1
มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกลุ
สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์
ค่มู อื การฝึ กปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา
หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน
พ.ศ. 2562
2
คานา
เปน็ ท่ีตระหนักดีอยู่ทัว่ ไปว่า ครู เป็นบุคลากรระดับวิชาชีพที่มีความสาคญั มากต่อคณุ ภาพ
การศกึ ษาของประเทศ ดังคากล่าวที่ว่า “ครูเป็นอย่างไรนักเรียนกเ็ ปน็ อย่างนัน้ ” และจากปรากฏการณ์
ของการทดสอบตา่ ง ๆ ทางการศึกษาในระดับนานาชาติท่ีพบว่า คณุ ภาพทางการศกึ ษาของเด็กไทยยังอยู่
ในระดับที่ต่ากวา่ มาตรฐานเสียเป็นส่วนใหญ่น้ัน คงเป็นส่งิ ท่ีสะท้อนใหเ้ ห็นว่า คณุ ภาพของครูไทยในปจั จุบัน
ก็คงจะไม่ได้อยใู่ นระดบั สูงแต่ประการใด
ดว้ ยความห่วงใยในคุณภาพของครูไทยดังได้กล่าวมานี้ ครุ ุสภาซง่ึ เป็นองคก์ รวชิ าชพี ครู และ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ซึง่ เปน็ หนว่ ยงานของรฐั บาลที่มีความรบั ผิดชอบโดยตรงต่อการกากบั ควบคุม
กระบวนการผลิตครู จงึ ไดก้ าหนดข้อบงั คบั และมาตรฐานต่าง ๆ เพอ่ื ใหก้ ารผลิตครูเป็นไปอย่างมีคุณภาพ
การฝกึ สอนของนักศึกษาครใู นระดับปรญิ ญาโท ซึ่งเปน็ เร่ืองใหมส่ าหรับประเทศไทยก็เป็นหน่งึ ในมาตรการ
หลาย ๆ มาตรการทจ่ี ะทาให้กระบวนการผลิตครเู ปน็ ไปอย่างมคี ุณภาพ
นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลติ กุล
ตง้ั แตร่ ุน่ ปกี ารศึกษา 2562 ท่ีออกทาการฝึกปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษาเป็นเวลา 1 ปีการศึกษา หรือ
2 ภาคการศึกษา จะได้รับประสบการณ์ทมี่ คี ุณค่าของการเป็นครูมอื อาชพี และสาเรจ็ การศึกษาออกไป
ประกอบวิชาชพี ครอู ย่างมืออาชพี ทมี่ ีคุณภาพต่อไปในอนาคต
หนงั สอื ค่มู อื การฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษาเล่มน้ี เป็นหนงั สอื ทมี่ คี ุณค่ามากสาหรบั
นกั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอนทกุ คน เพราะมสี าระทงั้ ทเี่ ป็นแนวปฏบิ ตั แิ ละทเี่ ป็นหลกั วชิ าที่
สาคญั มาก ๆ ขอใหน้ กั ศกึ ษาทาการศกึ ษา ทาความเขา้ ใจใหล้ ะเอยี ด และนาไปปฏบิ ตั ใิ หจ้ งได้
สาขาวชิ าหลกั สตู รและการสอน
3
สารบญั
หน้า
คานา 2
1 กระบวนการปรับปรุงทักษะการจัดการเรยี นรูข้ องครผู สู้ อนโดยใช้แนวทาง 5
การพฒั นาครโู ดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน (School-based Teacher Development)
1) การสงั เกตการสอน 6
2) การสะท้อนคิด 9
2 มาตรฐานเก่ยี วกบั สถานศกึ ษาสาหรับฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอน 11
มาตรฐานครพู ี่เลี้ยง 11
3 การฝกึ ปฏิบตั ิการสอนของนักศึกษา (แผน ข) หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ 11
(ฉบับปรบั ปรุง ปี 2562) สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน
4 1) เปา้ หมายของการฝกึ ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 14
2) หลกั การสาคัญของการฝึกปฏิบตั ิการสอน 14
3) กรอบแนวคดิ ของการปฏบิ ัตกิ ารสอนสาขาวิชาเฉพาะในสถานศึกษา 15
4) บทบาทและหน้าที่ของบคุ ลากรท่เี กย่ี วข้องกับการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 15
ของนักศึกษา
(1) บทบาทและหนา้ ที่ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
(2) บทบาทและหน้าท่ีของครูพเ่ี ล้ยี ง
(3) บทบาทและหนา้ ที่ของอาจารย์นิเทศก์
(4) บทบาทและหนา้ ที่อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบการปฏิบัติการสอน
5) ผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวงั จากนักศึกษาของสาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน 20
5 ลาดับข้นั ตอนการปฏิบตั ิในการฝกึ ปฏิบัตกิ ารสอน 21
6 ตัวอยา่ ง ตารางการปฏิบัตงิ าน 15 สปั ดาห์ ในรายวิชาปฏบิ ตั กิ ารสอน 1 และ 2 22
7 แนวทางการปฏบิ ัติตนของนักศกึ ษาระหว่างการฝึกปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 25
1) การแต่งกาย
2) การลา
3) แนวปฏบิ ตั ิของการลงเวลาปฏิบตั ิงาน
4) ระเบียบปฏิบัติระหว่างการฝกึ ปฏิบัติการสอน
5) งานทน่ี ักศกึ ษาต้องปฏบิ ตั ิระหวา่ งการฝกึ ปฏบิ ัติการสอน 27
4
8 แฟ้มผลงานการฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอน 29
1) จดุ มุ่งหมายของแฟม้ ผลงานการฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอน
2) แนวทางการทาแฟม้ ผลงาน 29
3) สว่ นประกอบของแฟ้มผลงาน
(1) ข้อมูลทวั่ ไป 32
(2) รายงาน 34
(3) หลกั ฐาน 42
43
9 การบนั ทึกการสะทอ้ นคิด (ดตู ัวอย่าง หนา้ 47) 44
10. การประเมนิ ผลรายวชิ าการปฏบิ ัตกิ ารสอน 1 และ 2 (ใช้แบบประเมินในหน้า 50) 44
46
เกณฑ์การประเมนิ ผลรายวิชาการปฏิบตั ิการสอน 1 และ 2 47
11. บทสง่ ท้าย 50
12. ภาคผนวก 52
53
1) ความคาดหวังของนักศึกษาฝึกปฏบิ ัตกิ ารสอน 54
2) การบนั ทกึ การสังเกตการสอนของครพู ่เี ลย้ี ง
3) แบบฟอร์มสาหรบั การสะท้อนคดิ 55
4) แบบประเมินผลความรู้ ความสามารถในการฝึกปฏบิ ัตกิ ารสอน 56
5) แบบรายงานสรุปผลการประเมนิ ของครพู ่ีเล้ยี ง 59
6) แบบรายงานสรปุ ผลการประเมนิ ของอาจารยน์ ิเทศก์ 59
7) แบบฟอร์มการบันทกึ การปรกึ ษาหารอื เกยี่ วกับการจัดการเรียนรู้ของนักศกึ ษา 60
กบั ครูพี่เล้ียง
8) ตวั อยา่ งตารางสอน
9) ใบลงเวลาของนักศึกษาฝึกปฏิบตั กิ ารสอน
10) แบบฟอร์มแสดงข้อมลู ของครูพเ่ี ล้ียง
11) แบบบนั ทกึ สภาพท่วั ไปของสถานศกึ ษา
12) การเขียนประวตั ยิ ่อและข้อมูลสาคญั ของตนเอง
5
กระบวนการปรับปรุงทกั ษะการจดั การเรยี นรูข้ องครผู สู้ อน
การสร้างความก้าวหน้า และพัฒนาวชิ าชีพอย่างต่อเน่ืองถือเป็นหน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบ
ของครูมอื อาชีพทุกคน ทั้งนี้ เพอื่ ให้ตัวของครเู องไดเ้ พมิ่ พนู ศกั ยภาพการเปน็ ครู และได้พัฒนาสมรรถนะ
ของความเปน็ ครูมอื อาชีพให้ก้าวหนา้ ไปทนั ยคุ สมัย และการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและเทคโนโลยี ซ่งึ จะ
นาไปสกู่ ารพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ กิดความเจริญงอกงามอย่างสรา้ งสรรค์ ซึ่งจะพฒั นาสังคมให้เจรญิ ยง่ิ ๆ ขนึ้ ไป
และในขณะเดยี วกนั กช็ ว่ ยจรรโลงและพัฒนาใหส้ ถาบันวชิ าชีพครมู ีความมั่นคง และได้รับความเช่ือถือ
จากผ้เู ก่ยี วข้องโดยตรงอย่างย่ังยืนอกี ดว้ ย
ดังน้ัน ในการพฒั นาตนเองของครู ครูทกุ คน จงึ ควร . . .
1. ศึกษาหาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พฒั นางาน และสะสมผลงานอย่างสม่าเสมอ
2. ค้นควา้ แสวงหา และนาเทคนิคด้านวชิ าชพี ทพ่ี ฒั นาก้าวหนา้ เปน็ ทยี่ อมรบั มาใช้
ในการจัดการเรียนรูเ้ พื่อให้ผเู้ รียนเกดิ พฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงค์
นอกจากนน้ั ในการท่มุ เทให้กับวชิ าชพี ของตน ครูทุกคนควร . . .
1. อทุ ิศตนเพ่ือความกา้ วหนา้ ของวิชาชพี
2. เลอื กใชห้ ลกั วิชาที่ถูกต้อง สรา้ งสรรค์ เทคนคิ วิธีการใหมๆ่ เพอ่ื พฒั นาวิชาชพี
3. ใช้องค์ความรูท้ ่ีหลากหลายในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ และแลกเปล่ียนเรียนรูก้ ับครคู นอื่น ๆ
4. เข้ารว่ มกจิ กรรมของวชิ าชพี หรอื องคก์ รวชิ าชีพอย่างสร้างสรรค์
และ เพื่อเอื้อต่อสังคม ครคู วรนาภูมปิ ัญญาท้องถิ่นและศิลปวฒั นธรรม มาเปน็ ปัจจยั ในการจัด
การศกึ ษาใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม (จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู พ.ศ.2550)
แนวทางการพฒั นาครโู ดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน (School-based Teacher Development)
การพัฒนาครแู บบใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐานท่ีน่าจะยงั่ ยืนที่สุด คือ การพัฒนาในกระบวนการทางาน
ท่ีเปน็ วถิ ชี ีวติ ปกติของครู หรือท่ฝี รง่ั เรยี กวา่ In-service Development ซงึ่ หมายถึง การทางานไป
พฒั นาไป น่ันเอง ซง่ึ การพฒั นาแบบนอ้ี าจจะกระทาไดห้ ลายกจิ กรรม แต่กจิ กรรมทง่ี ่ายที่สุดก็นา่ จะ
เปน็ การพัฒนาโดยใช้กิจกรรม 2 กจิ กรรม ดงั ต่อไปนี้
1. การสังเกตการสอน (Lesson Observation)
2. การสะท้อนคดิ (Reflective Practice)
ซ่งึ ในเอกสารน้ี จะกล่าวถึงกจิ กรรมท้งั 2 กจิ กรรม แต่พอสงั เขป ดังต่อไปนี้
6
1. การสังเกตการสอน (Lesson Observation)
การสังเกตการสอนเปน็ กิจกรรมทเี่ ปิดโอกาสใหค้ รทู ี่มปี ระสบการณ์สอนน้อยไดเ้ รียนรเู้ ก่ียวกับ
การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างดี โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งครูใหม่และนักศึกษาฝกึ สอน จะได้รับประโยชน์
จากกจิ กรรมนมี้ าก ไม่วา่ จะเป็นเร่อื งแผนจัดการเรียนรู้ การเลอื กใช้และการจดั เตรียมสอ่ื การเรียนรู้
ตลอดจนการจดั เตรียมนักเรียนเพือ่ การเรียนรทู้ ี่มีประสทิ ธภิ าพด้วย การสงั เกตการสอน มขี ้ันตอน
งา่ ย ๆ 3 ข้อ ดังต่อไปน้ี
1. การประชุมก่อนสงั เกตการสอน
2. การสังเกตการสอน
3. การประชุมหลังการสงั เกตการสอน
การประชุมก่อนสังเกตการสอน กจิ กรรมน้ชี ว่ ยให้ครูใหม่หรือนักศึกษาฝกึ สอนไดเ้ รียนรู้
และตระหนักถงึ ประเดน็ สาคัญของกิจกรรมการเรยี นรู้ทตี่ นเองจะตอ้ งสงั เกต โดยจะเกิดการเรยี นรู้
จากกจิ กรรมตอ่ ไปน้ี
1. การปรกึ ษาหารือเก่ยี วกบั แผนการจดั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยเน้นเรอ่ื งของ
- เปา้ หมาย และวตั ถปุ ระสงค์ของบทเรยี นนน้ั
- ความเหมาะสมของเนือ้ หากับชั้นเรยี นนั้น
- ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรียนรู้
- ความเหมาะสมของเวลาท่ใี ช้
2. ระบุประเดน็ ท่ีอาจเปน็ ปัญหา และแนวทางในการบรหิ ารจัดการปัญหานัน้ ๆ
3. ศกึ ษาแนวทางท่ีครูใหม่ หรือนักศึกษาฝึกสอนอาจจะนาไปใชส้ อนในโอกาสต่อไป
4. ข้อตกลงร่วมกันเก่ยี วกบั กาหนดการของการประชุมหลังจากการสงั เกตการสอนแล้ว
การสงั เกตการสอน การสังเกตการสอนนี้อาจเปน็ ได้ 2 แนวทางคอื กรณีแรกคือ ครูใหม่และ
นกั ศกึ ษาฝกึ สอนเป็นผสู้ ังเกตการสอนของครพู เ่ี ล้ยี ง หรือครตู ้นแบบ และกรณที สี่ องคือ ครูพีเ่ ลี้ยงและ
ครูต้นแบบเป็นผ้สู งั เกตการสอนโดยครใู หม่หรอื นักศกึ ษาฝกึ สอนเปน็ ผู้สอน ในการสงั เกตการสอนกรณแี รก
น้ัน ครใู หมแ่ ละนักศึกษาฝึกสอนจะเป็นผ้บู นั ทกึ ข้อมูลท่ีเป็นประเดน็ ที่ไดห้ ารือกนั มาแลว้ ในทีป่ ระชมุ
กอ่ นการสงั เกตการสอน เพือ่ จะนาไปสู่การอภิปรายหรือการสะท้อนคิดในการประชุมหลังการสงั เกต
การสอน สว่ นในกรณที น่ี ักศึกษาฝกึ สอนและครใู หม่เปน็ ผู้สอนโดยมคี รพู เ่ี ล้ียงหรือครตู ้นแบบเป็นผู้สงั เกต
การสอนนน้ั ครูพี่เลี้ยงหรอื ครูต้นแบบก็จะทาหนา้ ที่บันทกึ ขอ้ มลู โดยไมเ่ ข้าไปรบกวนการสอนของครใู หม่
หรือนักศึกษาฝึกสอน ส่วนข้อมูลทถี่ ูกบนั ทกึ เพ่อื นาไปใช้ในการอภปิ รายหลังการสังเกตการสอนนั้น
จะตอ้ งเป็นข้อมลู ทส่ี ะทอ้ นจุดอ่อนและจุดแขง็ ของครูใหม่หรอื นักศึกษาฝึกสอนนั้น และเมื่อได้ทาการสงั เกต
การสอนซ้าอีกครั้งหนงึ่ กจ็ ะได้ข้อมลู ยนื ยันจดุ อ่อนจุดแขง็ นั้น อยา่ งชัดเจน
ประเดน็ ทีจ่ ะตอ้ งใชใ้ นการสังเกตการสอน
1) การเตรยี มการสอน
7
2) การนาแผนการจัดการเรยี นรู้ออกมาใช้
3) การใชข้ ้อมูลย้อนกลบั และประเมนิ ผล
4) การบริหารจดั ชัน้ เรยี น
5) เจตคตติ อ่ วชิ าชพี
ฝา่ ยวิชาการ หรือฝ่ายนิเทศการสอน จะต้องจดั ทาคูม่ ือการสังเกตการการสอนที่แสดงบัญชีสมรรถนะ
ในการสอนโดยแยกประเภทไวใ้ ห้ชัดเจนวา่ บัญชีสมรรถนะบัญชใี ดทีเ่ ป็นบัญชีสาหรบั ครูมือใหม่ หรือ
นักศกึ ษาฝกึ สอน สว่ นอกี บญั ชหี น่งึ จะเป็นบญั ชีสาหรับครูพ่ีเล้ียงหรอื ครตู น้ แบบเป็นผสู้ ังเกตการสอน
ซงึ่ ท้ังครูใหม่ นกั ศึกษาฝกึ สอน ครูพเี่ ลยี้ ง และครูต้นแบบจะตอ้ งทาการศกึ ษาคู่มือ การสงั เกตการสอน
ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อจะได้ใชป้ ระโยชนใ์ หม้ ากที่สุด ซงึ่ นัน่ หมายความว่าจะต้องมผี ูร้ บั ผดิ ชอบในการทา
คูม่ อื สังเกตการสอนให้มีสาระทม่ี ีประโยชนบ์ รบิ ูรณ์ และสะดวกตอ่ การใช้งาน
การประชุมหลังการสังเกตการสอน ในการสงั เกตการสอนของครใู หม่ และนกั ศึกษาฝึกสอนนัน้
ข้อมลู ที่บันทกึ มาได้จะเปน็ ไปตามคู่มือการสงั เกตการสอน และข้อตกลงจากการประชุมหารอื ก่อน
การสังเกตการสอน และข้อมูลเหล่านจ้ี ะถกู นามาเปน็ ประเด็นหารือในทีป่ ระชุมหลังการสังเกตการสอน
สว่ นในกรณีที่ครูพ่ีเลยี้ ง หรือครตู น้ แบบสงั เกตการสอนของครใู หมห่ รอื นักศึกษาฝึกสอนนั้น ขอ้ มูล
ทีบ่ นั ทกึ ได้จากการสังเกตการสอนจะสะทอ้ นให้เห็นถงึ ความกา้ วหนา้ หรือพฒั นาการในการสอนของครูใหม่
หรอื นักศึกษาฝึกสอน และในโอกาสต่อไปกจ็ ะเกดิ ประโยชน์ในการวิเคราะหจ์ ดุ อ่อนจุดแข็งของครูใหม่
หรอื นกั ศึกษาฝึกสอนทจี่ ะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น
การประชมุ เพื่อหารือหลงั จากการสังเกตการสอนนี้ควรจะเปน็ ในวันเดียวกนั หรืออย่างชา้ ทีส่ ุด
คอื วนั ต่อไป ไม่ควรปล่อยให้เน่ินนานออกไป และในการประชุมนี้จะต้องใช้เวลาประมาณ 20 นาที
เปน็ อยา่ งน้อย แต่กไ็ มม่ คี วามจาเป็นทจ่ี ะต้องมากกว่า 30 นาที
แนวทางหรอื ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการประชมุ หลงั การสังเกตการสอน (Feedback Conference)
การประชุมหลังการสังเกตการสอนควรประกอบไปด้วย 5 ขน้ั ตอน ดงั น้ี
1. สะทอ้ นความร้สู ึกของผู้สอน เป็นข้นั ตอนท่ีผ้สู อนจะสะท้อนความรู้สกึ ของตนเองออกมา
สูก่ ารสนทนาวา่ เขารสู้ กึ อยา่ งไรต่อการสอนของตนเอง ซ่ึงเป็นความรสู้ ึกทัว่ ๆ ไปเท่านน้ั
2. เร่มิ ใส่ใจส่งิ ทผ่ี ู้สอนพึงพอใจ และไม่พอใจในการสอนของตนเอง โดยให้กล่าวถึง โดยเฉพาะ
เจาะจงลงไปให้ชดั เจน
3. วเิ คราะหส์ าเหตุของพฤติกรรม เหตกุ ารณ์ หรอื ผลผลิตที่ตนเองไมพ่ ึงพอใจ หรอื พึงพอใจ
ท่ีไดร้ ะบไุ ว้ในข้อท่ี 2
4. ระบุยทุ ธศาสตร์ หรือกลยุทธใ์ นการสอนทท่ี าให้การสอนของเขาประสบผลสาเรจ็ และควรจะ
นาไปใช้อีกในอนาคต พร้อมทั้งเสนอยุทธศาสตร์ทางเลือกที่สามารถนามาใช้ทดแทนยุทธศาสตรน์ นั้ ได้
5. ครูพเี่ ล้ยี งหรือครูต้นแบบ ช่วยใหค้ รใู หมห่ รือนักศึกษาฝกึ สอนถอดบทเรยี นหรือทา KM ให้ได้วา่
เขาเกดิ การเรียนรอู้ ย่างไร จากการสอนในตารางนี้
8
ครูพ่ีเลยี้ งและครูตน้ แบบต้องระลึกอยู่เสมอวา่ การสังเกตการสอนน้ี
มเี ปา้ หมายเพอ่ื ช่วยครูใหม่ หรือนักศึกษาฝึกสอนแกป้ ญั หา
ในการเรียนการสอน และเรียนรจู้ ากกิจกรรมการแก้ปัญหานี้
คาถามที่อาจนามาใช้ในการประชุมกอ่ นการสังเกตการสอน
1. ช่วยอธบิ ายความคดิ หลกั ของการสอนในคราวน้ีมาใหเ้ ขา้ ใจ
2. เน้อื หาวิชาทีท่ ่านจะสอนในคราวน้ี ทา่ นกาหนดมาตรฐานไว้สงู เพยี งใด
3. โปรดอธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง แผนการจดั การเรียนรู้แผนนีก้ ับหน่วยการเรยี นร้ทู ีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
4. หลงั จากทา่ นจดั กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามแผนน้จี บลงแล้ว นกั เรียนของท่านจะเกิดการเรยี นรู้
อะไรบา้ ง และสามารถทาอะไรไดบ้ า้ ง
5. การเรยี นรู้และความสามารถของนกั เรยี นในข้อที่ 4 น้นั ถือเป็นเป้าหมายสงู สดุ ของแผน
การจดั การเรยี นรู้ของท่านแล้วหรอื ยัง
6. การเรียนรู้และความสามารถของนกั เรียนในข้อที่ 4 นนั้ จะนาไปสู่ผลการประเมินปลายภาค
(Summative Evaluation) ของทา่ นหรอื ไม่
7. โปรดอธิบายว่ายทุ ธศาสตร์ในการสอนของทา่ นกับคาถามเพื่อการสืบเสาะ (Inquiry
Question) มีความสัมพันธก์ ันอย่างไร
8. ทา่ นคาดว่าการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้นี้ของท่าน จะประสบความสาเร็จมากน้อย
เพียงใด
9. ทา่ นคดิ ว่ากิจกรรมการเรียนรูต้ ามแผนการจดั การเรียนรู้น้ขี องทา่ น มีความเส่ยี ง
ในเรอื่ งใดบา้ ง
10. ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของท่านในแผนการจัดการเรยี นรู้น้ี ทา่ นต้องการให้ขา้ พเจา้
สงั เกตอะไรเป็นพิเศษหรอื ไม่
คาถามทอ่ี าจนาไปใช้ในการประชมุ หรอื หลงั การสังเกตการสอน
1. มกี ิจกรรมอะไรบ้างที่ดาเนินด้วยความไปราบร่นื เปน็ อยา่ งดี
2. ทา่ นมีความรู้สึกสบาย ๆ ผ่อนคลายหรือไม่ ในการสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้นี้
3. ในระหวา่ งการสอนน้นั ท่านต้องปรับแผนอะไรบา้ งหรือไม่
4. ท่านคดิ วา่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้นี้ในเรื่องของเนื้อหา
บรรลุจุดมุง่ หมายหรือไม่ เพยี งใด
5. ทา่ นมีความพงึ พอใจในการใชย้ ทุ ธศาสตร์การจดั การเรียนรู้ของท่านมากน้อยเพียงใด
6. มเี หตุการณห์ รือเรื่องท่เี หนือความคาดหมายเกิดขึ้นบ้างหรือไม่
7. มกี จิ กรรมการการเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย หรือยทุ ธศาสตรอ์ ะไรที่ต้องการ
จะปรบั เปล่ียนอีกบา้ งไหม ถา้ ตอ้ งการจะปรบั เปล่ียน ควรจะปรบั เปลีย่ นอย่างไร
9
8. ท่านจะนาการเรยี นรู้ท่ที ่านได้รับในวนั น้ีไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้คู ร้งั ต่อ ๆ ไป
ไดห้ รอื ไม่ อย่างไร
9. ทา่ นตอ้ งการจะดบู ันทึกข้อมูลที่ขา้ พเจ้าจดบันทึกจากสังเกตการสอนในวันนีบ้ ้างหรือไม่
10. ท่านอยากใหข้ ้าพเจา้ ชว่ ยแนะนาอะไรบ้างไหม
2. การสะท้อนคิด (Reflective Practice)
การสะท้อนคิดทเี่ กีย่ วกับการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ผา่ นไปแลว้ ทั้งในแง่ของกระบวนการและผลผลติ
เป็นกิจกรรมการประเมนิ ผลการทางานเพื่อการพฒั นาทท่ี าได้โดยไม่ยาก ไมซ่ บั ซ้อน แต่ค่อนข้างมี
ประสทิ ธภิ าพ และเป็นทน่ี ิยมใช้อยา่ งกว้างขวาง ครูทด่ี ีทม่ี งุ่ มนั่ พฒั นา การปฏบิ ตั ิงานของตนให้ดขี ้ึน
จะต้องเป็นคนทชี่ อบทบทวนผลการกระทาของตนเองโดยใชว้ ธิ นี ี้ เพราะการกระทาเช่นนี้มักจะชว่ ยให้เกิด
การเรียนรูจ้ ากการกระทาของตนเอง ซ่ึงในกระบวนการสะทอ้ นคดิ ดังกลา่ ว ครจู ะต้องถามตนเองด้วยคาถาม
ตอ่ ไปนี้
1) ในกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจบลงไปแลว้ นัน้ มอี ะไรเกิดขึน้ บ้าง ใครทาอะไรบ้าง ขา้ พเจา้ เอง
ได้ทาอะไรบ้าง
2) เพราะเหตใุ ดขา้ พเจา้ จึงทาเชน่ น้นั ขา้ พเจ้ามีอะไรเป็นฐานความคิด ข้าพเจ้ามขี ้อสมมตุ ิเบอ้ื งต้น
(Assumption) วา่ อย่างไร
3) ข้าพเจ้าเกดิ การเรียนรอู้ ะไรบา้ งจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ีผา่ นมา และการเรียนรู้ที่เกิดขนึ้ น้ี
จะเปลีย่ นแนวคิดของขา้ พเจา้ เก่ยี วกับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ในอนาคตอยา่ งไรบ้าง
4) หลงั จากจบบทเรยี นน้ีแล้ว ข้าพเจา้ ควรจะทาอะไรบา้ ง ข้าพเจา้ จะยึดแนวทางปฏิบัตใิ นการจัด
กจิ กรรมการเรยี นร้อู ยา่ งไร
รูปแบบของการสะท้อนคิด (Reflective Teaching Model)
10
จากภาพประกอบแสดงให้เห็นวา่ รูปแบบของการสอนสะทอ้ นคดิ มี 4 ขั้นตอน คือ
1. ข้ันตั้งขอ้ สังเกต (Observing) เปน็ ขนั้ รวบรวมขอ้ เทจ็ จรงิ จากปรากฏการณท์ ่เี กิดขึน้ ในกจิ กรรม
การเรียนรู้ ว่าใครทาอะไร ใครพดู อะไร ขา้ พเจา้ ทาอะไร และขา้ พเจ้าพดู อะไร เพือ่ ให้เป็นข้อมลู
ประกอบการพิจารณาในขัน้ ต่อไป
2. ขั้นสะท้อนคิด (Reflecting) เปน็ ข้นั รวบรวมความคดิ และเหตผุ ลทเี่ ป็นพนื้ ฐานของการกระทา
ในขัน้ ตอนท่ี 1 ในข้ันนี้ครจู ะต้องถามคาถามวา่ “เพราะเหตุใด” เช่น เพราะเหตุใดข้าพเจ้าจงึ เลือกท่จี ะทา
เช่นนน้ั เพราะเหตใุ ดข้าพเจ้าจึงเลือกรูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบน้นั เป็นต้น
3. ข้ันวางแผน (Planning) ข้าพเจา้ จะเปลยี่ นแนวคดิ และการกระทาของขา้ พเจ้าหรอื ไม่ อย่างไร
ข้าพเจา้ จะยังคงแสดงออกหรือมปี ฏิสมั พนั ธ์กับคนอ่นื ๆ ในลกั ษณะเดมิ หรือไม่ ข้าพเจา้ อาจจะจัดกจิ กรรม
การเรยี นร้ทู ีแ่ ตกต่างไปจากท่ีทาแลว้ หรอื ไม่
4. ขน้ั การกระทา (Acting) เป็นขน้ั ท่คี รูจะต้องถามคาถามเกี่ยวกับการกระทาของตนเองในอนาคต
ว่า ตวั ครจู ะตอ้ งทาอยา่ งไรต่อไป เช่น ขา้ พเจา้ จะต้องจดจาอะไรบ้าง ขา้ พเจา้ จะตอ้ งทาอะไรต่อไป
ขน้ั ตอนของการสะท้อนคดิ ท้ังหมด 4 ขั้นตอน รวมเรยี กวา่ วฏั จกั รของการสะท้อนคิด (Reflective
Cycle) ซ่งึ การท่ีครูจะสะท้อนคิดในวัฏจกั รนี้ออกมาอย่างไรน้ัน ย่อมไดร้ ับอทิ ธิพลมาจาก ความเชือ่
ความรู้สกึ คา่ นิยม และเจตคติของครเู อง โดยจะส่งผลต่อประสบการณ์ในการสอนรว่ มกับความรู้ 5 ดา้ น
คอื ความร้จู ักตนเองของครู ความรู้เก่ียวกบั เร่ือง ของการเรียนรแู้ ละการสอน ความรเู้ กย่ี วกบั ตัวนักเรียน
ทค่ี รูสอน ความรู้เกีย่ วกบั โรงเรยี นและบรบิ ทของชุมชนในโรงเรียน และความรูเ้ กย่ี วกบั บรบิ ททางสังคม
โดยรวม วัฏจักรของการสะท้อนคดิ จะเกดิ ขึ้นและหมนุ เวยี นเชน่ นต้ี ่อไป โดยอาจจัดระดับช้นั
ของการสะท้อนคดิ ออกเป็น 3 ระดับดงั นี้ (Van Manen, 1990)
ระดับหน่ึงคือการสะท้อนคดิ พน้ื ฐาน (Technical Reflective) เปน็ การสะท้อนคิดเฉพาะเรื่อง
ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชน้ั เรยี นแลว้ ได้ผลดี ทงั้ นเี้ พ่ือต้องการทจี่ ะนาสู่การประเมินความสาเรจ็ และความลม้ เหลว
ที่ เกดิ ขน้ึ ในชัน้ เรยี น
ระดับทสี่ องเปน็ การสะทอ้ นคิดทอ่ี ย่เู บ้ืองหลังการกระทา (Practical Reflective) เป็นการสะท้อน
คดิ ท่ีลงลึกไปกว่าการสะท้อนวา่ เกิดอะไรขน้ึ อะไรได้ผล อะไรไม่ได้ผล แต่จะไปถึงเรือ่ งสบื สวนสอบสวน
การใช้คาถามเพื่อเสาะหาข้อสมมุติเบื้องตน้ ของการกระทาท่ีจะนาไปสวู่ ตั ถปุ ระสงค์ ของกิจกรรมการเรียนรู้
ระดับสามเป็นการสะทอ้ นคิดแบบมีวิจารญาณ (Critical Reflective) ถือเปน็ การสะท้อน
ขน้ั สงู สุด ในระดบั นจี้ ะเปน็ การให้ความสนใจตอ่ คณุ ค่าของสิง่ ที่เกิดขน้ึ ว่ามมี ากน้อยเพียงใด และใครเปน็ ผ้ไู ด้
ประโยชนจ์ ากคุณค่าเหล่าน้ี ในขัน้ นีค้ รจู ะต้องคิดไปไกลกวา่ เปา้ หมายของการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้
และข้อสมมตุ เิ บื้องตน้ ที่อยเู่ บื้องหลงั กิจกรรมการเรยี นรู้เหล่านัน้ โดยจะขยายวงความคดิ ออกไปถึงบริบท
ของช้นั เรยี น ชมุ ชนและสังคม โดยการตง้ั คาถามในเร่ืองที่เก่ียวข้องกบั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้อย่างลกึ ซึ้ง
รอบคอบและถถี่ ้วน โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในเรื่องที่เก่ียวกับศลี ธรรมและจรยิ ธรรม
11
ในการใชร้ ูปแบบของการสะท้อนคดิ ของครูในระยะแรก ๆ เราไมค่ วรคาดหวังให้ครูไปไกลกว่า
ระดบั พ้ืนฐาน เพราะการสะท้อนคิดในระดบั นีจ้ ะชว่ ยปพู ้นื ฐานความคิดทสี่ าคัญของการใชร้ ปู แบบน้ีให้กับ
ครใู หมห่ รอื นักศึกษาฝึกสอน โดยการสะท้อนคิดกับครพู เ่ี ล้ยี ง หรือครูที่คอยให้ความช่วยเหลือ คร้นั ตอ่ เม่ือ
ครูใหมเ่ กิดความมั่นใจว่า เขาเขา้ ใจกระบวนการและรปู แบบการสะท้อนคดิ ท่ีดแี ลว้ เขาก็สามารถท่จี ะทาเอง
ตามลาพงั ด้วยตนเองก็ได้
บรรณานุกรม
Langer, G. M., Colton, A. B., & Goff, L. (2003). Collaborative analysis of student work:
Improving teaching and learning. Alexandria, VA: ASCD.
มาตรฐานเกยี่ วกับสถานศกึ ษาสาหรบั ฝกึ ปฏบิ ัติการสอน
หลักเกณฑค์ ณุ สมบตั ขิ องสถานศึกษาสาหรับปฏิบตั ิการสอนของคุรุสภา คือ เป็นสถานศึกษาทผ่ี ่าน
การประเมินและได้มาตรฐานคณุ ภาพรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
มาตรฐานครูพ่เี ล้ียง
คณุ สมบัตแิ ละประสบการณ์ของครูพเี่ ล้ยี งตามเกณฑท์ ่ีคุรสุ ภากาหนด มดี ังนี้ คือ
1. มีคณุ วุฒิไมต่ า่ กวา่ ปรญิ ญาตรี
2. มีประสบการณใ์ นการสอนไม่นอ้ ยกว่า ๓ ปี
3. มคี ณุ ลกั ษณะของความเปน็ ครทู เี่ ปน็ แบบอย่างทด่ี ีและสอนในสาขาวชิ าท่ีตรงหรอื สัมพันธ์กับ
สาขาวชิ าทีน่ ักศึกษาปฏิบัติการสอน
(http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/D/066/117.PDF)
การฝกึ ปฏบิ ัติการสอนของนักศึกษา (แผน ข)
อนุสนธิจากข้อบังคบั ครุ ุสภาว่าดว้ ยใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ พ.ศ. 2559 (ประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษา เม่ือวนั ที่ 9 ธนั วาคม 2559) ทรี่ ะบุคุณสมบัตขิ ้อหน่ึงของผู้ทจ่ี ะขอรับใบอนญุ าต
ประกอบวิชาชพี ครไู วว้ า่ ตอ้ งผ่านการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รปริญญาทางการศกึ ษา
เป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่าหน่ึงปี และผ่านเกณฑ์การประเมนิ ปฏิบัตกิ ารสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไข
ทคี่ ณะกรรมการกาหนดมาตรฐานคุรสุ ภาสาหรับผ้ทู ีต่ ้องการใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครู
ดังนนั้ เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปตามข้อบังคับคุรสุ ภาดังกลา่ ว นกั ศึกษา แผน ข ท่เี ขา้ ศกึ ษาในหลกั สูตร
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั
วงษ์ชวลิตกุลจงึ ต้องเรียนรายวิชา 3 รายวชิ าท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอน ต่อไปน้ี
12
1. 916263609 การปฏิบัติวชิ าชีพครูระหวา่ งเรียน 3(90)
2. 916263610 การปฏบิ ตั ิการสอน 1 3(240)
3. 916263611 การปฏบิ ัติการสอน 2 3(240)
คาอธิบายรายวชิ า ของ 3 รายวชิ า ดังกลา่ ว มีดังตอ่ ไปน้ี
(หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลิตกุล)
916263609 การปฏิบัติวิชาชีพครูระหวา่ งเรียน (Practicum for Teaching Profession) 3(90)
คาอธบิ ายรายวิชา
การฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชีพครูระหว่างเรียนดว้ ยการสังเกตการจัดการเรยี นร้ใู นสถานศึกษา การศึกษา
ลักษณะพฒั นาการของผ้เู รียน การศกึ ษาและวิเคราะหแ์ ผนการจดั การเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย การจดั ทา
แผนการจดั การเรยี นรู้ การจดั ทาแผนการจดั การเรยี นร้เู พ่ือจดุ ประสงค์การสอนท่ีหลากหลาย การศกึ ษา
และวิเคราะห์เครอื่ งมือและวิธีการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือ
เคร่ืองมือวัดผล การตรวจข้อสอบ การให้คะแนนและการตัดสนิ ผลการเรียน การสอบภาคปฏิบัติและ
การให้คะแนน การวิจัยแก้ปัญหาผูเ้ รียน การทดลองสอนในสถานการณจ์ าลองและสถานการณ์จริง
สามารถปฏิบตั ิการสอน ออกแบบทดสอบวดั และประเมนิ ผลผ้เู รยี น การพฒั นาความเปน็ ครมู ืออาชีพ
916263610 การปฏบิ ัตกิ ารสอน 1 (Teaching Practicum 1) 3(240)
บูรพวิชา (Pre-requisite) นกั ศึกษาจะต้องศึกษารายวิชาเฉพาะบังคับและรายวิชา 916263609
การฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชพี ครูระหว่างเรียนกอ่ น และได้ผลการเรียนในระดับ B เปน็ อย่างน้อยทกุ รายวิชา
ก่อนลงทะเบียนเรียนรายวิชา 916263610
ในรายวชิ านี้ นกั ศึกษามีชั่วโมงสอนในวชิ าเอกไม่นอ้ ยกว่าสปั ดาห์ละ 8 ชวั่ โมง เปน็ เวลาไม่น้อยกว่า
15 สัปดาห์ รวมไม่น้อยกวา่ 120 ชว่ั โมงตอ่ ภาคการศกึ ษา มีเวลาเตรียมสอน ตรวจงาน และการปฏิบัตงิ าน
อืน่ ๆ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมายไม่นอ้ ยกว่าภาคการศึกษาละ120 ชว่ั โมง มีการพบคณาจารยแ์ ละเขา้ รว่ มสัมมนา
การศกึ ษากับคณาจารย์และเพื่อนนักศึกษาท่ีมหาวทิ ยาลัยจดั ขึน้ ไมน่ ้อยกวา่ 15 ชว่ั โมงต่อภาคการศึกษา
คาอธิบายรายวชิ า
การเรียนรูแ้ ละการปฏิบตั ิการสอนในหน้าที่ครูในสาขาวชิ าเฉพาะ (วิชาเอก) ในสภาพการทีเ่ ป็นจริง
ในสถานศึกษา การจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรทู้ ีส่ อดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ในรายวชิ าที่รับผดิ ชอบ
การเลอื กวธิ ีการสอนและกิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรูท้ ที่ ันสมัย เช่น ส่ือดจิ ิทลั แหล่งการเรยี นรู้
ออนไลน์ การออกแบบทดสอบท่สี อดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การนาแผนการจัดการเรยี นรู้
ไปใช้สอนในชั้นเรียนและการวดั ผล ประเมินผล ทั้งท่ีเปน็ การประเมินผลยอ่ ย (Formative) และ
การประเมนิ ผลรวบยอด (Summative) การวเิ คราะหค์ ุณลกั ษณะผเู้ รียนและผลการเรียนรู้เพื่อใช้
ในการพฒั นาผ้เู รยี นใหไ้ ด้เต็มท่ีตามศักยภาพ รว่ มกับครูในโรงเรียนและชุมชนเพื่อสร้างชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ การพฒั นาหลักสตู ร การจัดการเรียนรู้ สือ่ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ สามารถพัฒนา
13
ผู้เรียนใหม้ ีปัญญาร้คู ดิ และมีความเปน็ นวตั กร ดแู ลช่วยเหลือพัฒนาผูเ้ รียนเป็นรายบุคคลตามศกั ยภาพ
สามารถรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นได้อยา่ งเป็นระบบ จดั กิจกรรมและสร้างบรรยากาศ
ในการเรยี นรู้ ใหผ้ ้เู รยี นมีความสขุ ในการเรียน โดยการปฏิบตั งิ าน พัฒนาการจดั การศึกษาในรูปแบบ
โครงการที่สอดคลอ้ งกบั ภารกิจของสถานศึกษาและงานที่ได้รบั มอบหมาย การจดั เก็บขอ้ มูลตา่ ง ๆ
ท่ีเกีย่ วข้อง เกีย่ วกบั วิชาชีพครทู ี่เกดิ จากการปฏบิ ัติงานในสถานศกึ ษา การสมั มนาประเด็นปญั หา
จากการปฏบิ ตั ิการสอน 1 โดยระบปุ ญั หาของผเู้ รียนทีต่ ้องแกไ้ ขหรือปรบั ปรุงดว้ ยกระบวนการวิจัย
ซ่ึงจะต้องดาเนินการในรายวชิ า 916263611 การปฏบิ ตั กิ ารสอน 2 ในสถานศึกษาต่อไป
916263611 การปฏบิ ัติการสอน 2 (Teaching Practicum 2) 3(240)
บูรพวิชา (Pre-requisite) นกั ศกึ ษาจะต้องได้ผลการเรียนในระดบั B ข้นึ ไปในทุกรายวิชา
ทีก่ าหนดให้เรียนตามหลักสตู ร โดยเฉพาะรายวิชารายวิชา 916263609 การฝึกปฏบิ ัติวชิ าชพี ครู
ระหวา่ งเรยี นและรายวิชา 916263610 การฝึกปฏบิ ตั ิการสอน 1 และไดเ้ ขา้ รว่ มประชุมสัมมนา
หลงั การฝึกสอน ซึ่งมหาวทิ ยาลยั กาหนดอย่างครบถ้วนเกยี่ วกบั วชิ าชีพครู การสรา้ งความก้าวหนา้ และ
พฒั นาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง การใชห้ ลกั การและแนวคดิ เกี่ยวกบั จติ วทิ ยาการแนะแนวและการให้
คาปรึกษาเพื่อประโยชน์ของผู้เรียนในการปรับตวั เข้ากับสภาพสังคมและแนวคิดทางการศกึ ษาในปัจจบุ นั
และอนาคต การสอนทหี่ ลากหลาย การศกึ ษาและวเิ คราะหเ์ คร่ืองมือและวธิ กี ารวดั และประเมินผล
การเรยี นรู้ การออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล การตรวจขอ้ สอบ การให้คะแนนและ
การตัดสนิ ผลการเรียน การสอบภาคปฏบิ ัตแิ ละการให้คะแนน การวจิ ยั แกป้ ัญหาผู้เรยี น การทดลองสอน
ในสถานการณ์จาลองและสถานการณ์จรงิ สามารถปฏิบัติการสอน ออกแบบทดสอบ วัดและประเมนิ ผล
ผูเ้ รียน การพฒั นาความเป็นครูมอื อาชพี การพัฒนาหลักสูตรการจดั การเรยี นรู้ ส่อื การวดั และประเมินผล
การเรยี นรู้ สามารถพัฒนาผู้เรียนใหม้ ปี ญั ญารู้คิด และมีความเป็นนวัตกร ดแู ลช่วยเหลือพัฒนาผูเ้ รียน
เปน็ รายบคุ คลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียนได้อย่างเปน็ ระบบ จัดกจิ กรรม
และสร้างบรรยากาศในการเรียนรใู้ ห้ผู้เรยี นมีความสขุ ในการเรียน โดยตระหนกั ถึงสขุ ภาวะของผ้เู รยี น
ในรายวชิ าน้ี นักศกึ ษามีชัว่ โมงสอนในวชิ าเอกไมน่ ้อยกวา่ สัปดาห์ละ 8 ช่ัวโมง เป็นเวลาไม่นอ้ ยกวา่
15 สัปดาห์ รวมไมน่ ้อยกว่า 120 ช่วั โมง ต่อภาคการศึกษา มีเวลาเตรียมสอน ตรวจงานและการปฏบิ ัตงิ าน
อ่ืนทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ไม่นอ้ ยกวา่ ภาคการศึกษาละ 120 ช่ัวโมง
14
เปา้ หมายของการฝึกปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา (สาหรบั นักศกึ ษาแผน ข)
หลังจากทีน่ ักศึกษาได้ออกปฏิบัตกิ ารสอนแล้ว นกั ศกึ ษาจะ
1. ได้ตระหนักในความสาคัญของการสอนและเห็นคุณคา่ ของบทบาทของครู
2. ไดร้ ับประสบการณต์ รงในการเป็นครูและเกดิ ความเขา้ ใจในกระบวนการการจัดการเรียนรู้
ในสถานศกึ ษาตามสภาพจรงิ
3. ได้เข้าใจนักเรยี นและพัฒนาทักษะต่าง ๆ ทตี่ อบสนองความต้องการ ความสนใจและระดับ
ความสามารถของนกั เรียน
4. ไดต้ ระหนักถึงความคาดหวังในการจัดการเรียนรู้ การวางตน และความประพฤติตนของครู
ตามมาตรฐานของวชิ าชีพ
หลักการสาคัญของการฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอน
หลกั การสาคญั 5 ประการต่อไปนี้ เป็นปัจจยั ทสี่ าคญั ย่ิงทีจ่ ะชว่ ยใหน้ ักศึกษาประสบความสาเร็จ
ในการออกไปฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา
1. การฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอนเป็นการบรู ณาการสว่ นต่าง ๆ ของหลักสตู รท้งั ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติเข้าด้วยกัน
อยา่ งมรี ะบบ โดยใชก้ ลวิธีต่าง ๆ ที่จะชว่ ยใหน้ กั ศึกษาสามารถประมวลองคค์ วามรู้ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน
2. การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอนเปดิ โอกาสให้นักศึกษาไดร้ ับการช้ีแนะในการปฏบิ ัติงานในวิชาชพี ครู
จากครูพ่ีเล้ียงผมู้ ีประสบการณ์และจากอาจารยน์ ิเทศก์ กล่าวคือ เมื่อใดก็ตามท่ีมีการสังเกตการสอน
ครูพ่เี ล้ยี งและอาจารย์นิเทศก์จะนาเอาแบบประเมินของการฝึกปฏบิ ัตกิ ารสอนมาใช้เพื่อให้การประเมิน
เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั กอ่ นการสังเกตการสอน มีการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ และหลงั สังเกต
การสอน จะมีการให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับและการให้ข้อเสนอแนะ ดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ เหล่าน้ี เชอ่ื ว่า นกั ศกึ ษา
จะเกดิ การเรียนร้แู ละสามารถพฒั นาตนเองในการเป็นครูมืออาชีพได้ในอนาคต
3. การฝึกปฏิบตั กิ ารสอนชว่ ยใหน้ กั ศึกษาได้พัฒนาความรคู้ วามสามารถทางด้านวชิ าชีพครเู พม่ิ ขน้ึ
เรอ่ื ย ๆ อย่างต่อเนื่องจากการฝึกปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานการณ์จริงและเพ่มิ ความเชือ่ มนั่ ในความรู้
ความสามารถของตนอย่างต่อเน่ืองจนสามารถรบั ผดิ ชอบในการจดั การเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ในที่สดุ
4. การประเมนิ การฝึกปฏบิ ัติการสอนของนักศึกษาเปน็ ไปอยา่ งมีระบบ และเปน็ การประเมิน
รอบดา้ นตามมาตรฐานวิชาชพี ครู ไม่ได้มีแตเ่ พียงการประเมนิ เฉพาะเนื้อหาความรู้ในสาระวชิ า
เพยี งดา้ นเดียว
5. การฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอนมงุ่ ม่นั พัฒนาใหน้ กั ศึกษาใหเ้ ปน็ ครูช่างคิด โดยการใชก้ ระบวนการ
สะทอ้ นคิดทวี่ างแผนมาเปน็ อยา่ งดี และมีการประชมุ สัมมนาร่วมกันอยา่ งมรี ะบบของผทู้ ่เี กย่ี วข้อง
กับการฝึกปฏิบตั ิการสอนทุกฝา่ ย
15
กรอบแนวคดิ ของการปฏบิ ัติการสอนสาขาวิชาเฉพาะในสถานศึกษา
การปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะในสถานศกึ ษาเอื้อต่อองค์ประกอบหลกั ของความเป็นครู
มืออาชีพ 4 ประการ คือ การวจิ ยั การสะท้อนคิด ความตระหนักในอาชีพครแู ละการได้รบั ประสบการณจ์ ริง
จากการปฏบิ ัติ การสอนในช้ันเรียน ในดา้ นการวจิ ยั นกั ศึกษาสามารถทาวิจัยในส่งิ ที่ตนเองกาลังทาและ
ตอบคาถามได้วา่ ทาไมจึงทาส่งิ น้ัน ซ่งึ ผลทไี่ ด้จากการวจิ ยั สามารถนาไปใชใ้ นการพฒั นาผู้เรยี นต่อไป
ส่วนในเร่ืองการสะท้อนคิด เมอื่ นักศกึ ษาได้สะท้อนคิดในสงิ่ ทกี่ าลังทาและตระหนักในความร้คู วามสามารถ
ของตนเองจะช่วยใหน้ กั ศึกษาเกดิ มีมุมมองของตนเองท่ีสามารถอธิบายได้โดยการใชเ้ หตผุ ล แทนการใช้
สามัญสานึก โดยทน่ี ักศึกษาสามารถ นาผลจากการสะท้อนความน้ีไปใชใ้ นการพฒั นาตนเองในดา้ นอาชพี
การทนี่ ักศกึ ษาจะกลายเปน็ ครูมืออาชพี นกั ศึกษาจะต้องตระหนักว่าตนเองจะต้องมีคุณสมบตั ทิ ั้งในด้าน
ความรู้ ความสามารถและเป็นผ้มู ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการไดร้ บั ประสบการณจ์ รงิ จากการฝกึ ปฏิบัติ
การสอน นักศึกษาจะร้วู า่ ตนเองจะตอ้ งมีความรู้ เป็นอย่างดีในเนื้อหาทีส่ อน รูจ้ ักการกากับชั้นเรียนที่มี
นกั เรียนท่มี ีลกั ษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน สามารถใช้ทรัพยากรตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวกับการสอน รวมทง้ั
การใชส้ ่อื การเรียนในแต่ละคร้ังทส่ี อน ตลอดจนการใช้สือ่ เทคโนโลยี นอกจากน้ัน นักศึกษาต้องสามารถ
ดาเนินการใหผ้ เู้ รียนสนใจในบทเรยี นและมีส่วนรว่ มในการเรียน และการใช้ นวตกรรมใหม่ ๆ ซงึ่ นักศึกษา
จะเกิดความตระหนักในองคป์ ระกอบหลักทั้ง 4 ประการนี้ไดด้ ีท่สี ุดเม่ือได้ไปสมั ผสั ประสบการณจ์ รงิ
ดว้ ยตนเองในสถานศึกษาภายใต้การให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชดิ ของครูพเ่ี ล้ียงและอาจารยน์ เิ ทศก์
บทบาทและหน้าที่ของบุคลากรท่เี กย่ี วข้องกบั การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษาของนักศกึ ษา
บคุ ลากรทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาของนักศกึ ษา ประกอบไปดว้ ย
บคุ คล 4 กลุ่ม คือ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครูพ่เี ล้ียง อาจารย์นิเทศก์ และอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตร
บุคคลเหล่านมี้ คี วามสาคญั ยง่ิ ต่อการพฒั นานักศกึ ษาขณะท่ีปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา การใหค้ าแนะนา
ดา้ นวิชาชีพครูแก่นักศกึ ษาและความช่วยเหลือในด้านอน่ื ๆ ที่เกยี่ วข้อง ในขณะท่ีกาลงั ปฏิบัติการสอน
มีความสาคัญมากต่อความเจริญกา้ วหน้าและพัฒนาการทางวชิ าชพี ของครูต่อไปในอนาคต ปัจจัยหลกั
ประการหนึ่ง ทเ่ี อ้ือต่อความสาเร็จในการฝกึ ปฏิบตั ิการสอน คอื การมีความสมั พันธ์อันดีระหว่างกลุม่ บุคคล
ท้ัง 4 กลุ่มนี้ คือ ผ้บู ริหารโรงเรียน ครพู ่ีเลย้ี ง อาจารยน์ ิเทศก์และอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร กบั นักศกึ ษา
ดงั นนั้ การสรา้ งความสมั พนั ธ์ต่อกนั น้เี ป็นเร่ืองจาเปน็ และ ทุกฝ่ายต้องพยายามส่อื สารต่อกนั
ด้วยความจรงิ ใจ และตรงไปตรงมา
บทบาทและหน้าท่ขี องบุคลากรแตล่ ะฝา่ ย มดี ังนี้
1. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา มีบทบาทหนา้ ที่ ดงั นี้
1) ประสานนโยบายดา้ นการพัฒนาครรู ะหว่างโรงเรยี นกับมหาวิทยาลยั
16
2) กาหนดแผนการจัดกจิ กรรมการฝกึ ปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษาร่วมกับ มหาวิทยาลยั
3) กากับการปฏิบตั ิหนา้ ทค่ี รูและการปฏบิ ัติตนของนักศกึ ษาโดยภาพรวมให้เป็นไปตาม
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู ปทัสถานของโรงเรียนและชุมชน
4) อานวยความสะดวกและสนบั สนุนให้การดาเนนิ กจิ การการฝึกปฏบิ ัติการสอนของนักศึกษา
และอาจารยน์ เิ ทศก์เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย
5) กากับ ดแู ล ควบคมุ การฝกึ ปฏิบตั ิการสอนของนักศึกษาให้เป็นไปตามมาตรการและ
มาตรฐานทโ่ี รงเรียนกับมหาวิทยาลัยร่วมกันกาหนดขึน้ และระบไุ ว้ในคู่มอื การฝึกปฏิบตั ิการสอน
6) กาหนดตัวครปู ระจาการของโรงเรียนที่มีคุณสมบตั ิเหมาะสมให้ปฏิบตั ิหน้าทีเ่ ปน็ ครูพ่ีเลี้ยง
ของนักศึกษาตลอดระยะเวลาของการฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอน
7) ปฐมนเิ ทศครูพ่ีเล้ยี งและนักศึกษาให้มคี วามรู้ ความเข้าใจในบริบทของโรงเรยี น นโยบาย
มาตรฐานทางวชิ าการ แนวปฏิบัตแิ ละระเบยี บ ตลอดจนเครือ่ งอานวยความสะดวกของโรงเรยี น
8) กากับดูแลการปฏิบัติงานของครพู ี่เล้ียงใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายและมาตรการ เร่อื ง การฝึก
ปฏิบัติการสอนของมหาวิทยาลัย
9) นิเทศและให้คาปรึกษาแก่นกั ศกึ ษาฝึกปฏิบตั กิ ารสอนเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ และมี
ประสบการณ์ในการเป็นครมู ืออาชีพ
10) ประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ัตกิ ารสอนของนักศึกษาตามมาตรฐานทางวชิ าการที่กาหนดไว้ในคู่มอื
ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอน
2. ครพู ่เี ลยี้ ง มบี ทบาทหนา้ ท่ี ดังนี้
1) เป็นผแู้ ทนของโรงเรยี นที่มีบทบาทและหนา้ ท่ใี นฐานะผู้บังคับบญั ชาขนั้ ตน้ ของนักศึกษา
ซึ่งมหี นา้ ที่กากับ ดูแล แนะนา สนบั สนุนและอานวยความสะดวกใหน้ ักศกึ ษาโดยยึดหลักธรรมภิบาลและ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
2) นานโยบายและการจัดประสบการณฝ์ ึกปฏบิ ตั ิการสอนที่โรงเรียนและมหาวิทยาลัยรว่ มกัน
กาหนดไว้ในคูม่ อื ฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอนสู่การปฏิบตั ิ
3) มอบหมายภาระงานอันเป็นหนา้ ท่ีของครูมืออาชีพ ใหแ้ ก่นักศึกษาฝึกปฏบิ ัติการสอนตาม
นโยบายและมาตรการของครุ ุสภา มหาวิทยาลยั และโรงเรียน กล่าวคือ ภาระงานสอนไม่นอ้ ยกวา่ สัปดาห์ละ
8 ช่วั โมง ต่อ สปั ดาห์ เปน็ เวลาไม่น้อยกว่า 15 สปั ดาห์ และภาระงานอน่ื อกี ไม่น้อยกว่า 8 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์
เปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่า 15 สปั ดาห์
4) กากบั ดูแลการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีครูมืออาชพี ของนกั ศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนให้เป็นไปอย่าง
ครบถว้ น ตามภาระงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย และเปน็ ไปตามมาตรฐานทางวชิ าการ และวฒั นธรรม
อนั สาคัญทางโรงเรียน เพื่อให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ แก่นักเรียน
17
5) อานวยความสะดวก และ สนับสนนุ ให้นกั ศึกษาฝึกปฏบิ ตั ิการสอนไดป้ ฏบิ ัติหน้าที่
ครูมืออาชีพตามภาระงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากโรงเรยี นและครูพี่เลี้ยง เพ่ือให้การปฏิบัติงานนัน้ เปน็ ไป
อยา่ งถูกต้อง ครบถ้วน มีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล ตามมาตรฐานทางวชิ าการของโรงเรียน
6) กากับการตรวจสอบ นเิ ทศ และใหค้ าปรึกษา เพื่อใหก้ ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ของนักศึกษาฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอนเป็นไปตามนโยบาย มาตรการ และปรัชญาการศึกษาของโรงเรยี น
กลา่ วคือ ยดึ ตัวผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ใช้หลกั สูตร หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การจดั กิจกรรม
การเรียนรู้ และการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ใิ นการเรยี นอย่างถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าและมาตรฐานทางวชิ าการ
ของโรงเรยี น
7) รเิ รม่ิ และสนับสนุนใหม้ กี ารใชก้ ระบวนการพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษา
ฝึกปฏบิ ตั ิการสอนอย่างเปน็ ระบบและมีหลักวชิ า โดยอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง กล่าวคือ มกี ารใช้
กระบวนการสงั เกตการสอน การสะท้อนคดิ และการวจิ ยั ในชน้ั เรยี นเป็นระยะๆ และตอ่ เนอื่ งไมน่ ้อยกวา่
8 ครงั้ ตอ่ ภาคการศึกษา
8) มอบหมาย ให้โอกาส สนับสนนุ และแนะนาให้นกั ศึกษาฝึกปฏบิ ตั ิการสอนไดป้ ฏิบตั ภิ าระงาน
ท่ีเป็นส่วนควบของการสอน เชน่ การเตรียมการสอน การบริหารจดั การส่ือการเรียนรู้ การตรวจงาน และ
การบ้านของนักเรียน และการประเมินผลการเรยี นรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประเมินผลตามสภาพจริง
ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม
9) มอบหมาย ใหโ้ อกาส สนับสนุน และแนะนาให้คาปรึกษาเพ่อื ใหน้ ักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอน
ได้ปฏิบัตภิ าระงานด้านกิจกรรมพฒั นานักเรยี น ซ่ึงได้แก่ กิจกรรมนกั เรยี น และกิจกรรมแนะแนว
อยา่ งถูกต้อง เพยี งพอ และเหมาะสม
10) ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของนักศึกษาฝึกปฏบิ ัติการสอนตามนโยบาย มาตรการ และ
มาตรฐานทางวชิ าการของโรงเรียนและมหาวิทยาลัย ตามที่ระบุไวใ้ นคู่มือการฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอน
3. อาจารยน์ ิเทศก์ของมหาวิทยาลัย มบี ทบาทหนา้ ท่ี และมคี วามรบั ผิดชอบ ดังนี้
1) ปฏิบัติหนา้ ทเ่ี ป็นผูแ้ ทนมหาวิทยาลยั ในการประสานงานกับสถานศกึ ษาในด้านนโยบาย
มาตรการ และแผนการจัดการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครใู หแ้ กน่ กั ศกึ ษา
2) ปฏิบัติหน้าที่เป็นผแู้ ทนสาขาวิชาหลกั สูตรและการสอนในการประสานงานดา้ นหลกั สตู ร
และการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พื่อให้เปน็ ไปตามจดุ มุง่ หมายและสาระของหลักสูตร มาตรฐานวชิ าชีพครู
ตามข้อบังคับของคุรสุ ภา และทฤษฎที ่เี กย่ี วขอ้ ง
3) กากับ ดแู ล แนะนา และให้คาปรึกษาแก่นักศึกษาฝกึ ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาร่วมกับ
ครพู เ่ี ลย้ี งและ/หรอื ผู้บริหารโรงเรยี นท่ีเปน็ หน่วยงานท่ีปฏิบตั ิการสอน ไมน่ ้อยกว่า 2 ครั้งตอ่ ภาคการศึกษา
18
4) ประสานงานกบั สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน ในการจัดทาแผนการนิเทศ การจัดกจิ กรรม
การเรยี นรู้ของนกั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอน และการปฏิบัติการนเิ ทศการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ใน
สถานศกึ ษา
5) ทาความเข้าใจนโยบาย มาตรการ มาตรฐาน และแนวทางปฏบิ ตั ิในการจดั กิจกรรมการฝึก
ปฏบิ ตั ิการสอนที่กาหนดไว้ในคู่มอื ฝึกปฏิบัตกิ ารสอนประจาปี เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิงานร่วมกนั ระหว่าง
สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน กับสถานศึกษาที่เป็นหน่วยฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอนอย่างมีประสิทธภิ าพ
6) สังเกตการสอนของนกั ศกึ ษาในช้นั เรียนตลอดทง้ั คาบเรียนเมื่อไปนิเทศการสอน (นิเทศ
การสอนในชั้นเรียน อยา่ งนอ้ ย 2 ครง้ั ในหนึ่งภาคเรียน) แสดงความคิดเห็น ให้คาแนะนาและให้คะแนน
ในแบบประเมิน
7) ทบทวนและตรวจเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกบั การปฏิบัติการสอนของนักศึกษาฝึกปฏบิ ตั ิการสอน
8) บริหารจดั การกบั ปัญหาหรือข้อกังวลเกีย่ วกบั การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอนของนักศึกษาในโรงเรียน
ที่อาจเกดิ ขนึ้ โดยประสานงานกบั ครพู ี่เลี้ยงและ/หรือผู้อานวยการสถานศกึ ษา
9) เขา้ รว่ มกจิ กรรมพื้นฐานทีส่ าคัญยิ่งของการฝึกปฏบิ ัติการสอน 3 กิจกรรม คือ การปฐมนเิ ทศ
และประชุมสมั มนาก่อนการฝกึ ปฏิบัติการสอน การประชมุ สัมมนาระหว่างการฝึกปฏบิ ัติการสอน และ
การประชมุ สมั มนาหลงั การฝึกปฏิบัตกิ ารสอนและสรปุ ผลโครงการฝึกปฏิบัติการสอนทสี่ าขาวิชาเปน็ ผู้จดั ขึน้
ทุกภาคการศกึ ษา เพ่ือให้กระบวนการฝึกปฏิบัตกิ ารสอนเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล
ตามกระบวนการวงจรการบริหารอยา่ งมีคุณภาพ (PDCA)
10) พัฒนาสมรรถนะครมู ืออาชพี ดา้ นการสอนให้กบั นกั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ัติการสอน โดยใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method ) โดยใช้การสงั เกตการสอน การสะท้อนคิด
และการวจิ ยั ในช้ันเรียน
11) ติดตาม กากับ ดูแล การปฏิบัติอ่ืน ๆ ทเ่ี ป็นภาระงานสนบั สนุนการสอน หรอื ส่วนควบ
ของการสอน เชน่ การเตรียมการสอน การตรวจงานและการบ้าน การประเมิน และ กิจกรรมการพฒั นา
นักเรียน ซ่ึงนกั ศึกษาฝึกปฏิบัตกิ ารสอนไดร้ ับมอบหมายเพื่อให้เกิดผลงานตามมาตรฐานของโรงเรยี น
12) ประเมินผลการฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอนของนักศึกษารว่ มกับครูพี่เลย้ี ง ผู้บริหารโรงเรียน และ
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ตามนโยบาย มาตรการและมาตรฐานท่ีกาหนดไวใ้ นคูม่ ือการฝกึ ปฏบิ ัติ
การสอน
13) ตดิ ตาม กากับ ดูแล แนะนา และให้คาปรึกษาแกน่ กั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ัติการสอน เพอื่ ให้
ปฏบิ ัติตนอยู่ในแนวปฏิบัติของจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู วัฒนธรรมองค์กรของโรงเรียนและชุมชน และ
ปรชั ญาของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกลุ
19
4. อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบการปฏิบตั กิ ารสอนของสาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน มบี ทบาท
และหน้าทด่ี งั นี้
1) จัดทารายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 4) รวมทั้งคู่มือการฝึกปฏิบตั ิการสอน
2) จดั ปฐมนเิ ทศนักศึกษาทีจ่ ะออกไปปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษาทุกคน เพ่ือให้นักศึกษา
มีความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปน้ี
2.1 บทบาทหน้าท่ขี องการเปน็ ครูในสถานศกึ ษาของนักศึกษา
2.2 การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของครแู ละตามปทสั ถานของโรงเรียนและชมุ ชน
2.3 เกณฑแ์ ละมาตรฐานของการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาของหลกั สูตรตามท่ีคุรุสภา
กาหนด
2.4 การตง้ั ความคาดหวังในด้านความเป็นครูมืออาชีพจากการฝึกปฏิบัติการสอน
ในสถานศกึ ษาของนักศึกษา
3) ดาเนนิ การเรอ่ื งหนังสอื สง่ ตัวนกั ศึกษาของมหาวิทยาลัยให้แก่สถานศึกษาที่นกั ศกึ ษาออกไป
ปฏิบตั ิการสอนทุกโรง และประสานงานกับสถานศึกษาเหลา่ นั้น
4) สงั เกตการสอน
5) จดั ทาการประชุมสมั มนาระหวา่ งเรยี น เพื่อติดตามผลการปฏบิ ตั ิการสอน และการนาเสนอ
ผล รวมทง้ั อุปสรรคต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ เพอื่ การปรับปรุงแก้ไข
6) ประเมินผลหลังจากการฝึกปฏิบตั ิการสอนเสรจ็ สน้ิ ลง
7) จดั ทาการประชุมสมั มนาหลังการปฏิบตั กิ ารสอนของนกั ศกึ ษา เพื่อจุดประสงคต์ า่ ง ๆ ดงั นี้
7.1 รับฟงั การนาเสนอผลการปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษาของนักศึกษาและชว่ ยสรา้ ง
ความมน่ั ใจในการปฏบิ ัตหิ น้าทีข่ องครใู หแ้ กน่ กั ศึกษาให้มากข้นึ
7.2 สนับสนนุ สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศึกษาได้ประเมินตนเองเก่ียวกับข้อเด่นและข้อด้อยของตนเอง
7.3 ให้นกั ศกึ ษาเปรียบเทยี บส่ิงที่คาดหวังไว้ก่อนออกปฏบิ ิตการสอนกบั สง่ิ ทต่ี นเองได้รับ
หลังจากการปฏบิ ัติการสอนเสรจ็ สิน้ ลง
7.4 รวบรวมผลงานการปฏบิ ัตกิ ารสอนของนกั ศึกษาเพ่ือตรวจสอบ ให้คะแนน
8) การนาเสนอรายงานผลการปฏิบตั ิงาน (มคอ. 5)
20
ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั จากนกั ศึกษาของสาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน
นกั ศกึ ษาฝึกสอน
1. แสดงให้เห็นว่ามคี วามรู้รอบตัวทั่ว ๆ ไปและมีความรูใ้ นเนื้อหาสาขาวชิ าเฉพาะทส่ี อน
2. แสดงให้เหน็ ถงึ การนาเอาทฤษฎี หลักการต่าง ๆ ที่ไดศ้ ึกษาเลา่ เรียนในรายวิชาวิชาตา่ ง ๆ ไปใช้
ในการจัดการเรยี นรู้ในชน้ั เรียนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. แสดงให้เหน็ ถงึ คณุ สมบตั ิของผทู้ ส่ี ะทอ้ นความคิดโดยการวเิ คราะหแ์ ละประเมินผลการปฏบิ ตั ิ
การสอนของตนเอง ในการแก้ปัญหาใด ๆ เก่ียวกับการสอน ต้องอาศัยข้อมลู เป็นหลกั เพ่ือทีจ่ ะได้ออกแบบ
การสอนเสียใหม่ใหต้ อบสนองความต้องการของผู้เรยี นไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิผล
4. ลงมือปฏบิ ัติและตัดสนิ ใจทาตามหลักการและทฤษฎที ีเ่ ก่ียวกบั การเรยี นการสอนและ
หลกั แห่งคุณธรรม จรยิ ธรรมทคี่ รตู ้องยกย่องและพฒั นาผเู้ รยี นให้เจรญิ งอกงามตามศักยภาพและ
ตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
5. สร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการเรยี นให้ผ้เู รยี นอยากจะมีปฏิสมั พนั ธ์กบั ครู ให้ผเู้ รียน
รูส้ กึ วา่ ครไู ม่น่ากลวั และพร้อมทจ่ี ะเสย่ี ง กลา้ ที่จะคิดวเิ คราะห์ กล้าวิพากษ์วจิ ารณ์ มคี วามคดิ สร้างสรรค์
ตัดสนิ ใจเลือกทาในสิ่งทผ่ี เู้ รยี นอยากทา และพรอ้ มท่จี ะรับผิดชอบ
21
ลำดบั ขนั้ ตอนกำรปฏบิ ัตขิ องรำยวิชำฝึกปฏบิ ตั ิกำรสอน
ลาดับข้ันตอนการฝึกปฏิบัติการสอน มีแนวปฏิบัติ ดังน้ี
นกั ศึกษาเสนอชอ่ื โรงเรยี นปฏิบตั ิการสอนต่อประธานหลักสตู ร
มหาวิทยาลยั ทาหนงั สือส่งตวั นกั ศกึ ษาไปยงั สถานศึกษา
สาขาวิชาฯ ปฐมนิเทศการปฏบิ ตั ิการสอน
นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั งิ านตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากมหาวิทยาลยั ฯ และสถานศกึ ษา
สาขาวชิ าฯ จัดสัมมนาระหวา่ งปฏบิ ัตกิ ารสอน
นักศึกษาปฏิบัตงิ านตามทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยและสถานศึกษา (ต่อ)
นักศกึ ษานาผลการวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้และ/หรือปญั หาของนักเรยี นมากาหนด
ประเด็นการพฒั นาการเรียนการสอนและ/หรือการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น
และเขียนรายงาน
นกั ศึกษาปฏบิ ตั งิ านตามที่ไดร้ บั มอบหมายจากมหาวทิ ยาลยั และสถานศึกษา
นักศึกษาจัดทาและนาสง่ เอกสารก-ารปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาตามทไี่ ดร้ บั
มอบหมายจากสาขาวชิ าฯ จดั นิทร-รศการและสัมมนาหลงั การปฏบิ ัตกิ ารสอน
- (ตอ่ )
ผู้รับผดิ ชอบรายวิชาประเมินผล- โดยรวมของการฝึกปฏิบตั ิการสอน
ภาพที่ 1 ข้ันตอนการฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอน
22
ตัวอยา่ งตารางการปฏบิ ตั งิ านในสถานศึกษา 15 สปั ดาห์ของนักศกึ ษา
ในรายวชิ าปฏิบัติการสอน 1 และ 2
กจิ กรรม สง่ิ ทท่ี า สถานที่ ชว่ งเวลา
1. กิจกรรมกอ่ นเรมิ่ ปฏบิ ัติ กิจกรรมในวันปฐมนเิ ทศ หอ้ ง …มหาวทิ ยาลัย …
การสอน 1. จดั หาเอกสารหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน วงษช์ วลติ กุล
2. รับคูม่ ือการฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอนฯ
2. รายงานตวั 3. รบั คมู่ ือกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครู สถานศึกษา กอ่ นเร่มิ การปฏิบตั ิ
4. แนวทางการทากรณศี ึกษา สถานศกึ ษา การสอน ดขู ้อมลู
5. แนวทางการทาวจิ ยั ในชั้นเรยี น จากหนงั สอื สง่ ตวั
6. บทบาทของนกั ศกึ ษา ใน 2 สถานภาพ
สปั ดาห์ที่ 1
• นักศึกษาท่ีลงทะเบยี นเรยี นรายวิชา ของการฝกึ
ปฏบิ ัติการสอน 1 หรอื 2 ปฏบิ ตั กิ ารสอน
• ครผู สู้ อนในสถานศึกษา
7. จดั หาระเบยี บและข้อบงั คบั ในการปฏิบัตติ น
ของครตู ามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู
8. หลักเกณฑข์ องหลกั สตู รตามขอ้ บังคบั ของครุ ุ
สภาเกย่ี วกับการปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา
รายละเอียดดเู พิ่มเติมในเอกสารหลักสูตร
1.1 จานวนวันในการปฏิบัตกิ ารสอน
1.2 จานวนและชนดิ ของภาระงานทีต่ อ้ งทา
(ดูจากเอกสารนาสง่ อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบรายวิชา)
การเขา้ พบ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครูพี่เลย้ี ง
3. การตดิ ตอ่ ประสานงานกบั • นักศกึ ษาที่ไปประจาอยทู่ ี่โรงเรยี นติดต่อ
โรงเรียน ประสานงานกบั สาขาวิชาฯ เพอื่ แจ้งหมายเลข
โทรศพั ทห์ รือ email ในการตดิ ตอ่ กบั โรงเรยี น
• นักศึกษาส่งตารางสอนไปใหส้ าขาวิชาฯ
• นักศึกษาตอ้ งทาความกระจา่ งเกี่ยวกับ
กระบวนการของการฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอน รวมทั้ง
ปญั หาตา่ ง ๆ ท่ีจาเปน็ ตอ้ งแกไ้ ข
4. การสังเกต การบนั ทึกการสะทอ้ นคดิ สถานศกึ ษา สปั ดาหท์ ่ี 1
การสอนของนักศกึ ษา
23
5. การปฏบิ ัติการสอน • นักศึกษาจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ลว่ งหน้า สถานศึกษา ตง้ั แตส่ ปั ดาห์ ท่ี 2
เป็นต้นไป
และสง่ ให้ครพู เี่ ลยี้ งตรวจสอบ ให้คาแนะนา
และการบนั ทึกการสะท้อนคิด
• ครพู เี่ ลยี้ งควรสงั เกตการสอนของนกั ศึกษา
4 ครัง้ ตลอดระยะเวลาการฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร
สอน โดยทงิ้ ระยะหา่ งกนั 3 สัปดาห์
เพื่อที่จะสามารถตรวจดคู วามกา้ วหนา้
ในการปฏบิ ตั ิการสอนได้
6. การบันทกึ การสะทอ้ นคดิ • นกั ศึกษาสง่ บันทกึ การสะทอ้ นคิดสาหรับ สถานศกึ ษา สปั ดาหท์ ่ี 2 ของ
การฝึกปฏิบัติ
สปั ดาหท์ ่ี 1 และ 2 ใหอ้ าจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบ การสอน
การฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอน
• อาจารยอ์ า่ นบนั ทึกการสะท้อนคิดและให้
ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ พร้อมท้ังกรอกขอ้ มูลลงใน
แบบฟอรม์ การประเมนิ การสะท้อนคิด
7.การสอนและ การนิเทศ อาจารย์นิเทศกส์ งั เกตการสอนของนกั ศึกษา 1 สถานศกึ ษา สปั ดาห์ท่ี 5
การสอน ครง้ั ตอ่ 1 คน โดยมีการบอกลว่ งหนา้
ในการสงั เกต การสอนคร้ังน้ี นกั ศกึ ษาจะตอ้ งให้
อาจารย์นเิ ทศก์ ดแู ฟม้ ผลงานการฝึกปฏบิ ตั ิ
การสอนด้วยเพ่ือจะไดต้ ดิ ตามความก้าวหนา้
ของการปฏิบัตกิ ารสอนได้
8. การประชมุ สัมมนาใน งานท่สี ง่ มหาวทิ ยาลยั สัปดาหท์ ี่ 8
ระหว่างการปฏิบตั ิการสอน • บนั ทกึ เกยี่ วกบั นักเรียนในช้นั เรยี นทส่ี อนท่ไี ด้
ทาแล้ว
• บนั ทึกการปรกึ ษาหารอื กับครูพ่เี ลยี้ งเกี่ยวกบั
การจัดการเรยี นรู้
• แผนการจดั การเรยี นรทู้ ีค่ รพู เ่ี ลีย้ งสงั เกต
การสอนพร้อมท้งั คาแนะนาและข้อเสนอแนะ
• แผนการจดั การเรียนรูท้ ่อี าจารย์นเิ ทศกใ์ ห้
คาแนะนาและข้อเสนอแนะ
• การส่งผลงานการทากจิ กรรมเสริมความเปน็ ครู
อย่างน้อย 1/4 ของงานท้ังหมด
• รายงานผลการสะท้อนคิดในสัปดาหท์ ่ผี า่ นมา
• รายงานผลการปฏบิ ตั กิ ารสอน
• รายงานผลการประเมินของครูพี่เลยี้ ง
• กรณศี ึกษา (รา่ ง)
24
• โครงการวจิ ยั ในชัน้ เรยี น (ร่าง) สถานศึกษา สปั ดาห์ท่ี 9
9. การปฏิบัติ การสอนและ นักศึกษาปฏิบตั ิการสอนและบันทกึ สถานศกึ ษา สปั ดาหท์ ่ี 12
การสะทอ้ นคดิ การสะทอ้ นคดิ สถานศกึ ษา สัปดาหส์ ดุ ท้าย
10. การนิเทศการสอน อาจารย์นเิ ทศกส์ งั เกตการสอน (ที่ 15)
10. การประชุมเพ่อื อาจารยน์ เิ ทศกอ์ าจจะนดั หมายใหม้ ีการประชุม มหาวทิ ยาลยั
ประเมินผลและสง่ ผล ร่วมของอาจารย์นิเทศก์ ครพู เี่ ลย้ี งและผบู้ ริหาร ภายในหน่ึง
การปฏบิ ัตกิ ารสอน สถานศึกษาเพือ่ อภิปรายเก่ยี วกับความก้าวหนา้ สัปดาห์หลงั จาก
ของนกั ศึกษา ในการปฏิบตั ิการสอนและการให้ ทกี่ ารฝึกปฏิบตั ิ
11. การสัมมนา หลังการฝกึ ระดบั คะแนนของสถานศกึ ษา การสอน
ปฏิบัตกิ ารสอน การประชมุ นเ้ี ป็นการประชมุ เพือ่ ปดิ การปฏิบตั ิ เสรจ็ สิน้ ลง
การสอนของนักศึกษา และอาจารย์นเิ ทศก์
คาดหวังว่าจะได้รับเอกสารต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง
กบั การปฏิบัติ การสอนของนกั ศกึ ษาและ
รายงานผลการปฏิบตั กิ ารสอนจากสถานศึกษา
• นกั ศึกษาแลกเปลย่ี นประสบการณ์
ในการปฏบิ ตั ิ การสอนและช่วยกนั เสรมิ
เติมเตม็ ความรู้ (นักศึกษาตอ้ งนาแฟม้ ผลงาน
มาแสดงด้วย)
• นกั ศกึ ษาระบุบอกสว่ นทเ่ี ปน็ จดุ แข็งและ
จุดออ่ นของตนเอง และจดุ แขง็ และจุดออ่ น
ของสาขาวิชาฯ เพ่ือการพัฒนา
• นักศึกษาเปรยี บเทียบส่ิงทค่ี าดหวงั วา่ จะไดร้ บั
จากการออกไปปฏบิ ตั กิ ารสอนทรี่ ะบไุ ว้กอ่ น
ออกไปปฏิบตั กิ ารสอนกับสง่ิ ท่ีไดร้ บั จริง ๆ
หลังจากการปฏิบัตกิ ารสอนเสรจ็ สนิ้ ลง
• นกั ศึกษาสง่ แฟม้ ผลงานต่าง ๆ เกย่ี วกับ
การปฏบิ ัติการสอนตามรายการท่กี าหนด
เพอื่ ใหผ้ ู้รบั ผิดชอบรายวิชาฯ พจิ ารณา
ตรวจสอบ
• สาขาวิชาฯ สรปุ ผลการฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอน
25
แนวทางการปฏบิ ตั ติ นของนกั ศกึ ษาระหว่างการฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา
ในชว่ งเวลาของการฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษาน้นั นักศึกษาต้องวางตนอยใู่ นสถานภาพ
ของครขู องสถานศกึ ษานัน้ โดยยดึ ระเบียบตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษานนั้ เปน็ สาคัญและให้อยู่ในแนวปฏบิ ตั ติ น
ดังต่อไปน้ี
1. ระเบยี บการแตง่ กาย
ในการปฏบิ ัติหน้าที่ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนนัน้ ใหน้ กั ศึกษาท้ังหญงิ และชาย แตง่ กายเรียบร้อย
สะอาด เหมาะสมและดูดตี ามปทสั ถานการแต่งกายของครใู นสถานศกึ ษานนั้ ๆ
1.1 นักศกึ ษาชาย
1) ไว้ผมทรงสภุ าพ ไม่ไว้ผมยาว ไมไ่ วห้ นวดเครา
2) ใสเ่ ส้อื เชติ้ สีขาวหรอื สอี อ่ น ไมม่ ลี วดลาย คอเชิ้ต ผา่ อกตลอด มีกระดุม 5 เม็ด ถ้าเป็นเส้ือ
แขนยาว ตอ้ งตดิ กระดมุ แขนเส้ือ และเอาชายเสอ้ื ไวใ้ นกางเกง ผกู เนคไท
3) กางเกงผา้ ทรงสุภาพ สดี า น้าเงินเข้ม หรือกรมทา่ ไม่มลี วดลาย ห้ามสวมกางเกงยีนส์
4) เข็มขดั หนังสดี า
5) รองเทา้ หนงั ห้มุ สน้ สดี า แบบคทั ชหู รือผกู เชอื ก
6) ถงุ เท้าสีดา น้าตาล นา้ เงนิ เทา หรอื ขาว
7) ไม่สวมแว่นกนั แดดหรือแวน่ ตาสีดา
8) ไม่สวมหมวกหรอื โพกผ้าใด ๆ บนศรี ษะ
9) ไม่ใช้เครอื่ งประดบั หรือเคร่อื งสาอางทไ่ี มเ่ หมาะสมกับความเป็นครู
1.2 นักศึกษาหญงิ
1) ไวผ้ มทรงสภุ าพ ถ้าไว้ผมยาว ควรผกู รวบใหเ้ รยี บร้อย ไม่ให้รุ่ยร่ายปลวิ ไปมา หรอื สยายบา่
2) เสือ้ ผา้ ทรงสุภาพ สแี ละลวดลายสภุ าพ ไม่รมุ่ ร่าม ไม่คบั ไม่ส้นั จนเกนิ ไป
3) รองเท้าหุ้มส้น ไมส่ ูงและไมค่ วรมีลวดลายมากเกนิ ไป
4) ไมส่ วมแว่นกันแดดหรือแว่นตาสดี า
5) ไม่สวมหมวกหรือโพกผ้าใด ๆ บนศีรษะ
6) ไม่ใชเ้ คร่ืองประดับหรือเคร่อื งสาอางที่ไม่เหมาะสมกับความเปน็ ครู
2. ระเบียบการลากิจ ลาป่วย
ใช้ระเบยี บการลาของสถานศึกษา
1) ไม่อนญุ าตให้ลากิจในวนั ทม่ี กี ารเรยี นการสอน ยกเวน้ กรณีทเี่ ปน็ เหตสุ ุดวสิ ัยเทา่ นน้ั
โดยใหส้ ่งใบลาลว่ งหน้า และต้องได้รับอนญุ าตจากผ้บู รหิ ารก่อน
2) การลาปว่ ย อนุญาตให้ลาได้ตามความเป็นจรงิ และมีใบรับรองแพทย์
หมายเหตุ ในการฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชพี ครูในสถานศึกษา นักศึกษาต้องมีเวลาปฏิบตั ิการสอนอยา่ งน้อย
120 ชว่ั โมง และฝึกปฏบิ ตั ิงานอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องอีกไม่น้อยกวา่ 120 ชัว่ โมงตามระเบียบของคุรุสภา
26
3. แนวปฏิบัติของการลงเวลาปฏิบัติงาน
1) ใหนกั ศึกษาลงเวลาปฏบิ ตั ิงานในใบลงเวลาน้ี เฉพาะวันท่ีมาปฏบิ ัตงิ านเทานน้ั (นักศกึ ษาที่เป็น
ครอู ยู่ในโรงเรียน อยู่แล้ว ให้ลงเวลาในใบลงเวลาของโรงเรยี น ตามปกติ)
2) นักศกึ ษาตองลงเวลาดวยตนเอง
3) ใหลงเวลาตามทมี่ าปฏิบตั ิงานจริง ในแต่ละวนั ตามเวลาราชการ
4) นักศึกษาควรมาถึงโรงเรียนกอนเวลาโรงเรียนเขาอยางนอย 15 นาที และกลับหลังโรงเรียน
เลกิ หรอื ตามทีโ่ รงเรยี นกาหนด ยกเวนนกั ศึกษาที่มหี นาทเี่ ปนกรรมการเวรประจาวันหรือหนาท่ีอืน่
ตามทโ่ี รงเรยี นมอบหมาย ใหปฏิบตั ติ ามทโ่ี รงเรยี นกาหนด
5) นักศกึ ษาที่ไมมาปฏิบตั ิงานในวนั ใด ควรแจงสาเหตุและใหปฏิบตั ิตามระเบยี บการลา
โดยเครงครดั ผูทไี่ ม่สามารถฝกึ ปฏิบัติการสอนได้ครบตามจานวนชั่วโมงท่ีคุรสุ ภากาหนด จะตอ้ ง
ลงทะเบียนเรยี นรายวชิ า การฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอนใหม่
6) บญั ชลี งเวลาปฏิบตั งิ านเปนเอกสารสาคัญของทางราชการ โปรดเกบ็ รกั ษาไวใหดีและปฏิบัติ
ตามแนวปฏบิ ัติทุกประการ เมื่อการฝึกปฏิบัตกิ ารสอนเสรจ็ สิ้นลง เอกสารน้ีจะต้องเก็บไวใ้ นแฟม้
ผลการปฏิบัตงิ านเพ่ือใชใ้ นการตรวจสอบตอ่ ไป
4. ระเบยี บปฏบิ ตั ิระหวา่ งทาการสอน
1) ต้องคอยดูแลควบคุมการเข้าแถวของนักเรียนตามที่ได้รับมอบหมาย
2) ในระหว่างเวลาราชการไม่อนุญาตให้กลับที่พัก หรือออกนอกบริเวณสถานศึกษา
หากมีกิจจาเปน็ จริง ๆ ใหข้ ออนุญาตผ้บู ริหารหรือผ้ทู ่ไี ดร้ บั มอบหมายจากผูบ้ รหิ าร และต้องลงชื่อ
ในสมดุ ออกนอกบรเิ วณสถานศึกษา
3) นักศึกษาจะต้องลงเวลาทางานท้ังไปและกลับในบัญชีลงเวลามาทางานท่ีสถานศึกษา/
หรือมหาวิทยาลัยจัดให้ นักศึกษาที่มาลงเวลาทางานสาย จะตอ้ งช้ีแจงต่อผ้บู ริหารหรือผู้ที่ไดร้ ับ
มอบหมายอย่างเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร และมาสายได้ไมเ่ กินตามระเบยี บข้าราชการ
4) เมอื่ มีกจิ กรรมพิเศษทีต่ อ้ งปฏบิ ัติในวันหยุด กใ็ ห้ลงชือ่ และเวลาปฏิบตั ิในสมดุ บันทึกการลงเวลา
ในชอ่ งหมายเหตุ การปฏิบัตริ ะหว่างสอนใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บของสถานศกึ ษานน้ั ๆ
27
5. งานทีน่ กั ศกึ ษาตอ้ งปฏบิ ตั ิในระหว่างฝึกปฏิบัตกิ ารสอน
นักศึกษาต้องปฏบิ ัตใิ นระหวา่ งฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอน ดังตาราง ตอ่ ไปน้ี
ลาดับที่ รายการ แนวปฏบิ ัติ
1 งานสอน
1.1 ศกึ ษาเอกสารหลักสูตร แผนการจัดการ 1.1 ศกึ ษาเนือ้ หาในวชิ าท่ีสอน
เรยี นร/ู้ คูม่ อื ครู/โครงการสอน/แบบเรยี น 1.2 จดั ทาหน่วยการเรียน/โครงการสอนให้
1.2 จดั ทาหนว่ ยการเรียน/โครงการสอนหรือ สอดคลอ้ งกบั ปฏิทนิ งานวชิ าการของโรงเรียน
กาหนดการสอนในรายวชิ าทรี่ ับผดิ ชอบ 1.3 จดั ทาแผนการจัดการเรียนรเู้ ป็นรายชว่ั โมง ให้
1.3 จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ มีองคป์ ระกอบครบถว้ นและตอ้ งส่งให้ครพู ่ีเลย้ี ง
1.4 จดั หา/ผลติ สื่อประกอบการเรยี นการสอน ตรวจลว่ งหน้าอยา่ งนอ้ ย 1 สปั ดาห์
1.5 จัดการเรยี นรู้ตามแผนฯ 1.4 จัดทาสอ่ื หรอื หาแหลง่ เรยี นรู้ เตรียมสอ่ื
ใหส้ อดคล้องกับเนื้อหาท่ีสอน
1.6 วัดผลและประเมนิ ผลผู้เรียน (ใชเ้ กณฑ์ 1.5 ปฏบิ ัตกิ ารสอนจริงตามแผนการจัดการเรยี นร้แู ละ
และระเบยี บการวดั ผลของโรงเรยี น) ปรับปรุงงานสอนตามคาแนะนาของอาจารย์
1.7 จัดทาฐานขอ้ มลู ของนักเรยี น วิเคราะหผ์ ูเ้ รียน นเิ ทศก์และครูพเี่ ลย้ี งและบนั ทึกผลหลงั การสอน
เพอื่ ทาวิจยั ในชน้ั เรียน ทกุ คร้งั
1.8 จดั ปา้ ยนทิ รรศการในชนั้ เรียน 1.6 จดั ทาเครอื่ งมือวัดผลตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1.9 จดั ทาโครงการพฒั นาตนเองที่เกย่ี วข้อง 1.7 บนั ทึกเก่ียวกับนักเรยี นในชน้ั เรียนทีส่ อน อย่าง
กบั การจดั การเรยี นรู้ นอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 2 ครงั้
1.10 จัดทาแฟ้มผลงานการฝกึ ปฏบิ ัติ 1.7 กาหนดแนวทางเพอ่ื ทาวจิ ัยในชน้ั เรยี น
การสอน (ดูรายละเอียด หน้า 29 และ 1.8 จดั ทาปา้ ยนทิ รรศการเก่ยี วกบั เน้อื หาท่ีสอน
เอกสารทเ่ี กีย่ วข้องในภาคผนวก) 1.9 วิเคราะห์จดุ เด่น จุดด้อยของตนเองท่สี ง่ ผล
กระทบตอ่ ผู้เรียน แล้วจดั ทาโครงการพัฒนา
ตนเองเพอ่ื สร้างสมรรถภาพในการจัดการเรียน
การสอน อยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ ภายใตก้ ารให้
คาปรกึ ษาของอาจารยน์ เิ ทศก์และครพู เี่ ล้ียง)
1.10 รายการในแฟ้มแสดงผลงาน (จัดหาแฟม้ ท่มี ี
หว่ งสาหรับใสเ่ อกสารเปน็ ชุด ๆ พรอ้ มท้ังติด
กระดาษสีระบุหมวดหมู่ของเอกสาร)
• บนั ทกึ การสงั เกตการสอนของครูพเี่ ล้ียง
อยา่ งน้อย 2 ครง้ั และให้บันทกึ เพิ่มเติม
เกี่ยวกับกลวิธีการบรหิ ารจดั การเก่ียวกับวินัย
ของนักเรียนและการบริหารจัดการในเรอ่ื งอืน่ ๆ
28
• บันทึกการปรกึ ษาหารอื กบั ครพู ี่เลี้ยงเกยี่ วกับ
การจดั การเรียนรู้
• เอกสารการสะท้อนคิดสปั ดาห์ละ 2 คร้งั
• รายงานการมีส่วนร่วมในกิจกรรมลดเวลาเรียน
เพ่ิมเวลารู้ โดยระบุ วนั เวลาและงานท่ที า
• รายงานการเข้าร่วมประชุมของโรงเรยี นหรอื
หมวดวิชา
2 งานกิจกรรมนักเรยี นและการแนะแนว .
2.1 งานชุมนมุ หรอื ชมรม 2.1 เป็นท่ีปรกึ ษาในกิจกรรมของชมุ นุม
2.2 งานแนะแนว 2.2 ให้การแนะแนวทางการเรียนของนกั เรยี น
2.3 งานกฬี า เป็นกลุม่ และเปน็ รายบคุ คล
2.4 ควบคมุ การเขา้ แถวและงานตรวจ 2.3 การเขา้ รว่ มกิจกรรมการแข่งขนั กฬี า
สขุ ภาพนักเรยี น ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากโรงเรียน
2.5 กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร 2.4 การเอาใจใส่ดแู ลการเข้าแถวตอนเช้า
และตรวจสขุ ภาพนกั เรียน
2.5 การรว่ มกิจกรรมเสริมหลกั สตู รของโรงเรยี น
3 งานธุรการในช้นั เรียน
3.1 การจัดทาบญั ชีเรียกชอ่ื 3.1-3.4 ทาเอกสารธุรการในชนั้ เรียนตามระเบยี บ
3.2 การจัดทาสมดุ รายงานประจาตวั และคาแนะนาจากครูพเ่ี ลี้ยง
นักเรยี น 3.5 จดั /ปรบั ปรงุ ชั้นเรียนให้มบี รรยากาศน่าเรียน เชน่
3.3 การจดั ทางานขอ้ มูลสถิติของนกั เรียน จดั ท่ีนั่งและกลุ่มของนักเรยี นให้เหมาะสม
3.4 การจัดทาสมุดประจาชน้ั การจัดมุมหนงั สือ เปน็ ตน้
3.5 การจัดสภาพแวดลอ้ มในชนั้ เรียน
4 การเข้าร่วมประชุมของโรงเรียนและ/หรอื รายงานการเข้ารว่ มประชุมท่นี กั ศกึ ษามีสว่ นร่วม
หมวดวิชา
หมายเหตุ การปฏบิ ตั งิ านทุกครั้งนักศึกษาจะต้องบนั ทึกไวเ้ ป็นหลักฐานในแบบบนั ทึกการปฏิบัตงิ าน
และมีครูพี่เลี้ยงรบั รองการปฏิบตั งิ าน
29
แฟ้มผลงานการปฏิบัตกิ ารสอน
แฟม้ ผลงานการปฏบิ ตั ิการสอนเป็นเอกสารหน่งึ ที่นกั ศึกษาตอ้ งนาเสนอเพ่ือเป็นส่วนหนง่ึ
ของการสาเรจ็ การศึกษาของหลักสูตรนี้
จดุ มงุ่ หมายของแฟ้มผลงานการฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอน
1. เพอื่ สนบั สนุนสง่ เสริมให้นักศึกษาไดส้ ะท้อนคิดเกยี่ วกับสมรรถนะทจี่ าเปน็ ของตนเองในดา้ น
ตา่ ง ๆ ในฐานะครตู ามเกณฑ์มาตรฐาน และสะท้อนคดิ เกยี่ วกับเน้อื หาความรู้หลากหลายท่ีก่อใหต้ นเอง
เกดิ สมรรถนะเหล่านั้นข้ึนมาได้
2. เพื่อชว่ ยในการเตรยี มการของนกั ศกึ ษาในบริบทต่าง ๆ สาหรบั การประกอบอาชีพครูมืออาชีพ
ต่อไปในอนาคต
3. เพื่อเปน็ การกระตุ้นให้มกี ารอภิปรายร่วมกันของตวั นักศึกษาเองกับกล่มุ เพ่ือน ครพู เ่ี ลยี้ งและ
อาจารย์ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
4. เพ่ือเปน็ การอานวยความสะดวกในการประเมนิ ตนเองเกยี่ วกบั การพัฒนาความสามารถ
ของนักศึกษาเอง
5. เพ่ือช่วยให้นักศึกษาเกิดความตระหนกั เกยี่ วกบั จุดเด่น จุดด้อยท่ีเก่ียวกบั การจัดการเรยี นรู้
6. เพือ่ เปน็ เครอ่ื งมือของนักศึกษาในการติดตามผลและความก้าวหนา้ ของตนเอง
แนวทางการทาแฟ้มผลงาน
1. จดั หาแฟ้มทม่ี คี วามหนาประมาณ 2 นว้ิ ชนิดทม่ี หี ่วง และใชแ้ ถบกระดาษสีระบหุ มวดหมู่
ของเอกสาร
2. จดั ทาหน้าสารบัญของเอกสารทงั้ หมด
3. จดั เรียงลาดบั เอกสารในแฟม้ ตามลาดบั ตอน และในแต่ละตอนใหเ้ รียงเอกสารลา่ สดุ อยู่หนา้ สุด
4. จัดทาแฟ้มเอกสารนใ้ี หเ้ ป็นปจั จุบันอยู่เสมอ และนาเสนออาจารย์นเิ ทศก์ทุกครั้งทม่ี ีการนิเทศ
สว่ นประกอบของแฟ้มผลงาน
แฟ้มผลงาน ประกอบขนึ้ ดว้ ยส่วนสาคัญ 3 สว่ น คือ 1) ข้อมูลทัว่ ไป 2) รายงาน และ 3) แฟม้
หลกั ฐาน (ดังรายละเอียดในตาราง)
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป รายละเอียด
1.1 ประวตั แิ ละข้อมูลสาคญั ของนักศึกษา เขียนประวตั แิ ละขอ้ มูลสาคัญของตนเอง ดรู ายละเอยี ด
ในภาคผนวก หนา้ 60
1.2 ข้อมลู เกยี่ วกบั สถานศกึ ษาและแผน ดูรายละเอยี ดเก่ยี วกับสถานศกึ ษา ในภาคผนวก หนา้ 59
ท่ตี ง้ั และแผนทชี่ ุมชนทส่ี ถานศกึ ษาต้ังอยู่
ส่วนท่ี 2 รายงาน รายละเอยี ด
2.1 ปรชั ญาเกี่ยวกับการจัดการเรยี นรู้ 2.1.1 ระบุวา่ 1) นักศึกษาสอนนักเรียนอยา่ งไร
2) เพราะเหตุใดจงึ สอนนักเรยี นอยา่ งนัน้
30
และ 3) นกั ศกึ ษาร้ไู ดอ้ ย่างไรวา่ แนวทางการสอนท่ีใชอ้ ยู่
นน้ั เปน็ การจดั การเรียนรู้ที่มีประสทิ ธผิ ล
2.1.2 ขอ้ ความทเ่ี ขียนในข้อ 1. ให้มคี วามยาวประมาณ 1 หน้า
2.1.3 นกั ศกึ ษาพยายามเขียนขอ้ ความในข้อ 1 ใหผ้ อู้ ่าน
1) “มองเห็น” ภาพพฤตกิ รรมการจดั การเรียนรู้ของตวั
นักศกึ ษาขณะท่ีจดั การเรียนรูอ้ ยู่ในห้องเรียน ท่ีมีเอกลักษณ์
เฉพาะตวั
2) เป็นภาพทผ่ี ้อู า่ นจดจาไวไ้ ด้
3) แสดงให้เห็นว่าเปน็ ครผู มู้ ีฝีมือในการจัดการเรยี นรู้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
วธิ กี ารเขียน ให้นกั ศกึ ษาจดั ระบบการคดิ กอ่ น ถามตวั เองว่า
• เปา้ หมายในการจดั การเรยี นรู้ คอื อะไร
• กลวิธีทนี่ กั ศกึ ษาใช้ในการทาเปา้ หมายเหล่านน้ั ให้
สาเร็จ มีอะไรบา้ ง ยกตวั อย่างประกอบ
• นกั ศกึ ษามีหลักฐานอะไรบา้ งท่แี สดงให้เหน็ ถึง
ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง นีค่ ือ ขอ้
พสิ จู น์วา่ นักเรยี นเกดิ การเรียนรู้ ด้วยความเขา้ ใจอย่าง
กว้างขวางและลกึ ซึง้
2.2 ความรับผิดชอบเกย่ี วกับการจดั การ ระบุรายวชิ าทไี่ ด้รับมอบหมายให้รับผิดชอบและเป้าหมาย
เรียนรู้และเปา้ หมายในการจดั การเรียนรู้ ในการจดั การเรยี นรูต้ ามมาตรฐานและตวั บง่ ชขี้ องหลกั สูตร
2.3 เอกสารและสื่อต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นการจดั การ ระบรุ ายการเอกสารและสอ่ื ทีใ่ ชใ้ นรายวิชาทไี่ ดร้ บ้ มอบหมาย
เรียนรู้ ใหร้ ับผดิ ชอบ
2.4 แนวทางการสอนและกลวิธกี ารสอน ระบุแนวทฤษฎีของแนวทางการสอนทีน่ ักศกึ ษาใชส้ อน
ในรายวิชาที่ได้รบั มอบหมายและกลวธิ กี ารสอน พร้อมท้ังลาดบั
ขนั้ ตอนการสอน
2.5 นวัตกรรมการสอน ระบุนวัตกรรมการสอนทนี่ กั ศกึ ษาจดั ทาข้ึนสาหรับใช้ในรายวชิ า
ทีไ่ ด้รบั มอบหมายและรายละเอียดของนวตั กรรม รวมทงั้
วิธกี ารใช้
2.6 การประเมินประสทิ ธภิ าพการสอน อธิบายในรายละเอยี ดเกยี่ วกับการวดั ผลและประเมนิ ผลใน
รายวิชาทไ่ี ด้รบั มอบหมาย และผลที่เกิดขึ้นกับนักเรยี น
2.7 รางวลั ที่ไดร้ บั ระบุรางวลั ตา่ ง ๆ ทน่ี ักศึกษาไดร้ บั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการจดั การ
เรยี นรู้
31
2.8 การประเมินตนเองเก่ียวกบั การจัดการ รายงานผลการประเมินตนเองเกี่ยวกับการจัดการเรยี นรู้ โดยใช้
เรียนรู้ เอกสารฉบับเดียวกันกับทค่ี รู พเ่ี ลีย้ งและอาจารย์นิเทศใช้
ในการประเมนิ ผลการจัดการเรียนรูข้ องตวั นักศึกษา
2.9 การพัฒนาตนเองเพื่อความเปน็ ครู ระบุรายการของงานต่าง ๆ ทน่ี กั ศึกษาได้ทาเพ่ือพฒั นาตนเอง
มืออาชีพ เพ่อื ความเป็นครูมืออาชพี นอกเหนือจากกจิ กรรมเสริมความ
เปน็ ครู
ส่วนท่ี 3 หลกั ฐาน รายละเอยี ด
3.1 ตารางสอน ตารางสอนของรายวิชาท่ีไดร้ บั มอบหมาย แสดงใหเ้ ห็นวนั เวลา
ทส่ี อนและภารกจิ อืน่ ๆ ทที่ าทีโ่ รงเรยี น รวมจานวนทั้งสนิ้ 8+8
ช่ัวโมงตอ่ สปั ดาห์
3.2 รายวิชาทส่ี อน โครงสร้างของรายวชิ า สาระวชิ า ชอ่ื รายวชิ าที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ ระดับช้นั
และหนว่ ยการเรยี น แผนการจดั การเรยี นรู้ ตารางแสดงรายละเอยี ดของโครงสรา้ งรายวชิ า ตารางแสดงชอ่ื
หนว่ ยการเรียนและแผนการจดั การเรียนรขู้ องแตล่ ะหนว่ ย
3.3 เอกสารและสอ่ื การสอน รวบรวมเอกสารและสอื่ การสอนทใ่ี ช้ในรายวิชาทไี่ ด้รบั มอบหมาย
ในกรณที ี่เปน็ สอื่ อน่ื ๆ ทไี่ ม่สามารถรวบรวมมาได้ ให้เขยี น
รายละเอยี ดอย่างชัดเจนทสี่ ามารถตรวจสอบได้
3.4 เอกสารการวดั ผลและการประเมินผล รวบรวมเอกสารหลกั ๆ ทีใ่ ชใ้ นการวัดผลและประเมินผลใน
รายวิชาที่ได้รบั มอบหมาย ท้งั การวัดผลรายทางและปลายภาค
3.5 การนิเทศกก์ ารสอน และข้อเสนอแนะ 1. มีแผนการจัดการเรยี นรู้ในรายวชิ าทไี่ ด้รับมอบหมาย
ท่ีครูพเี่ ลี้ยงและอาจารย์นิเทศใชใ้ นการสงั เกตการสอน
3.6 การประเมินประสทิ ธิภาพการสอน ในแต่ละคร้งั พร้อมท้ังขอ้ เสนอแนะ (ครพู ี่เลี้ยงสงั เกตการสอน
จากครพู ี่เล้ยี งและอาจารยน์ เิ ทศก์ อย่างนอ้ ย 4 ครงั้ และอาจารยน์ เิ ทศก์ 2 ครง้ั )
3.7 การพฒั นาตนเองเพื่อความเป็นครู 2. แผนการจดั การเรยี นรู้ประกอบด้วย แผนฯ ทีใ่ ชส้ อน สอ่ื
มอื อาชพี เอกสาร และอุปกรณต์ ่าง ๆ ทใี่ ชส้ อน และแบบฝกึ หดั ทั้งหมด
3. การสะทอ้ นคดิ หลงั การสอนของนักศึกษา ซง่ึ โดยปกติ ควรจะ
เขียนหลงั จากเลกิ งานแลว้ เพ่ือจะไดย้ ้อนระลกึ ถงึ ความสาเรจ็ ของ
การสอนในวันนี้ และในสว่ นทคี่ ดิ วา่ จาเปน็ ตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ข
ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพการจัดการเรียนรขู้ องนักศึกษา
ตามแบบฟอรม์ การประเมนิ ของครพู ี่เลย้ี งและอาจารยน์ ิเทศก์
ทกุ คร้งั ทีม่ กี ารสงั เกตการสอน (แบบประเมนิ อยู่ในหน้า 50)
1. เปรยี บเทียบความคาดหวงั ของนักศกึ ษาในการฝึกปฏบิ ัติ
การสอน `(ใชแ้ บบฟอร์มในภาคผนวก หนา้ 44)
2. วิเคราะหจ์ ดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยของตนเองในด้านต่าง ๆ ท้ังในด้าน
เนื้อหาความรใู้ นสาระวชิ าทส่ี อน ด้านการปฏิบตั ิงานและหรือ
3.8 กิจกรรมเสรมิ ความเปน็ ครู 32
3.9 กรณีศึกษา ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม (จรรยาบรรณ) ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่
3.10 วิจัยในชน้ั เรียน ผ้เู รียน รวมท้งั สิ่งท่ไี ดจ้ ากการสะท้อนคดิ ของตนเอง แล้ว
จดั ทาโครงการพฒั นาตนเองอยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ ภายใต้
การใหค้ าปรึกษาของอาจารยน์ เิ ทศกแ์ ละครูพเ่ี ลี้ยง
3. บันทึกการสงั เกตการสอนของครพู เ่ี ลี้ยงอยา่ งน้อย 2 คร้งั
และให้บันทกึ เพ่มิ เติมเก่ยี วกับกลวธิ กี ารบรหิ ารจดั การ
เกย่ี วกบั วนิ ยั ของนกั เรียนและการบรหิ ารจัดการในเรือ่ งอื่น ๆ
ดรู ายละเอียดในภาคผนวก หนา้ 46
4. บันทกึ การปรึกษาหารอื กบั ครพู ่ีเลย้ี งเกี่ยวกบั การจดั การเรยี นรู้
ดูรายละเอยี ดในภาคผนวก หนา้ 54
5. จัดทาเอกสารการสะทอ้ นคดิ สปั ดาหล์ ะ 2 ครง้ั ดตู วั อย่างใน
ภาคผนวก หนา้ 47
6. `บนั ทกึ เนอื้ หาความร้ทู ่ไี ดร้ บั จากการประชุมของโรงเรียนและ
ของหมวดวิชา
รายงานกิจกรรมเสรมิ ความเป็นครอู ย่างน้อยครึ่งหน่ึงในรายวชิ า
ฝึกปฏิบัตกิ ารสอน 1 และรายงานครบทกุ กจิ กรรมอย่างครบถว้ น
สมบรู ณใ์ นรายวชิ าฝึกปฏิบตั ิการสอน 2 (ดูคู่มือการทากจิ กรรม
เสริมความเป็นครู)
รายงานกรณีศกึ ษา 1 เลม่ ในแตล่ ะรายวชิ า
รายงานการวจิ ยั ในชั้นเรยี น 1 เล่มในแต่ละรายวชิ า
การบันทึกการสะท้อนคดิ
1. จดุ มงุ่ หมายของการบันทกึ การสะท้อนคดิ คือ การจดบนั ทึกความคิดและความรูส้ กึ เกีย่ วกบั
ความก้าวหน้าและพัฒนาการของการฝกึ ปฏิบัติการสอนของตนเอง การบนั ทกึ การสะท้อนคดิ น้ี จะช่วยให้
นกั ศึกษามองเหน็ พัฒนาการของการปฏิบัติการสอนของตนเองในภาพรวม
2. แนวทางในการบันทึกการสะท้อนคิด
2.1 ในการสงั เกตการสะทอ้ นคดิ ในแต่ละสัปดาห์ ควรกาหนดกรอบการสะท้อนคิดไปท่ีการตง้ั
คาถามถามตัวเองวา่ “อะไร” และ “อย่างไร” นน่ั กห็ มายถึงว่า เมื่อนักศึกษาสังเกตเห็นอะไร แทนทจ่ี ะ
จดเฉพาะสง่ิ ท่เี ห็น ให้พยายามทาความเขา้ ใจส่ิงท่ีสังเกตเห็นน้ัน แลว้ โยงไปถึงเนื้อหาความรู้ทเ่ี คยศึกษาเลา่
เรยี นมาจากรายวิชาต่าง ๆ แล้วพยายามคดิ โยงเข้าด้วยกนั จนเกดิ ความคดิ ใหม่ข้นึ มาหรือ สามารถคดิ
วิธกี ารสอนใหม่ ๆ ขึ้นมาเชน่ น้ี เป็นต้น
33
2.2 การจดบันทกึ การสะทอ้ นคิด ไมใ่ ชจ่ ดแต่เฉพาะเหตุการณ์ที่สงั เกต เพราะน่ันไม่ใช่วิธีที่นักศึกษา
จะพัฒนาตนเองเก่ียวกบั การสอน ตัวอย่าง เชน่ ถา้ นกั ศึกษาสังเกตบทเรยี นทค่ี รเู ป็นคนบอกใหน้ ักเรยี นทา
ตามเสยี เปน็ สว่ นใหญ่ (ครเู ป็นศูนยก์ ลาง) กใ็ ห้สะท้อนคดิ ในลกั ษณะว่า การสอนในลกั ษณะน้ันมีจุดมุ่งหมาย
อย่างไร และเม่ือใดทีค่ รูจาเป็นท่ีต้องใชว้ ธิ ีการสอนเชน่ นนั้ ดงั นน้ั ในการจดบันทึกการสะท้อนคิด ก็ควรจะ
บันทึกวา่ “ขา้ พเจ้าสงั เกตเห็นการสอนที่มีครูเปน็ ศนู ย์กลาง ซงึ่ วธิ กี ารสอนแบบน้จี ะใช้ เมื่อตอ้ งการใหผ้ ู้เรียน
ไดม้ ีข้อมูลพื้นฐานสาหรบั หวั ข้อเร่อื งใหม่ทจ่ี ะเรียน….” แตไ่ มค่ วรเขียนเพยี งวา่ “ครใู ชว้ ิธีการสอนท่ีครูเป็น
ศูนยก์ ลางตลอดทั้งคาบและไมใ่ ชว้ ธิ สี อนทน่ี กั เรียนเป็นศนู ย์กลางเลย”
2.3 ใชค้ วามเปน็ มืออาชีพ (ใช้หลกั วิชา-ถ้าไม่รู้ ตอ้ งคน้ ควา้ อย่าคดิ นกึ เอาเอง) ในการเขยี นเก่ียวกับ
การฝึกปฏิบตั ิการสอน ครู และนักเรยี นท่เี ราสังเกต
3. หวั ขอ้ เรือ่ งที่ควรสะท้อนคดิ และจดบันทึกเอาไว้
3.1การฝึกปฏบิ ัตกิ ารสอน
3.1.1 สะทอ้ นคิดเกี่ยวกบั มโนทศั น์และกิจกรรมที่สังเกตเห็นกับแนวคิด ทฤษฎีทีเ่ คยเรยี นมาจาก
มหาวทิ ยาลยั
3.1.2 ความคิดท่เี กิดขน้ึ เก่ยี วกบั การออกแบบหลกั สูตร เช่น ทาไมจึงต้องเรียงลาดับหวั ข้อเรื่อง
บางหัวข้อเช่นนัน้
3.1.3 ความคดิ ที่เกดิ ขึน้ เกีย่ วกับว่าการเรยี นรูเ้ กิดขน้ึ ได้อยา่ งไร เชน่ นกั เรียนเรยี นรเู้ ก่ียวกับหวั ขอ้
เรอ่ื งน้อี ย่างไร
3.1.4 ความคิดและการรบั รเู้ ก่ียวกบั ทฤษฎีการเรยี นรทู้ นี่ าไปใช้ในหอ้ งเรยี น ตวั อย่าง เช่น แนว
ทางการสอนทน่ี าไปใช้ใหส้ อดคลอ้ งกับพฒั นาการของนกั เรยี นอยา่ งไร
3.1.5 ความคิดทีเ่ กดิ ขึน้ จากการสังเกตการมีปฏสิ มั พันธใ์ นช้ันเรยี นระหวา่ งครูกบั นักเรียนและใน
ระหว่างกลุ่มผูเ้ รยี นด้วยกนั
3.2 การเรยี นรขู้ องนักเรียน
3.2.1 การตอบสนองของครูในการมีสว่ นรว่ มในการทากจิ กรรมของนักเรียน
3.2.2 สงิ่ ทท่ี าให้นักเรยี นมสี ว่ นร่วมในการเรยี น และมีแรงจงู ใจทจ่ี ะเรียน มีอะไรบ้าง และเป็น
เพราะอะไร
3.3 บทบาทของครูและความรบั ผิดชอบ
3.3.1 สะท้อนคิดเกี่ยวกบั บทบาทและการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบตั ิการสอน ตัวอย่าง
เช่น การช่วยครูพ่ีเลีย้ งสอนและการจดั การกบั ชนั้ เรียน การทางานเปน็ กลุ่มย่อย เป็นต้น
3.3.2 สะท้อนคิดเกีย่ วกบั ความสัมพันธ์ของตนเองกับครพู ่ีเลยี้ งและผบู้ ริหารและครูอื่น ๆ
ในโรงเรียน
34
3.3.3 สะทอ้ นคิดเกย่ี วกับความตระหนักในความเป็นครูของตนในชมุ ชน เชน่ การพดู
หรือ การกระทาบางอย่างของตนอาจส่งผลตอ่ คนอื่น ๆ
3.4 การสะท้อนคดิ เก่ียวกบั หลกั ปรัชญาในการสอนและการเรียนรู้
หากมีข้อสงสัยประการใด โปรดสอบถามได้ โดยใช้ email น้ี [email protected]
แนวทำงกำรประเมินผลรำยวิชำกำรฝึกปฏิบัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำของนักศกึ ษำ
(แบบประเมนิ ฯ อยใู่ นภำคผนวก หน้ำ 50 และแบบสรุปผลฯ หน้ำ 52 และ 53)
ในการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษาของนกั ศกึ ษา หรือครูใหม่น้นั โดยทว่ั ๆ ไป จะมี
การประเมินใน 2 สว่ น ท่ีสาคัญ คือ
1. การประเมนิ กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งแบ่งออกเปน็ 4 ประเดน็ ดงั นี้
1.1 การเตรยี มการสอน
1.2 การลงมอื ปฏิบตั ิการสอน
1.3 การให้ข้อมลู ย้อนกลับแก่นกั เรยี นและการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรยี นรู้ของนักเรียน
1.4 การบริหารจดั การชัน้ เรยี น
2. การประเมินคุณลกั ษณะเฉพาะตวั เจตคตติ ่อผเู้ รียนและแนวคิดใหม่ ๆ เก่ียวกบั การจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้ ซึง่ แบ่งออกเป็น 3 ประเดน็ ดังน้ี
2.1 การใหค้ วามสาคญั ของนักเรยี นในฐานะเปน็ ศนู ย์กลางของกิจกรรมการเรยี นรู้
2.2 ลกั ษณะเฉพาะตวั ของครู
2.3 การทางานบริการใหแ้ กโ่ รงเรยี นตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย
รายละเอยี ดเกี่ยวกับหัวข้อการประเมนิ มดี งั นี้
1..กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1.1 การเตรียมการสอน นกั ศึกษาต้องแสดงหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ในแตล่ ะแผนการจัดการเรียนรู้
นน้ั นักศึกษาได้คิดใคร่ครวญเกย่ี วกับประเดน็ สาคญั ๆ ของบทเรียนอย่างรอบคอบ ถี่ถว้ นและมกี ารเตรียม
สื่อการสอนทีจ่ าเปน็ อย่างเหมาะสม โดยนกั ศึกษาต้องสามารถระบุเหตุผล ในการดาเนินการในแตล่ ะ
ขน้ั ตอนได้ ดังนี้
1.1.1 เขียนจดุ ประสงค์ของการเรียนรูท้ เี่ หมาะสม
• เลอื กจุดประสงค์ท่เี กย่ี วข้อง สอดคล้องกบั เน้ือหาและสามารถนาไปปฏบิ ัติได้
• เขยี นจดุ ประสงค์ของการเรียนร้ใู นลกั ษณะของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
35
• จดุ ประสงคน์ ั้นต้องมีความเช่ือมโยงกนั กับบทเรียนก่อนหนา้ และบทเรียนทจี่ ะเรียนต่อไป
• จดุ ประสงคน์ นั้ มีความเชอื่ มโยงกบั หนว่ ยการเรยี นรู้ท่เี ปน็ แม่บทของแผนการเรียนรนู้ ัน้ ๆ
1.1.2 เลือกเนื้อหาและเรยี งลาดบั เน้ือหาได้อยา่ งเหมาะสม
• เลือกใชต้ วั อยา่ งที่เหมาะสม นนั่ คือ ใหต้ วั อย่างท่ีเกย่ี วข้องกบั หัวข้อท่ีเรยี น และเปน็
ตัวอยา่ งท่ีนา่ สนใจ
• เรียงลาดบั หัวขอ้ เรื่องอย่างเหมาะสมและต่อเน่ืองกนั
• ช้ใี ห้เหน็ ประเดน็ ทีน่ า่ สนใจในหัวขอ้ เรือ่ งนน้ั
• เช่ือมโยงจดุ ประสงคข์ องบทเรียนกับเนอื้ หาสาระของรายวิชา
• คาดหวังข้อสงสยั หรือข้อคาถามของนกั เรียนไว้ลว่ งหน้า
1.1.3 เลอื กกลวธิ กี ารสอน กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละส่อื การเรียนทเี่ หมาะสม
• ระบวุ ธิ ีการสอนทเ่ี ลือกมาใช้
• อธิบายกจิ กรรมการเรียนรู้โดยย่อ
• ระบุสือ่ การเรียนทีน่ ามาใชพ้ ร้อมทงั้ เหตผุ ล
• เตรยี มเขยี นคาถามสาคัญ ๆ ของบทเรยี นสาหรับใช้ในช้ันเรยี นมาลว่ งหน้า
• เตรียมแผนการกากบั การเรยี นรู้ของนักเรยี น เช่น การถาม การกาหนดท่นี ่ังในชน้ั เรยี น
ของนักเรยี น การบา้ น เปน็ ต้น
• ตรวจสอบอุปกรณ์การเรียนที่จาเปน็ ในชนั้ เรยี น
• เรียงลาดบั กิจกรรมการเรยี นให้เหมาะสมตามความยากงา่ ยและต่อเน่ืองกัน
1.1.4. การตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของนักเรียน
• ระบภุ มู ิหลังหรือสไตลก์ ารเรียนของนักเรยี น
• เตรียมการเกีย่ วกบั ส่ิงตา่ ง ๆ ทจ่ี ะต้องใช้เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของนักเรยี น
ที่แตกตา่ งกัน
• จดั กลมุ่ นักเรียนเพือ่ ใหส้ ามารถเรยี นรรู้ ่วมกันได้อย่างเตม็ ที่
1.1.5. กาหนดตารางเวลาเรยี นที่สามารถทาได้และเป็นไปได้
• กาหนดเวลาใหเ้ พียงพอตอ่ การทากิจกรรมตา่ ง ๆ ที่กาหนดไว้
• แสดงเวลาของการดาเนนิ การสอนบทเรียนท่เี ป็นไปอยา่ งต่อเน่อื ง
• กาหนดเวลาไวส้ ่วนหน่งึ สาหรบั บางสิ่งบางอย่างท่ีอาจเกิดข้ึนทไี่ ม่อยู่ในแผนการจดั การ
เรยี นรู้ เช่น เวลาที่อาจใชใ้ นการกากับพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม
• เตรียมกจิ กรรมเสริม หากจาเป็นต้องใช้
36
1.2 การลงมอื ฝกึ ปฏบิ ัติการสอน นกั ศกึ ษาตอ้ งแสดงให้เหน็ ว่า 1) ตนเองมีความสามารถในการเร่มิ
บทเรยี น ลงมือสอนเน้ือหาและสรปุ เรอ่ื งเมื่อจบบทเรยี นไดเ้ ปน็ อย่างดแี ละนา่ สนใจ 2) มีความสามารถ
กระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี นโดยการใช้ส่ือการเรียน กิจกรรมการเรียนรู้หรอื งานทม่ี อบหมายเพื่อนา
ผู้เรียน ใหบ้ รรลผุ ลตามจุดมงุ่ หมายท่กี าหนดไว้ 3) มีความสามารถทาใหบ้ ทเรียนดาเนินไปได้
อย่างราบรนื่ และชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจเน้ือหาหรือเกิดมีทักษะตา่ ง ๆ
1.2.1 เริ่มบทเรียนและสรปุ บทเรียนได้อยา่ งเหมาะสม
• เรียกร้องความสนใจของผ้เู รยี นเก่ยี วกับบทเรยี นก่อนเริ่มสอน
• เชอ่ื มโยงประสบการณ์เดมิ ของนกั เรียนกบั เรื่องใหมท่ ีจ่ ะเรียน
• บอกจุดประสงค์ของบทเรยี นและหวั ขอ้ เร่ืองย่อยของเน้ือหาทจ่ี ะเรียน
• สรปุ เนอื้ หาทเี่ รียนในแต่ละตอน โดยโยงไปถงึ เน้อื หาใหมท่ จ่ี ะเรยี นตอ่ ไป
• สรุปบทเรียนโดยโยงเขา้ กบั จุดประสงค์ของบทเรยี น ความคดิ หลกั และประเด็นสาคัญ ๆ
ของบทเรยี น
1.2.2 กระตนุ้ ความสนใจของผู้เรียนและรักษาความสนใจน้ันให้คงอยู่ตลอดการทากิจกรรมการเรยี นรู้
• เลือกใชก้ ลวธิ ีเรยี กร้องความสนใจ และรักษาความสนใจในการเรยี นของผู้เรยี นท่เี หมาะสม
• เลือกใช้คาถามท่ีมีคาตอบได้อย่างหลากหลาย
1.2.3 สนับสนุนสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของผูเ้ รยี น
• จัดใหม้ ีกิจกรรมต่าง ๆ หลายลักษณะ
• ใหเ้ วลาในการมีสว่ นร่วมของนักเรียน
1.2.4 ให้คาอธิบายที่ชัดเจน
• อธบิ ายอย่างถกู ต้อง เหมาะสมและชดั เจน
• ยกตวั อยา่ งประกอบอย่างเหมาะสม
• ใช้คาศพั ทเ์ ทคนิคทีเ่ หมาะสมและตรงกบั มโนทัศน์ทสี่ อน
1.2.5 ถามและตอบคาถามได้อย่างเหมาะสม
• ต้งั คาถามที่ชดั เจน เกี่ยวข้องกับหวั ขอ้ เรอื่ งและเหมาะกบั ระดบั ชน้ั ของนักเรียน
• หลีกเล่ียงคาถามท่ีก่อใหเ้ กิดความไม่สบายใจเพราะเป็นการสะทอ้ นการแบ่งแยก
หรอื รงั เกียจเดียดฉันท์
• ถามคาถามกระจายไปทว่ั ท้ังห้อง ไม่กระจุกอยู่ที่คน ๆ หน่ึงหรอื กลุม่ ใดกลมุ่ หน่งึ
• เม่ือถามแลว้ ต้องใหเ้ วลาสาหรับการตอบ
• คาถามที่ถามควรมคี าตอบได้หลายอยา่ ง
37
• ใช้ถ้อยคาท่ชี ว่ ยตะล่อมใหก้ ารตอบของนักเรียนเป็นไปในทศิ ทางทีต่ ้องการ
• ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในทางบวกและสรา้ งสรรค์
• ตอบข้อสงสยั ของนักเรียนอย่างเหมาะสมเพ่ือใหเ้ กิดกาลงั ใจ
1.2.6 กระตนุ้ ให้ผู้เรียนพยายามใช้กระบวนการคดิ ในระดับสูง (Higher order thinking)
• ตงั้ คาถามทที่ ้าทายความคิดของนักเรยี น
• เลอื กใชค้ าถามที่ผเู้ รียนตอ้ งใชค้ วามคดิ ในระดับสงู
• นาเอาความคิดที่ได้จากนักเรียนมาใช้ในการอภปิ รายรว่ มกัน
1.2.7 ใช้น้าเสยี งและถ้อยคาภาษาท่ีเหมาะสม
• รักษาระดับเสียงที่ไมใ่ ชเ่ ป็นการตะโกน
• ใชภ้ าษาที่เป็นทางการซ่ึงเหมาะสมกบั ชน้ั เรียน
• ใชค้ าศัพท์ที่ถกู ต้องตามเนอื้ หาในสาระวิชา
• รักษาจงั หวะการพูดทเ่ี หมาะสมกบั ระดบั การรับรู้ของนักเรียน
1.2.8.จัดระบบและส่งเสริมการทางานเป็นกลุ่มหรือเดยี่ วได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
• จัดสภาพการเรียนในชัน้ เรียนใหเ้ ป็นระบบ
• ออกคาสงั่ ในการทางานและการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ทีช่ ดั เจน พรอ้ มท้งั ตรวจสอบ
ความเข้าใจ ของนักเรยี นก่อนลงมือทา
• กากบั ความกา้ วหนา้ ในการทางานของนกั เรยี น ให้ความช่วยเหลือ และนานักเรยี นใหอ้ ยู่
ในเส้นทางที่ต้องทา
• บอกความกา้ วหนา้ ของการทางานของแต่ละกลุ่มเปน็ ระยะ ๆ เพ่อื ให้การทางานน้นั ๆ
ดาเนนิ ไปตามเวลาท่ีกาหนด และเสร็จทันตามเวลา
• กากับการทางานของบทเรียนอย่างต่อเนอ่ื งและใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับในการทางานนน้ั
ตามความจาเป็น
1.2.9 นาเอาส่อื หรือแหล่งข้อมูลเทคโนโลยมี าใช้อย่างเหมาะสม
• เลือกใช้ส่อื การเรียนทเ่ี หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคข์ องบทเรียน
• ให้สอื่ การเรยี นท่ีจาเป็นแก่นักเรยี นและใช้แหล่งข้อมูลอย่างสรา้ งสรา้ งสรรคแ์ ละ
มปี ระสิทธิภาพ
1.2.10 .รกั ษาจังหวะความเร็ว-ชา้ ของบทเรียนและการเรียนร้ขู องนักเรียนได้อยา่ งเหมาะสม
• รักษาระดับความเร็วชา้ ของกิจกรรมการเรยี นตามระดับความสามารถของนักเรยี น
• รักษาความตอ่ เน่ืองของกิจกรรมการเรียนรู้ ไม่ใหม้ ีจังหวะว่างนานจนนกั เรียนเบ่ือหน่าย
38
1.3. การใหข้ ้อมลู ย้อนกลับและการประเมนิ การใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับ บางทีเรยี กว่า การรผู้ ล
การเรียนเปน็ สิ่งบอกผ้เู รยี นให้รูว้ า่ ส่ิงทผ่ี เู้ รียนได้ทาไปแลว้ นนั้ ถูกต้องหรอื มคี ณุ ภาพเพียงใด และการให้
ข้อมูลย้อนกลับเป็นการชว่ ยใหผ้ ู้เรียนกากบั และพัฒนาการเรยี นรู้ได้ ดงั นั้น นกั ศึกษาจาเปน็ ตอ้ งให้
ขอ้ มูลย้อนกลบั ในสง่ิ ท่ีนักเรยี นทาอย่างชัดเจน และทนั ท่วงทีตาม ความเหมาะสม
สงิ่ สาคญั ประการหน่ึงท่ีนักศึกษาพงึ ตระหนัก คือ เมื่อมีการสอน ไม่ได้หมายความว่า ผเู้ รียนมี
การเรยี นรู้ เพราะฉะนั้น สงิ่ ท่ีจะสามารถบอกไดว้ า่ ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพยี งใดต้องอาศัย
กระบวนการและวธิ ีการประเมินผล ซงึ่ อาจมหี ลายลักษณะ เชน่ การถาม-ตอบ หรือการใหท้ ากจิ กรรม
ต่าง ๆ การทางานกลมุ่ รวมทั้งการทดสอบย่อย ๆ การทดสอบระหว่างภาคเรียน และการสอบปลายภาค
การมอบหมายใหง้ านไปทา และการทาโครงงาน
1.3.1..การใหข้ อ้ มูลย้อนกลับที่เหมาะสมและทันทว่ งทีตามความเหมาะสม
• ให้ขอ้ มลู ย้อนกลบั ด้วยวาจาทันที ในชว่ งเวลาต่าง ๆ เช่น ใหข้ อ้ มูลย้อนกลับช่วงระหวา่ ง
การถาม-ตอบ และชว่ งการนาเสนอ และหลังจากการเสรจ็ สิน้ การอภิปรายทงั้ ช้นั
1.3.2 การกากบั และการตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รียน
• ต้ังคาถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกบั เรื่องที่เรียน
• ให้นกั เรียนนาเอาเรื่องทเ่ี รียนไปประยกุ ต์ใช้ในการทากจิ กรรมการเรยี น
• สอนเนอ้ื หาเดิมซ้า ดว้ ยวิธีการใหม่ ในกรณีทนี่ กั เรยี นยงั ไมเ่ ข้าใจในเนอ้ื หานนั้
1.3.3.. การมอบหมายงานหรือการบ้านอยา่ งมเี ป้าหมาย
• มจี ุดมุ่งหมายชัดเจน--งานท่ีมอบหมายให้ทาหรือใหก้ ารบ้านที่สามารถบอกได้ว่า งาน
หรอื การบ้านนั้นเป็นการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นเกี่ยวกับความคิดหลัก ๆ
ของบทเรียนหรือว่างานทมี่ อบหมายไปนั้นหรือการบ้านน้นั มจี ดุ ม่งุ หมายเพอ่ื ชว่ ยเน้นย้า
ความเขา้ ใจในบทเรียนที่ได้เรียนมาใหม้ ากข้นึ
• มีระดับความยาก งา่ ย--งานที่มอบหมายให้ทานน้ั ควรมีระดับความยากงา่ ย เพ่ิมขน้ึ เร่ือย ๆ
เพ่อื ทา้ ทายความสามารถของผูเ้ รียนให้คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและคิดอยา่ งสร้างสรรค์
1.4. การบริหารจดั การช้นั เรียน นกั ศึกษาจะต้องแสดงให้เห็นวา่ มที กั ษะการควบคมุ ชั้นได้โดยท่ีครู
และนักเรียนมีปฏิสัมพนั ธท์ ดี ีตอ่ กนั นักศกึ ษารจู้ ักผเู้ รยี น เรียกชื่อผูเ้ รยี นเพื่อกระตุน้ และสรา้ ง
บรรยากาศ ท่สี ง่ เสริมการเรียนรู้ ในเวลาเดียวกัน นกั ศกึ ษาต้องสามารถกาหนดกฎ ระเบยี บ
ในหอ้ งเรียน และใช้ ทั้งกลวิธกี ารป้องกนั และการแทรกแซงเพอื่ ทาใหน้ กั เรียนแสดงออกเฉพาะ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ นอกจากน้ัน นกั ศึกษาต้องใส่ใจในเรื่องการกากับเวลาเรียนอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ และสามารถทาใหน้ ักเรียนทากจิ กรรมการเรียนได้โดยไมว่ อกแวก
39
1.4.1 การมปี ฏิสมั พันธแ์ ละการสรา้ งความสมั พนั ธ์ที่ดตี อ่ กันระหว่างครกู บั นักเรียน
• เรยี กนักเรียนโดยการเอ่ยชื่อ
• พยายามใหผ้ ู้เรียนมคี วามสัมพันธ์ทด่ี ีต่อกัน
• มีความเปน็ กนั เองกบั ผู้เรียนทุกคน
1.4.2 กาหนดกฎ ระเบียบของห้องเรยี นและบงั คับใช้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
1.4.3.. รกั ษาความมรี ะเบยี บวนิ ยั ในห้องเรยี น
• ชมเชยและสง่ เสริมพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์
• ใช้กลวธิ ีตา่ ง ๆ ในการปอ้ งกันหรือแทรกแซงการประพฤติที่ไมพ่ ึงประสงค์
1.4.4 สร้างบรรยากาศในห้องเรียนใหเ้ คารพซง่ึ กันและกัน
• มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ต่อกนั ในทางบวก
• จดั ใหผ้ เู้ รียนมีปฏสิ ัมพนั ธด์ ้วยกนั เองอยา่ งมีประสิทธิภาพ
• กระตนุ้ ผเู้ รยี นให้มสี ่วนช่วยคนอ่นื ๆ เรียนรไู้ ปดว้ ยกนั เปน็ ต้น
1.4.5. สรา้ งส่ิงแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือให้ผ้เู รียนมอี านาจ
• สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นรบั ผิดชอบการเรยี นร้ขู องตนเอง
• อนุญาตใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการตดั สินใจ
• สง่ เสริมการคิดทวี่ า่ การทาผิดเปน็ โอกาสท่ชี ว่ ยให้เกดิ การเรียนรู้
• สนบั สนุนส่งเสริมใหน้ กั เรยี นร้จู กั เสี่ยง เชน่ เส่ยี งในการถาม หรอื รู้จกั โต้แย้งความคิด
ของคนอื่นทต่ี นเองไม่เหน็ ดว้ ย เป็นตน้
2. คุณสมบตั เิ ฉพาะของครแู ละทศั นคติ เช่น ความสามารถในการตดิ ต่อส่ือสาร ความสามารถในการ
จัดระบบงาน ความรสู้ กึ ต่อตนเองในทางบวก การยืดหยุ่น ผ่อนปรน ความเหน็ อกเหน็ ใจ การนับถือ
ในความแตกต่างของแตล่ ะคน ความสามารถในการปรับตัว เปน็ ตน้
2.1 การใหค้ ุณคา่ ของผเู้ รียนในการเปน็ ศนู ย์กลางของการเรียน
2.1.1 .การแสดงความเอาใจใส่และความอาทรต่อนักเรยี น
• เอาใจใส่ต่อความเปน็ อยู่ของนักเรียน
• ติดตามความก้าวหน้าในการเรยี นของนักเรียนและพัฒนาการทางสังคมและอารมณ์
• สนบั สนนุ สง่ เสริมในความสาเร็จทางดา้ นการเรียนของนักเรียนและการทากจิ กรรม
เสริมหลักสูตร
• ดูแล เอาใจใส่ ใหค้ วามเป็นกันเองกบั นักเรยี นในห้องเรยี น
40
• จัดการกบั พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนดว้ ยความรอบคอบและระมดั ระวัง
อยา่ งคงเสน้ คงวา
2.1.2. การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ความสนใจของนักเรยี น
• จดั ทาบทเรียนทชี่ ่วยใหผ้ เู้ รยี นมีความกระตือรอื รน้ ท่ีจะเรียน
• ครทู าตวั ให้เป็นแบบอย่างแก่นกั เรียนในการแสดงความกระตือรือร้นทจ่ี ะเรียน
• สนับสนุนส่งเสริมให้นักเรียนศึกษาหาความรู้อย่างลึกซง้ึ และกว้างขวาง นอกเหนอื จาก
ที่มอี ยู่ในบทเรยี น
2.1.3..การตั้งความหวงั ท่สี ูงไว้กับนกั เรยี น
• ต้ังความหวงั ทส่ี งู แต่ไม่เกินความสามารถของนักเรยี น
• เชอ่ื มั่นในศักยภาพและความสามารถของนกั เรียน
• เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นได้แสดงความสามารถ
2.1.4 การเคารพความแตกต่างของภมู ิหลังของนักเรียน
• ใหค้ วามเอาใจใสก่ บั นักเรยี น
• คานงึ ถงึ ความต้องการทางดา้ นสุขภาพ อารมณ์ สงั คมของนกั เรยี น
• ระบุความต้องการท่ีแตกต่างกันของนักเรยี นและวางแผนการจดั การเรียนรู้ที่ตอบสนอง
ความแตกต่างน้นั
2.2 ลักษณะเฉพาะตัวของครู (Identity)
2.2.1 ครองตนตามจรรยาบรรณของครู
• ปฏบิ ัตติ ามจรรยาบรรณของครใู นการปฏิบตั หิ นา้ ทแี่ ละทางานทีต่ นเองรบั ผิดชอบ
• รบั ผดิ ชอบในการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
2.2.2 สามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กับสถานการณต์ ่าง ๆ ไดต้ ามความจาเป็น
• รู้จกั คิดและตัดสินใจได้อยา่ งรวดเร็ว
• ขยายขอบขา่ ยเน้ือหาของบทเรยี น จากสว่ นหน่งึ ส่วนใดที่สามารถขยายออกไปได้
2.2.3 แสดงความอุตสาหะ
• แสดงความมงุ่ ม่ันในการทางานแม้จะเผชญิ อุปสรรค และยังคงทางานต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง
2.2.4 ยอมรับข้อมูลย้อนกลับหรอื ผลของการกระทา
• นาเอาข้อมลู ย้อนกลบั มาพิจารณา และปฏบิ ัตติ าม ตามความเหมาะสม
• เตม็ ใจทจ่ี ะปรบั แผน และลงมือทาตามท่ีได้รับคาแนะนา
• ทางานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
2.2.5 แสดงความสามารถในการสะท้อนคิด
• ตระหนกั ในหลักการสาคัญ ๆ ของแนวทางการสอนต่าง ๆ ทีน่ ามาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้
41
• สามารถประเมนิ ความสาเร็จหรอื ความบกพร่องของบทเรียนและปรับแก้ได้อยา่ ง
เหมาะสม
• สามารถกากับสภาวะทางอารมณแ์ ละความเปน็ มืออาชพี ของตนเองได้
2.2.6 ตรงตอ่ เวลา ทงั้ การเข้าสอนและการเข้ารว่ มกิจกรรมของโรงเรยี น
• เร่มิ บทเรียนและจบบทเรยี นตรงเวลา
• เขา้ ร่วมประชมุ และเข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรียนตรงเวลา
• ตรวจสอบสื่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการจัดการเรยี นรู้ไวล้ ่วงหนา้ เพอื่ ให้พรอ้ มใช้
2.2.7 ทางานและสง่ มอบงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายทนั ตามเวลาทกี่ าหนด
• สง่ แผนการจดั การเรยี นรู้ตรงตามเวลาทก่ี าหนด
• ทางานต่าง ๆ ท้ังงานสอนและงานบรหิ ารเสรจ็ ทนั ตามเวลาท่กี าหนด
2.2.8 ตรวจงานของนักเรยี นและการบ้านได้ตรงตามเวลาและถกู ต้อง
• ตรวจงาน การบ้านของนกั เรียนอยา่ งถูกต้องและสง่ งานคืนภายในเวลาท่ีเหมาะสม พรอ้ ม
ท้งั ใหข้ ้อมลู ย้อนกลบั ทเ่ี หมาะสมเช่นกัน
2.2.9 รสู้ ึกไวต่อความแตกตา่ งทางดา้ นสังคม วฒั นธรรมของนกั เรยี น
• เขา้ ใจและยอมรับความแตกต่างระหวา่ งบุคคลทางดา้ นสังคมและวัฒนธรรมของนกั เรยี น
และเพื่อนครู
• รู้สกึ ไวตอ่ วัฒนธรรมองคก์ ร
2.2.10 ระมัดระวงั กบั ภาพลักษณ์ของตนเอง
• ปฏิบัตติ ามระเบียบการแตง่ กายขององค์กร
• แตง่ กายด้วยเส้ือผ้าท่สี ะอาด สภุ าพ เรียบรอ้ ย
• ประพฤติตนและวางตัวดี
2.3. การทางานบริการให้แก่โรงเรียน ตามท่ีได้รบั มอบหมาย
2.3.1. เสนอตวั ทางาน
• เสนอตัวในการทางานเพือ่ เพม่ิ คุณคา่ ใหก้ บั องค์กร
• ร่วมทางานในกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กรดว้ ยความกระตือรือรน้
2.3.2. ทางานร่วมกบั กลุ่มเพ่อื นและเพอื่ นร่วมงานไดด้ ี
• สอบถามวธิ กี ารทางานและขอคาแนะนาจากผ้มู ีประสบการณ์ รวมทั้งการทางานกบั
นักเรียน ท่ตี อ้ งการความเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ
• แสวงหาความรู้หรอื ขอความช่วยเหลือจากหนว่ ยงานหรอื พนกั งานตา่ ง ๆ ในด้าน การสอน
และงานอืน่ ๆ ทไ่ี มใ่ ชง่ านสอน
42
2.3.3. มสี ่วนร่วมในกิจกรรมและโปรแกรมต่าง ๆ ของโรงเรียน
• รว่ มทางานและกจิ กรรมต่าง ๆ ดว้ ยความกระตอื รือร้น
• เสนอตวั เพ่ือทาประโยชนต์ ่าง ๆ ให้กบั องคก์ ร
เกณฑ์การประเมนิ ผลของรายวิชาการฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอน 1 และ 2
การประเมนิ ผลในรายวิชานีม้ ี 2 ลักษณะ คือ การประเมนิ ผลโดยการลงความเห็นและ
การประเมนิ ผลของผ้รู บั ผดิ ชอบรายวชิ า
1. การประเมินผลโดยการลงความเหน็ ประกอบด้วย การลงความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
ครพู ่ีเล้ยี ง อาจารย์นิเทศ ทปี่ ระเมนิ ว่า ผา่ นหรอื ไม่ผา่ น
2. การประเมินผลของผรู้ ับผิดชอบรายวชิ า โดยประเมินจากข้อมลู และหลกั ฐานตา่ ง ๆ ดังน้ี
2.1 การเข้าร่วมปฐมนเิ ทศ สมั มนาระหว่างเรียนและสมั มนาหลังฝึกปฏิบตั ิการสอน โดย
พิจารณาจากจานวนเวลาเปน็ ชั่วโมง ซึง่ นกั ศกึ ษาตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมเหล่านเ้ี ปน็
จานวน 15 ชั่วโมง
2.2 แฟม้ ผลงานและเอกสารตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การฝกึ ปฏิบัตกิ ารสอน โดยพจิ ารณาจาก
ความครบถ้วนสมบรู ณ์ และความมงุ่ ม่ันต้งั ใจในการทางาน โดยมรี ายละเอียดเป็น
คะแนน ดังน้ี
1) แฟ้มผลงาน 70 คะแนน
2) กจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครู 40 คะแนน
3) รายงานวจิ ัยในชนั้ เรยี น 20 คะแนน
4) รายงานกรณศี ึกษา 20 คะแนน
5) การสะท้อนคิด 30 คะแนน
6) ผลสัมฤทธข์ิ องการปฏบิ ตั ิงาน 20 คะแนน
ตามจดุ ม่งุ หมาย 6 ประการของรายวชิ า (มคอ 4)
คะแนนเตม็ 200 คะแนน
43
บทส่งท้าย
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน หวังวา่ ผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งกับการฝึกปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาของ
มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกุล คงจะได้รับประโยชน์จากคมู่ ือการฝึกปฏบิ ัติการสอนนต้ี ามสมควร
จะอย่างไรก็ตาม ในฐานะที่พวกเราทุกคนได้เดินทางผา่ นประสบการณน์ ้ีมาดว้ ยกัน กเ็ ป็นทแ่ี น่นอนว่า
พวกเราจะตอ้ งรับรู้และมองเห็นหรือสัมผสั สง่ิ ท่เี ปน็ จดุ แข็งและจุดอ่อนของโครงการของเรา มาด้วยกนั ทัง้ สิน้
เพยี งแต่ อาจจะมากหรือน้อยไมเ่ ทา่ กันเท่าน้ันเอง ดงั น้ัน จึงขอความกรุณาใหท้ ่านท้งั หลายชว่ ยสะท้อน
ความคิด และให้ข้อมลู ย้อนกลบั อยา่ งไม่ต้องเกรงใจ เพือ่ ท่ีสาขาวิชาหลักสตู รและการสอนจะนาไปปรับปรุง
พัฒนาโครงการน้ีใหม้ ีความสมบรู ณ์ยงิ่ ๆ ขนึ้ ไป เพื่อประโยชนข์ องการพัฒนานักเรยี น นกั ศึกษาฝึกปฏิบตั ิการ
สอน และการศกึ ษาของชาตใิ นท่สี ดุ
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลติ กุลทไ่ี ด้ทุ่มเททรัพยากรเพื่อโครงการนี้ ด้วยความตระหนกั
ในความสาคัญของวชิ าชีพครูเป็นอย่างยงิ่ ขอขอบคุณผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูพ่เี ล้ยี ง อาจารยน์ เิ ทศก์ คุณครู
และนกั เรียนทุกคน ขอบคุณนกั ศึกษาฝึกปฏบิ ตั ิการสอนทุกคนท่ีอุทิศตนเพื่อเปน็ ครูมอื อาชีพอยา่ งไม่ย่อท้อ
และขอขอบคุณคณาจารย์ผูร้ ับผิดชอบโครงการนี้ทุกคนทที่ างานอย่างหนักมาโดยตลอด จนถึงบัดน้ี
ซง่ึ การปรับปรุงหลักสตู รศกึ ษาศาสตร-มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน (หลกั สูตรปรบั ปรุง
พ.ศ. 2562) ของมหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลิตกลุ นจ้ี ะสาเรจ็ ลงไม่ได้เลย หากไม่ได้รับข้อมลู ย้อนกลบั และ
ข้อเสนอแนะทม่ี ปี ระโยชนย์ งิ่ จากคณะกรรมการผวู้ พิ ากษห์ ลักสตู ร ผ้ทู รงคณุ วฒุ จิ ากสานักงานคณะกรรมการ
อุดมศึกษาและสานักเลขาธกิ ารครุ สุ ภา จึงขอแสดงความขอบคุณไว้ ณ ที่น่ีด้วย
หากความพยายามทั้งหมดนจ้ี ะทาให้เรามคี รดู ี ๆ และมคี ุณภาพสมกับคาว่า “ครูมืออาชีพ” มากขน้ึ
เรอ่ื ย ๆ แลว้ พวกเราทกุ คนก็คงจะปลาบปลม้ื ปติ ิ และภาคภูมิใจในตวั เองของพวกเราทุกคน และเก็บไว้เปน็
เกียรตยิ ศในดวงใจ ทร่ี ว่ มกันสั่งสม สร้างมาด้วยแรงกาย แรงใจ แรงสติปญั ญา และศรัทธา ต่อวชิ าชพี ครู
ของพวกเราทุกคน
รองศาสตราจารย์ พวงเพ็ญ อนิ ทรประวตั ิ
สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน
44
ภาคผนวก
ความคาดหวงั ของนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิการสอน
ก่อนการออกทาการฝึ กปฏิบตั ิการสอน
______________________
ขา้ พเจา้ (ช่อื นกั ศกึ ษา) _____________________________ฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอน ทโ่ี รงเรยี น
________________________ อาเภอ ________________จงั หวดั ___________
มคี วามคาดหวงั วา่ ในการฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอนตามรายวชิ า ……………. การฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอน ..
ขา้ พเจา้ จะเกดิ การเรยี นรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ในการฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา ในประเดน็ ต่าง ๆ
ดงั ต่อไปน้ี
ลาดบั ประเด็น รายละเอียดของความคาดหวงั ระดบั
ความคาดหวงั
1 การนาหลกั สูตรไปสกู่ ารสอน โดย
การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรูแ้ ละ
แผนการจัดการเรยี นรู้
2 การนาทฤษฎีการเรยี นร้แู ละ
จติ วิทยาการเรยี นรู้ไปใช้
ในสถานการณ์จรงิ
3 การนาทฤษฎีการจัดกจิ กรรมการ
เรยี นรู้ โดยยดึ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั ไป
ใชใ้ นสถานการณ์จรงิ
4 การนาหลกั การการจดั กิจกรรม ต้ังความหวงั ไวว้ ่าจะได้เรียนรูว้ า่ การจดั การเรียน มาก
การเรยี นรู้ เพือ่ สง่ เสรมิ การคิดใน การสอนโดยการใชค้ าถามเพ่ือพฒั นาทักษะการ
ระดับสงู โดยการใช้คาถาม คิดในระดับสงู ให้แกน่ ักเรียนน้ัน สามารถทาได้
อยา่ งไร
5 การบริหารจัดการชน้ั เรยี น
6 การใช้ส่ือการเรยี นรู้
7 การจดั กิจกรรมพฒั นานกั เรียน
45
8 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
โดยการใช้การสงั เกตการสอน
9 การปรับปรุงกจิ กรรมการเรยี นรู้
โดยใชก้ ารสะทอ้ นคิด
10 การแกป้ ญั หาการเรยี นรู้
ของนกั เรยี นโดยการวจิ ยั
ในชั้นเรียน
11 การเรยี นร้โู ดยการเข้ารว่ ม
กิจกรรมเสริมความเป็นครู
12 การเรียนรเู้ กย่ี วกับการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้จากครูพีเ่ ลย้ี ง
13 การเรียนรคู้ วามเปน็ ครูมืออาชพี
จากอาจารย์นิเทศก์
14 การเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมิน
ผลสมั ฤทธิ์การเรียนรู้
15 การเรียนรู้เกีย่ วกบั การปฏบิ ตั ติ น
ตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู
ในสถานศกึ ษา
46
การบนั ทึกการสงั เกตการสอนของครพู ่ีเลีย้ ง
การบนั ทกึ นเ้ี ป็นการบันทกึ เมื่อนักศึกษาไปสงั เกตการสอนของครูพเ่ี ลย้ี ง ซงึ่ ต้องระบุ วนั เวลา สถานท่ี
รายวิชาและชนั้ เรียน
การบันทกึ ควรแยกเป็นสว่ น ๆ ดังนี้
• กลวธิ ีการบริหารจัดการช้ันเรยี น
o การทักทายนกั เรียนเมื่อเข้าห้องเรยี น
o การเช็คชอื่
o การเขา้ ห้องเรียนและการออกนอกห้องเรยี นของนักเรียนเม่ือหมดคาบ
o การแจกเอกสารการเรียนในช้ันเรยี นและการเก็บเอกสารคืน
o การใชก้ ระดานดา
o การขออนุญาตออกไปเข้าหอ้ งน้าของนักเรียน
o การจัดระบบนักเรยี นในห้องเรียน เชน่ การนงั่ การทางานกล่มุ เป็นต้น
• กลวิธีการสอน เชน่
o การเรา้ ความสนใจนักเรียนในเรือ่ งทจ่ี ะเรียน เมื่อเริม่ ต้นบทเรียน
o การระบุบอกจุดประสงค์ของบทเรยี น
o การบอกงานทีน่ ักเรียนจะต้องทาและกจิ กรรมต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง
o การลงมือทากจิ กรรมต่าง ๆ ของบทเรยี น
o การสรปุ บทเรียน
• สอื่ การเรียนการสอน
• วธิ ีการวดั ผล
o การประเมินผลรายทาง (Formative assessment)
o การประเมนิ ผลปลายภาค (Summative assessment)
• ความรับผิดชอบของครูนอกหอ้ งเรยี น เช่น การดูแลความเจ็บป่วย การดแู ลความปลอดภยั การดูแล
ความสะอาดของห้องเรียน การรบั ประทานอาหารกลางวัน การเข้าแถว เปน็ ตน้
• สิง่ ท่ีครูทาเพ่ิมเติมสาหรับเด็กพิเศษ
• การช่วยเหลอื นักเรยี นทเ่ี รยี นอ่อนหรือตามไม่ทัน
ตัวอยา่ งการบันทกึ
กลวธิ กี ารสอน
วนั ที่ …. เวลา`… รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชัน้ ป. 3/3 เร่อื งการบวกเลขจานวนสองหลัก ครูใช้วธิ กี ารสอนโดยการ
ร่วมมือ โดยให้เด็กนักเรียนจับคกู่ นั ชว่ ยกันคดิ โจทย์คณิตศาสตร์ และมีการปรึกษาหารือกัน
47
วันที่ …. เวลา … รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้น ป. 3/2 เร่ือง เซลลข์ องสตั ว์ ครใู ชแ้ นวทางการสอนตามแนวทฤษฎี
พหปุ ญั ญา ทเ่ี นน้ การแสดงท่าทาง (Bodily-kinesthetic)
ในการทบทวนสว่ นตา่ ง ๆ ของเซลล์ของสตั ว์ ครใู ห้นักเรยี นออกมาหน้าช้นั แสดงบทบาทตา่ ง ๆ กัน และแสดง
ทา่ ทางตามหน้าที่ของเซลล์ เช่น ผนงั เซลล์ นวิ เคลียส เอ็นโดพลาสมิค ไซโตปลาสซมึ และไมโตคอนเดรีย
ตัวอยา่ งการบันทึก
กลวธิ ีการบริหารจดั การชน้ั เรยี น
วนั ท่ี`… เวลา … ช้ัน`…. ครูยกมอื ขวาชขู ้ึนเหนือศีรษะ เพื่อเรยี กร้องความสนใจของนกั เรียน แลว้ ให้นกั เรียน
ทาตามและหยุดสง่ เสยี ง นักเรยี นทาตามท่ีครูส่งั หยดุ สง่ เสียง หอ้ งก็เงียบ
แบบฟอร์มสำหรบั กำรสะท้อนคิด
ตัวอย่ำง กำรสะท้อนคิดของขำ้ พเจ้ำสำหรับสปั ดำห์ที่ 1
ชอ่ื นักศึกษา _______________________________รหสั ___________________
สถานศึกษา ____________________________ชัน้ ……………………วิชา ……………………………
ระยะเวลาของการสะท้อนคิด จากวันที่ ________________ถงึ วันท่ี __________________
_____________________________________________________________________________________________
กระบวนกำรที่ 1: กำรเตรียมบทเรยี น
ให้หารือกับครพู ีเ่ ลย้ี ง หรือครูหวั หนา้ กลมุ่ สาระวิชา ในประเด็น ต่อไปนี้
• หลักการหรือวิธกี ารในการจดุ มุ่งหมายของบทเรียน
• หลกั การและวธิ ีการในการเลือกวธิ ีสอน กจิ กรรมการเรยี นรู้และส่อื การเรียนรู้
• เน้ือหาทน่ี ามาใชใ้ นการเรียนรทู้ จ่ี ะนาไปสูจ่ ุดประสงค์ของบทเรยี น โดยสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรียน
ใหน้ กั ศึกษาระบทุ ฤษฎีหรอื หลกั วชิ า ทนี่ กั ศึกษาได้นามาใช้ในการน้ี
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
กระบวนกำรที่ 2: กำรลงมือสอน
ให้สงั เกตสง่ิ ต่อไปน้ี
• วิธีการและกจิ กรรมท่ีครูใชใ้ นการนาเข้าสู่บทเรียน
• วิธีการและกิจกรรมท่ีครูใชใ้ นการสรุปบทเรียน
• วธิ ีการรักษาความสนใจหรือการเอาใจจดจ่อต่อการเรยี นของนักเรยี น
• การสง่ เสริมสนบั สนุนใหน้ ักเรียนมีส่วนร่วมในการทากจิ กรรมการเรียน ครูใช้วธิ ใี ด
48
• การอธิบาย ชีแ้ จงของครูชดั เจนมากน้อยเพียงใด
• การถามและการตอบคาถามของครูทาอย่างไร
ให้นกั ศึกษาระบทุ ฤษฎีหรือหลักวิชาทีน่ กั ศกึ ษาไดน้ ามาใชใ้ นการนี้
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
กระบวนกำรท่ี 3 กำรใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับและกำรประเมิน
ให้สงั เกตสิ่งต่อไปน้ี
• การใหข้ ้อมูลย้อนกลับสามารถทาได้ทันท่วงที โดยไมป่ ลอ่ ยใหเ้ น่ินนานไปนนั้ ครูทาอย่างไร
• การใหข้ ้อมูลย้อนกลับของครูนั้น ชว่ ยให้นักเรยี นเกดิ การเรียนรูไ้ ด้ดีข้ึนหรือไม่ อย่างไร
• ครตู รวจสอบหรอื กากบั ความเขา้ ใจของนักเรียนอย่างไร (ครูรู้ได้อย่างไรวา่ นักเรยี นเขา้ ใจ หรอื ไม่เขา้ ใจ)
ใหน้ กั ศึกษาระบทุ ฤษฎหี รือหลกั วชิ าทีน่ ักศึกษาได้นามาใช้ในการนี้
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________
กระบวนกำรท่ี 4 กำรควบคุมชั้นเรยี น
ใหส้ ังเกตสง่ิ ต่อไปนี้
• ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนกั เรยี นและนักเรยี น และนักเรียนกับครูเปน็ ไปในลกั ษณะใด
• ครใู ชว้ ธิ ีการอย่างไรในการกาหนดระเบยี บของห้องเรียนและใช้วิธีการอะไรในการรักษะระเบยี บ
ดงั กลา่ ว
• พฤติกรรมท่ีดีของนักเรียนไดร้ ับการสง่ เสริมอย่างไรบ้าง
ให้นักศึกษาระบทุ ฤษฎีหรอื หลักวชิ าทน่ี ักศกึ ษาได้นามาใชใ้ นการนี้
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
กำรสะท้อนคิดของข้ำพเจำ้ ในสปั ดำหท์ ่ี 2
กระบวนกำรที่ 1: กำรเตรียมบทเรียน
• จัดแบง่ เน้ือหาให้สอดคลอ้ งกับเวลาในแตล่ ะคาบเรียนอยา่ งไร
• วิธที คี่ รูใชใ้ นการบริหารจัดการความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน มีอะไรบา้ ง
ให้นกั ศึกษาระบุทฤษฎีหรอื หลกั วิชาทน่ี กั ศกึ ษาไดน้ ามาใช้ในการนี้
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________
49
กระบวนกำรท่ี 2: กำรลงมอื สอน
ให้สงั เกตสิ่งต่อไปน้ี
• ครใู ชว้ ิธใี ดบ้างในการกระต้นุ หรือสนับสนนุ สง่ เสริมให้นักเรยี นใช้ความคิดในระดบั สงู
• การใชภ้ าษาและเสียงพดู ของครูในห้องเรียนเป็นอย่างไร
• การจดั กลมุ่ หรือการทางานเดี่ยว ทาอยา่ งไร
• ใชส้ ่ือการเรยี นอะไร อย่างไร
• ครคู วบคมุ จังหวะความเรว็ ชา้ ของการเรยี น อย่างไร
ใหน้ ักศึกษาระบุทฤษฎหี รอื หลกั วิชาทีน่ ักศกึ ษาไดน้ ามาใชใ้ นการน้ี
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
กระบวนกำรที่ 3 กำรให้ข้อมูลยอ้ นกลับและกำรประเมิน
ให้สงั เกตสง่ิ ต่อไปนี้
• ครูดาเนนิ การในส่ิงต่อไปน้ี อย่างไร 1) งานทมี่ อบหมายใหน้ ักเรียนทาประกอบการเรียน
2) การทดสอบย่อย (Quizzes) และการสอบปลายภาค (Examination)
• ครบู ริหารการตรวจงาน การบ้าน และข้อสอบอยา่ งไร
ให้นักศึกษาระบุทฤษฎหี รอื หลกั วิชาทีน่ กั ศกึ ษาไดน้ ามาใชใ้ นการน้ี
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
กระบวนกำรที่ 4 กำรควบคุมชน้ั
ให้สังเกตสง่ิ ต่อไปนี้
• ครทู าอย่างไรในการสร้างบรรยากาศในช้ันเรียนให้ผ้เู รียนรู้สึกสบายใจ และครูใชว้ ิธกี ารอะไรในการทา
ให้บรรยากาศทดี่ ี ๆ เชน่ นัน้ คงอยไู่ ด้ตลอดคาบเรยี น
• ครูทาอย่างไรในการสร้างบรรยากาศในห้องเรยี นท่สี ่งเสรมิ การเรียนรขู้ องนักเรยี น
ให้นกั ศึกษาระบทุ ฤษฎหี รือหลกั วชิ าทน่ี ักศึกษาไดน้ ามาใช้ในการน้ี
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
__________________________________________________________________________
ควำมเช่ือมโยง โปรดระบุความรูค้ วามสามารถท่ีนักศึกษาสามารถเรยี นรูไ้ ด้ในสองสปั ดาห์แรกนี้มาใหช้ ัดเจน
และ จากการสังเกตการสอน ไดท้ าใหน้ ักศึกษาเกิดความคดิ ใหม่ ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบ้ า้ งหรอื ไม่
อย่างไร
50
แบบประเมินผลควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรฝกึ ปฏบิ ตั กิ ำรสอนของนกั ศกึ ษำ
(ของครพู ่ีเลีย้ ง อาจารย์นเิ ทศก์ และนักศกึ ษาในการประเมินตนเอง)
ช่ือนักศกึ ษา ______________________________รหัส _________________
โรงเรยี น_________________________________ชั้นเรียนทส่ี อน____________
การสงั เกตการสอนคร้ังที่ ___ วนั ท่ี________________ผสู้ งั เกต _____________________
กระบวน อ่อน ส่วนที่ 1 กระบวนการสอน ข้อคิดเหน็
การ ่ตาก ่วาเกณ ์ฑ ขีดควำมสำมำรถ
ยอมรับไ ้ด
ดี
ีดมาก
1. การ • เขียนจุดประสงค์ของการเรียนรทู้ ี่เหมาะสม
เตรยี ม • เลือกเนื้อหาและเรยี งลาดับเนื้อหาได้อยา่ งเหมาะสม
การสอน • เลือกกลวธิ กี ารสอน กิจกรรมการเรียนรู้และสอ่ื การเรียน
2. การ ท่ีเหมาะสม
ปฏบิ ัติ • การตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของนกั เรยี น
การสอน • กาหนดช่วงเวลาเรยี นท่ีสามารถทาได้และเปน็ ไปได้
• เริม่ บทเรียนและสรปุ บทเรียนได้อยา่ งเหมาะสม
.3. การให้
ขอ้ มูล • กระตุน้ ความสนใจของผ้เู รียนและรกั ษาความสนใจนนั้
ยอ้ นกลบั ให้คงอยูต่ ลอดการทากิจกรรมการเรียนรู้
• สนับสนนุ ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของผเู้ รียน
• ใหค้ าอธิบายท่ชี ดั เจน
• ถามและตอบคาถามไดอ้ ย่างเหมาะสม
• กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นพยายามใช้กระบวนการคิดในระดบั สงู
• ใช้นา้ เสยี งและถอ้ ยคาภาษาท่เี หมาะสม
• จัดระบบและส่งเสรมิ การทางานเปน็ กลมุ่ หรอื เด่ียวไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ
• นาเอาสอื่ หรอื แหลง่ ข้อมลู เทคโนโลยมี าใช้อยา่ งเหมาะสม
• รกั ษาจงั หวะความเรว็ -ชา้ ของบทเรยี นและการเรยี นรู้
ของนกั เรยี นไดอ้ ย่างเหมาะสม
• ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั ด้วยวาจาทันที ในช่วงเวลาตา่ ง ๆ
• การกากับและตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รียน
• การกากับและการกลา่ วถึงความเข้าใจของผู้เรียน