The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย<br>ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น<br>โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปิงเมือง<br>สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครเชียงใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tpjofspm, 2024-05-26 10:14:47

โครงงานศึกษาเปรียบเทียบเรื่องสุภาษิตพระร่วงที่สัมพันธ์สอดคล้องกับสุภาษิตล้านนาและพุทธศาสนสุภาษิต

โครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย<br>ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น<br>โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปิงเมือง<br>สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครเชียงใหม่

โรงเรีย รี นเทศบาลวัด วั ศรีปิรีปิ งเมือง สังกัดสำ นักการศึกษา เทศบาลนครเชียงใหม่ รร .เทศบาลวัดศรีปิงเมือง โครงงานศึกษาเปรีย รี บเทียบเรื่อ รื่ ง สุภาษิตพระร่วง ที่สัมพันธ์สอดคล้องกับสุภาษิตล้านนา และพุทธศาสนสุภาษิต โครงงานกลุ่มสาระการเรีย รี นรู้ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น


สมาชิก ในกลุ่ลุ่ลุ่มลุ่ ด.ช.สกรรจ์ ลุงตา ด.ญ.กุลธิดา เฟื่องฟูกิจการ ด .ญ.ณิชาภัทร บุญสิริรัริรัตน์ นักเรีย รี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรีย รี นเทศบาลวัด วั ศรีปิรีปิ งเมือง สำ นักการศึกษา เทศบาลนครเชียงใหม่


ครูที่ปรึก รึ ษาโครงงาน นางสาววีร วี ยา ศิริน ริ าม ตำ แหน่ง ครู วิท วิ ยฐานะครูชำ นาญการพิเศษ


วัวัต วั ต วั ถุถุ ถุ ป ถุ ประสงค์ค์ ค์ ข ค์ ของการศึศึ ศึ ก ศึ กษา 1. เพื่พื่ พื่ อ พื่ อศึศึ ศึ ก ศึ กษาและรวบรวมข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลเกี่กี่ กี่ ย กี่ ยวกักั กั บ กั บสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ต ษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ต ษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา และพุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ต ษิ ต 2. เพื่พื่ พื่ อ พื่ อวิวิเ วิวิ คราะห์ห์ ห์ เ ห์ เปรีรีย รีรี บเทีที ที ย ที ยบความสัสั สั ม สั มพัพั พั น พั นธ์ธ์ ธ์ สธ์ สอดคล้ล้ ล้ อ ล้ อง ของความหมายระหว่ว่า ว่ า ว่ งสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ต ษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ต ษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา และพุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ต ษิ ต 3. เพื่พื่ พื่ อ พื่ อจัจั จั ด จั ดทำทำทำทำสื่สื่ สื่ อ สื่ อเผยแพร่ร่ ร่ ข้ ร่ ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลจากการทำทำทำทำโครงงาน สำสำสำสำหรัรั รั บ รั บนำนำนำนำไปใช้ช้ ช้ปช้ ระโยชน์น์ น์ใน์ นการเรีรีย รีรี น 4. เพื่พื่ พื่ อ พื่ อส่ส่ ส่ ง ส่ งเสริริม ริริ การนำนำนำนำข้ข้ ข้ อ ข้ อคิคิ คิ ด คิ ดจากสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ต ษิ ตไปประยุยุ ยุ ก ยุ กต์ต์ ต์ใต์ ช้ช้ ช้ช้ ในชีชี ชี วิ ชี วิต วิวิประจำจำจำจำวัวัน วั น วั และอนุนุ นุ รั นุ รั รั ก รั กษ์ษ์ ษ์ ภู ษ์ ภู ภู มิ ภู มิ มิปัมิปัปั ญ ปั ญญาด้ด้ ด้ า ด้ านภาษาไทยที่ที่ ที่ ดี ที่ ดี ดี ง ดี งาม ให้ห้ ห้ ค ห้ คงอยู่ยู่ยู่ต่ยู่ต่ ต่ อ ต่ อไป


การศึศึศึ ก ศึ กษาสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา และพุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต จำจำจำจำนวน 240 สำสำสำสำนวน ซึ่ซึ่ซึ่ งซึ่ งสามารถจัจั จั ด จั ดความสัสัสั ม สั มพัพั พั น พั นธ์ธ์ ธ์สธ์ อดคล้ล้ ล้ อ ล้ องกักั กั น กั นได้ด้ ด้ด้ 80 กลุ่ลุ่ลุ่มลุ่ ตามความหมาย และแบ่บ่ บ่ ง บ่ งหมวดหมู่มู่มู่มู่ โดยยึยึ ยึ ด ยึ ดตามเนื้นื้ นื้ อ นื้ อหาของ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง ได้ด้ ด้ ดั ด้ ดั ดั ง ดั งนี้นี้ นี้นี้ 1. หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป จำ นวน 41 กลุ่ลุ่ลุ่มลุ่ 2. หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนต่ต่ ต่ อ ต่ อผู้ผู้ผู้ที่ผู้ที่ ที่ ต่ำที่ ต่ำต่ำต่ำกว่ว่ ว่ า ว่ า จำ นวน 9 กลุ่ลุ่ลุ่มลุ่ 3. หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนต่ต่ ต่ อ ต่ อผู้ผู้ผู้เผู้สมอกักั กั น กั น จำ นวน 7 กลุ่ลุ่ลุ่มลุ่ 4. หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนต่ต่ ต่ อ ต่ อผู้ผู้ผู้เผู้ป็ป็ป็ นป็ นครอบครัรั รั ว รั วและญาติติ ติติ จำ นวน 10 กลุ่ลุ่ลุ่มลุ่ 5. หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนต่ต่ ต่ อ ต่ อพ่พ่ พ่ อ พ่ อแม่ม่ ม่ม่ ผู้ผู้ผู้อผู้าวุวุ วุ โ วุ โส ครูรู รู บ รู บาอาจารย์ย์ ย์ย์ จำ นวน 7 กลุ่ลุ่ลุ่มลุ่ 6. หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนต่ต่ ต่ อ ต่ อขุขุ ขุ น ขุ นนาง พระมหากษัษั ษั ต ษั ตริริ ริ ย์ริ ย์ ย์ย์ จำ นวน 6 กลุ่ลุ่ลุ่มลุ่


เนื้นื้ นื้ อ นื้ อหา หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป


อย่าเคลื่อนคลาดคลาถ้อย เมื่อน้อยให้เรีย รี นวิช วิ า หมายถึง ให้ศึกษาหาความรู้ เสียแต่ยังเด็ก สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต เสียมบ่อคม ฮื่อใส่ด้ามหนัก ๆ ความฮู้หมะนัก ฮื่อหมั่นฮ่ำ หมั่นเฮียน หมายถึง เสียมไม่คม ให้ใส่ด้ามหนัก ๆ ความรู้มีไม่มาก ให้หมั่นศึกษาเล่าเรีย รี น สุสฺสูสํ ลภเต ปญฺญํ. หมายถึง ผู้ตั้งใจศึกษาย่อมได้ปัญญา หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑


ให้หาสินเมื่อใหญ่ อย่าใฝ่เอาทรัพย์ท่าน หมายถึง เมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ ให้หาทรัพย์สินเงินทอง อย่าอยากได้ทรัพย์สินของผู้อื่น สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ขอนบ่อมีเห็ด บ่อมีไผไค่ได้ หมายถึง คนที่ไร้สมบัติทรัพย์สิน ก็ไม่มีคนอยากไปมาหาสู่ โตเป็นผู้ใหญ่ให้ทำ งาน เก็บสมบัติไว้ อนาคตํ ปฏิกยิราถ กิจฺจํ. หมายถึง จงเตรีย รี มการสำ หรับอนาคตไว้ ให้พร้อม หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒


อย่าประกอบกิจเป็นพาล หมายถึง อย่ากระทำ การทุจริต ริ สิ่งชั่วร้าย สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต บาปอยู่ที่คนทำ กรรมอยู่ที่คนเยียะ หมายถึง การกระทำ ใด ๆ ที่มีผล ต่อผู้กระทำ นั้น ๆ ปาปานิ ปริว ริ ชชเย. หมายถึง พึงละเว้นกรรมชั่วทั้งหลาย หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓


เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า หมายถึง เข้าป่าอย่าลืมเอามีดพร้าติดตัว ไปด้วย เพราะจะได้เอาไว้ ป้องกันตัว และสำ หรับ ใช้ฟันสิ่งต่างๆ ที่กีดขวางทาง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต งูใกล้หน้าแข้ง ฟั่งแล่นหาค้อน หมายถึง ภัยมาถึงตัวแล้วแต่เพิ่ง จะเริ่ม ริ่ เตรีย รี มการรับมือ ทำ ให้แก้ไขสถานการณ์ไม่ทัน รกฺเขยฺยานาคตํ ภยํ. หมายถึง พึงป้องกันภัยที่ยังมาไม่ถึง หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๔


หน้าศึกอย่านอนใจ หมายถึง ในเวลาศึกสงคราม อย่าประมาท จงระมัดระวัง และเตรีย รี มตัวให้พร้อม สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ใคร่ขี้ล่นหาขอน ใคร่นอนล่นหาสาด หมายถึง หมายถึง คนที่อยู่ไปวัน ๆ อย่างไม่มีความกระตือรือ รื ร้น ถึงเวลาจำ เป็นจึงจะเตรีย รี มตัว อปฺปมาโท อมตํปทํ. หมายถึง ความไม่ประมาท เป็นทางไม่ตาย หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๕


การเรือ รื นตนเร่งคิด หมายถึง ให้เร่งรีบ รี คิดอ่านทำ การงาน ในบ้าน หรือ รื งานที่ต้อง รับผิดชอบในบ้าน ให้เสร็จเรีย รี บร้อย สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต คนหลับลุกเจ๊ากิ๋นผักยอดป๋าย คน หลับลุกขวายกิ๋นผักยอดเก๊า หมายถึง คนที่ขยันกระตือรือ รื ร้น ก็จะได้รับโอกาสที่ดีกว่า คนที่ขี้เกียจ อุฏฺฐาตา วินฺ วินฺทเต ธนํ. หมายถึง คนขยัน ย่อมหาทรัพย์ได้ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๖


อย่าใฝ่สูงให้พ้นศักดิ์ หมายถึง อย่าใฝ่สูงให้เกินศักดิ์หรือ รื เกินตัว สอนให้รู้จักประมาณตัว สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต กิ๋นหื้อปอคาบ หาบหื้อปอแฮง แป๋งหื้อปอใจ๋ ไข้หื้อปอนอน หมายถึง จะทำ สิ่งใด ให้รู้จักประมาณ ตนเอง ทำ เต็มที่ตามกำ ลังตน มาตํจฺจํ เต ภิกฺขเว. หมายถึง จงรู้จักประมาณตน หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๗


ปลูกไมตรีอ รี ย่ารู้ร้าง หมายถึง ให้ผูกมิตรกับผู้อื่นไว้เสมอ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต มีลูกมีหลานอย่าไปถามฆ่า มีจ๊างมีม้าอย่าไปถามฟัน หมายถึง อย่าเป็นคนใจคอโหดร้ายทารุณ ลโกปตถมภิกา เมตตา. หมายถึง เมตตาเป็นเครื่อ รื่ งค้ำ จุนโลก หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๘


สร้างกุศลอย่ารู้โรย หมายถึง ให้หมั่นทำ แต่ความดี อยู่เสมอ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ตูบน้อยไผว่าบ่มีผี คนงามคนดีไผว่าบ่มีเจ้าของ หมายถึง คนดีย่อมเป็นที่ปรารถนา ของผู้อื่น อภิตถเรถ กลยาเณ. หมายถึง พึงขวนขวายในกรรมดี หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๙


อย่าโดยคำ คนพลอด หมายถึง อย่าหลงเชื่อหรือ รื หลงคำ คนช่างพูด สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต คำ ปากว่าแท้ ใจในหลอแหล เจ้าจีดอกแค ฟู่แท้แกมเล่น หมายถึง คนปากกับใจไม่ตรงกัน ไม่ควรหลงเชื่อ นาสมเส อลิกวาทิเน. หมายถึง ไม่ควรไว้ใจคนพูดพล่อย ๆ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๐


โทษตนผิดรำ พึง หมายถึง ควรรู้ผิดชอบด้วยตัวเอง ไม่ต้องคอยให้ใครมาเตือน หรือ รื บอก สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต คนใหญ่แล้วบ่อต้องมาสอน จิ๊หีดแมงจอน ไผสอนมันเต้น หมายถึง คนเรามีสามัญสำ นึก รู้ชอบชั่วดีเอง ไม่ต้องรอให้คนสอน อัตตนา โจทยัตตานํ. หมายถึง พึงเตือนตนด้วยตนเอง หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๑


อย่าคะนึงถึงโทษท่าน หมายถึง อย่ามัวคิดถึงแต่ความผิด ของคนอื่น สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ต๋ามีหน้าผ่อหน้าบ่หัน หมายถึง ชอบจับผิดบุคคลอื่น โดยที่ไม่มองดูตนเอง สุทสฺสํ วชฺชมญฺเญสํ อตฺตโน ปน ทุทฺทสํ. หมายถึง ความผิดของผู้อื่นเห็นง่าย ฝ่ายของตนเห็นยาก หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๒


อย่าใฝ่ตนให้เกิน หมายถึง อย่าทำ อะไรเกินตัว สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต กิ๋นหื้อปอต๊อง หย้องหื้อปอตั๋ว หมายถึง ทำ อะไรให้รู้จักประมาณตน ไม่ทำ อะไรเกินตัว อตตานํ นาติวตเตยย. หมายถึง บุคคลไม่ควรลืมตน หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๓


น้ำ เชี่ยวอย่าขวางเรือ รื หมายถึง อย่าขวางผู้ที่มีอำ นาจ หรือ รื ผู้ที่กำ ลังโกรธจัด สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต กวางแล่นอย่าต้องหน้า หมายถึง อย่าขวางผู้ที่มีอำ นาจ หรือ รื ผู้ที่กำ ลังโกรธจัด เวรมณี ปรโม ธรรมสฺส. หมายถึง การเว้นระงับ เป็นธรรมะอันเลิศ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๔


ได้ส่วนอย่ามักมาก หมายถึง เมื่อมีการแบ่งสันปันส่วน อย่าโลภมาก สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต มีนึ่งแล้วจะแอมแถมสอง ขี่เฮือน้ำ นอง ซ้อนสองจั้งล่ม หมายถึง โลภมากมักลาภหาย ยํ ลทธํ เตน ตุฏฐพพํ. หมายถึง ได้สิ่งใดพึงพอใจด้วยสิ่งนั้น หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๕


เห็นงามตาอย่าปอง หมายถึง อย่าอยากได้ หรือ รื ถูกใจ เพียงเพราะเห็นว่า ว่ ภายนอกงดงาม ภายในอาจแฝงความชั่วร้ายไว้ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ปากหวานก้นส้ม ตางในขมเหมือนบ่าแคว้ง หมายถึง คือต่อหน้าพูดจาไพเราะ พูดดี แต่ในใจตรงกันข้าม รูปํ อนิจฺจํ ติรํ อนิจฺจํ. หมายถึง รูปกายเป็นของไม่เที่ยงแท้ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๖


ของฝากท่านอย่ารับ หมายถึง ของที่เขาฝากไปให้ผู้อื่น อย่าเก็บเอาไว้เ ว้ อง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต อย่าขายของฝาก หมายถึง อย่านำ ของที่คนอื่นฝาก ไปขาย สจฺเจน กิตฺติํ ปปโปติ. หมายถึง คนถึงซึ่งเกียรติได้ เพราะความสัตย์ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๗


ที่ทับจงมีไฟ ที่ไปจงมีเพื่อน หมายถึง อย่าประมาท อาจก่อให้เกิดผลเสียตามมา สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต กินข้าวบ่ไว้ต่าน้ำ เข้าถ้ำ บ่ตามไฟ เทียวทางไกล บ่มีเพื่อน หมายถึง ต้องไม่ประมาท จึงจะไม่ก่อให้เกิดผลเสียตามมา เต ทีฆรตฺตํ โสจนฺติ เย ปมชฺชนฺติ มาณวา. หมายถึง คนประมาท ย่อมเศร้าโศกสิ้นกาลนาน หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๘


โทษตนผิดพึงรู้ หมายถึง ควรรู้ความผิดของตนเอง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ซอบ่ช่าง ติช่างปี่ หมายถึง ทำ ไม่ดีหรือ รื ทำ ผิด แล้วไม่รับผิด กลับโทษผู้อื่น อัตตนา โจทยัตตานํ. หมายถึง พึงเตือนตนด้วยตนเอง หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๑๙


สู้เสียสินอย่าเสียศักดิ์ หมายถึง ยอมเสียทรัพย์สินเงินทอง ดีกว่า ว่ เสียศักดิ์ศรี สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต เสียเงินพันห้า บ่เท่าเสียหน้าวันเดียว หมายถึง เสียทรัพย์สินมากมายไม่ว่า แต่อย่าให้เสียหน้า เพียงครั้งเดียว อนุปาทา จิตฺตสฺส วิโวิ มกฺโข. หมายถึง จิตเป็นสุข เพราะรู้จักปล่อยวาง (ศาสนาพุทธสอนให้ปล่อยวาง) หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๐


ความในอย่าไขเขา หมายถึง อย่าเอาเรื่อ รื่ งลับสำ คัญ หรือ รื เรื่อ รื่ งส่วนตัวไปเล่าให้ใครฟัง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต คำ ในบ่ควรออก คำ นอกบ่ควรเข้า หมายถึง เรื่อ รื่ งราวไม่ดีภายในครอบครัว ไม่ควรนำ ไปเล่าให้คนนอกบ้านฟัง ตเมว วาจํ ภาเสยฺย ยายตฺตานํ น ตาปเย. หมายถึง ควรกล่าวแต่วาจา ที่ไม่ยังตนให้เดือดร้อน หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๑


อย่ามัวเมาเนืองนิจ หมายถึง อย่าหลงลืมตัว ขาดสติ ควรมีสติรู้ตัวอยู่เสมอ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต หนังแห้งบ่เคยพอง หมายถึง อย่าหลงลืมตัว เย่อหยิ่ง มา ปทาทมนุญเชต. หมายถึง อย่ามัวประกอบความประมาท หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๒


คิดตรองตรึก รึ ทุกเมื่อ หมายถึง ควรมีสติสัมปชัญญะ คิดไตร่ตรองอยู่เสมอ ว่า ว่ สิ่งใดถูกสิ่งใดผิด สิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต จะนั่งหื้อผ่อตี้ จะหนีหื้อผ่อก้น หมายถึง เวลาจะทำ อะไร ต้องเป็นคนรอบคอบ อตฺตานํ นาติวตฺเตยฺย. หมายถึง บุคคลไม่ควรลืมตน หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๓


สุวานขบอย่าขบตอบ หมายถึง สุนัขกัดอย่ากัดตอบ กล่าวคือ คนพาลมาหาเรื่อ รื่ งเราไม่ควร ทะเลาะตอบโต้ให้เปลืองตัว สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต เว้น ว้ หมาหื้อปอศอก เว้น ว้ วอกหื้อปอวา เว้นคนปาลาหื้อ ไกล๋แสนโยชน์ หมายถึง สิ่งที่เป็นอันตราย ควรหลีกเว้น ให้ไกล โดยเฉพาะคนพาล ควรอยู่ห่างที่สุด ยตฺถ เวรี นิวีส วี ติ น วเส ตตฺถ ปณฺฑิโต. หมายถึง โจรพาลอยู่ในที่ใด บัณฑิตไม่ควรอยู่ในที่นั้น หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๔


อย่ากอปรจิตริษ ริ ยา หมายถึง อย่ามีจิตใจริษ ริ ยาผู้อื่น เพราะความริษ ริ ยา จะทำ ให้ตนร้อนใจ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต หันเปิ้นมี จะไปไค่ได้ หมายถึง ให้รู้จักประมาณตนว่า เมื่อเห็นเขามีอะไร ก็อย่าไปอิจฉา อยากได้ อยากมีเหมือนอย่างเขา อรติ โลกนาสิกา. หมายถึง ความริษ ริ ยาทำ ให้โลกฉิบหาย หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๕


คิดขวนขวายที่ชอบ หมายถึง คิดแสวงหาแต่สิ่งที่ดีงาม และพยายามทำ แต่สิ่งที่ดี สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต เสียงฆ้องเสียงกลอง เสียงมอง ตำ ข้าว เสียงทุเจ้าปันพร หมายถึง เมืองใดที่ร่มเย็นเป็นสุข เพราะทำ แต่สิ่งที่ดี กตญจ สุกตํ เสยโย. หมายถึง ความดีนั่นแลดีกว่า หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๖


การจะทำ อย่าด่วนได้ หมายถึง ทำ งานอะไรอย่าใจร้อน หวัง วัได้ผลเร็ว งานบางอย่าง ต้องใช้ความประณีต จึงจะได้ ผลงานที่ดีตามความต้องการ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ฟั่งได้บ่ดีเอา ฟั่งเผาบ่ดีกิ๋น หมายถึง ทำ งานเร่งรีบ รีไม่ใส่ใจ ทำ ลวก ๆ พอให้เสร็จ นิสมม กรณ เสยโย. หมายถึง ใคร่ครวญก่อนแล้ว จึงทำ ดีกว่า หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๗


อย่าขุดคนด้วยปาก หมายถึง อย่าทำ ร้ายผู้อื่นด้วยวาจา หรือ รื เจ็บช้ำ น้ำ ใจ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต กำ บ่อมีแป๋งใส่ กำ บ่อใหญ่แป๋งเอา หมายถึง การใส่ร้ายป้ายสี เรื่อ รื่ งที่ ไม่มีความจริง ริ ก็เอามาพูด น หิ มุญเจยฺย ปาปิกํ. หมายถึง ไม่ควรเปล่งวาจาที่ชั่วเลย หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๘


อย่าพาผิดด้วยหู หมายถึง อย่าทำ ผิดหรือ รื เข้าใจผิดเพราะ เชื่อคำ พูดของผู้อื่น สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต กำ อู้เข้าหู จะไปถูออกปาก จักยาก ใจ๋ปายลูน หมายถึง ยามได้ยินคำ พูดที่ทำ ให้ ไม่พอใจ อย่าเพิ่งโต้ตอบกลับ ให้คิดให้รอบคอบเสียก่อน นาสฺมเส อลิกวาทิเน. หมายถึง ไม่ควรไว้ใว้ จคนพูดพล่อย ๆ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๒๙


อย่าริก ริ ล่าวคำ คด หมายถึง อย่าหัดพูดโกหก สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต คนจะดีก็ดีเมื่อเมื่อผ้าอ้อมป้อก คนจะวอก มันตึงวอกเต๊าต๋าย หมายถึง คนจะดี ก็ดีตั้งแต่เป็นเด็กๆ คนชอบโกหก ก็จะโกหก เป็นแบบนั้นไปจนวันตาย โมสวชเช น นิยเยถ. หมายถึง ไม่ควรนิยมการกล่าวคำ เท็จ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๐


คิดแล้วจึ่งเจรจา หมายถึง คิดให้รอบคอบก่อนพูดเสมอ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต กินปลาช่างไซ้ก้าง จะฟู่อ้ ฟู่ อ้ างหื้อพิจารณา หมายถึง จะพูดจากล่าวอ้างอะไรก็ต้อง พิจารณาให้ถ้วนถี่ นิสมฺม กรณํ เสยฺโย. หมายถึง ใคร่ครวญก่อน แล้วจึงทำ ดีกว่า หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๑


อย่านินทาผู้อื่น หมายถึง อย่านินทาผู้อื่นลับหลัง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ยินคำ เข้าหู อย่าถูออกปาก จัก ยากใจเมื่อภายลูน หมายถึง ได้ยินอะไรแล้วไม่ควรพูดต่อ อาจจะทำ ให้มเรื่อ รื่ งยุ่งยากใจ ภายหลังได้ นตฺถิ โลเกอนินฺทิโต. หมายถึง คนไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๒


คนจนอย่าดูถูก หมายถึง อย่าดูถูกคนจน สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต หันเปิ้นยากไร้ จะไปดูแควน หมายถึง เห็นคนจน อย่าได้ดูถูก เพราะต่อไป เขาอาจจะ กลายเป็นคนมั่งมียิ่งกว่าเรา อตฺตานํ อุปมํ กเร. หมายถึง เอาใจเขา มาใส่ใจเรา หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๓


ปลูกไมตรีทั่ รีทั่ วชน หมายถึง ให้สร้างไมตรี เป็นมิตรกับคนทั่วไป สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ไม้ต้นเดียวบ่เปนกอ ปอต้น เดียวบ่เปนเหล่า หมายถึง คนเราไม่สามารถที่จะอยู่ ตามลำ พัง บางครั้งก็ต้อง พึ่งพาผู้อื่น ควรผูกมิตรไว้ ททมาโน ปิโย โหติ. หมายถึง ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๔


คิดข้างหน้าอย่าเบา หมายถึง ให้คิดถึงการณ์ข้างหน้า เอาไว้ใว้ ห้มาก อย่าคิดเพียง แค่เฉพาะหน้า สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต เกิดเป๋นคนหื้อมืนตากว้างๆ ผ่อ หนตางไปไกล๋ๆ หมายถึง คนเราต้องมองการณ์ไกล พิจารณาสิ่งต่างๆ ให้รอบคอบ รกเขยยานาคตํ ภยํ. หมายถึง พึงป้องกันภัยที่ยังมาไม่ถึง หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๕


เป็นคนเรีย รี นความรู้ หมายถึง เกิดมาเป็นคนควรศึกษา หาความรู้ใส่ตัว จะได้ฉลาด รู้เท่าทันคน สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ไค่หล็วกหื้ออยู่ใกล้นักผาชญ์ ไค่ ฉลาดหื้อหัดไจ๊อ่องออ หมายถึง ถ้าอยากเป็นคนฉลาด ก็ต้องเรีย รี นรู้จากนักปราชญ์ และต้องฝึกคิด ฝึกใช้สมอง ปญญาเมว สุสิกเขยยย. หมายถึง พึงศึกษาหาความรู้ให้ดี หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๖


อย่ามักง่ายมิดี หมายถึง อย่าทำ อะไรแบบมักง่าย หรือ รืไม่ถี่ถ้วน เพราะการมักง่าย ผลที่ออกมาก็จะเสียหาย สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต อ๊ดส้มได้กิ๋นหวาน อ๊ดสานได้ซ้า หมายถึง สอนให้รู้จักอดทนและรอคอย ลำ บากในวันนี้ เพื่อให้ได้ สิ่งที่ดีกว่าในวันหน้า วิริ วิ เ ริ ยน ทุกฺขมจฺเจติ. หมายถึง คนล่วงทุกข์ได้ เพราะความเพียร หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๗


อย่าตีงูให้แก่กา หมายถึง ควรทำ ประโยชน์ให้คนหนึ่ง แต่ไปสร้างความเดือดร้อน ให้อีกคนหนึ่ง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต เก็บผักหื้อเอาตึงเครือ รื เก็บบ่าเขือหื้อเอาตึงขวั๊น หมายถึง ทำ อะไรให้เรีย รี บร้อย อย่าเอาส่วนที่มีประโยชน์ แล้วทิ้งส่วนอื่นไว้ให้ คนอื่นเดือดร้อนมาเก็บกวาด ตญฺจ กมฺมํ กตํ สาธุ ยํ กตฺวา นานุตปฺปติ. หมายถึง ทำ กรรมใดแล้ว ไม่ร้อนใจภายหลัง กรรมที่ทำ นั้นแลเป็นดี หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๘


อย่าตีปลาหน้าไซ หมายถึง อย่าขัดขวางการทำ งาน ของคนอื่น เพราะอาจทำ ให้งาน ของเขาเสียหาย สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต อย่าต๋ำ ข้าวงายตางฮั้ว หมายถึง การทำ สิ่งใดสิ่งหนึ่งในที่ ที่ไม่ควรทำ หรือ รื ขวางทางผู้อื่น จะทำ ให้เกิดความไม่สะดวกแ ละเสียหาย วิน วิ ยํ โส น ชานาติ. หมายถึง คนพาลย่อมไม่รู้ระเบียบวินั วินั ย หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๓๙


ใจอย่าเบาจงหนัก หมายถึง อย่าเป็นคนใจเบา ควรเป็นคนที่ใจคอหนักแน่น มีเหตุผล สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ก้นหม้อบ่ฮ้อน บ่เป็นแต่ไห มัน เป็นแต่ไฟ บ่าใจ้กับหม้อ หมายถึง อย่าด่วนตัดสิน สาเหตุ ของปัญหา ควรพิจารณา ให้รอบคอบเสียก่อน จิตตํ รกเขถ เมธาวี.วี หมายถึง ผู้มีปัญญาพึงรักษาจิต หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๔๐


อย่าประมาทผู้ดี หมายถึง คนที่เป็นผู้ดี เมื่อตกอับก็ห้ามไป เหยียดหยาม เพราะคน ประเภทนี้มีความรู้ อาจจสามารถ กอบกู้ยศศักดิ์กลับมาได้ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต คนตกต่ำ ต่าวนอนหงาย บ่ดีก๋ายเหยียบข้าม หมายถึง คนที่พาดพลั้งตกต่ำ ไม่ควรจะ เหยียบย่ำ ซ้ำ เติมเขา เปรีย รี บได้ก็ คือคนล้มอย่าข้าม โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา. หมายถึง เมตตาเป็นเครื่อ รื่ งค้ำ จุนโลกมือ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนโดยทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาษาไทย ๔๑


เนื้นื้ นื้ อ นื้ อหา หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนต่ต่ ต่ อ ต่ อผู้ผู้ผู้ที่ผู้ที่ ที่ ต่ำที่ ต่ำต่ำต่ำกว่ว่ ว่ า ว่ า


เป็นคนอย่าทำ ใหญ่ หมายถึง อย่าทำ วางโต โอ้อวด วางอำ นาจใส่ผู้อื่น สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต ดาบดีไว้ในฝัก คนหลวกไว้ใว้ นใจ๋ หมายถึง ควรรู้จักถ่อมตน ไม่คุยโวโอ้อวด อตฺตานํ ทมยนตฺติ สุพฺพตา. หมายถึง ผู้ประพฤติดี ย่อมฝึกตน หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนต่ต่ ต่ อ ต่ อผู้ผู้ผู้ที่ผู้ที่ ที่ ต่ำที่ ต่ำต่ำต่ำกว่ว่ ว่ า ว่ า ภาษาไทย ๑


ข้าคนไพร่อย่าไฟฟุน ฟุ หมายถึง อย่าโมโห เกรี้ย รี้ วกราดกับ บ่าวไพร่ ควรใจเย็น มีเหตุผล จึงจะได้รับการนับถือ สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตพระร่ร่ ร่ ว ร่ วง สุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ตล้ล้ ล้ า ล้ านนา พุพุ พุ ท พุ ทธศาสนสุสุ สุ ภ สุ ภาษิษิ ษิ ตษิ ต กบบ่หื้อเกี้ยด เขียดบ่หื้อต๋าย หมายถึง คนที่เป็นหัวหน้า ให้รู้จักถนอมน้ำ ใจลูกน้อง ยามที่มีปัญหาขัดแย้งกัน โกธสมฺมทสมฺมตฺโต อายสกฺยํ นิคจฺฉติ. หมายถึง ผู้เมามึนด้วยความโกรธ ย่อมถึงความไร้ยศศักดิ์ หลัลั ลั ก ลั กปฏิฏิ ฏิ บัฏิ บั บั ติ บั ติ ติ ตติ ตนต่ต่ ต่ อ ต่ อผู้ผู้ผู้ที่ผู้ที่ ที่ ต่ำที่ ต่ำต่ำต่ำกว่ว่ ว่ า ว่ า ภาษาไทย ๒


Click to View FlipBook Version