The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวโน้มพัฒนาหลักสูตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Namthip Deebut, 2022-12-20 11:51:36

แนวโน้มพัฒนาหลักสูตร

แนวโน้มพัฒนาหลักสูตร

รายงาน
การพฒั นาหลกั สูตร เร่ือง แนวโนม้ การพฒั นาหลกั สูตรในศตวรรษที่ 21

โดย
นางสาวน้าทิพย์ ดีบุตร
รหสั นกั ศึกษา 6421113015

รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนวชิ า 119021 การพฒั นาหลกั สูตร
สาขาวิชา ชีววทิ ยา คบ.

มหาวิทยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา
ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2565


คานา

รายงานฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนเพื่อประกอบการเรียนวชิ าพฒั นาหลกั สูตรโดยมีจุดประสงค์
เพ่อื ใหผ้ จู้ ดั ทาไดฝ้ ึกการศึกษาคน้ ควา้ และนาส่ิงที่ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ มาสร้างเป็ นช้ินงานเก็บไวเ้ ป็น
ประโยชน์ตอ่ การเรียนการสอนของตนเองและครูต่อไป

ท้งั น้ี เน้ือหาไดร้ วบรวมมาจากหนงั สือแบบเรียนโครงสร้างหลกั สูตรและจากหนงั สือ
คู่มือการเรียนอีกหลายเล่ม ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานฉบบั น้ีคงมีประโยชนต์ ่อผทู้ ี่นาไปใชใ้ หเ้ กิดผล
ตามความคาดหวงั

ลงชื่อ น้าทิพย์ ดีบุตร
ผจู้ ดั ทา


สารบญั

1. สภาพปัจจุบนั ของหลกั สูตรไทย หนา้
1.1 หลกั สูตรปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560
1.2 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปี พทุ ธศกั ราช 2551 1-3
(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 4-11
1.3 หลกั สูตรการอาชีวศึกษา 12-21
1.3.1 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2562
1.3.2 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 2563 22-28
1.3.3 หลกั สูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั ิการ 29-32
1.4 หลกั สูตรอดุ มศึกษา (ภายใตก้ รอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา) 33-45
46-67
2. สภาพปัญหาหลกั สูตรในประเทศไทย 68-78
2.1 หลกั สูตรปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 79-83
2.2 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปี พุทธศกั ราช 2551 84-91
(ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) 92-100
2.3 หลกั สูตรการอาชีวศึกษา
2.3.1 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2562 101-114
2.3.2 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 2563 115-119
2.3.3 หลกั สูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการ 120-125
2.4 หลกั สูตรอดุ มศึกษา (ภายใตก้ รอบมาตรฐานคณุ วุฒิอุดมศึกษา) 126-129
130-133
3. แนวโนม้ การพฒั นาหลกั สูตรในศตวรรษท่ี 21 134-144
3.1 หลกั สูตรปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 145-157
3.2 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปี พุทธศกั ราช 2551 158-161
(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)
3.3 หลกั สูตรการอาชีวศึกษา 162-165
3.3.1 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562 166-173


3.3.2 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.) พุทธศกั ราช 2563 174-183
3.3.3 หลกั สูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั ิการ 184-187
3.4 หลกั สูตรอดุ มศึกษา (ภายใตก้ รอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา) 188-191
สรุป 192
บรรณานุกร 193-194


แนวโนม้ การพฒั นาหลกั สูตรในศตวรรษท่ี 21

1. สภาพปัจจุบนั ของหลกั สูตรไทย

การศึกษาไทยในปัจจุบนั มีการจดั การศึกษาตามบริบทของการจดั การศึกษาอนั เป็นไป
ตามแผนการศึกษาของชาติคือ พฒั นาคน พฒั นาครูอาจารย์ พฒั นาสงั คม ในหลากหลายรูปแบบที่
เนน้ การมีส่วนร่วมขององคก์ รภาครัฐและเอกชน เป็นการจดั การศึกษาท่ีเนน้ ดา้ นอาชีวศึกษามาก
ข้ึน

การมุ่งเนน้ ใหม้ ีการจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานและระดบั ปริญญาตรีเพื่อเนน้ การมีงานทา
โดนอาศยั ปัจจยั หลกั ในองคก์ รหลกั จากภายนอกหลายปัจจยั เช่นปัจจยั ดา้ นเทคโนโลยดี า้ น
เศรษฐกิจดา้ นระบบราชการดา้ นการเมืองการปกครองดา้ นคุณธรรมจริยธรรมซ่ึงส่งผลให้
จดั ระบบบริหารจดั การกระทรวงศึกษาธิการรูปแบบใหมด่ ยบรู ณาการองคก์ รหลกั ของกระทรวง
ท้งั 5 องคก์ รหลกั โดยให้ปลดั กระทรวงศึกษาธิการเป็นผมู้ ีอานาจสูงสุด กระจายอานาจไปสู่ส่วน
ภมู ิภาคไปยงั ศึกษาธิการภาค 1-18 โดยแต่ระภาคจะประกอบไปดว้ ยกลุ่มจงั หวดั ในแตล่ ะจงั หวดั
มีศึกษาธิการจงั หวดั เป็นฝ่ ายกากบั ดูแลหน่วยงานทางการศึกษาในจงั หวดั เขตพ้ืนท่ีและ
สถานศึกษาซ่ึงเป็นการกระจายอานาจโดยใหม้ ีการกากบั ควบคุมดูแลกนั อยา่ งเป็นระบบมากข้ึน

ปรัชญาหลกั ๆ ของแผนการศึกษาแห่งชาติมกั จะเนน้ และยดึ หลกั เศรษฐกิจพอเพียง

หรือกรอบของการบูรณาการร่วมกนั ในเรื่องของการศึกษา ศิลปะวฒั นธรรม และเรื่องอ่ืนไดแ้ ก่

1.การพฒั นาคน จะเนน้ การพฒั นาใหเ้ ป็นคนเก่ง ดีมีความสุข มีความภูมิใจในความเป็นไทย

รวมท้งั มีความศรัทธาเชื่อมนั่ ในระบอบประชาธิปไตย รังเกียจการทุจริต ตอ่ ตา้ นการซ้ือสิทธิขาย
เสียง

2.การพฒั นาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา จะมุ่งเนน้ ในเรื่องการพฒั นาครูเพ่ือนา

ไปสู่การยกระดบั คุณภาพการศึกษา

3.การพฒั นาสังคม และสิ่งแวดล้อม ใหส้ ังคมไทยเป็นสังคมแห่งคุณธรรมจริยธรรม และส่งเสริม
การเรียนรู้ตลอดชีวิต


4.การพฒั นากาลงั คน ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ ภาคอตุ สาหกรรมบริการ

ภาคเศรษฐกิจและสังคมต่างๆ โดยมีการกาหนดกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิวชิ าชีพใหเ้ กิดข้ึนอยา่ ง
เป็ นรู ปธรรม

5.การมสี ่วนร่วม ท้งั ในส่วนของภาครัฐเอกชน หน่วยงานองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน และ
สถาบนั อ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น สถาบนั ศาสนา สถาบนั ครอบครัว เป็นตน้

6.การเตรียมประเทศไทยให้เดนิ หน้าไปสู่ความพร้อมในการสร้างประชาคมอาเซียน โดยอยา่ ง

นอ้ ยท่ีสุดที่จะตอ้ งทาในเวลาน้ีคือ ควรจะตอ้ งมีการเร่งรัดกาหนดกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ
การศึกษาในระดบั ตา่ งๆซ่ึงในขณะน้ีระดบั อุดมศึกษาไดจ้ ดั ทาและประกาศใชแ้ ลว้ คือ TQF

(Thai Qualifications Frameworkหรือ กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ) และตอ้ ง
ไปเนน้ ระดบั อาชีวศึกษาต่อไปดว้ ยขณะเดียวกนั ตอ้ งมีการผลกั ดนั ใหก้ ลุ่มประเทศอาเซียนมี
TQF กลางเกิดข้ึนดว้ ย (พติ ติภรณ์สิงคราช,การศึกษาไทยในยคุ ปัจจุบนั , ออนไลน)์

1. การศึกษาในปัจจบุ ัน มีการจดั การศึกษาตามบริบทของการจดั การศึกษาอนั เป็นไปตาม
แผนการศึกษาของชาติคือ พฒั นาคน พฒั นาครูอาจารย์พฒั นาสังคม ในหลากหลายรูปแบบที่
เนน้ การมีส่วนร่วมขององคก์ รภาครัฐและ เอกชน เป็นการจดั การศึกษาท่ีเนน้ ดา้ นอาชีวศึกษามาก
ข้ึน การมุ่งเนน้ ใหม้ ีการจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานและ ระดบั ปริญญาตรีเพ่อื เนน้ การมีงานทาโดน
อาศยั ปัจจยั หลกั ในองคก์ รหลกั จากภายนอกหลายปัจจยั เช่น ปัจจยั ดา้ นเทคโนโลยดี า้ นเศรษฐกิจ
ดา้ นระบบราชการ ดา้ นการเมืองการปกครอง ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมซ่ึงส่ง ผลใหจ้ ดั ระบบ
บริหารจดั การกระทรวงศึกษาธิการรูปแบบใหม่ โดยบูรณาการองคก์ รหลกั ของกระทรวงท้งั 5
องคก์ รหลกั โดยใหป้ ลดั กระทรวงศึกษาธิการเป็ นผมู้ ีอานาจสูงสุด กระจายอานานไปสู่ส่วน
ภูมิภาคไปยงั ศึกษาธิการภาค 1-18 โดยแต่ระภาคจะประกอบไปดว้ ยกล่มุ จงั หวดั ในแต่ละจงั หวดั
มีศึกษาธิการจงั หวดั เป็น ฝ่ ายกากบั ดูแลหน่วยงานทางการศึกษาในจงั หวดั เขตพ้นื ท่ีและ
สถานศึกษาซ่ึงเป็นการกระจายอานาจโดย ใหม้ ีการกากบั ควบคุมดูแลกนั อยา่ งเป็นระบบมากข้ึน

2. แนวโน้มการศึกษาไทย หลงั จากการจดั การศึกษาในรูปแบบการบริหารจดั การปฏิรูป
องคก์ ารศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการแลว้ การจดั การศึกษาไทยมีแนวโนม้ ที่จะกา้ วสู่การเป็น
ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ และอาจจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงเป็นแนวโนม้ อนาคตทางการศึกษาไทยได้
เป็นดงั น้ี


2.1เกิดการปฏิรูปโครงสร้างการบริหารการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ของไทย

2.2 มีหลกั สูตรใหมเ่ กิดเพ่ิมมากข้ึน

2.3 มีการบูรณาการหลกั สูตรนานาชาติมีความเป็นสากลมากข้ึน

2.4 เกิดการมีส่วนร่วมมากข้ึน

2.5 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา

2.6เกิดการแข่งขนั ทางการศึกษาสูงข้ึน เนน้ ดา้ นคุณภาพและอาจดอ้ ยดา้ คุณธรรม
จริยธรรม

2.7 เกิดววิ ฒั นาการการสืบคน้ ดา้ นเทคโนโลยขี อ้ มลู ขา่ วสารไดร้ วดเร็วและพฒั นา
องคค์ วาม รู้ตลอดเวลา

การจดั การศึกษาในอนาคตของไทยจึงตอ้ งอาศยั เทคโนโลยแี ละการสืบคน้ ดว้ ยตนเอง
มากกวา่ ใชค้ รู และบคุ ลากรทางการศึกษาที่ตอ้ งเปล่ียนบทบาทจากผใู้ หม้ าเป็ นผกู้ ากบั ดูแลและ
ใหค้ าปรึกษาการสืบคน้ ขอ้ มลู การใชข้ อ้ มูลท่ีเหมาะสม การเรียนรู้จะอาศยั การศึกษาเรียนรู้จาก
สภาพจริงของสงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม มากกวา่ การเรียนรู้ในช้นั เรียน การวดั และการประเมินผล
การเรียนรู้ใชเ้ ทคโนโลยขี ่าวสารทางอิเลก็ ทรอนิกส์ นวตั กรรม สังคมจะปรับตวั ตามเทคโนโลยี
และนวตั กรรม การศึกษาในอนาคตจึงตอ้ งปรับตวั ตามเพื่อรองรับ การเปล่ียนแปลงเพ่อื เตรียม
ความพร้อมสู่ประเทศไทย 4.0 ตอ่ ไป


1.1หลกั สูตรปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

ความสาคญั ของการศึกษาปฐมวัย


ความสาคญั ของการศึกษาปฐมวยั คือการท่ีครูจะสอนไดด้ ีน้นั จาเป็นตอ้ งศึกษาเด็ก
ยง่ิ กวา่ น้นั งานวจิ ยั เกี่ยวกบั การพฒั นาการทางสมองมนุษยย์ ้งั เนน้ ความสาคญั ของการศึกษา
ปฐมวยั โดยเฉพาะในช่วงของ 5 ปี แรกของชีวติ วา่ เป็นช่วงเวลาที่ดีท่ีสุดสาหรับการเรียนรู้ และ
เด็กจาเป็นตอ้ งไดร้ ับการดูแล เอาใจใส่จากพ่อแม่หรือผดู้ ูแลต้งั แต่แรกเกิดโดยการใหค้ วามรัก
การโอบกอด สัมผสั พูดคุย และเลน่ กบั เด็กเพื่อใหส้ มองของเดก็ ไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งเตม็ ที่
ตามศกั ยาภาพ การเขา้ ใจพฒั นาเด็กส่งผลดีต่อครูผสู้ อนหลายประการ ผลดีประการหน่ึงคือ ช่วย
ใหค้ รูเขา้ ใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กไดด้ ียง่ิ ข้ึน ยงั สามารถวางแผนหลกั สูตร การเรียนการ
สอนไดเ้ หมาะสมกบั เดก็ แตล่ ะคนไดม้ ากข้ึนศกั ยาภาพ การเขา้ ใจพฒั นาเด็กส่งผลดีตอ่ ครูผสู้ อน
หลายประการ ผลดีประการหน่ึงคือ ช่วยใหค้ รูเขา้ ใจกระบวนการเรียนรู้ของเดก็ ไดด้ ียง่ิ ข้ึน ยงั
สามารถวางแผนหลกั สูตร การเรียนการสอนไดเ้ หมาะสมกบั เด็กแตล่ ะคนไดม้ ากข้ึน

การจดั การศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพอ่ื ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงตอ่ การพฒั นาการในเดก็
ต้งั แต่แรกเกิดถึง8ขวบหรือช้นั ประถมศึกษาปี ที่3การจดั การเด็กในที่น้ีรวมถึงการจดั การศึกษา
ทางเป็นทางการ (formal group settings )และการจดั การศึกษาแบบไม่เป็นทางการ (informal
group settings)เพราะการเรียนรู้ของเด็กในช่วงวยั ด้งั กลา่ วถือเป็นรากฐานของการเรียนรู้ใน
อนาคต

การจดั การศึกษาปฐมวยั ควรมีส่วนช่วยใหเ้ ด็กเกิดพฒั นาการและการเรียนรู้อยา่ งเตม็ ท่ี ซ่ึง
แนวคิดในการจดั การศึกษาสาหรับเดก็ ในวยั น้ีทกุ รูปแบบควรมีส่วนสาคญั ดงั ที่มาสโซเกลีย
(Massoglia. ) กล่าวเอาไว้ ดงั น้ี

1. เป็นการส่งเสริมพฒั นาการของเด็กทุกดา้ น นบั ต้งั แต่แรกเกิดจนถึงเริ่มเขา้ เรียนใน
ระดบั โรงเรียน

2. วางพ้นื ฐานทางสุขภาพอนามยั ใหก้ บั เด็กต้งั แต่ตน้ รวมท้งั เด็กท่ีมีขอ้ บกพร่องต่าง ๆ

3. ส่ิงแวดลอ้ มทางบา้ นควรมีส่วนช่วยใหเ้ ด็กเจริญเติบโต และพฒั นาในทกุ ๆ ดา้ น

4. พอ่ แมค่ วรเป็นครูคนแรกที่มีความสาคญั ต่อลูก

5. อิทธิพลจากทางบา้ นควรมีผลต่อกระบวนการในการพฒั นาเดก็

จดุ ม่งุ หมายการจัดการศึกษาปฐมวยั


หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั มุ่งใหเ้ ด็กพฒั นาทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญาท่ีเหมาะสมกบั วยั ความสามารถและความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล จึงกาหนด
จุดมงุ่ หมายซ่ึงถือเป็นมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคไ์ ด้ ดงั น้ี (กระทรวงศึกษาธิการ)

1. ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั และมีสุขนิสยั ท่ีดี
2. กลา้ มเน้ือใหญ่และกลา้ มเน้ือเลก็ แขง็ แรง ใชไ้ ดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และประสานสัมพนั ธ์
กนั
3. มีสุขภาพจิตที่ดีและมีความสุข
4. มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจดีงาม
5. ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการออกกาลงั กาย
6. ช่วยเหลือตนเองไดเ้ หมาะสมกบั วยั
7. รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
8.อยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุขและปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมขุ
9. ใชภ้ าษาส่ือสารไดเ้ หมาะสมกบั วยั
10. มคี วามสามารถในการคิดและการแกป้ ัญหาไดเ้ หมาะสมกบั วยั
11. มีจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์
12. มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ และมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้

ไดก้ าหนดแนวปฏิบตั ิไว้ 6 เร่ืองหลกั ไดแ้ ก่


1. เน้นเดก็ เป็ นสาคญั โดยเปิ ดโอกาสใหเ้ ด็กฝึกใชค้ วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ การวางแผนลง
มือทา นาเสนอ และสะทอ้ นความคิดเห็น ฯลฯ โดยครูเป็นผสู้ นบั สนุนและร่วมเรียนรู้ไป
พร้อมกบั เด็ก ท้งั น้ี ใหค้ านึงถึงบริบทของตวั เด็กและสงั คมท่ีเดก็ อาศยั

2. จัดประสบการณ์ หรือกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ ยดื หยนุ่ สอดคลอ้ งกบั
พฒั นาการหรือปรับเปลี่ยนตามความสนใจ สถานการณ์ บริบทหรือวิถีชีวิตจริงของเดก็

3. จดั หาหรือพฒั นาส่ือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ รวมถึงแหล่งเรียนรู้ตามธรรมชาติ ใหเ้ ดก็ มีโอกาส
ไดเ้ รียนรู้ผา่ นการเลน่ ท่ีหลากหลาย ท้งั การเล่นอิสระ การเลน่ ร่วมกนั และการเลน่ ท่ีมี
ขอ้ ตกลง

4. จดั สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้ เชิงบวก อบอนุ่ ปลอดภยั เป็นมิตร มีอิสระ
และทา้ ทาย ใหเ้ อ้ือต่อการเรียนรู้ ส่งเสริมปฏิสัมพนั ธ์เชิงบวกระหวา่ งเด็กกบั เด็กและเดก็
กบั ครู

5. ส่งเสริม สนบั สนุนใหค้ รูไดม้ ีโอกาสในการพฒั นาตนเอง รู้เทา่ ทนั ความกา้ วหนา้ และการ
เปล่ียนแปลงต่าง ๆ การวิจยั และพฒั นาสื่อ รูปแบบ วิธีการหรือนวตั กรรมสาหรับการจดั
การศึกษาปฐมวยั

6. ประสานความร่วมมือและสร้างความรู้ความเข้าใจ ร่วมกนั ระหวา่ งสถานศึกษากบั พ่อแม่
ครอบครัว และชุมชน ในการดูแล พฒั นาและจดั การเรียนรู้เพอื่ การพฒั นาเด็กปฐมวยั

เนื่องจากการปรับรูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวยั คร้ังน้ี ครูมีบทบาทสาคญั และเป็นผนู้ าการ
เปล่ียนแปลง (Change Agent) จากครูผสู้ อนปรับมาเป็นผชู้ ้ีแนะ ช่วยอานวยความสะดวกในการ
เรียนรู้ ผสู้ งั เกต ร่วมเรียนรู้ไปกบั เด็ก และเชื่อมโยงความร่วมมือจากทกุ ภาคส่วนที่เกี่ยวขอ้ ง
เพื่อใหเ้ ดก็ ไดร้ ับการพฒั นาและเรียนรู้เตม็ ตามศกั ยภาพ

ดงั น้นั แนวปฏิบตั ิท่ีเหมาะสมสาหรับครู ตอ้ งเกิด “5 สิ่งที่มีอยจู่ ริง” ดงั น้ี

1. ครูมีอยจู่ ริง “ครูคุณภาพ ครูเพอื่ ศิษย”์ มีจิตวญิ ญาณความเป็นครู ตอ้ งเชื่อมนั่ วา่ เด็กทุกคน
มีศกั ยภาพ มุง่ มน่ั กลา้ ทาเพอ่ื เปลี่ยนแปลงใหเ้ กิดส่ิงใหมท่ ่ีดีกวา่ เป็นแบบอยา่ งท่ีดี เป็นที่
พ่ึงทางใจ มีปฏิสมั พนั ธ์เชิงบวก


2. เด็กมีอยจู่ ริง “เด็กไดค้ ิด วางแผน ทา แกป้ ัญหา ดว้ ยตนเอง และเป็นท่ียอมรับ” พอ่ แม่และ
ครูตอ้ งส่งเสริมสร้างความมีตวั ตนใหก้ บั เด็กเคารพในความรู้สึกนึกคิดของเด็ก กระตนุ้ ให้
เด็กอยากเรียนรู้และต้งั เป้าหมายเอง ใหเ้ ด็กมีโอกาสตดั สินใจและเรียนรู้ผลจากการ
ตดั สินใจ มีความภาคภมู ิใจในตนเอง และส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกนั

3. หลกั สูตรมีอยจู่ ริง “ใหโ้ อกาสการเรียนรู้และความสาเร็จแก่เด็ก” หลกั สูตรสถานศึกษา
ระดบั ปฐมวยั ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ช่วยใหเ้ ดก็ มีความพร้อม
พ้ืนฐานสาหรับการเรียนรู้และมีทกั ษะชีวติ

4. ครอบครัวมีอยจู่ ริง “ครอบครัวอบอุ่น ปลอดภยั มีส่วนร่วมพฒั นาเด็ก” เด็กปฐมวยั จะ
ไดร้ ับการพฒั นาจากครอบครัวเป็นลาดบั แรก ดงั น้นั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ครอบครัว
และสถานศึกษาตอ้ งร่วมมือใกลช้ ิด ส่ือสารเชิงบวกสร้างความรู้ความเขา้ ใจ พฒั นาทกั ษะ
แลกเปลี่ยนขอ้ มูลประสบการณ์และใหก้ าลงั ใจกนั และกนั

5. เพ่ือนร่วมงานมีอยจู่ ริง “ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแกป้ ัญหาร่วมพฒั นา ร่วมรับผิดชอบ” สร้าง
ความร่วมมือท้งั ภายในและนอกสถานศึกษาพฒั นาการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ใหม้ ี
คุณภาพ ครูจะตอ้ งทางานร่วมกบั ผทู้ ี่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งโดยการพฒั นาจะเนน้ ท่ีเด็กเป็น
สาคญั

การพฒั นาสมองในเด็กระดบั ปฐมวยั ตอ้ งเนน้ การสร้างจินตนาการ 4 ระดบั คือ

1.ระดบั จินตลกั ษณ์

2. ระดบั จินตภาพ

3. ระดบั จินตปัญญา

4. ระดบั จินตปัญญาญาณ

โครงสร้างหลกั สูตร

โครงสร้างหลกั สูตรระดบั ปฐมวัย


หลกั สูตรการจดั การเรียนการสอนระดบั ปฐมวยั เป็นการจดั ประสบการณ์การ เรียนรู้
แบบบรู ณาการ (Integration) โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ตามแนวธรรมชาติ ท้งั ในและนอก
หอ้ งเรียน ซ่ึงได้ จดั เน้ือหาออกเป็นหน่วยยอ่ ย ดงั น้ี

หน่วยการเรียนการสอน ทางโรงเรียนจดั หน่วยการเรียนการสอน โดยเนน้ มวล
ประสบการณ์เรียงลาดบั เน้ือหาจากสิ่งท่ีอยใู่ กลต้ วั จดั กิจกรรมใหเ้ หมาะสมกบั วยั และความ
สนใจของผเู้ รียน ดงั น้ี

อนุบาล1
สาระการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองราวเก่ียวกบั ตวั เด็ก

หน่วยท่ี 1 สนุกสุขใจฉนั ไปโรงเรียน
หน่วยที่ 2 น่ีแหละตวั ฉนั
หน่วยท่ี 3 อารมณ์ของฉนั
หน่วยที่ 4 ร่างกายของฉนั
หน่วยท่ี 5 อวยั วะรับสัมผสั
หน่วยที่ 6 เดก็ นอ้ ยสุขภาพดี
หน่วยท่ี 7 เด็กดีมีมารยาท

สาระการเรียนรู้ที่ 2 เร่ืองราวเกย่ี วกบั บคุ คลและสถานที่แวดล้อมเด็ก
หน่วยที่ 8 ครอบครัวของฉนั
หน่วยท่ี 9 บา้ นแสนรัก
หน่วยท่ี 10 โรงเรียนของฉนั
หน่วยที่ 11 ชุมชนของฉนั
หน่วยที่ 12 จงั หวดั ของเรา
หน่วยที่ 13 เรารักประเทศไทย


หน่วยท่ี 14 ประเทศเพ่อื นบา้ น
สาระการเรียนรู้ที่ 3 ธรรมชาติรอบตวั
หน่วยที่ 15 สัตวน์ ่ารัก
หน่วยท่ี 16 ตน้ ไม้
หน่วยที่ 17 ส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติ
หน่วยที่ 18 กลางวนั กลางคืน
หน่วยท่ี 19 ร้อน ฝน หนาว
หน่วยที่ 20 เด็กนอ้ ยผพู้ ทิ กั ษ์
หน่วยที่ 21 อวกาศ
สาระการเรียนรู้ท่ี 4 สิ่งต่างๆ รอบตัวเดก็
หน่วยที่ 22 สีสนั อนั สดใส
หน่วยท่ี 23 รูปทรงและผวิ สัมผสั
หน่วยที่ 24 สิ่งของเคร่ืองใช้
หน่วยท่ี 25 เคร่ืองทุ่นแรง 1
หน่วยที่ 26 คมนาคม
หน่วยท่ี 27 การติดตอ่ ส่ือสาร
หน่วยที่ 28 เทคโนโลยี
อนุบาล2
สาระการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่องราวเกยี่ วกบั ตวั เด็ก
หน่วยที่ 1 เม่ือฉนั ไปโรงเรียน
หน่วยท่ี 2 เม่ือฉนั โตข้ึน


หน่วยที่ 3 อารมณ์ของฉนั
หน่วยท่ี 4 อวยั วะของฉนั
หน่วยท่ี 5 ประสาทสมั ผสั ท้งั 5
หน่วยที่ 6 สุขภาพดีมีสุข
หน่วยที่ 7 เด็กนอ้ ยมารยาทงาม
สาระการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องราวเกยี่ วกบั บคุคลและสถานท่แี วดล้อมเด็ก
หน่วยท่ี 8 ครอบครัวแสนรัก
หน่วยที่ 9 บา้ นของฉนั
หน่วยท่ี 10 โรงเรียนของเราน่าอยู่
หน่วยท่ี 11 เรารักชุมชน
หน่วยที่ 12 จงั หวดั ของเรา
หน่วยที่ 13 ฉนั รักประเทศไทย
หน่วยท่ี 14 มิตรประเทศของไทย
สาระการเรียนรู้ที่ 3 ธรรมชาตริ อบตัว
หน่วยท่ี 15 ชีวติ สตั วน์ ่ารู้
หน่วยที่ 16 พชื
หน่วยที่ 17 ธรรมชาติสวยงาม
หน่วยที่ 18 วนั และคืน
หน่วยท่ี 19 ฤดูกาล
หน่วยที่ 20 เมื่อฉนั รักโลก
หน่วยที่ 21 อวกาศ


สาระการเรียนรู้ท่ี 4 ส่ิงต่างๆ รอบตวั เดก็
หน่วยท่ี 22 สีผสมสีสวย
หน่วยท่ี 23 รูปทรง รูปร่าง ผวิ สมั ผสั
หน่วยที่ 24 เครื่องมือ เคร่ืองใช้
หน่วยที่ 25 เครื่องทุ่นแรง 2
หน่วยท่ี 26 คมนาคม
หน่วยที่ 27 การติดตอ่ สื่อสาร
หน่วยท่ี 28 เทคโนโลย
อนุบาล3
สาระการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองราวเกยี่ วกบั ตวั เด็ก
หน่วยที่ 1 เรามาโรงเรียน
หน่วยที่ 2 เม่ือฉนั เติบโต
หน่วยที่ 3 อารมณ์ของฉนั
หน่วยที่ 4 อวยั วะภายในของฉนั
หน่วยที่ 5 อวยั วะรับสมั ผสั
หน่วยท่ี 6 อนามยั ดีมีสุข
หน่วยท่ี 7 ฉนั มีมารยาทดี
สาระการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่องราวเกย่ี วกบั บคุคลและสถานท่แี วดล้อมเด็ก
หน่วยที่ 8 ครอบครัวของเรา
หน่วยที่ 9 บา้ นของเรา
หน่วยท่ี 10 โรงเรียนของเรา


หน่วยที่ 11 ชุมชนของเรา
หน่วยท่ี 12 จงั หวดั ของฉนั
หน่วยท่ี 13 ฉนั รักประเทศไทย
หน่วยที่ 14 นานาประเทศ
สาระการเรียนรู้ท่ี 3 ธรรมชาติรอบตัว
หน่วยที่ 15 ชีวติ สตั วโ์ ลก
หน่วยที่ 16 พืชน่ารู้
หน่วยท่ี 17 ส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติ
หน่วยท่ี 18 คืนวนั ที่แปรเปลยี่ น
หน่วยท่ี 19 ฤดูกาลน่ารู้
หน่วยท่ี 20 รักโลกกนั เถอะ
หน่วยที่ 21 อวกาศ
สาระการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งต่างๆ รอบตวั เดก็
หน่วยท่ี 22 สีกบั สัญลกั ษณ์
หน่วยที่ 23 รูปร่าง รูปทรง
หน่วยที่ 24 เครื่องมือ เครื่องใช้
หน่วยท่ี 25 เครื่องทุน่ แรง 3
หน่วยที่ 26 การเดินทางแสนสนุก
หน่วยท่ี 27 การติดตอ่ ส่ือสาร
หน่วยท่ี 28 เทคโนโลยี
โครงสร้างหลกั สูตรระดบั ประถมศึกษา


หลกั สูตรการจดั การเรียนการสอนระดบั ประถมศึกษา เป็นการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ี
มุง่ เนน้ ให้ ผเู้ รียนไดค้ น้ พบความสามารถของตนเอง และพฒั นาความสามารถของตนเอง ไดอ้ ยา่ ง
เตม็ ศกั ยภาพ โดยในช่วงชนั้ ท่ี 1(ป.1- 6) ผเู้ รียนจะไดเ้ รียนรู้เน้ือหาทง้ั 8 กลุ่มสาระตามท่ีโรงเรียน
กาหนด ตามตารางโครงสร้างหลกั สูตร


1.2 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปี
พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

วสิ ัยทัศน์


หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลงั ของชาติ ให้
เป็นมนุษยท์ ่ีมีความสมดุลท้งั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย
และเป็นพลโลก ยดึ มนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็น
ประมุข มีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพ
และ การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั บนพ้ืนฐานความเชื่อวา่ ทุกคนสามารถ
เรียนรู้ และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

หลกั การ

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มีหลกั การที่สาคญั ดงั น้ี เป็นหลกั สูตรการศึกษา
เพ่อื ความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสาหรับพฒั นา
เดก็ และเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพ้นื ฐานของความเป็นไทยควบคู่กบั
1.ความเป็ นสากล
2. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษา อยา่ งเสมอภาค
และมีคุณภาพ

3. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ใหส้ งั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน
4. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยดื หยนุ่ ท้งั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและ การจดั การ
เรียนรู้

5. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั

6. เป็นหลกั สูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย


หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมาย เพื่อใหเ้ กิดกบั ผเู้ รียน เมื่อ
จบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ท้งั น้ี

1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ิตน
ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจ
พอเพยี ง

2. มีความรู้อนั เป็นสากลและมีความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้
เทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวติ

3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสุขนิสยั และรักการออกกาลงั กาย

4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มนั่ ในวถิ ีชีวิต และการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ

5. มีจิตสานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นา ส่ิงแวดลอ้ ม มี
จิตสาธารณะท่ีมงุ่ ทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคม อยา่ งมี
ความ

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รียน ใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ ซ่ึงการพฒั นาผเู้ รียนใหบ้ รรลุ มาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดน้นั จะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิด
สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถใน การรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมในการใช้
ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพือ่ แลกเปล่ียน
ขอ้ มูลข่าวสาร และประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นา ตนเองและสังคม รวมท้งั การ
เจรจาต่อรองเพือ่ ขจดั และลดปัญหา ความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารดว้ ย
หลกั เหตุผล และความถกู ตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ิธีการส่ือสารท่ีมี ประสิทธิภาพโดยคานึงถึง
ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม


2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถใน การคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอยา่ ง
สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพอื่ นาไปสู่ การสร้างองคค์ วามรู้
หรือสารสนเทศเพื่อการตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเอง และสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถใน การแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญ
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม บนพ้ืนฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เขา้ ใจ
ความสัมพนั ธแ์ ละการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์
ความรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา และมีการตดั สินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึง
ผลกระทบที่เกิดข้ึน ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ เป็นความสามารถ ในการนากระบวนการตา่ งๆ ไปใชใ้ น
การดาเนินชีวิตประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง การทางาน และ การอยู่
ร่วมกนั ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพนั ธอ์ นั ดีระหวา่ ง บคุ คล การจดั การปัญหาและ
ความขดั แยง้ ต่างๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ใหท้ นั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและ
สภาพแวดลอ้ ม และการจกั หลีกพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถ ในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นตา่ งๆ
และมีทกั ษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การ
ส่ือสาร การทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสม และมีคุณร

เหตผุ ลความจาเป็ นของการปรับหลกั สูตร


ความเจริญกา้ วหนา้ ทางวิทยาการดา้ นต่าง ๆ ของโลกในปัจจุบนั โดยเฉพาะการ

เปลี่ยนแปลงความรู้และเทคโนโลยอี ยา่ งกา้ วกระโดด ท่ีนาไปสู่การเป็นสงั คมดิจิทลั อยา่ งรวดเร็ว

รวมถึงการเกิดปรากฏการณ์สาคญั ของโลก เช่น ภาวะการระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนาอยา่ ง

รุนแรงทว่ั โลก ส่งผลใหท้ ุกประเทศรวมท้งั ประเทศไทยเกิดการเปล่ียนแปลงทางสงั คม

วฒั นธรรมและเศรษฐกิจที่กระทบวิถีชีวติ ของผคู้ นอยา่ งไมห่ ยดุ ย้งั เกิดปัญหาความเหลื่อมล้าทาง

เศรษฐกิจและสังคมที่ชดั เจนข้ึนเรื่อย ๆ นอกจากน้นั ผลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษายงั ไม่สะทอ้ นถึง

ศกั ยภาพของผเู้ รียนท่ีสามารถออกไปสู่สงั คมและโลกของการทางานในอนาคตไดอ้ ยา่ งชดั เจน

จึงเป็นความสาคญั จาเป็นที่จะตอ้ งปรับปรุงหลกั สูตรการศึกษาของชาติ ซ่ึงเป็นพมิ พเ์ ขียวและ

กลไกสาคญั ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของประเทศ ใหส้ อดคลอ้ งรับกบั ความกา้ วหนา้ ทาง

วทิ ยาการและการเปลี่ยนแปลงทุกดา้ น เพือ่ สร้างคนไทยใหม้ ีคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ มี

ความสามารถและศกั ยภาพในการดารงชีวติ ปรับตนใหพ้ ร้อม รับการเปล่ียนแปลง พร้อมที่จะ

แขง่ ขนั และร่วมมืออยา่ งสร้างสรรคใ์ นเวทีโลก

หลกั สูตรการศึกษาของชาติท่ีใชใ้ นปัจจุบนั คือ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 เป็นหลกั สูตรท่ีกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นผลลพั ธ์ที่ตอ้ งการให้เกิดกบั
ผเู้ รียน และมีตวั ช้ีวดั ช้นั ปี ไวช้ ่วยใหผ้ สู้ อนรู้วา่ จะสอนใหผ้ เู้ รียนรู้อะไรและทาอะไรได้ รวมท้งั
เพอ่ื การตรวจสอบความรู้ความสามารถของผเู้ รียนเป็นระยะจนจบการศึกษาภาคบงั คบั และ
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ประกอบดว้ ย 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี และภาษาตา่ งประเทศ หลกั สูตรฉบบั น้ีพฒั นามาจากหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2544 ซ่ึงคงหลกั การและกรอบโครงสร้างหลกั สูตรไว้ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2560 ได้
ปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี และสาระภมู ิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลา่ ว
ไดว้ า่ หลกั สูตรที่กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นผลลพั ธ์การพฒั นาน้ีมีการใชม้ าแลว้ ถึง 20 ปี

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานไดต้ ิดตามและประเมินผลการใชห้ ลกั สูตร
รวมท้งั ศึกษาผลงานวิจยั ของหน่วยงาน องคก์ ร และบุคคลทว่ั ไปท่ีเก่ียวขอ้ งอยา่ งตอ่ เนื่อง พบว่า
หลกั สูตรฉบบั ปัจจุบนั แมจ้ ะเปิ ดโอกาสใหส้ ถานศึกษาไดจ้ ดั การศึกษาที่สอดคลอ้ งกบั ความ
ตอ้ งการของผเู้ รียน ผปู้ กครอง และความพร้อมของสถานศึกษา ชุมชนมีส่วนร่วมในการจดั


การศึกษา แตไ่ ดพ้ บประเด็นสาคญั ยงิ่ คือ หลกั สูตรไม่เอ้ือใหส้ งั คมไทยเกิดการพฒั นาและ
ปรับตวั ไดท้ นั ต่อสภาวการณ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในขณะน้ี เนื่องจาก

1. มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั มีจานวนมาก ซ้าซอ้ น และอิงเน้ือหาค่อนขา้ งมาก ส่งผล
ใหก้ ารจดั การเรียนรู้ไมห่ ลากหลาย เนน้ การจาเน้ือหาไปใชเ้ พ่ือการสอบ มากกวา่ การ
สร้างทกั ษะสาคญั จาเป็น เช่น ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และทกั ษะ
การคิดใหก้ บั ผเู้ รียน

2. การเรียนรู้ในช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 – 3 ซ่ึงเป็นช่วงวยั ท่ีเช่ือมต่อมาจากระดบั ปฐมวยั และ
เป็นช่วงเร่ิมตน้ ของการวางพ้ืนฐานการเรียนรู้ หลกั สูตรจดั ใหเ้ รียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
เช่นเดียวกบั ระดบั ช้นั อ่ืน แทนที่จะเนน้ ไปที่การอ่าน การเขียน และการคิดคานวณ เพอื่
เป็นเครื่องมือการเรียนรู้สาระอ่ืน ๆ ต่อไป

3. การนาหลกั สูตรไปใช้ โดยเฉพาะการพฒั นาเน้ือหาสาระ ส่ือ และการจดั กระบวนการ
เรียนรู้ท่ีทนั สมยั สอดคลอ้ งกบั การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาการและเทคโนโลยี ยงั ไม่
เพยี งพอ หรือทนั การที่จะช่วยใหผ้ เู้ รียนมีสมรรถนะท่ีเพยี งพอในการใชค้ วามรู้หรือนา
ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั หรือช่วยสร้างพ้ืนฐานใหค้ นไทยสามารถเผชิญปัญหา
สงั คมและเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

4. ผลการทดสอบ PISA (Program for International Student Assessment) ที่ดาเนินการโดย
OECD (The Organisation for Economic Co-operation and Development) พบวา่ นกั เรียน
ไทยมีค่าเฉล่ียคะแนนทุกดา้ นอยใู่ นกลุม่ ต่า สะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ นกั เรียนโดยเฉล่ียมีความรู้
และความสามารถในการใชค้ วามรู้ต่ากวา่ เกณฑม์ าตรฐานนานาชาติ

นอกจากน้ี กฎหมายและยทุ ธศาสตร์สาคญั ของประเทศท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การศึกษา และการ
พฒั นาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศที่เกิดข้ึนในช่วงตอ่ มา ไดก้ าหนดจุดหมายการพฒั นาคน แนว
การจดั การศึกษาของประเทศที่มีการปรับเปลี่ยนใหส้ อดคลอ้ งกบั กระแสการเปล่ียนแปลงของ
โลกและสภาวะของประเทศ ดงั น้ี

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 54 กาหนดใหร้ ัฐตอ้ ง
ดาเนินการใหป้ ระชาชนไดร้ ับการศึกษาตามความตอ้ งการในระบบตา่ ง ๆ รวมท้งั ส่งเสริมใหม้ ี


การเรียนรู้ตลอดชีวติ และจดั ใหม้ ีการร่วมมือกนั ระหวา่ งรัฐ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน และ
ภาคเอกชน ในการจดั การศึกษาทุกระดบั โดยรัฐมีหนา้ ท่ีดาเนินการ กากบั ส่งเสริม และ
สนบั สนุนใหก้ ารจดั การศึกษามีคุณภาพและไดม้ าตรฐานสากล และมาตรา 71 กาหนดใหร้ ัฐพึง
ส่งเสริมและพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ หเ้ ป็นพลเมืองที่ดี มีคุณภาพและความสามารถสูงข้ึน

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เป็นแผนยทุ ธศาสตร์ท่ีกาหนดกรอบและแนวทาง

การพฒั นาการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับพลเมืองทกุ ช่วงวยั ต้งั แตแ่ รกเกิดจนตลอดชีวติ โดย
จุดม่งุ หมาย

ที่สาคญั ของแผนคือ ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ สามารถเป็นกลไกในการ
พฒั นาศกั ยภาพและขีดความสามารถของทนุ มนุษย์ ที่ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
และการพฒั นาประเทศเพ่ือใหป้ ระเทศสามารถกา้ วขา้ มกบั ดกั ของประเทศที่มีรายไดป้ านกลาง
ไปสู่ประเทศที่พฒั นาแลว้ อยา่ งยง่ั ยนื ภายใตพ้ ลวตั ของโลกศตวรรษที่ 21 ประชากรทุกช่วงวยั
สามารถเขา้ ถึงโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาและการเรียนรู้ จากระบบการศึกษาท่ีมี
ความยดื หยนุ่ หลากหลาย และตอบสนองความตอ้ งการของผเู้ รียนเพอ่ื ยกระดบั ชนช้นั ของสงั คม
ภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจฐานความรู้ท่ีเอ้ือตอ่ การสร้างสงั คมแห่งปัญญาและการสร้าง
สภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้

กระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดมาตรฐานการศึกษาชาติ พ.ศ. 2561 ในรูปแบบของผลลพั ธท์ ี่
พงึ ประสงค์ (Desired Outcomes of Education: DOE) สาหรับผเู้ รียน คือ การเป็นผเู้ รียนรู้ การเป็น
ผรู้ ่วมสร้างสรรคน์ วตั กรรม และการเป็นพลเมืองท่ีเขม้ แขง็ โดยมีคา่ นิยมร่วมคือ ความเพียรอนั บ
ริสุทธ์ ความพอเพียง วิถีประชาธิปไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค และใหม้ ีลกั ษณะนิสยั และ
คุณธรรมพ้ืนฐานที่ดีงาม เช่น ความมีวนิ ยั ความขยนั ความซ่ือสตั ย์ ความรับผิดชอบ เป็นตน้

นอกจากน้นั แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษา พ.ศ. 2564 (ฉบบั ปรับปรุง) ซ่ึงมี
เป้าประสงคเ์ พอื่ ยกระดบั คุณภาพของการจดั การศึกษา ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา มุ่งความ
เป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ไดก้ าหนดใหก้ ารพฒั นาการ
จดั การเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะเป็ นหน่ึงในกิจกรรมปฏิรูปประเทศท่ีจะส่งผลให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอยา่ งมีนยั สาคญั (Big Rocks) เพอื่ ใหป้ ระชาชนและผเู้ รียนทกุ
กลมุ่ วยั ไดร้ ับการศึกษาที่มีคุณภาพสากล มีทกั ษะที่จาเป็นของโลกอนาคต สามารถแกป้ ัญหา


ปรับตวั สื่อสารและทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผล มีวินยั มีนิสยั ใฝ่ เรียนรู้อยา่ ง
ตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ รวมท้งั เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหนา้ ที่ มีความรับผดิ ชอบและมีจิตสาธารณะ
เป็นกาลงั ของประเทศในการขบั เคล่ือนประเทศให้บรรลุเป้าหมายยทุ ธศาสตร์ชาติ

จากแผนแม่บทและนโยบายแห่งรัฐท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงความเชื่อมนั่ วา่ การศึกษาเป็นเครื่องมือ
สาคญั ในการพฒั นาทรัพยากรทุนมนุษยเ์ พ่อื ใหร้ ากฐานของชาติมีความมนั่ คง ดารงชีวิตไดอ้ ยา่ ง
เป็นสุข กา้ วไปสู่การแขง่ ขนั ในภมู ิภาคและโลกไดอ้ ยา่ งสง่างามและภาคภมู ิ และความจาเป็นท่ี
จะตอ้ งมีการปรับเปลี่ยนหลกั สูตรการศึกษาของชาติ ใหเ้ ป็นหลกั สูตรที่สามารถสร้างและพฒั นา
สมรรถนะที่สาคญั จาเป็นของผเู้ รียน กระทรวงศึกษาธิการจึงอาศยั อานาจแห่งพระราชบญั ญตั ิ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2545 กาหนดใหป้ รับปรุงหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็นหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช…. ใน
ลกั ษณะหลกั สูตรฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum) ซ่ึงเป็นหลกั สูตรท่ีมุ่งให้
ผเู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะหลกั ที่สาคญั ต่อการใชช้ ีวิต การทางาน และการเรียนรู้ที่จาเป็น
ตอ่ การดารงชีวิตอยา่ งมีคุณภาพในโลกศตวรรษที่ 21

ท้งั น้ี ท้งั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และ (ร่าง) กรอบ
หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช…. ที่ปรับปรุงหรือพฒั นาข้ึนใหม่ มีลกั ษณะเป็น
หลกั สูตรที่เนน้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้เหมือนกนั ต่างกนั ตรงท่ีหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั
พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็นหลกั สูตรอิงมาตรฐานมงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทุกคนใหม้ ีคุณภาพอยา่ ง
นอ้ ยตามที่มาตรฐานกาหนด ส่วน (ร่าง) กรอบหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช…. น้นั
มีลกั ษณะเป็นหลกั สูตรฐานสมรรถนะ มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทกุ คนใหม้ ีสมรรถนะหลกั ท่ีสาคญั จาเป็น
สาหรับผเู้ รียนทกุ คน และส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดบ้ ่มเพาะ พฒั นา และต่อยอด สมรรถนะหลกั และ
สมรรถนะอื่นไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล

กรอบหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานฐานสมรรถนะ จะกาหนดชุดของผลลพั ธก์ ารเรียนรู้
ตามสมรรถนะหลกั

ที่สาคญั จาเป็น (Minimum Requirements) เพอื่ การพฒั นาผเู้ รียนจนสาเร็จการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
กรอบหลกั สูตร


ที่ยดื หยนุ่ จะเอ้ือใหส้ ถานศึกษาที่มีศกั ยภาพแตกต่างกนั สามารถออกแบบหลกั สูตรท่ีเหมาะสม
กบั ความตอ้ งการและบริบทของตนได้ โดยยดึ สมรรถนะกลางเป็นเกณฑเ์ ทียบเคียง ส่งเสริมให้
เกิดรูปแบบหลกั สูตรสถานศึกษาที่ยดื หยนุ่ และหลากหลาย มีความเฉพาะเจาะจงในการพฒั นา
ผเู้ รียนตามบริบทของสถานศึกษา ชุมชน และความตอ้ งการท่ีแตกตา่ งกนั ของผเู้ รียน

นอกจากน้นั หลกั สูตรจะช่วยใหผ้ สู้ อนปรับแนวคิดและมุมมองในการออกแบบและจดั การ
เรียนรู้จาก การเนน้ ท่ีเน้ือหาสาระมาเนน้ สมรรถนะ ซ่ึงจะช่วยใหม้ องเห็นการพฒั นาศกั ยภาพ
ผเู้ รียนเป็นรายบุคคลอยา่ งเป็นองคร์ วม ลดที่จะมุง่ การสอนเน้ือหาความรู้จานวนมาก ลดภาระ
และเวลาในการสอบตามตวั ช้ีวดั จานวนมาก ทาใหส้ ถานศึกษามีพ้ืนที่ในการจดั การเรียนรู้ท่ี
สาคญั จาเป็นของบริบทไดม้ ากข้ึน ในการออกแบบหลกั สูตรฐานสมรรถนะไดย้ ดึ หลกั ความเป็น
เอกภาพของชาติในประชาคมโลก บนความแตกตา่ งบริบทเชิงพ้นื ที่ เนน้ การพฒั นาผเู้ รียนเฉพาะ
บุคคลอยา่ งเป็นองคร์ วมที่พร้อมรับการเปล่ียนแปลงและสามารถฟ้ื นคืนสภาวะสมดุลได้ ดว้ ย
หลกั การสาคญั ของหลกั สูตรฐานสมรรถนะ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. เป็นหลกั สูตรท่ีมีเป้าหมายในการพฒั นาสมรรถนะของผเู้ รียนท่ีเหมาะสมตามช่วงวยั เนน้
การพฒั นาผเู้ รียนรายบุคคล (Personalization) อยา่ งเป็นองคร์ วม (Holistic Development)
เพือ่ การเป็นเจา้ ของ การเรียนรู้และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง (Life-Long Learning)

2. เป็นหลกั สูตรท่ีเช่ือมโยงระหวา่ งสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะในการกาหนด
ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ (Learning Outcome) เพ่ือการพฒั นาผเู้ รียนใหส้ ามารถนาไปใช้
ประโยชนใ์ นชีวิตและการทางาน

3. เป็นหลกั สูตรที่จดั สภาพแวดลอ้ มและเส้นทางการเรียนรู้ (Learning Pathway) ที่
หลากหลาย และระบบสนบั สนุนการเรียนรู้ท่ีสอดคลอ้ งกบั พหุปัญญาและธรรมชาติของ
ผเู้ รียน

4. เป็นหลกั สูตรท่ีมีกระบวนการจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การใชส้ ่ือและ
สถานการณ์การเรียนรู้ร่วมสมยั มีความหลากหลาย และยดื หยนุ่ ตามความสนใจ ความ
ถนดั ของผเู้ รียน (Differentiated Instruction) บริบท จุดเนน้ ของสถานศึกษา และชุมชน
แวดลอ้ ม


5. เป็นหลกั สูตรท่ีมุ่งใชก้ ารประเมินเพื่อการพฒั นาและสะทอ้ นสมรรถนะของผเู้ รียนตาม
เกณฑก์ ารปฏิบตั ิ (Performance) ที่เป็นธรรม เช่ือถือได้ เอ้ือตอ่ การถ่ายโยงการเรียนรู้และ
พฒั นาในระดบั ที่สูงข้ึนตามระดบั ความสามารถ

คณะอนุกรรมการจดั ทาและพฒั นา (ร่าง) กรอบหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช
…. ไดพ้ ฒั นา (ร่าง) กรอบหลกั สูตรฯ ท่ีมีสาระสาคญั เพยี งพอจะใหโ้ รงเรียนแกนนาในพ้นื ที่
นวตั กรรมการศึกษาท่ีสมคั รใจ จานวน 265 โรงเรียน ใน 8 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ระยอง ศรีสะเกษ สตูล
เชียงใหม่ กาญจนบรุ ี ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส นาไปใช้ ผลท่ีไดจ้ ากการใชจ้ ะนามาพฒั นา
(ร่าง) กรอบหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช…. ใหม้ ีความสมบรู ณ์ยงิ่ ข้ึน นอกจากน้ี
การพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา กิจกรรมการเรียนรู้ และการวดั ผลและประเมิน จะเป็นตวั อยา่ ง
ใหก้ บั สถานศึกษาทวั่ ไปนาไปปรับใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั ความหลากหลายและความแตกตา่ งของ
บริบทพ้ืนท่ีได้


1.3 หลกั สูตรการอาชีวศึกษา

การพฒั นาหลกั สูตรการอาชีวศึกษา


หลกั สูตรการอาชีวศึกษาเป็นกลไกลสาคญั ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาใหส้ อดคลอ้ ง
กบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ เพ่อื ผลิตและพฒั นา

กาลงั คนแตล่ ะระดบั ใหม้ ีสมรรถนะ มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถ
ประกอบอาชีพไดต้ รงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระ
เป็นหลกั สูตรท่ีมีความยดื หยนุ่ มุ่งเนน้ สมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพและความชานาญเฉพาะดา้ น
ของสถานประกอบการ โดยเปิ ดโอกาสใหส้ ถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชนและทอ้ งถ่ิน มี
ส่วนร่วมในการพฒั นาหลกั สูตรใหต้ รงตามความตอ้ งการและสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ของ
ภมู ิภาค เพอ่ื เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ

การจดั การศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ และหลกั สูตรประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพช้นั สูงแบง่ เป็น 9 ประเภทวิชา คือ ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม/
บริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวชิ าคหกรรม ประเภทวิชาเกษตรกรรม ประเภท
วิชาประมง ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทอ่ งเที่ยว ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมส่ิงทอ และประเภท
วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร แตล่ ะประเภทวิชายงั แบ่งเป็นสาขาวชิ าและสาขางาน
ต่างๆ ท่ีสอดคลอ้ งตามความตอ้ งการของงานอาชีพ ท้งั น้ี โครงสร้างของหลกั สูตร ประกอบดว้ ย 3
หมวดวิชา และกิจกรรมเสริมหลกั สูตร ดงั น้ี

1. หมวดวชิ าทักษะชีวิต เป็นกล่มุ วิชาเพ่ือพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีทกั ษะในการปรับตวั และด
าเนินชีวติ ในสงั คมสมยั ใหม่ เห็นคุณคา่ ของตนและการพฒั นาตน มีความใฝ่ รู้ และแสวงหาและ
พฒั นาความรู้ใหมม่ ีความสามารถในการใชเ้ หตผุ ล การคิดวเิ คราะห์ การแกป้ ัญหาและการจดั การ
มีทกั ษะในการส่ือสารการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ รวมถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและสงั คม ประกอบดว้ ยกลุ่มวิชา
ดงั น้ี

1.1 กลมุ่ วิชาภาษาไทย

1.2 กลมุ่ วชิ าภาษาตา่ งประเทศ


1.3 กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์

1.4 กลมุ่ วชิ าคณิตศาสตร์

1.5 กล่มุ วชิ าสงั คมศาสตร์

1.6 กลุ่มวชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา (ในระดบั ปวช.) หรือกลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ (ใน
ระดบั ปวส.)

2. หมวดวิชาทกั ษะวชิ าชีพ เป็นกลมุ่ วชิ าท่ีพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ กิดสมรรถนะวิชาชีพ มี
ความสามารถ ในการคิด วิเคราะห์ วางแผน จดั การ ประเมินผล แกป้ ัญหา ควบคุมและสอนงาน
บูรณาการความรู้และ ทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน ประกอบดว้ ย 5 กลุ่ม ดงั น้ี

2.1 กลุ่มทกั ษะวชิ าชีพพ้นื ฐาน

2.2 กลมุ่ ทกั ษะวิชาชีพเฉพาะ

2.3 กล่มุ ทกั ษะวิชาชีพเลือก

2.4 ฝึกประสบการณ์ทกั ษะวชิ าชีพ

2.5 โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ

3. หมวดวชิ าเลือกเสรี เป็นวิชาที่เกี่ยวกบั ทกั ษะชีวิต และหรือทกั ษะวิชาชีพ เพอื่ เปิ ด
โอกาส ใหผ้ เู้ รียนเลือกเรียนตามความถนดั และความสนใจ เพ่ือการประกอบอาชีพหรือการศึกษา
ต่อ

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร เป็นส่วนที่ส่งเสริมการพฒั นาทกั ษะชีวิต และหรือทกั ษะ
วิชาชีพ ผเู้ รียนทุกคนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ 2 ชว่ั โมงทกุ ภาคเรียน กิจกรรม
เสริมหลกั สูตรน้ีไม่นบั หน่วยกิต จานวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวิชา ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนด
ไวใ้ นโครงสร้างของแตล่ ะประเภท วิชาและสาขาวชิ า โดยจานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตร
ในระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ อยรู่ ะหวา่ ง 103 - 120 หน่วยกิต และระดบั ประกาศนียบตั ร
วิชาชีพช้นั สูง อยรู่ ะหวา่ ง 83 – 90 หน่วยกิต

การจดั การศึกษาตามหลกั สูตร


การจดั การศึกษาตามหลกั สูตรการอาชีวศึกษา เนน้ การเรียนรู้และฝึกปฏิบตั ิจริงดว้ ย
ตนเองเพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้และทกั ษะในวิชาการที่สมั พนั ธก์ บั วิชาชีพในการ
วางแผน แกป้ ัญหาและดาเนินงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ผเู้ รียนสามารถเลือกเรียนในประเภทวชิ า
สาขาวชิ าและสาขางานต่างๆ ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง รวมท้งั สามารถเลือกวิธีการเรียนไดอ้ ยา่ ง
หลากหลายตามศกั ยภาพและโอกาสของผเู้ รียน ท้งั รูปแบบในระบบ นอกระบบ และหรือระบบ
ทวิภาคี ท้งั น้ี จะเนน้ การศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสาคญั โดยนาผลการเรียนแต่ละวธิ ีมาประเมินผล
ร่วมกนั ตลอดจนสามารถเทียบโอนผลการเรียนและขอเทียบความรู้และประสบการณ์เพอื่
นบั เป็นส่วนหน่ึงของผลการเรียนรายวชิ าตามหลกั สูตรท่ีเรียนไดด้ ว้ ย ท าใหใ้ ชร้ ะยะเวลาในการ
เรียนนอ้ ยกวา่ การเรียนในระบบเพียงอยา่ งเดียว ซ่ึงปกติผเู้ รียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ
จะตอ้ งใชร้ ะยะเวลาเรียน3 ปี การศึกษา และผเู้ รียนในระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง ตอ้ งใช้
เวลาเรียน 2 ปี การศึกษา กรณีผสู้ าเร็จการศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) ประเภท
วิชา หรือสาขาวชิ าอื่น หรือมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)หรือเทียบเท่าจะตอ้ งใชเ้ วลาเรียน
ประมาณ 3 ปี การศึกษา โดยที่แต่ละปี การศึกษาจะแบง่ ออกเป็น2 ภาคเรียนปกติหรือระบบทวภิ าค
ภาคเรียนละ 18 สัปดาห์ โดยมีเวลาเรียนและจานวน
หน่วยกิตตามท่ีกาหนด และอาจเปิ ดสอนภาคเรียนฤดูร้อนไดอ้ ีกตามท่ีเห็นสมควร ท้งั น้ี การเรียน
ในระบบช้นั เรียนปกติกาหนดใหส้ ถานศึกษาเปิ ดทาการสอนสปั ดาห์ละไม่นอ้ ยกวา่ 5 วนั วนั ละ
ไมเ่ กิน 7 ชว่ั โมงและกาหนดเวลาในการจดั การเรียนการสอนคาบละ 60 นาที

การจัดแผนการเรียนตามหลกั สูตร
การจดั แผนการเรียนเพื่อกาหนดรายวชิ าตามโครงสร้างหลกั สูตรที่จะดาเนินการสอนใน

แต่ละภาคเรียนน้นั ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะหรือกระบวนการจดั การเรียนรู้ของแต่ละสาขาวชิ า โดย


พิจารณาจดั อตั ราส่วนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบตั ิในหมวดทกั ษะวิชาชีพ ระดบั
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ

ประมาณ 20:80 และระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง ประมาณ 40:60 ท้งั น้ี มีขอ้ เสนอแนะท่ี
สาคญั ในการจดั รายวชิ าแตล่ ะภาคเรียน ดงั น้ี

1. คานึงถึงรายวชิ าท่ีตอ้ งเรียนตามลาดบั ก่อน-หลงั ความง่าย-ยากของรายวิชา ความต่อเนื่อง

และเช่ือมโยงสมั พนั ธก์ นั ของรายวิชา รวมท้งั รายวิชาที่สามารถบูรณาการจดั การศึกษาร่วมกนั
เพือ่ เรียนเป็นงานและหรือช้ินงานในแต่ละภาคเรียน

2. รายวิชาทวิภาคีหรือการนารายวิชาไปเรียนและฝึกในสถานประกอบการ/แหล่งวทิ ยาการ

ใหม้ ีการประสานงาน ร่วมกนั เพ่อื พิจารณากาหนด รายวชิ าหรือกลุ่มวิชาท่ีตรงกบั ลกั ษณะงาน

ของสถานประกอบการ/แหลง่ วิทยาการน้นั ๆ

3. รายวิชาฝึกงานและรายวชิ าโครงการ สามารถจดั คร้ังเดียวจานวน 4 หน่วยกิต หรือจดั ให้

ลงทะเบียนเรียนเป็น 2 คร้ังๆ ละ 2 หน่วยกิต รวม 4 หน่วยกิต ตามเงื่อนไขของหลกั สูตรน้นั ๆ ได้

4. กิจกรรมเสริมหลกั สูตร ใหก้ าหนดไวใ้ นแตล่ ะภาคเรียน สัปดาหล์ ะไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ชวั่ โมง

5. จานวนหน่วยกิตในแตล่ ะภาคเรียนปกติไมน่ อ้ ยกวา่ 12 หน่วยกิต และไมเ่ กิน 22 หน่วยกิต

ส่วนภาคฤดูร้อนไมเ่ กิน 12 หน่วยกิต ท้งั น้ี เวลาในการจดั การเรียนการสอนโดยเฉล่ีย ไมค่ วรเกิน
35 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์

การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียน


1.สาระที่เก่ียวขอ้ งกบั การเป็นนกั เรียน นกั ศึกษา ไดแ้ ก่ การกาหนดพ้นื ความรู้และ
คุณสมบตั ิของผเู้ ขา้ เรียน การรับผเู้ ขา้ เรียน การเป็นนกั เรียน การพน้ สภาพและคืนสภาพนกั เรียน
การพกั การเรียนและการลาออก

2. สาระท่ีเก่ียวกบั การจดั การเรียน ไดแ้ ก่ การเปิ ดเรียน การลงทะเบียนรายวิชา การเปลี่ยน
การเพ่ิมและการถอนรายวิชา การเรียนโดยไมน่ บั จานวนหน่วยกิตมารวมเพื่อการสาเร็จการศึกษา
ตามหลกั สูตร การนบั เวลาเรียนเพ่ือสิทธิในการประเมินสรุปผลการเรียน และการขออนุญาต
เลื่อนการประเมิน

3. สาระท่ีเกี่ยวกบั การวดั และประเมินผลการเรียน ไดแ้ ก่ หลกั การในการประเมินผลการ
เรียนวธิ ีการประเมินผลการเรียน การตดั สินผลการเรียน และการเทียบโอนผลการเรียนรู้ สาหรับ
ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง จะก าหนดสาระที่เก่ียวขอ้ งกบั รายวิชาปรับพ้ืนฐานวชิ าชีพ
เอกสารการศึกษาท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การจดั การศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามระเบียบ
ดงั กลา่ ว ประกอบดว้ ย

ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ได้แก่

1) ระเบียนแสดงผลการเรียนประจาตวั นกั เรียน (รบ. 1 ปวช. 56 )

2) แบบรายงานผลการเรียนฉบบั ภาษาองั กฤษ (Transcript 1 Cert.13)

3) แบบรายงานผลการเรียนของผทู้ ่ีสาเร็จการศึกษา (รบ.2 ปวช. 56 )

4) ประกาศนียบตั ร และวฒุ ิบตั ร

5) ใบรับรองสภาพการเป็นนกั เรียนและใบรับรองผลการเรียน

6) สมุดประเมินผลรายวิชา และหลกั ฐานเกี่ยวกบั การประเมินผลการเรียนในแบบอ่ืน


ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสูง ได้แก่
1) ระเบียนแสดงผลการเรียนประจาตวั นกั ศึกษา (รบ. 1 ปวส. 57 )
2) แบบรายงานผลการเรียนฉบบั ภาษาองั กฤษ (Transcript 1 Dip.14)
3) แบบรายงานผลการเรียนของผทู้ ่ีสาเร็จการศึกษา (รบ. 2 ปวส. 57 )
4) ประกาศนียบตั ร และวฒุ ิบตั ร
5) ใบรับรองสภาพการเป็นนกั เรียนและใบรับรองผลการเรียน
6) สมดุ ประเมินผลรายวิชา และหลกั ฐานเก่ียวกบั การประเมินผลการเรียนในแบบอ่ืน


1.3.1 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั ราช
2562

หลกั การของหลกั สูตร


1. เป็นหลกั สูตรระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพหลงั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หรือเทียบเทา่ ดา้ นวิชาชีพ
ท่ีสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติแผนการศึกษาแห่งชาติเป็นไปตามกรอบ
คุณวฒุ ิแห่งชาติมาตรฐานการศึกษาของชาติ และกรอบคุณวฒุ ิอาชีวศึกษาแห่งชาติ เพอ่ื ผลิตและ
พฒั นากาลงั คนระดบั ฝี มือใหม้ ีสมรรถนะ มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพสามารถ
ประกอบอาชีพไดต้ รงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระ

2. เป็นหลกั สูตรที่เปิ ดโอกาสใหเ้ ลือกเรียนไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง เนน้ สมรรถนะเฉพาะดา้ นดว้ ยการ
ปฏิบตั ิจริงสามารถเลือกวิธีการเรียนตามศกั ยภาพและโอกาสของผเู้ รียน เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียน
สามารถเทียบโอนผลการเรียน สะสมผลการเรียน เทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากแหล่ง
วทิ ยาการ สถานประกอบการและสถานประกอบอาชีพอิสระ

3. เป็นหลกั สูตรทีÉสนบั สนุนการประสานความร่วมมือในการจดั การศึกษาร่วมกนั ระหวา่ ง
หน่วยงานและองคก์ รท่ีเก่ียวขอ้ ง ท้งั ภาครัฐและเอกชน

4. เป็นหลกั สูตรที่เปิ ดโอกาสใหส้ ถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชนและทอ้ งถิ่น มีส่วนร่วม
ในการพฒั นาหลกั สูตรให้ตรงตามความตอ้ งการโดยยดึ โยงกบั มาตรฐานอาชีพ และสอดคลอ้ ง
กบั สภาพยทุ ธศาสตร์ของภมู ิภาคเพอ่ื เพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ

จุดมุ่งหมายของหลกั สูตร

1. เพ่อื ใหม้ ีความรู้ทกั ษะและประสบการณ์ในงานอาชีพสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานวชิ าชีพ สามารถ
นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏิบตั ิงานอาชีพไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ เลือกวิถีการดารงชีวิต และการ
ประกอบอาชีพไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ตน สร้างสรรคค์ วามเจริญต่อชุมชน ทอ้ งถ่ินและ
ประเทศชาติ

2. เพ่อื ใหเ้ ป็นผมู้ ีปัญญา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรคใ์ ฝ่ เรียนรู้เพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวติ และการ
ประกอบอาชีพ มีทกั ษะการส่ือสารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชีวติ ทกั ษะ
การคิดวเิ คราะหแ์ ละการแกป้ ัญหา ทกั ษะดา้ นสุขภาวะและความปลอดภยั ตลอดจนทกั ษะการ
จดั การ สามารถสร้างอาชีพและพฒั นาอาชีพใหก้ า้ วหนา้ อยเู่ สมอ

3. เพอื่ ใหม้ ีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ มีความมนั่ ใจและภาคภมู ิใจในวชิ าชีพท่ีเรียน รักงาน รักหน่วยงาน
สามารถทางานเป็นหมูค่ ณะไดด้ ีโดยมีความเคารพในสิทธิและหนา้ ท่ีของตนเองและผอู้ ่ืน


4. เพือ่ ใหเ้ ป็นผมู้ ีพฤติกรรมทางสังคมท่ีดีงาม ท้งั ในการทางาน การอยรู่ ่วมกนั การตอ่ ตา้ นความ
รุนแรงและสารเสพติด มคี วามรับผิดชอบตอ่ ครอบครัว หน่วยงาน ทอ้ งถิ่นและประเทศชาติดารง
ตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเขา้ ใจและเห็นคุณค่าของการอนุรักษศ์ ิลปะวฒั นธรรม
และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินมีจิตสาธารณะและจิตสานึกในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสร้าง
ส่ิงแวดลอ้ มท่ีดี

5. เพือ่ ใหม้ ีบคุ ลิกภาพทีÉดีมีมนุษยส์ ัมพนั ธม์ ีคุณธรรม จริยธรรม และวินยั ในตนเอง มีสุขภาพ
อนามยั ที่สมบูรณ์ท้งั ร่างกายและจิตใจเหมาะสมกบั งานอาชีพ

6. เพ่ือใหต้ ระหนกั และมีส่วนร่วมในการแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจ สงั คม การเมืองของประเทศและ
โลกมีความรักชาติสานึกในความเป็นไทย เสียสละเพือ่ ส่วนรวม ดารงรักษาไวซ้ ่ึงความมน่ั คงของ
ชาติศาสนา พระมหากษตั ริยแ์ ละการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รง
เป็ นประมุข

หลกั เกณฑ์การใช้

หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562

1. การเรียนการสอน

1.1การเรียนการสอนตามหลกั สูตรน่ีผเู้ รียนสามารถลงทะเบียนเรียนไดท้ กุ วธิ ีเรียนที่
กาหนด และนาผลการเรียนแตล่ ะวธิ ีมาประเมินผลร่วมกนั ไดส้ ามารถขอเทียบโอนผล
การเรียน และขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ได้

1.2การจดั การเรียนการสอนเนน้ การปฏิบตั ิจริงสามารถจดั การเรียนการสอนได้
หลากหลายรูปแบบ เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั การ วิธีการและการ
ดาเนินงาน มีทกั ษะการปฏิบตั ิงานตามแบบแผนในขอบเขตสาคญั และบริบทต่าง ๆ ที่
สัมพนั ธก์ นั ซ่ึงส่วนใหญเ่ ป็นงานประจา ใหค้ าแนะนาพ้ืนฐานที่ตอ้ งใชใ้ นการตดั สิ นใจ
วางแผนและแกไ้ ขปัญหาโดยไม่อยภู่ ายใตก้ ารควบคุมในบางเรื่อง สามารถประยกุ ตใ์ ช้
ความรู้ทกั ษะทางวชิ าชีพ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการแกป้ ัญหาและการ
ปฏิบตั ิงานในบริบทใหม่ รวมท้งั รับผิดชอบต่อตนเองและผอู้ ื่น ตลอดจนมีคุณธรรม
จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยทีÉเหมาะสมในการทางาน


2. การจดั การศึกษาและเวลาเรียน

การจดั การศึกษาในระบบปกติใชร้ ะยะเวลา 3 ปี การศึกษา การจดั เวลาเรียนใหด้ าเนินการ ดงั น้ี

2.1 ในปี การศึกษาหน่ึง ๆ ใหแ้ บ่งภาคเรียนออกเป็ น 2 ภาคเรียนปกติหรือระบบทวภิ าค
ภาคเรียนละ18 สัปดาห์ รวมเวลาการวดั ผล โดยมีเวลาเรียนและจานวนหน่วยกิตตามท่ี
กาหนด และสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั อาจเปิ ดสอนภาคเรียนฤดูร้อนไดอ้ ีก
ตามท่ีเห็นสมควร

2.2 การเรียนในระบบช้นั เรียน ใหส้ ถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั เปิ ดทาการสอนไม่
นอ้ ยกวา่ สปั ดาห์ละ5 วนั ๆ ละไม่เกิน 7 ชว่ั โมง โดยกาหนดใหจ้ ดั การเรียนการสอนคาบ
ละ60 นาที

3. การคิดหน่วยกติ

ใหม้ ีจานวนหน่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ 103-110 หน่วยกิต การคิดหน่วยกิตถือเกณฑ์
ดงั น้ี

3.1 รายวิชาทฤษฎีที่ใชเ้ วลาในการบรรยายหรืออภิปราย1 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์ หรือ18
ชว่ั โมงต่อภาคเรียนรวมเวลาการวดั ผล มีค่าเทา่ กบั 1 หน่วยกิต

3.2 รายวิชาปฏิบตั ิที่ใชเ้ วลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบตั ิในหอ้ งปฏิบตั ิการ 2 ชวั่ โมงตอ่
สปั ดาหห์ รือ36 ชว่ั โมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีคา่ เทา่ กบั 1 หน่วยกิต

3.3 รายวชิ าปฏิบตั ิที่ใชเ้ วลาในการฝึกปฏิบตั ิในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม 3 ชว่ั โมงต่อ
สปั ดาห์ หรือ54 ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีค่าเทา่ กบั 1 หน่วยกิต


1.3.2 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.)
พทุ ธศกั ราช 2563

หลกั การของหลกั สูตร
1. เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ทางทฤษฎีและเทคนิคเชิงลึกภายใตข้ อบเขตของงานอาชีพ มีทกั ษะ

ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารเพ่อื ใชใ้ นการดารงชีวติ และงานอาชีพ สามารถศึกษา
คน้ ควา้ เพม่ิ เติมหรือ ศึกษาตอ่ ในระดบั ท่ีสูงข้ึน


2. เพ่ือใหม้ ีทกั ษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถบรู ณาการ
ความรู้ ทกั ษะจาก ศาสตร์ต่าง ๆ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอาชีพ สอดคลอ้ งกบั การเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยี

3. เพอ่ื ใหม้ ีปัญญา มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ วางแผน
บริหารจดั การ ตดั สินใจ แกป้ ัญหา ประสานงานและประเมินผลการปฏิบตั ิงานอาชีพ มีทกั ษะการ
เรียนรู้ แสวงหา ความรู้และแนวทางใหม่ ๆ มาพฒั นาตนเองและประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสร้างงานให้
สอดคลอ้ งกบั วิชาชีพและ การพฒั นางานอาชีพอยา่ งตอ่ เน่ือง

4. เพอื่ ใหม้ ีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ มีความมนั่ ใจและภาคภมู ิใจในงานอาชีพ รักงาน รัก
หน่วยงาน สามารถทางาน เป็นหมคู่ ณะไดด้ ี มีความภาคภมู ิใจในตนเองต่อการเรียนวชิ าชีพ

5. เพอ่ื ใหม้ ีบุคลิกภาพท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซ่ือสตั ย์ มีวินยั มีสุขภาพสมบรู ณ์แขง็ แรง
ท้งั ร่างกายและจิตใจเหมาะสมกบั การปฏิบตั ิในงานน้นั ๆ

6. เพอ่ื ใหเ้ ป็นผมู้ ีพฤติกรมทางสงั คมท่ีดี แต่เคา้ รุนแรงและสายเสา ท้งั ในแกฟางาน การ
ร่วมกนั มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว องคก์ ร ทอ้ งถ่ินและประเทศชาติ อุทิศตนเพ่อื สังคม
เขา้ ใจและเห็นคุณคา่ ของศิลปวฒั นธรรมไทย ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ตระหนกั ในปัญหาและ
ความสาคญั ของสิ่งแวดลอ้ ม

7. เพอื่ ใหต้ ระหนกั และมีส่วนร่วมในการพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ
โดยเป็นกาลงั สาคญั ในดา้ นการผลิตและใหบ้ ริการ

8. เพ่ือใหเ้ ห็นคุณค่าและดารงไวซ้ ่ึงสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ปฏิบตั ิตน
ในฐานะพลเมืองดี ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ

หลกั เกณฑ์การใช้

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2563

1.การเรียนการสอน


1.1การเรียนการสอนตามหลกั สูตรน้ี ผกู้ ่อนสามารถลงทะเบียนเรียนไดท้ กุ ท่ีเรียนท่ี
กาหนด และ นาผลการเรียนแตล่ ะวธิ ีมาประเมินผลร่วมกนั ได้ สามารถขอเทียบโอนผลการเรียน
และขอเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ได้

1.2การจดั การเรียนการสอนเนน้ การปฏิบตั ิจริง สามารถจดั การเรียนการสอนได้

หลากหลายรูปแบบ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั การ วธิ ีการและการดาเนินงาน มี

ทกั ษะการปฏิบตั ิงานตามแบบแผน และปรับตวั ไดภ้ ายใตค้ วามเปลี่ยนแปลง สามารถบรู ณาการ

และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้และทกั ษะทางวชิ าการ ที่สัมพนั ธก์ บั วชิ าชีพ เทคโนโลยสี ารสนเทศและ

การส่ือสาร ในการตดั สินใจ วางแผน แกป้ ัญหาบริหาร จดั การ ประสานงานและประเมินผลการ

ดาเนินงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีส่วนร่วมในการวางแผนและพฒั นา ริเริ่มส่ิงใหม่ มีความ

รับผิดชอบตอ่ ตนเอง ผอู้ ื่นและหมคู่ ณะ รวมท้งั มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติ

และกิจนิสยั ที่เหมาะสมในการทางาน

2. การจัดการศึกษาและเวลาเรียน

2.1การจดั การศึกษาในระบบปกติสาหรับผเู้ ขา้ เรียนที่สาเร็จการศึกษาระดบั
ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา่ ในประเภทวชิ าและสาขาวิชาตามที่หลกั สูตร
กาหนด ใชร้ ะยะเวลา 2 ปี การศึกษา ส่วนผเู้ ขา้ เรียนท่ีสาเร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
หรือเทียบเทา่ และผเู้ ขา้ เรียนที่สาเร็จการศึกษา ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) หรือ
เทียบเทา่ ต่างประเภทวิชาและสาขาวิชาท่ีกาหนด ใชร้ ะยะเวลาไม่นอ้ ยกวา่ 2 ปี การศึกษา และ
เป็นไปตามเงื่อนไขที่หลกั สูตรกาหนด

2.2 การจดั เวลาเรียนใหด้ าเนินการ ดงั น้ี

2.2.1 ในปี การศึกษาหน่ึง ๆ ใหแ้ บง่ ภาคเรียนออกเป็ น 2 ภาคเรียนปกติหรือระบบ
ทวิภาค ภาคเรียนละ 18 สปั ดาห์ รวมเวลาการวดั ผล โดยมีเวลาเรียนและจานวนหน่วยกิ


ตตามท่ีกาหนด และ สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั อาจเปิ ดสอนภาคเรียนฤดูร้อน
ไดอ้ ีกตามท่ีเห็นสมควร

2.2.2 การเรียนในระบบช้นั เรียน ใหส้ ถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั เปิ ดทา
การสอนไมน่ อ้ ยกวา่ สปั ดาหล์ ะ5วนั ๆ ละไม่เกิน 7ชวั่ โมง โดยกาหนดใหจ้ ดั การเรียนการ
สอนคาบละ 60นาที

3. การคดิ หน่วยกติ

ใหม้ ีจานวนหน่วยกิตคลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ 83 - 90 หน่วยกิต การคิดหน่วยยดึ ถือเกณฑด์ งั น้ี

3.1 รายวิชาทฤษฎีท่ีใชเ้ วลาในการบรรยายหรือปราย 1 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ หรือ 18 ชวั่ โมง
ตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีคา่ เท่ากบั 1 หน่วยกิต

3.2 รายวิชาปฏิบตั ิที่ใชเ้ วลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบตั ิในหอ้ งปฏิบตั ิการ 2 ชว่ั โมงตอ่
สปั ดาห์ หรือ 36 ชวั่ โมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีคา่ เทา่ กบั 1 หน่วยกิต

3.3 รายวิชาปฏิบตั ิท่ีใชเ้ วลาในการฝึกปฏิบตั ิในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม 3 ชวั่ โมงตอ่
สัปดาห์ หรือ 54 ชวั่ โมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีค่าเท่ากบั 1 หน่วยกิต

3.4 การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ท่ีใชเ้ วลาไม่นอ้ ยกวา่ 4 ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียน
รวมเวลาการวดั ผล มีค่าเท่ากบั 1 หน่วยกิต

3.5 การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชีพในสถานประกอบการท่ีใชเ้ วลาไมน่ อ้ ยกวา่ 4
ชว่ั โมงตอ่ การเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีคา่ เท่ากบั 1 หน่วยกิต 36 การทาโครงงานพฒั นา
สมรรถนะวิชาชีพที่ใชเ้ วลาไม่นอ้ ยกวา่ 4 ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีคา่ เทา่ กบั 1
หน่วยกิต

4. โครงสร้างหลกั สูตร

โครงสร้างของหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง พุทธศกั ราช 2563 แบ่งเป็น 3 หมวดวิชา
และ กิจกรรมเสริมหลกั สูตร ดงั น้ี ไม่นอ้ ยกวา่ 21 หน่วยกิต


4.1 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง
4.1.1 กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
4.1.2 กลมุ่ วิชาภาษาต่างประเทศ
4.1.3 กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์
4.1.4 กล่มุ วชิ าคณิตศาสตร์
4.1.5 กลมุ่ วิชาสังคมศาสตร์
4.1.6 กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกวา่ 56 หน่วยกิต

4.2 หมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชีพ
4.2.1 กลมุ่ สมรรถนะวชิ าชีพพ้ืนฐาน
4.2.2 : กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ
4.2.3 กล่มุ สมรรถนะวิชาชีพเลือก
4.2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชีพ
4.2.5. โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพ

4.3 หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต
4.4 กิจกรรมเสริมหลกั สูตร (2 ชว่ั โมง สปั ดาห์) หน่วยกิต

หมายเหตุ
1) จานวนหน่วยกิตของแตล่ ะหมวดวชิ าและกล่มุ วิชาในหลกั สูตร ใหเ้ ป็นไปตามท่ี

กาหนดไว้ ในโครงสร้างของแต่ละประเภทวิชาและสาขาวชิ า


2) การพฒั นารายวิชาในหนุ่มสมรรถนะวชิ าชีพพ้นื ฐานและกล่มุ สมรรถนะวิชาชีพนพระ
จะเป็นรายวิชาบงั คบั ท่ีสะทอ้ นความเป็นสาขาวิชาตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ดา้ น
สมรรถนะวิชาชีพของสาขาวชิ า ซ่ึงยดึ โยง กบั มาตรฐานอาชีพ จึงตอ้ งพฒั นากลมุ่ รายวชิ าใหค้ รบ
จานวนหน่วยกิตที่กาหนด และผเู้ รียนตอ้ งเรียนทกุ รายวชิ า

3) สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั สามารถจดั รายวิชาเลือกตามที่กาหนดไวใ้ น
หลกั สูตร และ หรือพฒั นาเพม่ิ ตามความตอ้ งการเฉพาะดา้ นของสถานประกอบการหรือตาม
ยทุ ธศาสตร์ภมู ิภาค เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ท้งั น้ี ตอ้ งเป็นไปตาม
เง่ือนไขและมาตรฐานการศึกษาวชิ าชีพ ที่ประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางานกาหนด

5. การฝึ กประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ

เป็นการจดั กระบวนการเรียนรู้โดยความร่วมมีกระหวา่ งสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือ
สถาบนั กบั การการผลิต และหรือภาคบริการ หลงั จากท่ีผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ภาพทฤษฎีและการฝึกหดั
หรือฝึกปฏิบตั ิเบ้ืองตน้ ในสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบนั แลว้ ระยะเวลาหน่ึง ท้งั น้ี เพือ่ เปิ ด
โอกาสใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้จากประสบการณ์จริง ไดส้ ัมผสั กบั การปฏิบตั ิงานอาชีพ เคร่ืองมือ
เคร่ืองจกั ร อุปกรณ์ที่ทนั สมยั และบรรยากาศการทางานร่วมกนั ส่งเสริมการฝึกทกั ษะ
กระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ ซ่ึงจะช่วยใหผ้ เู้ รียนทาได้ คิดเป็น ทาเป็นและ
เกิดการใฝ่รู้อยา่ งต่อเน่ือง ตลอดจนเกิดความมน่ั ใจและเจตคติท่ีดีในการทางานและการประกอบ
อาชีพอิสระ โดยการจดั ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชีพตอ้ งดาเนินการ ดงั น้ี

5.1สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั ตอ้ งจดั ใหม้ ีการฝึกประสบการณ์สมรรถนะ
วชิ าชีพ ในรูปของ การฝึกงานในสถานประกอบการ แหลง่ วทิ ยาการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงาน
ของรัฐ ในภาคเรียนที่ 3 และหรือ ภาคเรียนท่ี 4 โดยใชเ้ วลารวมไมน่ อ้ ยกวา่ 30 ชวั่ โมง กาหนดให้
มีค่าเท่ากบั 4 หน่วยคิด

กรณีสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั ตอ้ งการเพ่ิมพูนประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชีพ
สามารถนารายวชิ าที่ตรงหรือสมั พนั ธ์กบั ลกั ษณะงานไปเรียนหรือฝึกในสถานประกอบการ
รัฐวิสาหกิจหรือ หน่วยงานของรัฐในภาคเรียนท่ีจดั ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพได้ รวมไม่
นอ้ ยกวา่ 1 ภาคเรียน


5.2 การตดั สินผลการเรียนและใหร้ ะดบั ผลการเรียน ใหป้ ฏิบตั ิเช่นเดียวกบั รายวิชาอ่ืน
6. โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพ

เป็นรายวิชาที่เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียน ใหศ้ ึกษาคน้ ควา้ บรู ณาการความรู้ ทกั ษะและ
ประสบการณ์ จากส่ิงที่ไดเ้ รียนรู้และฝึกปฏิบตั ิดว้ ยตนเองตามความถนดั และความสนใจ ต้งั แต่
การเลือกหวั ขอ้ หรือเรื่อง ท่ีจะศึกษา ทดลอง พฒั นาและเรือประดิษฐค์ ิดคน้ โดยการวางแผน
กาหนดข้นั ตอนกระบวนการ ดาเนินการ ประเมินผล สรุปและจดั ทารายงานเพ่อื นาเสนอ ซ่ึงการ
ทาเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มกไ็ ด้ ท้งั น้ี ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะของโครงงานน้นั ๆ โดยการจดั ทา
โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพดงั กล่าวตอ้ งดาเนินการ ดงั น้ี

6.1 สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั ตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รียนจดั ทาโครงงานพฒั นาสมรรถนะ
วิชาชีพ ที่สัมพนั ธ์าเรือสอดคลอ้ งกบั สาขาวชิ า ในภาคเรียนท่ี 1 และหรือภาคเรียนที่ 4 รวมจานวน
4 หน่วยกิต ใชเ้ วลา ไมน่ อ้ ยกวา่ 216 ชวั่ โมง ท้งั น้ี สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั ตอ้ งจดั ใหม้ ี
ชว่ั โมงเรียน 4 ชวั่ โมงต่อสัปดาห์ กรณีที่กาหนดใหเ้ รียนรายวชิ าโครงงาน 4 หน่วยค จดั ใหเ้ รียน
รายวชิ าโครงงาน 2 หน่วยกิต คือ โครงงาน 1 และโครงงาน 2 ใหส้ ถานศึกษา อาชีวกนาหรือ
สถาบนั จดั ใหม้ ีชวั่ โมงเรียนตอ่ สัปดาห์ท่ีเทียบเคียงกบั เกณฑด์ งั กลา่ วขา้ งตน้

6.2. การตดั สินผลการเรียนและใหร้ ะดบั ผลการเรียน ใหป้ ฏิบตั ิเช่นเดียวกบั รายวชิ าอื่น

7. กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร
7.1 สถานศึกษาชีวศึกษาหรือสถาบนั ตอ้ งจดั ใหม้ ีกิจกรรมเสริมหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกวา่ 2

ชวั่ โมงตอ่ สัปดาห์ ทุกภาคเรียน เพือ่ ส่งเสริมสมรรถนะแกนกลางและหรือสมรรถนะวิชาชีพ
ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม ระเบียบวินยั การตอ่ ตา้ นความรุนแรง สารเสพติดและการ


ทจุ ริต เสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ในดา้ นการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษตั ริย์
ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ ทรงเป็นประมขุ ทะนุบารุง
ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาไทย ปลกู ฝังจิตสานึกและจิตอาสาในการอนุรักษ์
ส่ิงแวดลอ้ มและทาประโยชนต์ อ่ ชุมชนและทอ้ งถิ่น ท้งั น้ี โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม ในการ
วางแผน ลงมือปฏิบตั ิ ประเมินผล และปรับปรุงการทางาน สาหรับนกั เรียนอาชีวศึกษาระบบทวิ
ภาคี ใหเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมที่สถานประกอบการจดั ข้ึน

7.2 การประเมินผลกิจกรรมเสริมหลกั สูตร ใหเ้ ป็ นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
วา่ ดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง

8. การปรับพื้นฐานวชิ าชีพ

8.1สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั ตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ ขา้ เรียนหลกั สูตรประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพช้นั สูง ท่ีสาเร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ และผเู้ ขา้ เรียนที่สาเร็จ
การศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ต่างประเภทวิชา และสาขาวชิ าที่
กาหนดเรียนรายวิชาปรับพ้ืนฐาน วชิ าชีพที่กาหนดไวใ้ นหลกั สูตรแต่ละประเภทวิชา สาขาวชิ า
เพอ่ื ใหม้ ีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐานที่จาเป็น สาหรับการเรียนในสาขาวชิ าน้นั

8.2 แห่งการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนรายวชิ าปรับพ้ืนฐานวิชาชีพ ให้
เป็นไปตาม ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมินผลการเรียน
ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั ร วชิ าชีพช้นั สูง

8.3 กรณีผเู้ ขา้ เรียนท่ีมีความรู้และประสบการณ์ในรายวชิ าปรับพ้นื ฐานวชิ าชีพท่ีหลกั สูตร

กาหนด มาก่อนเขา้ เรียน สามารถขอเทียบโอนผลการเรียนรู้ได้ โดยปฏิบตั ิตามระเบียบ

กระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ย การจดั การศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตร

ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง

9. การจดั แผนการเรียน

เป็นการกาหนดรายวชิ าตามโครงสร้างหลกั สูตรท่ีจะดาเนินการเรียนการสอนในแต่ละ
ภาคเรียน โดยจดั อตั ราส่วนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบตั ิในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ


ประมาณ 40 - 60 ท้งั น้ี ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะหรือกระบวนการจดั การเรียนรู้ของแตล่ ะสาขาวชิ า ซ่ึงมี
ขอ้ เสนอแนะดงั น้ี

9.1 จดั รายวิชาในแต่ละภาคเรียน โดยคานึงถึงรายวชิ าท่ีตอ้ งเรียนตามลาดบั ก่อน-หลงั
ความงา่ ย-อาก ของรายวิชา ความตอ่ เน่ืองและเชื่อมโยงสมั พนั ธก์ นั ของรายวิชา รวมท้งั รายวชิ าที่
สามารถบูรณาการจดั การเรียนรู้ ร่วมกนั ในลกั ษณะของงาน โครงงานและหรือชิ้นงานในแตล่ ะ
ภาคเรียน

9.2 จดั ใหผ้ เู้ รียนเรียนรายวิชาบงั คบั ในหมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง หมวดวชิ า
สมรรถนะวิชาชีพ ในกลมุ่ สมรรถนะวชิ าชีพพ้ืนฐานและกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ และ
กิจกรรมเสริมหลกั สูตรใหค้ รบ ตามท่ีกาหนดในโครงสร้างหลกั สูตร

9.2.1 การจดั รายวิชาในหมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง ควรจดั กระจายทกุ ภาค
เรียน

9.2.2 การจดั รายวชิ าในกลุ่มสมรรถนะวชิ าชีพพ้นื ฐาน โดยเฉพาะรายวชิ าที่เป็น
พ้ืนฐานของ การเรียนวิชาชีพควรจดั ใหเ้ รียนในภาคเรียนท่ี 2

9.2.3 การจดั รายวชิ าในกล่มุ สมรรถนะวชิ าชีพเฉพาะ ควรจดั ใหเ้ รียนก่อนรายวชิ า
ในกลมุ่ สมรรถนะ วิชาชีพเลือกและรายวชิ าในหมวดวชิ าเลือกเสรี

9.3 จดั ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือกและหมวดวชิ าเลือก
เสรี ตามความถนดั ความสนใจ เพือ่ สนบั สนุนการประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ โดยคานึงถึง
ความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาวชิ าชีพดา้ นสมรรถนะวชิ าชีพของสาขาวชิ าและสาขา
งาน

9.4 จดั รายวชิ าทวิภาคีท่ีนาไปเรียนและฝึกในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือ
หน่วยงานของรัฐ โดยประสานงานร่วมกบั สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ
เพอ่ื พจิ ารณากาหนดภาคเรียน ที่จดั ฝึกอาชีพ รวมท้งั กาหนดรายวชิ าหรือกลุ่มวชิ าท่ีตรงกบั
ลกั ษณะงานของสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐที่นาไปร่วมฝึกอาชีพใน
ภาคเรียนน้นั ๆ


Click to View FlipBook Version