของตัวออ น  ตัวเมยี จะวางไขบ นรอยแผล  หลังจากการกัด  แทะ 
หนอไม    ไขที่ฟกเปนตัวหนอนจะเจาะเขาสูสวนยอดของหนอไม    กัดกินเนื้อภายใน 
ทาํ ใหคุณภาพลดลง  จนไมสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได   หนอนทโี่ ตเตม็ ท่ี  มีความยาว 
5-6  เซนติเมตร  เมือ่ เจาะยอดหนอ ไมจนทะลุจะทงิ้ ตัวลงดนิ   อาศยั  อยูใตผิวดนิ ลึก  3-30 
เซนตเิ มตร  จนกระทัง่ ตัวเตม็ วัย  จะบินออกหากินตอ ไป 

การพนสารเคมีจะเปนอันตรายตอผู บริโภคได    ดังนั้ น  ดร.  จุฑารัตน 
อรรถจารสุ ทิ ธ ิ์ นักวชิ าการเกษตร  กลมุ งานปราบศตั รูพืชทางชวี วิทยา   กองกีฎา  และ 
สัตววิทยา  กรมวิชาการเกษตร    จึงแนะนําวาเกษตรกรควรหม่ันออกตรวจดูแปลงไผ 
อยางสม่ําเสมอ    เมื่อจับตัวแกไดควรทําลายทิ้ง    และทําความสะอาดบริเวณใตกอไผ 
ไมใ หเ ปน ทอ่ี ยอู าศัยของตวั ออ น 

สว นนี้ผูสนใจรายละเอยี ดสอบถามไดท ่ี  โทรศัพท (02) 5797580,  5795583

ไผเ พอ่ื ชีวติ   32 

ไผรวกนาสนใจ 

ไผร วกนนั้   สว นใหญพ บเห็นกนั อยใู นปา   การปลกู เพอื่ การใชง านนนั้    เกษตรกร 

แถบจังหวัดจันทบุร ี  รวมท้งั ปราจีนบุรี  นิยมปลูกบงั ลม  ผลพลอยไดคือ  การนํามาค้าํ กงิ่  

ผลไม  อยา งไรกต็ าม  มเี กษตรกรเขตอนื่   ปลกู และทํารายไดด ีทเี ดยี ว 

ไผรวก   เปนไมไผที่การเกิดของกอมีความสวยงาม   เปนกอชิดทึบ   แนน 

ลําตนสูงหากปลูกในท่ี ดินดี    ซ่ึ งพบวามีความสูงตั้ งแต  2-10  เมตร    ลําตนตรง 

เสนผานศูนยกลางของตน  (ลํา) เฉล่ีย 2.5 เซนตเิ มตร  ขอปลองยาว 15-30 เซนตเิ มตร 

ขอ คอ นขางเรียบ  มีวงใตข อ สีขาว  ใบมีขนเลก็  ๆ 

มีการแบงไผรวกไดหลายลักษณะดวยกัน    นักวิชาการอยางคุณสุทัศน 

เดชวสิ ทิ ธ ระบวุ า ไผรวกแบง เปน ไผร วกธรรมดาและไผร วกดํา  สว นคุณอนนั ต  อัคนยี ทุ ธ 

เกษตรอําเภอ   สํานักงานเกษตรอําเภอหนองหญาปลอง   จังหวัดเพชรบุรี   บอกวา 

ไผร วกแบง เปน ไผรวกบา นท่ีมลี าํ ขนาดใหญและยาว    อีกสายพันธุหน่ึงเปนไผร วกปา 

ลํามีขนาดเลก็   ตนไมส งู นัก

ไผเ พอื่ ชีวติ   33 

การใชประโยชนจากไผรวกน้ัน  ลาํ ตนใชสานเขง  ทํารั้ว  และอุปกรณอ่ืนๆ 

สําหรับหนอนํามาทําอาหาร   แกงหนอไมอรอยมาก  เชนท่ีอําเภอหนองหญาปลอง 

เขานยิ มนาํ มาทาํ แกงเปอะ  เปนแกงพืน้ เมอื ง 

ไผรวกมแี นวโนมไดรับความนิยมมากขึ้นตามลาํ ดับ  การใชพันธุปลูกตองสั่ง 

จองลว งหนา  หรอื บอกใหขุดเตรียมไวเปนพิเศษ  ไมมีวางจําหนา ยตามรานขายตน ไม 

ทว่ั ไปแตอยางใด 

ไผบงหวานเมืองเลย 

ไผบ งหวานเมืองเลย  มีถน่ิ กาํ เนิดแถบจงั หวัดเลย  แตไ มม ีหลกั ฐานแนชัดวา  ถิ่น 
กําเนดิ ครงั้ แรกอยอู าํ เภอไหน ไผบงหวานเปน ไผท มี่ ขี นาดปานกลาง  เน้อื ของลาํ ตน หนา 
ขนาดของเสนผา นศนู ยก ลางประมาณ  5-8 เซนติเมตร  เมอื่ โต เตม็ ทม่ี คี วามสงู ประมาณ 
5-10  เมตร หนอ มสี ีเขยี วหรอื น้ําตาลออน   ขนาดโตเตม็ ท่ีหนักประมาณ  1  กิโลกรัม 
หนอ มรี สหวาน  เนอ้ื ละเอยี ด รบั ประทานสดอรอ ยมาก  การนาํ ไปประกอบอาหารสามารถ 
ทําไดห ลายอยาง  เชน  ตมจมิ้ นาํ้ พริก  แกง  ผัด  และอื่นๆ 

ที่บา นนาทมุ   ตาํ บลดา นซาย  อาํ เภอดานซาย  จงั หวัดเลย  ทีน่ ั่นมกี ารปลกู ไผบ ง 
หวานมากกวา 50 ป   รวมพืน้ ทท่ี ง้ั หมดกวา 100 ไร  ทีต่ ั้งของหมบู า นเปน ทีร่ าบระหวาง 
หุบเขา    ทุกปจะมีน้ําหลากไหลพัดเอาตะกอนทราย    ปุยตามธรรมชาติมาทับถมที่ราบ 
ริมน้าํ   ทําใหท่แี หงน้ีเหมาะกับการเกษตร  โดยเฉพาะอยางยิง่   การปลกู หนอ ไมบงหวาน 
แตลลหลังคาเรือนจึงปลูกไมบงหวานไวเพ่ือการบริโภค      สวนหน่ึงปลูกเปนการคา 
บางรายปลูกเพือ่ การคา  รวมพ้นื ท่กี วา 20 ไร

ไผเ พอ่ื ชีวติ   34 

การขยายพันธไุ ผบ งหวาน  ทําได 2-3 วธิ ดี ว ยกัน  วิธีแรกเพาะเมลด็ ไผบงหวาน 

ออกดอก   ประมาณเดอื นพฤศจกิ ายน-กมุ ภาพันธ  เมื่อเมล็ดแกแลวจะรว งหลนลงดิน 

ดังนัน้  เกษตรกรนยิ มเก็บเมล็ดทใี่ ตต น มาเพาะ  เมอื่ เก็บเมลด็ ไดแลว   ท้ิงไวประมาณ 2 

อาทติ ย     จงึ นาํ ไปเพาะ  โดยเตรยี มดินในแปลงเพาะใหเ รยี บรอ ย   แลวนาํ เมลด็ หวา นลงไป 

จากนั้นหมั่นรดน้ําทุกวัน    เมล็ดเริ่มงอกเม่ือเวลาผานไปแลว  7-10  วัน   เม่ือเมล็ด 

งอกเปนตน  และมีอายุ  1  เดือน  ใหยายกลาลงถุงพลาสติก    รดน้ําสมํ่าเสมอ 

เพราะตน ไผต อ งมอี ายไุ ด 1 ป   จงึ นาํ ลงปลกู   เมอื่ ตน ไผอ ายุ 3 ป  เรม่ิ เก็บผลผลติ จากตน ได 

อีกวิธีการหนึ่ง   เปนการขยายพันธุดวยเหงา  นิยมกันมากในหมูเกษตรกร 

ผูปลูกไผบงหวาน   การใชเหงาจะขุดจากตนท่ีอายุ  1  ป   ขุดขึ้นมาทั้งเหงา   ตัดตอ 

ใหสูงประมาณ  1  เมตร  หรือตํ่ากวาก็ได  การใชเหงาเปนวิธีการไมยุงยากขุดขึ้นมา 

แลวปลูกไดเลย    ในตนฝนสําหรับเกษตรกรที่ ตองการขยายพันธุในพื้ นท่ีของตนเอง 

แตห ากทาํ เปน การคา   รอผูม าซ้ือนยิ มปลูกลงถุง 

ไผบ งหวานท่ขี ยายพันธดุ ว ยเหงา  เม่ือปลกู ไปปแรก  ตนไผจ ะใหหนอ ได  5-6 

หนอ  หมายถึงการสรางตน  เพ่ือทจี่ ะใหห นอ ไดในฤดูกาลใหม 

อีกวธิ ีการหนึ่ง  สําหรับการขยายพนั ธคุ อื การใชก ง่ิ แขนงทช่ี าํ จนออกรากดแี ลว 

จึงนําปลูกลงแปลง    เปอรเซนตการรอดมีไมมากนัก   ตองอาศัยความชํานาญและ 

รักษาความช้ืนใหดีขณะที่ชาํ  

ไผบงหวานปลูกไดในดินแทบทุกชนิด    แตปลูกไดดีในดินที่มีความอุดม 

สมบูรณสูง    โดยเฉพาะดินรวนปนทราย    ท่ีมีการระบายน้ําดี    อยางทองท่ีบานนาทุม 

ตาํ บลดา นซา ย  กอนปลกู ควรใสป ยุ รองพ้นื จะดีที่สุด  เปน ปุยคอก 

การปลูกไมยืนตน    ระยะเวลาท่ีเหมาะสม  คือ  ตนฤดูฝน    ระยะปลูกท่ี นิยม 

ใชกันคอื 4 x 4 เมตร  พื้นที่ 1 ไร   ปลูกได 100 ตน   หลมุ ควรขุดลึก 50 เซนตเิ มตร กวาง 

50 เซนติเมตร ยาว 50 เซนติเมตร  ปลกู แลว ควรกลบโคนใหแ นน และมีไมหลักปกยึด 

หลังจากปลูกไปประมาณ  1  เดือน    หนอจะเร่ิ มแตกจากตาของเหงา 

ในระยะนคี้ วรปอ งกันแมลงไมใหเ ขา มากัดกินและอาศัยอยูตามหนอออน ในชวงฤดฝู น 

ควรดูแลเร่ืองวัชพืช    หากมีควรกําจัดเพราะจะเปนผลเสียตอการเกิดของหนอคือ 

มีการแขงขันกัน    การใชสารกําจัดวัชพืชควรระวัง    เพราะจะเปนอันตรายตอคนได 

การเกบ็ ผลผลิต  เรมิ่ เม่อื ปที่  3 ผานพน ไปแลว 

คุณสมศักดิ์   พรหมรักษา    เกษตรกรอยูบานเลขที่  19  หมู  11  บานนาทุม 

ตําบลดานซาย จังหวัดเลย   ปลูกไผบงหวานมานาน   สืบทอดกันมาแตบรรพบุรุษ 

เขาบอกวา  ผลผลิตไผท ่ีไดประมาณ  50 กิโลกรัมตอกอ  ราคาที่ขายอยรู ะหวา ง  10- 15 

บาทตอ กิโลกรัม  ถอื วา เปนรายไดด ีทีเดยี ว

ไผเ พอื่ ชีวติ   35 

ศัตรูของไผบงหวานที่พบอยูมีหนู    นับวาเปนศัตรูที่รายแรงมาก    การกําจัด 
ใชกับดกั   หรอื ไมก็ใชป นยงิ ในเวลากลางคนื   ศัตรอู ยา งอน่ื   เชน  โรคแมลงไมมีพบ 

การตลาดของไผบงหวานไมมีปญหา    เพราะมีผู นิยมซื้ อไปบริโภคกันมาก 
รวมทั้งตนพันธุมีการกระจายพันธุไปยังจังหวัดอื่น    เชน    จังหวัดกาญจนบุรี    สระบุรี 
ผลการปลูกดมี าก  มีผลผลติ จําหนา ยบางแลว  

ไผบงหวานเปนไผท มี่ ีลักษณะพเิ ศษ  ตรงท่ีหนอไผเม่ือเก็บตัดจากตน   สามารถ 
นาํ มาบริโภคไดเ ลยไมม รี สขม (ไมตอ งผานขั้นตอนการตม) หากตองการผดั   เกบ็ ใหม  ๆ 
ฝานหรอื ห่นั    แลว ผัดไดเลย  เปนคณุ สมบตั ิทห่ี นอไมช นิดอ่นื ไมม ี

ไผเ พอ่ื ชีวติ   36 

ตอนท่ ี 4 

สวนไผเศรษฐกิจ  สรางชวี ิตสรา งธรรมชาติ 

สาระสําคัญ 

ไผเปนไมที่ขึ้นอยูในธรรมชาติ    แตเปนเพราะมีการตัดฟนมาใชงานมาก 
จึงตองมีปลูกทดแทน    การปลูกปาไผสรางรายไดใหกับเจาของโดยภาพรวม 
สามารถตอบสนองความตองการใชไมได    และผลไดท่ีประเมินคาไมไดคือการชวย 
สรา งธรรมชาตใิ หช ุมชนื้  

จุดประสงคการเรยี นร ู

อธบิ ายการปลูกไผของเกษตรกรตวั อยางได 

ขอบขายเน้ือหา 

เกษตรกรที่ปลูกไผเปนการคา อยางไดผล

ไผเ พอื่ ชีวติ   37 

ตอนท ่ี 4 

สวนไผเ ศรษฐกิจสรางชีวิตสรางธรรมชาต ิ

บรรพบรุ ุษของคนไทย  คงไมไ ดค ิดไวล ว งหนา   วาลกู หลานของตนเอง  จะตอ ง 
มาปลูกตนไผ   เพราะเมอ่ื กอนตน ไผม อี ยดู าดดน่ื   จะนาํ มาเปน เครอ่ื งใชไ มส อย  หรอื จะนาํ  
หนอ มาบรโิ ภคก็หาไดไ มย าก 

เปนเพราะความตองการใชก็มีเพ่ิมขึ้น    ประชากรเพ่ิมข้ึน    รวมท้ังทรัพยากร 
ดานอื่นถูกทําลายไปมาก    ไผจึงถูกปดฝุนใหกลายเปนไมที่ปลูกเปนพืชเศรษฐกิจใช 
ประโยชนไดอยางจรงิ จงั ขณะเดยี วกันก็ทดแทนทรัพยากร บางอยา งได 

ดังนั้นจึงพบเห็นเกษตรกรปลูกไผเพื่อการคา    เริ่มต้ั งแตขายหนอเพ่ื อนําไป 
บรโิ ภคและเพอ่ื การแปรรปู   สว นลําไผใชประโยชนไ ดด  ี  ชนิดของไผท ปี่ ลกู    เปน    การคา  
มีอยมู ากมายหลายชนิด  เชน  ไผตง  ไผเล้ียง  และไผรวกพบเกษตรกรเพาะตน ไผของ 
จังหวัดสระแกว 

การนําพันธุไผล งปลูกนั้น  เดมิ ทีนยิ มปลูกดว ยกิง่ ชํา  ท่ชี ําจากแขนงไผ    ในที่น ้ี
หมายถงึ ไผต ง  การปลูกไผด ว ยตน ทขี่ ยายพนั ธทุ ไ่ี ดจ ากแขนงพากนั ตายหม ู   หรือทเี่ รยี กวา  
ตายขยุ อยา งมาก  คณุ อนสุ ิทธิ์  ธาํ รงครตั นสทิ นทร  เกษตรกรอยูบา น  เลขที่ 109  หมู 4 
ตาํ บลวังใหม  อาํ เภอวังนํ้าเย็น  จังหวัดสระแกว  เปนเกษตรกรท่ีปลูกไผตงมากท่ีสุด 
คนหนง่ึ ในละแวกนน้ั   เขาประสบปญ หาไผต ายขยุ เหมอื นเพ่อื นเกษตรกรรายอื่น ๆ จึงทํา 
การเพาะเมล็ดไผต งขึ้น 

ภาพตนพนั ธุไผทไี่ ดจ ากการเพาะเมล็ด

ไผเ พอ่ื ชวี ติ   38 

คุณอนุสิทธ์ิเลาวา    งานเพาะเมล็ดเร่ิมจากออกเก็บเมล็ดไผจากตนที่ออกดอก 

ใหด คี วรเลอื กจากตน ทมี คี วามสม่าํ เสมอของลาํ ตนขนาดใหญท ใ่ี หหนอ มาก  ไดเมลด็ แลว  

เลือกเมล็ดลีบออก  เก็บเมล็ดเพาะในกระบะทรายซึ่งผสมดวยแกลบดํา  รวม  10  วัน 

เมล็ดไผกเ็ ร่มิ งอก  เมอื่ ตนกลา อายไุ ด 45 วนั   ถอนแยกปลกู ลงในถุงดํา  ท่ีมีขนาด 4  คูณ 

7  นิ้ ว  และ  4  คูณ  8  น้ิ ว    ไผมีความงอกประมาณ  40  เปอรเซนตโดยเฉล่ี ย    ดู 

ตัวเลขแลวไมมากนัก  แตเกษตรกรก็หาเมลด็ ไดจ าํ นวนมาก  ถือวา คุม  

เลย้ี งดูตนไผอยปู ระมาณ  200 วัน จงึ พรอ มจาํ หนายใหกับผูสนใจ 

ตนไผท่ีเพาะจากเมล็ด    ดูไดยากวาลักษณะที่ดีเปนอยางไร    แตคุณอนุสิทธิ์ 

กม็ ีวธิ ี  ซึง่ เขาแนะนาํ ไวดงั น ้ี

- ขอ ปลองไมส น้ั หรอื ยาวเกินไป 

-  การเกิดของหนอใหมมรี ะยะหา งสมาํ่ เสมอ  ไมแ ตกกอเปน กระจุก 

-  หนอ ที่เกดิ ทหี ลงั มีขนาดใหญก วาหนอทเี่ กดิ กอน  1 เทา ตัว 

-  มใี บมาก  หากม ี 14-15 ใบจะดมี าก 

งานเพาะเมล็ดไผเขาทําในโรงเรือน    ที่มุงดวยซาแลน    ปจจุบันนอกจาก 

ขยายพนั ธุเพื่อปลูกเองแลว   เจาของยังพอมเี ผยแพร  สาํ หรบั ผสู นใจ  ติดตอ คณุ   อนุสิทธ ์ิ

ไดตามท่ีอยู  หากโทรศพั ท (037) 251906 

ตนไผท่ีไดจากการเพาะเมล็ด    สรางชีวิตใหมใหกับไผ    เพ่ือจะมีอายุขัย 

ยนื ยาวตอ ไป 

ภาพไผต งของเกษตรกร

ไผเ พอื่ ชวี ติ   39 

ไผตงดาํ ริมถนนมิตรภาพ 

ลุงประเสริฐ  พันธโน  เกษตรกรอยูบานเลขท ่ี 40/2  หมู  12  บานสระบัว 

ตําบลสาหรา ย  อาํ เภอปากชอ ง  จงั หวดั นครราชสมี า  เปน ผหู นงึ่ ทส่ี นใจปลกู ไผต ง เมอื่ กอ น 

ลงุ ปลูกขา ว  แตเ น่ืองจากขาวราคาไมแ นน อน  เมือ่ หนั มาปลูกไผตงราคาแนนอนกวา 

ทตี่ ั้งสวนไผต งของลงุ อยหู า งจากปากชองราว 15 กิโลเมตร  (ไปจากกรงุ เทพฯ) 

อยทู างขวามอื   เหตทุ ลี่ งุ สนใจปลกู ไผต งดาํ เพราะประโยชนม มี าก โดยเฉพาะเรอ่ื งของหนอ  

รสชาตเิ ยยี่ มยอด  ผคู นนยิ มซอ้ื ไปปรงุ อาหาร  เนอื่ งจากพน้ื ทป่ี ลกู เปน ทน่ี ามากอ น  เจา ของ 

พูนดนิ ขน้ึ นิดหนึ่ง  ระยะปลูกใชระยะระหวา งตน ระหวา งแถว 4  เมตร  ถือวา คอนขา งถี่ 

เจา ของบอกวา   ใหดีขยายออกใชร ะยะ 6 เมตรจะดที ่สี ดุ  

กอนปลูกขุดหลุมใหลึกและกวางพอสมควร   ใสปุยคอกประเภทขี้วัวหรือ 

ขี้หมลู งไป  ไมวา จะเปนข้ีหมูหรอื ขว้ี วั   ควรสลายตวั กอน  ไมอ ยางน้ันแลวจะเกดิ  แกสได 

ซ่งึ เปนอันตรายตอ ตน ไม  เม่ือปลกู ตองหมัน่ รดนา้ํ หากฝนไมตก  เวลาผาน ไปราว  1 ป 

ตนไผจะตง้ั ตัวได   สวนใหญจะแทงหนอใหมขึน้ มาเพื่อสืบสกลุ    เจา ของจะยงั ไมต ัดขาย 

แตผานไปปท ่ี 3 จงึ ตัดหนอ ได   หนอไผต งเรม่ิ โผลพนดนิ  เดือนเมษายน  ลุงตดั ขายได 

กโิ ลกรมั ละ  15  บาท  จากนัน้ ราคาลดตํ่าลง  ผลผลติ  ไปหมดราวเดอื นสิงหาคม 

งานปลูกไผสรางรายไดใหลุงดีมาก  มีรายได  3  ทางดวยกัน  ทางแรกจาก 

การขายหนอ   ชมุ ชนนนั้ นยิ มนําหนอ ไมไ ปปรงุ อาหารกนั มาก  เพราะไมค อ ยมใี คร ปลกู กนั  

สวนใหญทําอาชีพอ่ืน    เมื่อมีหนอไมลุงจึงไมตองด้ินรนไปขายท่ีอ่ืนใหยุง  ยาก 

สําหรบั รายไดทางทีส่ องลงุ ขายลํา  ลาํ ไผตงใชป ระโยชนไ ดห ลากหลายเปน ตนวา ทาํ บาน 

เรือน  ทาํ เคร่ืองใช  ในสวนนเ้ี จา ของไมค อ ยขายบอยนัก  เพราะตอ งการมีลําเพื่อมีหนอ  

รายไดอ กี ทางหนง่ึ คอื การขายตนพันธ ุ  ทขี่ ายไดเนอื่ งจากเพอื่ น บา นเห็นแลว อยากทําตาม 

สองขางทางของถนนมิตรภาพ  สวนใหญแลวมีสภาพแหงแลง   ยามเดือน 

เมษายน  เม่ือผานทางไปความเขียวขจ ี  ความรมร่ืนมีใหเ ห็นนอย  แตต รงสวนไผของ 

ลุงประเสริฐ  ดูแปลกไป   คร้ังไดลงไปสัมผัสจริง  ๆ แทบไมอยากโยกยายไปไหน 

ลุงมีสระนํ้าขนาดพอสมควร    เมื่อกอนการสรางบอสรางสระเก็บกักนํ้า      ปริมาณนํ้า 

หนา แลง มไี มมากนกั   คร้นั ปลูกตน ไผ  การเก็บกักนํ้าดีขึ้น

ไผเ พอ่ื ชวี ติ   40 

เปนเพราะมีความรมเย็น    ที่มีตนไผใหรมเงา    ยามแลงจึงมีเพื่อนบานอาศัย 

หลบรอ น  พนื้ ลา งปา ไผข องลงุ ราบโลง ไมม วี ชั พชื   ทงั้ นเี้ ปน เพราะแสงแดดสอ งไม คอ ยถงึ  

หากเปน ตน ไผทอี่ ายุนอ ย  เจาของขยนั หมนั่ ทาํ ความสะอาดอยูเปน ประจํา 

ผานถนนมิตรภาพทีไร  ตองต้ังใจดูปาไผของลุงทุกคร้ังไปมองแลวเพลินตา 

มีความภมู ใิ จแทนเจา ของจรงิ  ๆ ท่ีทาํ ได  งานของลงุ สรา งความแปลกใหมไดดี

ไผเ พอ่ื ชีวติ   41 

ไผรวกหนองหญาปลอง 

มีโอกาสพูดคุยกับคุณอนันต    อัคนียุทธ    เกษตรอําเภอหนองหญาปลอง 

จังหวดั เพชรบุรี  คณุ อนันตบอกวา   เกษตรกรทอี่ ยูในความดแู ลของตนเอง  มีงานผลติ  

สนิ คา เกษตรท่นี าสนใจมากมาย  หนึง่ ในจาํ นวนหลาย ๆ อยาง  การปลกู ไผรวกนาสนใจ 

ไมน อ ย 

คุณอนันตเคยทํางานอยูในทองท่ีจังหวัดปราจีนบุรีมากอน   ซ่ึงปราจีนบุร ี

ถือวาเปนเมืองไมไผ  เม่ือยายไปอยูถ่ินหนองหญาปลอง จึงนาํ ความคิดไปขายใหกับ 

เกษตรกร      เปนการขายโดยไมคิดเงิน    เหตุท่ีคุณอนันตขายความคิดใหกับเกษตรกร 

เปนเพราะเขามองวา  ไมไผตองทําเงินใหกับเกษตรกรอยางแนนอน   เพราะไผตาม 

ธรรมชาติมลี ดลง  ขณะเดยี วกนั ความตองการใชมีเพมิ่ ขนึ้  

ภาพคณุ ประสิทธ ์ิ  ธนกมลประดิษฐ

ไผเ พอ่ื ชีวติ   42 

งานสงเสริมเกษตรกร   โดยสํานักงานเกษตรอําเภอหนองหญาปลองจึงเกิด 

ขึ้นอยางจริงจัง  รวมแลวขณะนี้พ้ืนที่ปลูกไผรวกมีกวา  200 ไร  ไผรวกแบงเปน  2 

ชนิดดวยกันคือไผรวกปาและไผรวกบาน ไผรวกปามีลาํ ขนาดเล็ก  พบเห็นอยูทั่วไป 

ตามรานขายไมไผเขานิยมนํามาขัดแตะ    หรือไมก็คํ้ากิ่งสมเข้ียวหวาน    สวนไผรวก 

บานลํามีขนาดใหญการใชงานแตกตางจากไผรวกปา    ขนาดของไผรวกบานและ 

ไผรวกปาแตกตางกันอยางชัดเจนท่ีขนาดของลาํ   ราคาซ้ือขายก็แตกตางกันดวย 

แปลงปลูกไผรวกที่ คุณอนันตไดพาไปชม    เจาของชื่ อคุณประสิทธ 
ธนกมลประดิษฐ  อยูบานเลขที ่ 123  หมู  4  ตําบลหนองหญาปลอง  อําเภอหนอง 
หญา ปลอง     จงั หวดั เพชรบรุ  ี  แปลงปลูกของเกษตรกรอยรู มิ นา้ํ แมป ระจันทไี่ หล มาจาก 
ประเทศพมา    ถือวาเปนเสนเลือดใหญหลอเล้ียงชาวหนองหญาปลอง    หนาแลง 
สายนํ้าไมเคยเหือดแหง   ถึงแมข นาดของสายนาํ้ ไมใ หญนกั ก็ตาม  ทั้งนเ้ี ปน  เพราะฝงพมา  
ไมมีการทําลายปา  ซง่ึ เปนแหลง ของตน นํา้  

คุณอนันตบอกวา   ไผรวกเปนไมหลบซอน   บางคนคิดวาเปนไมธรรมดา 
แตจากการคิดคํานวณถึงรายไดตอไรตอปที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวจากตนไผแลว    ไม 
นอ ยกวาหม่ืนบาทตอ ไร  การลงทนุ มีเพยี งปยุ คอก  ใสไรล ะพนั บาท  เดิมทีคุณประสิทธ 
ปลูกมะพราวอยูกอนแลว    เปนมะพราวใหญ    แตก็ไมประสบผลสําเร็จเทาท่ีควร 
จึงไดหันมาปลูกไผรวกแซมเขาไป    จนมะพราวสู รากของไผท่ี ชอนไชไมไหว 
ซ่ึงคุณประสิทธ์ิก็ทราบส่ิงท่ีเกิดข้ึน    แตก็ปลอยไวไมไดทําอะไร    เพราะไผรวก 
เปนพชื ใหมท ใ่ี หเงนิ ดีเสยี แลว

ไผเ พอื่ ชีวติ   43 

แหลง ใหญข องไผร วกอยทู จี่ งั หวดั จันทบรุ ีและปราจนี บุร ี  สองจังหวัดท ี่ แนะนํา 
เขาปลกู เปนไมบังลม  สงิ่ ที่ไดเ พม่ิ เติมมีหนอใหเ จาของไวปรงุ อาหารบา ง   สว นไมท ไี่ ด 
กเ็ อาไวคา้ํ ก่ิงผลไม 

คุณอนันตบอกถึงวิธีการขยายพันธุไผรวกวา   ทําไดโดยขุดตนท่ีอายุปครึ่ง 
ข้ึนชาํ ในถุง  เปนถุงดําที่บรรจุวัสดทุ ่ีอุมนํ้าไดด ี  โดยตัดตนใหส ูงเหลือประมาณ  1  เมตร 
หรอื สน้ั กวา   1 เมตรเลก็ นอ ย  การชาํ ควรชําในทีร่ มราํ ไร  ระยะเวลาชาํ จน ยายปลูกได 
ใชเวลาอยางนอย  3  เดือน    ถาเล้ี ยงไว  4  เดือนเปอรเซนตการรอดตาย 
จะมีมากตนไผรวกน้ัน   หลังจากที่ชําในถุงจะแตกกิ่งกานเร็วมาก   แตระบบรากยัง 
ไมแ ข็งแรง หากนาํ ไปปลกู เปอรเซนตการตายจะมีมาก 

ภาพบริเวณสวนไผรวก

บางคร้ังผูขายตนพันธุที่ไมมีคุณธรรม   จะสรางปญหาใหกับเกษตรกรได 
ดังน้ันผูผลิตตนพันธุควรจะคํานึงถึงผูซื้อ   ผูซื้อควรถามวา   ชําตนไวนานหรือยัง 
ถามแลวควรสังเกตุดูการแตกก่ิงแตกกานดวยวาเปนอยางไร    มีมากนอยแคไหน    ให 
ดีควรแตกมาก  ๆ  เขาไว    เม่ือนําไปปลูกเปอรเซนตการรอดตายจะมีมาก    สนนราคา 
ของกงิ่ ไผรวกอยูระหวาง  15-20 บาท  แตกห็ าไดไมง ายนัก  หากตองการปรมิ าณมาก 
อาจจะตอ งส่งั เปนพเิ ศษ  ในแหลงท่ีเขาผลติ  

ไผเ พอื่ ชวี ติ   44 

ภาพตน ไผอ ายุยังไมถงึ ปโ ตเร็วสรางปา ไดเ ร็วมาก 

ปาไผที่ข้ึนอยูตามธรรมชาติน้ัน   จะข้ึนเปนกลุมกอน   การนํามาปลูกเปน 
แปลงขนาดใหญจึงมีความเหมาะสม    ระยะระหวางตนท่ีคุณอนันตแนะนํา    มีระยะ 
ปลูกระหวางตนระหวางแถว  4  x  4  เมตร  พนื้ ที่  1  ไร   สามารถปลกู ไผรวก ได  100 
ตน  แตเกษตรกรทหี่ นองหญาปลองนยิ ม  ระยะ  2  คณู   3 เมตร พน้ื ท ่ี 1  ไรปลกู ได  266 
ตน    ปแรกท่ีปลูกไป    หนอไผจะแตกโผลพ้ืนดินเร็วมาก    คุณอนันตพาไปดูแปลงที่ 
ปลูกใหม  มีอายุ  6  เดือน  ลําไผแทงข้ึน  7-8  ลาํ   แตเปนลําขนาดเล็ก การใหผล 
ตอบแทนจะใหเ ม่อื ปท ี่  3  ไปแลว   หากเตม็ ทต่ี องปท ี่ 5 

คุณประสิทธ    เลาใหฟงวา    เนื่องจากที่ดินของตนเองติดน้ําแมประจัน    จึง 
โชคดีกวาเกษตรกรรายอ่ืน   มีนํ้าเพ่ือการเกษตรทั้งป   คุณประสิทธ์ิไดรับคําแนะนํา 
จากเกษตรอําเภอวา    หากปลูกไผแลวรดน้ํา    ผลผลิตจะมีกอนคนอื่ น    คุณประสิทธิ์ 
ทาํ ตามปรากฎวาเปน จริงตามคาํ แนะนํา 

ภาพรม ครมื้ ภายในสวนไผร วก


Click to View FlipBook Version