The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2020-06-29 00:17:20

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการ

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการ

รายงานผลการประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน (NT)
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3
ปีการศกึ ษา 2562

กลมุ่ งานวัดและประเมินผลการศึกษา
กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
เอกสาร ศน.เลขที่ 11/2563



บทสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
มีวัตถุประสงค์เพ่ือรายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียน
ในสังกัดสํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 และเพ่ือเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2561 และ ปกี ารศึกษา 2562 โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

ประชากร คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน ทุกโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานา่ น เขต 1 จาํ นวน 167 โรงเรียน นักเรียนเข้าสอบ 2,061 คน

เครอ่ื งมือประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 เป็นแบบทดสอบท่ีสํานักทดสอบ
ทางการศึกษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสร้างและพัฒนาขึ้น สําหรับใช้วัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ทัว่ ประเทศ

ผลการประเมนิ พบวา่
1. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา

มีค่าเฉล่ียรวม 2 ด้าน ร้อยละ 47.90 ผลการทดสอบอยู่ในระดับพอใช้ ซึ่งมีผลการประเมินมากกว่าระดับประเทศ
(45.70) และมากกวา่ ระดับสังกัด (45.82)

2. โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 มีผลการประเมินสูงกว่า
ระดับประเทศ จํานวน 89 โรงเรียน และโรงเรียนท่ีมีผลการประเมินตํ่ากว่าระดับประเทศ จํานวน 77 โรงเรียน โรงเรียน
บ้านดอนเฟือง มีผลการทดสอบเฉลี่ยรวม 2 ด้านสูงสุด ร้อยละ 85.75 ผลการทดสอบอยู่ในระดับดีมาก โรงเรียน
บ้านห้วยส้ม มีผลการทดสอบเฉล่ียรวม 2 ด้าน ร้อยละ 82.50 ผลการทดสอบ อยู่ในระดับดีมาก ตามลําดับ และโรงเรียน
บา้ นพะเยา มีผลการทดสอบเฉลี่ยรวม 2ดา้ นต่าํ สุด รอ้ ยละ 19.75 ผลการทดสอบอยใู่ นระดับปรบั ปรุง

3. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ด้านภาษาไทย พบว่า
โรงเรียนบ้านดอนเฟือง มีผลคะแนนการทดสอบร้อยละ 81.50 ผลการทดสอบอยู่ในระดับดีมาก รองลงมา คือ โรงเรียน
บ้านนากอก มีผลคะแนนการทดสอบร้อยละ 80.87 ผลการทดสอบอยู่ในระดับดีมาก โรงเรียนบ้านไหล่น่าน
มีผลคะแนนการทดสอบ ร้อยละ 79.00 ผลการทดสอบอยู่ในระดับดีมาก ตามลําดับ และโรงเรียนบ้านนํ้าเกี๋ยน
มีผลคะแนนการทดสอบตาํ่ สดุ ร้อยละ 23.37 ผลการทดสอบ อย่ใู นระดบั ปรบั ปรุง

4. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ด้านคณิตศาสตร์ พบว่า
โรงเรียนบา้ นดอนเฟือง และโรงเรียนบ้านหว้ ยสม้ มผี ลคะแนนการทดสอบสูงสุด ร้อยละ 90.00 ผลการทดสอบ อยู่ในระดับ
ดีมาก เท่ากัน รองลงมา คือ โรงเรียนบ้านนํ้าลัด มีผลคะแนนการทดสอบ ร้อยละ 88.00 ระดับผลการทดสอบอยู่ในระดับ
ดีมาก โรงเรียนบ้านนํ้าครกใหม่ มีผลคะแนนการทดสอบ ร้อยละ 80.00 ผลการทดสอบอยู่ในระดับดีมาก ตามลําดับ
และโรงเรียนบ้านพะเยา มผี ลคะแนนการทดสอบต่าํ สดุ รอ้ ยละ 15.00 ผลการทดสอบ อยู่ในระดบั ปรับปรุง

5. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 เรียงค่าเฉลี่ยกลุ่มโรงเรียน
พบว่า กลุ่มโรงเรียนเมือง 2 มีค่าเฉลี่ยรวม 2 ด้านสูงสุดร้อยละ 57.68 ผลการทดสอบอยู่ในระดับดี รองลงมา คือ



กลุม่ โรงเรียนนาหม่ืน 1 มีผลการทดสอบเฉล่ียรวม 2 ด้าน ร้อยละ 52.62 ระดับผลการทดสอบอยู่ในระดับดี กลุ่มโรงเรียน
นาน้อย 2 มีผลการทดสอบเฉลี่ยรวม 2 ด้าน ร้อยละ 51.37 ระดับผลการทดสอบรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับดี ตามลําดับ
และกลมุ่ โรงเรียนภูเพยี ง 2 มีผลการทดสอบเฉลี่ยรวม 2 ดา้ นตํา่ สดุ ร้อยละ 39.32 ระดับผลการทดสอบอยู่ในระดบั พอใช้

6. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2561 และปีการศึกษา
2562 พบว่า ระดับประเทศ ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ยรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 49.48
ปีการศกึ ษา2562มีค่าเฉลยี่ รวม2ดา้ น(ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 45.70 ค่าเฉล่ียปีการศึกษา 2562
ลดลงจากปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 3.78 ระดับสังกัด ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2561
มีค่าเฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 49.39 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ียรวม
2 ดา้ น (ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 45.82 ค่าเฉล่ียปีการศึกษา 2562 ลดลงจากปีการศึกษา 2561
ร้อยละ 3.57 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ีย
รวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 51.35 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยรวม 2 ด้าน
(ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 47.90 ค่าเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 ลดลงจากปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 3.45
โรงเรียนที่มีค่าเฉล่ียผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 เพิ่มขึ้น
จากปีการศึกษา 2561 จํานวน 60 โรงเรียน และโรงเรียนท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุดเป็นลําดับที่ 1 คือ โรงเรียนบ้านศรีบุญเรือง
ปกี ารศกึ ษา 2561 มีคา่ เฉล่ยี รวม 3 ดา้ น (ดา้ นภาษา ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 26.52 ปีการศึกษา 2562
มีค่าเฉลี่ยรวม 2 ดา้ น (ด้านภาษาไทย และดา้ นคณติ ศาสตร์) ร้อยละ 63.70 ค่าเฉล่ียปีการศึกษา 2562 เพ่ิมข้ึนจาก
ปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 37.18 รองลงมา คือ โรงเรียนอนุบาลเมืองลี มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)
ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ยรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 31.11 ปีการศึกษา 2562
มคี ่าเฉลีย่ รวม 2 ด้าน (ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 62.25 ค่าเฉล่ียปีการศึกษา 2562 เพิ่มข้ึนจาก
ปีการศึกษา 2561 รอ้ ยละ 31.14 โรงเรียนบ้านน้ําอูน ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ
และด้านเหตุผล) ร้อยละ 33.80 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ียรวม 2 ด้าน (ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์)
ร้อยละ 60.40 ค่าเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 เพ่ิมขึ้นจากปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 26.60 ตามลําดับ และโรงเรียนที่มี
ค่าเฉล่ียลดลงมากสุด คือ โรงเรียนบ้านป่าแดด ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และ
ด้านเหตุผล) ร้อยละ 75.55 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ียรวม 2 ด้าน (ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์)
รอ้ ยละ 37.80 ค่าเฉลย่ี ปกี ารศึกษา 2562 ลดลงจากปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 38.05

7. ค่าร้อยละผลการเปรียบเทียบการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
และปีการศึกษา 2562 พบว่า ระดับประเทศ ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และ
ด้านเหตุผล) ร้อยละ 49.48 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ียรวม 2 ด้าน (ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 45.70
ค่าเฉลย่ี ปีการศึกษา 2562 ลดลงจากปีการศึกษา 2561=3.78 (ลดลงร้อยละ 8) ระดับสังกัด ปีการศึกษา 2561
มคี า่ เฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 49.39 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยรวม 2 ด้าน
(ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 45.82 ค่าเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 ลดลงจากปีการศึกษา 2561=3.57
(ลดลงร้อยละ 7) ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และ



ด้านเหตุผล) ร้อยละ 51.35 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ียรวม 2 ด้าน (ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 47.90
ค่าเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 ลดลงจากปีการศึกษา 2561=3.45 (ลดลงรอ้ ยละ 7)

8. โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ที่มีค่าร้อยละของผลการประเมิน
คุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 เพิ่มข้ึนร้อยละ 3 จากปีการศึกษา 2561 มีจํานวน
57 โรงเรียน และโรงเรียนที่มีค่าร้อยละสูงสุด เป็นลําดับที่ 1 คือ โรงเรียนบ้านศรีบุญเรือง ปีการศึกษา 2561
มีค่าเฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 26.52 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ียรวม
2 ด้าน (ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 63.70 ค่าเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 เพ่ิมข้ึนจากปีการศึกษา
2561=37.18 (เพมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ 140) รองลงมา คือ โรงเรียนบา้ นนา้ํ แกน่ กลาง ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ยรวม 3 ด้าน
(ด้านภาษา ดา้ นคาํ นวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 15.23 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยรวม 2 ด้าน (ด้านภาษาไทย
และดา้ นคณติ ศาสตร)์ ร้อยละ 36.25 คา่ เฉลี่ยปกี ารศึกษา 2562 เพ่ิมขึ้นจากปีการศึกษา 2561=21.02 (เพิ่มข้ึนร้อยละ
138) โรงเรยี นอนบุ าลเมืองลี มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา
ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 31.11 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยรวม 2 ด้าน (ด้านภาษาไทย และ
ด้านคณิตศาสตร์) ร้อยละ 62.25 ค่าเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2561=31.14 (เพิ่มขึ้น
รอ้ ยละ 100) ตามลาํ ดับ และโรงเรียนที่มีค่าเฉล่ียลดลงมากสุด คอื โรงเรียนบา้ นอ่ายนาผา ผลการประเมินคุณภาพ
ผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ียรวม 3 ด้าน (ด้านภาษา ด้านคํานวณ และด้านเหตุผล) ร้อยละ 54.76
ปกี ารศกึ ษา 2562 มีค่าเฉลี่ยรวม 2 ด้าน (ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร)์ ร้อยละ 25.75 ค่าเฉล่ียปีการศึกษา
2562 ลดลงจากปกี ารศึกษา 2561=29.01 (ลดลงร้อยละ 53)

คำนำ

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ศูนย์สอบ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้ดาเนินการบริหารจัดการประเมินนักเรียน
โรงเรยี นในสงั กดั ตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ และได้วิเคราะห์ผลการประเมินในระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษาทั้งในภาพรวมทั้ง 2 ด้าน และรายด้าน เพ่ือได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาที่จะนาไปใช้ในการตรวจสอบ
ทบทวนพฒั นาคุณภาพผู้เรียน

ขอขอบคุณคณะศึกษานเิ ทศก์ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา โรงเรียนท่ีเป็นสนามสอบ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายท่ีให้ความร่วมมือในการดาเนินการ
ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ด้วยความโปร่งใส ได้มาตรฐานการ
ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ ซึง่ ไดส้ ารสนเทศทีส่ ามารถสะท้อนคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาได้
อย่างแท้จริงมีความน่าเช่ือถือ ซ่ึงสถานศึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้องสามารถนาข้อมูลไปใช้วางแผน
และกาหนดแนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตอ่ ไป

กลุ่มงานวัดและประเมินผลการศกึ ษา
กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

สารบญั

หนา้

บทสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ าร.....................................................................................................................................ก
คานา..................................................................................................................................................................ง
สารบัญ...............................................................................................................................................................จ
บทท่ี 1 บทนา

เหตผุ ลและความสาคัญ.................................................................................................................1
วตั ถุประสงค์.................................................................................................................................2
ขอบเขต.......................................................................................................................................2
นิยามศัพท์เฉพาะ.........................................................................................................................2
ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั ..........................................................................................................3
บทที่ 2 เอกสารและงานศกึ ษาคน้ คว้าที่เกยี่ วขอ้ ง
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551.........................................................5
แนวดาเนนิ การประเมินคณุ ภาพผเู รียน (NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562............11
บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินการ
ประชากร......................................................................................................................................15
เครอื่ งมือการประเมนิ ...................................................................................................................15
วธิ ดี าเนินการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1.................................................................15
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมลู .................................................................................................16
การตรวจและวเิ คราะห์ข้อมลู ......................................................................................................16
สถิตทิ ี่ใช.้ .....................................................................................................................................17
บทท่ี 4 ผลการประเมิน
ค่าเฉล่ียผลการประเมนิ คุณภาพผูเ้ รยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 รวม 2 ด้าน
เรียงจากมากไปหาน้อย.............................................................................................................19
ผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2562
ด้านภาษาไทย เรยี งจากมากไปหานอ้ ย.......................................................................................26
ผลการประเมนิ คณุ ภาพผ้เู รยี น (NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562
ด้านคณติ ศาสตร์ เรยี งจากมากไปหานอ้ ย...................................................................................33
ค่าเฉลย่ี ผลการประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562
ระดับกล่มุ โรงเรยี น เรียงจากมากไปหาน้อย................................................................................40



สารบัญ (ตอ่ )

หนา้

เปรียบเทียบค่าเฉล่ียผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ปีการศึกษา 2561 และปีการศึกษา 2562 เรียงจากมากไปหาน้อย...........................42
ค่ารอ้ ยละผลการเปรียบเทยี บการประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3
ปีการศกึ ษา 2561 และปีการศึกษา 2562 เรียงจากมากไปหาน้อย..............................50
บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
สรุปผลการประเมนิ ....................................................................................................................58
อภิปรายผล................................................................................................................................61
แนวทางการนาผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา......63
ขอ้ เสนอแนะ..............................................................................................................................63
เอกสารอ้างอิง...................................................................................................................................................66
คณะผจู้ ัดทา......................................................................................................................................................67

บทท่ี 1

บทนา

เหตผุ ลและความสาคัญ

สถานการณ์โลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่นเดียวกับระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนา
เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะความเป็นจริง แนวคิดเร่ือง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21" ที่มุ่งเน้น
ทักษะการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม หรือ 3Rs 4Cs ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้ 3Rs ไดแ้ ก่ การอา่ น (Reading) การเขียน (Writing)
และคณติ ศาสตร์ (Arithmetic) และ 4Cs ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) การสื่อสาร (Communication)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) และการร่วมมือ (Collaboration) โดยเฉพาะผู้เรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
จะตอ้ งมีทักษะอื่นอีกหลายด้าน เช่น ทกั ษะการสื่อสาร และทักษะการคิดคานวณ เป็นต้น เพื่อให้อยู่ในโลกแห่งการแข่งขัน
ไดอ้ ย่างปลอดภยั และมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ี

กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดนโยบายและจุดเน้น เพ่ือให้การบริหารจัดการศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
มีความสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติ เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ วัตถุประสงค์ของแผนการปฏิรูป
ประเทศด้านการศึกษาและนโยบายของรัฐบาลเรื่องการเตรียมคนในศตวรรษท่ี 21 ในระดับประถมศึกษามุ่งคานึงถึงพหุปัญญา
ของผู้เรียนรายบุคคลที่หลากหลายตามศักยภาพ โดยเฉพาะการเรียนภาษาไทย เน้นเพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้
วิชาอื่น รวมถงึ นโยบายการพัฒนาและส่งเสริมให้นักเรียนระดบั ประถมศึกษาคิดเลขเป็น พร้อมกับสร้างเด็กให้เกิดทักษะ
กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ รวมถึงการคิดวิเคราะห์ เพ่ือให้แก้ปัญหาได้ กาหนดให้มีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
ระดับชาติ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยสถานศึกษา
ต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนเข้ารับการทดสอบระดับชาติ เพื่อให้กระทรวงศึกษาธิการสามารถใช้ผลการประเมิน
ในการกาหนดนโยบาย และวางแผนการศึกษาของประเทศ

การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติจะสะท้อนให้เห็นถึงความสาเร็จหรือคุณภาพในการจัดการศึกษา
ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องในทุกระดับ รวมทั้งเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการวางแผน หรือกาหนดทิศทางในการพัฒนา
คุณภาพของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษา จาเป็นต้องใช้
ประโยชน์จากสารสนเทศผลการประเมินคุณภาพการศึกษาท้ังในระดับชาติ ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดับ
สถานศกึ ษาในสงั กดั ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสูตร พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ รวมท้ังใช้ในการ
พฒั นาระบบการวัดและประเมินในทุกระดบั ต้ังแตร่ ะดบั สถานศกึ ษาจนถงึ ระดับชาติ นอกจากนี้ผลการประเมิน
คุณภาพผู้เรียนยังช่วยในการวางแผนพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้สาม ารถพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพ
ของตนเองอีกดว้ ย

2

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ร่วมกับสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ดาเนินการประเมิน
คุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนจากโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
โดยประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรียน 2 ดา้ น คือ ความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์

ในปีการศึกษา 2562 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพ
ผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ดังนั้น การรายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2562 เป็นการ
เผยแพร่ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนให้แก่โรงเรียนและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้รับทราบแล้ว โรงเรียนยัง
สามารถใช้วางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับการประเมิน เพ่ือรองรับการประกันคุณภาพการศึกษาได้เป็น
อย่างดี รวมทั้งเป็นการสะท้อนภาพความสาเร็จและจุดควรพัฒนาของผู้เรียน ท้ังในระดับสถานศึกษาและระดับเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาอกี ดว้ ย

วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพผ้เู รยี น (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนในสังกัด
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

2. เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 และ
ปกี ารศกึ ษา 2562 โรงเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

ขอบเขต

การประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2562 ดงั นี้
1. ประชากร

การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2562 ประชากร คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ทุกคน
ทุกโรงเรียนในสงั กดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 โรงเรียนพีระยานุเคราะห์ฯ 3 สังกัด
กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 56 สำนักบริหำรงำนกำรศึกษำพิเศษ
จานวน 166 โรงเรียน นักเรยี นเขา้ สอบ 2,061 คน

2. เคร่อื งมือที่ใช้ในการประเมิน
การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ใช้แบบทดสอบปรนัยชนิด

เลือกตอบ (Multiple choices) เขียนตอบส้ัน และเขียนตอบอสิ ระ ซง่ึ ประเมิน 2 ด้าน ได้แก่ ความสามารถด้านภาษาไทย
และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ โดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานจากสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
1. การประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ปกี ารศึกษา 2562 หมายถึง การประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐาน

ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ได้แก่ ความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถ
ด้านคณิตศาสตร์

3

2. ความสามารถด้านภาษาไทย หมายถึง ความสามารถด้านการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในยุค
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้ทักษะการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ ในการใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมือส่ือสารเพ่ือสรุปความ สืบค้น แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง
นาเสนออยา่ งสร้างสรรค์ ประเมินและตดั สินขอ้ มลู สารสนเทศ เพ่ือนาไปแก้ปัญหาในชวี ิตประจาวันและรูเ้ ท่าทันส่ือ
ตลอดจนสามารถใช้ภาษาแสดงอัตลักษณท์ างวัฒนธรรมของชาตเิ พื่อสรา้ งความเขา้ ใจอนั ดใี นสงั คม

3. ความสามารถด้านคณติ ศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถของบคุ คลในการตคี วามและแปลงจากสถานการณ์ปัญหา
หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในบริบทของชีวิตจริง (Problemincontext)ให้เป็นปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematicalproblem)
การใช้ทักษะการคิดคานวณ การแก้ปัญหาการเชื่อมโยง การสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ การคิดสร้างสรรค์
และการให้เหตุผลโดยอาศยั ข้อเท็จจรงิ ความคิดรวบยอด หลักการหรือทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ มีการพิจารณา ไตร่ตรอง
อย่างรอบคอบ ประเมินและตัดสินใจอย่างสมเหตุสมผลและสร้างสรรค์ โดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรมและความเป็น
พลเมืองดีของประชาคมโลก เพื่อนาไปสู่การหาผลลัพธ์ และการอธิบาย/คาดการณ์/พยากรณ์สถานการณ์ปัญหา
หรอื ปรากฎการณ์ต่าง ๆ

4. นักเรียน หมายถึง นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ทเี่ รียนในปีการศึกษา 2562 โรงเรียนในสังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

5. โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนท่ีจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน
เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

6. ข้อสอบมาตรฐาน หมายถึง ข้อสอบท่ีสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพนื้ ฐาน และสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) สร้างและพัฒนาขึ้น สาหรับใช้วัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของนักเรยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานท่วั ประเทศ ในปีการศึกษา 2562

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ
1. สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 นาผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ

ทุกระดับเป็นข้อมูลสารสนเทศ ในการวางแผน กาหนดนโยบายและกลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาพรวม
ของเขตพน้ื ที่ เพือ่ สนองนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

2. ผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นาข้อมูล
สารสนเทศเกี่ยวกบั การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของผเู้ รียนทุกระดับชั้น ไปใช้ในการวางแผนการจดั การศึกษา
และพฒั นาผ้เู รยี น

3. ครปู ระจาชน้ั หรอื ครูทปี่ รึกษา ครูผู้สอน นาขอ้ มูลสารสนเทศเก่ียวกับผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน
ของนักเรยี นรายบคุ คล ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนร้ไู ปใช้ในการออกแบบจัดการเรียนรู้ วิจัยในช้ันเรียน และพัฒนา
วิชาชีพของตนให้มีความก้าวหน้าตามมาตรฐานวิชาชีพครู

4

4. ผู้เรยี นนาขอ้ มูลสารสนเทศเก่ยี วกบั ผลการประเมินคุณภาพผ้เู รียนไปใช้วางแผนการเรียนรู้ รู้จุดเด่น
จดุ บกพรอ่ งในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง

5. ผ้ปู กครองนาขอ้ มลู สารสนเทศเก่ียวกับผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนไปใช้ในการส่งเสริม สนับสนุน
และวางแผนพฒั นาการเรียนรขู้ องนักเรียน ตลอดจนนาไปใช้ในการเลือกแผนการเรยี นทเ่ี หมาะสมกับความถนัด
และความตอ้ งการของผเู้ รยี น

บทท่ี 2

เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

การศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องกับการรายงานการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2562 มีประเด็น
ในการนาเสนอ ดงั นี้

1. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
2. แนวดาเนินการประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ปีการศึกษา 2562

1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
ตามคาสั่งกระทรวงศกึ ษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานที่ 293/2551 เร่ืองให้ใช้

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 เพอื่ ให้จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสอดคล้องกับสภาพ
ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและความเจริญทางวิทยาการ เป็นการสร้างกลยุทธ์ให้ในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคลสังคมไทย ผู้เรียนให้มีศักยภาพในการแข่งขัน
และร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลกปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสานึกในความเป็นไทยมีระเบียบวินัย คานึงถึง
ผลประโยชนส์ ว่ นร่วมและยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นไปตาม
เจตนารมณ์มาตรา 80 ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2544 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
กาหนดใหใ้ ชใ้ นโรงเรยี นตน้ แบบการใชห้ ลกั สูตร และโรงเรียนทม่ี ีความพรอ้ มตามทกี่ ระทรวงศึกษาธิการกาหนด
ในปีการศกึ ษา 2552 กาหนดให้ใชใ้ นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1–6 และชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ในปีการศึกษา 2553
กาหนดให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–6
และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ2 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป ให้ใช้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกชั้นเรียน สาหรับโรงเรียนท่ัวไปใช้หลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ดงั น้ี

ปีการศึกษา 2553 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1–6
และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 และ 5 ทั้งน้ีตั้งแต่ ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป ให้ใช้
ทุกระดับชัน้

และตามคาส่งั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ี 922/2561 เร่ือง การปรบั ปรุงโครงสร้าง
เวลาเรยี น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ว่าอนุสนธิคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ
ท่ี สพฐ. 1239/2560 ส่ัง ณ วนั ที่ 7 สิงหาคม 2560 เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และคาสั่ง
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ท่ี 30/2561 ส่งั ณ วันท่ี ๕ มกราคม 2561 เร่ือง ให้เปล่ียนแปลง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

6

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพ
ในการแข่งขนั และดารงชวี ติ อย่างสร้างสรรคใ์ นประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ฉะน้ัน อาศยั อานาจตามคาสงั่ กระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 293/2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีอานาจในการยกเลิก เพ่ิมเติม เปลี่ยนแปลงหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวิธีการจัดการศึกษา ดังนั้น เพ่ือให้
สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการเวลาเรียนได้เหมาะสมกับบริบทและจุดเน้นของสถานศึกษาโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในคราวประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คร้ังท่ี 4/2561
เมอ่ื วันที่ 20 เมษายน 2561 จงึ ปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนใหม้ ีความยดื หยุน่ ดังน้ี

1. ระดับประถมศึกษา
1) ปรบั เวลาเรียนพน้ื ฐานของแตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบท

จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพื้นฐานสาหรับสาระประวัติศาสตร์ 40 ชั่วโมงต่อปี
ท้ังนี้ ต้องมเี วลาเรยี นพนื้ ฐานรวม จานวน 840 ช่ัวโมงต่อปี และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตวั ช้ีวดั ท่กี าหนด

2) จัดเวลาเรียนเพ่ิมเติม โดยจัดเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม หรือกิจกรรมเพ่ิมเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้น
และความพรอ้ มของสถานศกึ ษา และเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร เฉพาะระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1–3 สถานศึกษา
อาจจัดให้เป็นเวลาสาหรับสาระการเรียนรู้พ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์

3) จดั เวลาสาหรับกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น จานวน 120 ชวั่ โมงตอ่ ปี
4) จดั เวลาเรียนรวมทัง้ หมด ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมของสถานศกึ ษา ทั้งนี้ ควรคานึงถึงศักยภาพ
และพฒั นาการตามช่วงวัยของผเู้ รียนและเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร
2. ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

1) ปรบั เวลาเรียนพ้ืนฐานของแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรูไ้ ดต้ ามความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบท
จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพื้นฐานสาหรับสาระประวัติศาสตร์ 40 ชั่วโมงต่อปี
หรือ 1 หน่วยกิตต่อปี ท้ังนี้ ต้องมีเวลาเรียนพื้นฐานรวม จานวน 880 ช่ัวโมงต่อปี หรือ 22 หน่วยกิตต่อปี
และผเู้ รยี นตอ้ งมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชีว้ ัดท่กี าหนด และสอดคลอ้ งกับเกณฑ์การจบหลกั สตู ร

2) จัดเวลาเรียนเพม่ิ เตมิ โดยจดั เปน็ รายวิชาเพ่ิมเติม หรือกิจกรรมเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้น
และความพรอ้ มของสถานศกึ ษา และเกณฑ์การจบหลักสูตร

3) จดั เวลาสาหรบั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น จานวน 120 ชว่ั โมงตอ่ ปี
4) จัดเวลาเรียนรวมทั้งหมด ให้เป็นไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ทั้งนี้ ควรคานึงถึงศักยภาพ
และพฒั นาการตามช่วงวัยของผูเ้ รียนและเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร

7

3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
1) ปรับเวลาเรยี นพ้นื ฐานของแต่ละกลุม่ สาระการเรียนร้ไู ดต้ ามความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบท

จุดเน้นของสถานศกึ ษา และศักยภาพของผ้เู รยี น โดยจดั เวลาเรียนพ้ืนฐานสาหรับสาระประวัติศาสตร์รวม 3 ปี
จานวน 80 ช่ัวโมง หรือ 2 หน่วยกิต ทั้งน้ี ต้องมีเวลาเรียนพ้ืนฐานรวม 3 ปี จานวน 1,640 ชั่วโมงหรือ 41 หน่วยกิต
และผู้เรยี นตอ้ งมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วัดทีก่ าหนด และสอดคล้องกับเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร

2) จดั เวลาเรยี นเพ่ิมเติม โดยจดั เป็นรายวิชาเพ่ิมเติม หรือกิจกรรมเพ่ิมเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้น
และความพรอ้ มของสถานศกึ ษา และเกณฑ์การจบหลักสูตร

3) จัดเวลาสาหรบั กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น รวม 3 ปี จานวน 360 ชว่ั โมง
4) จัดเวลาเรียนรวมทั้งหมด ให้เป็นไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ท้ังนี้ ควรคานึงถึงศักยภาพ
และพัฒนาการตามช่วงวยั ของผเู้ รียนและเกณฑ์การจบหลักสูตร
ความหมายของหลักสูตร
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกระทรวงศึกษาธิการ (2549)
ได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรแกนกลาง (Core Curriculum)
ในส่วนทหี่ นว่ ยงานสว่ นกลาง โดยคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดขน้ึ สาหรับท้องถิ่นและสถานศึกษา
ได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาเด็ก
และเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการ
ดารงชีวติ ในสงั คมท่มี กี ารเปลย่ี นแปลง และแสวงหาความรูเ้ พอ่ื พัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ
สาระสาคญั ของหลักสตู ร
1. วิสยั ทศั น์ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนทุกคน
ซึ่งเปน็ กาลงั ของชาตใิ หเ้ ป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย
และเป็นพลโลกยึดม่ันในการปกครองตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้
และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้งเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต
โดยมงุ่ เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญบนพน้ื ฐานความเช่อื วา่ ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ
2. หลักการ เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดมุ่งหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
ควบคู่กับความเป็นสากล เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชนที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาพ
และมคี ณุ ภาพ สนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการ
ของท้องถ่ิน มีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
สามารถเทียบโอนผลการเรียนรแู้ ละประสบการณ์

8

3. จุดมุ่งหมาย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ
และประกอบอาชพี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู้
ความสามารถในการส่ือสาร การแก้ปัญหา การคิด การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
มสี ขุ นสิ ัย และรกั การออกกาลังกาย มคี วามรักชาติ มจี ติ สานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลเมืองโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิต
และการปกครองตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสานึกในการอนุรักษ์
วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย การอนุรกั ษ์และพฒั นาส่งิ แวดลอ้ ม มีจติ สาธารณะทม่ี ่งุ ทาประโยชนแ์ ละสร้างส่ิงท่ีดีงาม
ในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสุข

4. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ได้แก่ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิดความสามารถในการ
แก้ปัญหา ความสมารถในการใช้ทักษะชีวติ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะ
เป็นพลเมืองไทยและพลโลก ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สตั ย์สจุ รติ มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างเพียงพอ มุ่งม่ันในการ
ทางาน รักความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ

โครงสรา้ งของหลักสตู ร กาหนดไว้ ดังน้ี
1. ระดบั การศกึ ษา แบง่ เปน็ 3 ระดบั
1) ระดับประถมศึกษา ได้แก่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–6 มุ่งพัฒนาทักษะพ้ืนฐานด้านการอ่าน

การคิดคานวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร และกระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพ้ืนฐานความเป็น
มนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมและวัฒนธรรมโดยเน้น
การจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการ

2) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้แก่ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1–3 มุ่งให้ผู้เรียนได้สารวจ
ความถนัด ความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดวิจารณญาณ
คิดสรา้ งสรรค์และคิดแก้ปัญหา มที ักษะในการดารงชีวิต มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการ
เรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิดความดีงาม และความภาคภูมิใจใน
ความเป็นไทย ตลอดจนใช้พ้ืนฐานในการประกอบอาชพี หรอื การศึกษาตอ่

3) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4–6 เน้นการเพ่ิมพูนความรู้
และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนในของผู้เรียนแต่ละคนด้านวิชาการ
และวิชาชีพ มีทักษะการใชว้ ทิ ยาการและเทคโนโลยี ทกั ษะการคิดขนั้ สงู สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนาตนเองและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผู้นา
และผู้ใหบ้ รกิ ารชมุ ชนในด้านต่าง ๆ

9

2. สาระการเรยี นรู้ ซงึ่ ประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้และคุณลักษณะ หรือ
คา่ นยิ ม คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผเู้ รยี น หลกั สูตรกาหนดสาระการเรียนรู้ที่เปน็ พื้นฐานสาคัญที่ผู้เรียนทุกคนต้อง
เรียนรไู้ ว้ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและ
พลศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ ภาษาต่างประเทศ

3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ
พฒั นาอยา่ งรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินับ ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได้
และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ซึ่งกาหนดกิจกรรมไว้ 3 ลักษณะคือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน
เชน่ ลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด และผู้บาเพ็ญประโยชน์ และกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์

มาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
เพื่อเป็นข้อกาหนดคุณภาพผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมของแต่ละกลุ่ม
สาหรับใช้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เม่ือเรียนจบในแต่ละระดับ
การศึกษา คือ ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3)
และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6)

การจัดเวลาเรียน หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกาหนดเวลาเรียนในการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม
พัฒนาผเู้ รียนไว้ ดังนี้

ระดบั ประถมศกึ ษา (ป.1–6) จัดเวลาเรยี นเป็นรายปี ดงั น้ี
1) ปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกล่มุ สาระการเรยี นรู้ได้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับ

บริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพื้นฐานสาหรับสาระประวัติศาสตร์ 40 ชั่วโมงต่อปี
ท้งั นี้ ตอ้ งมีเวลาเรยี นพื้นฐานรวม จานวน 840 ชั่วโมงต่อปี และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชีว้ ัดทก่ี าหนด

2) จัดเวลาเรียนเพ่ิมเติม โดยจัดเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม หรือกิจกรรมเพ่ิมเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้น
และความพรอ้ มของสถานศึกษา และเกณฑก์ ารจบหลักสูตร เฉพาะระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1–3 สถานศึกษา
อาจจดั ใหเ้ ป็นเวลาสาหรับสาระการเรยี นรู้พืน้ ฐานในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

3) จัดเวลาสาหรับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จานวน 120 ชั่วโมงต่อปี
4) จัดเวลาเรยี นรวมทง้ั หมด ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมของสถานศกึ ษา ท้ังน้ี ควรคานึงถงึ ศักยภาพ
และพฒั นาการตามช่วงวยั ของผู้เรียนและเกณฑ์การจบหลักสูตร
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1–3) จัดเวลาเรียนเป็นภาคเรียน เวลาเรียนรวมไม่เกินปีละ 1,200 ช่ัวโมง
เฉลยี่ วันละ 6 ช่วั โมง การคิดน้าหนกั ของรายวชิ าเปน็ หนว่ ยกติ (40 ชัว่ โมง /ภาคมีค่าน้าหนกั วชิ า 1 หนว่ ยกติ )
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4–6) จัดเวลาเรียนเป็นภาคเรียน เวลาเรียนรวม 3 ปีไม่น้อยกว่า 3,600 ช่ัวโมง
เฉลยี่ วันละ 6 ชว่ั โมง มีการคดิ นา้ หนักของรายวิชาเป็นหนว่ ยกิต (40 ชวั่ โมง/ภาค มีคา่ น้าหนักวชิ า 1 หนว่ ยกิต

10

การวัดและประเมินผล
1. หลักการวัดและประเมินผลผู้เรียน การวัดและประเมินผลเป็นกระบวนการที่ช่วยผู้สอน

ใหไ้ ด้ขอ้ มูลสารสนเทศทีแ่ สดงถึงพฒั นาการ ความกา้ วหนา้ และความสาเร็จของการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ซ่ึงเป็นประโยชน์
ต่อการส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรยี นรูต้ ามศกั ยภาพ

2. วิธีการวัดและประเมินผลต้องใช้วิธีท่ีหลกากหลาย สอดคล้องกับสิ่งท่ีต้องการวัดท้ังที่เป็นความรู้
ความคดิ และการปฏบิ ตั ิ และดาเนินการควบคู่ไปกับการจดั การเรียนการสอน การวัดความรู้ ความคิดส่วนใหญ่ใช้การ
ทดสอบ แบบทดสอบท่ีอาจเป็นแบบเลือกตอบหรือให้เขียนคาตอบเองด้วยข้อสอบอัตนัย ควรเน้นการตอบโดยการ
เขียนและการนาเสนอคาตอบด้วยตัวผู้เรียนเพราะเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาการคิดและการเขียน
ไปพร้อม ๆ กนั ไดด้ ีกวา่ เคร่อื งมอื ชนิดเลอื กตอบ นอกจากน้อี าจใชแ้ ฟม้ ผลงาน การสังเกต การสัมภาษณ์ เป็นวิธีที่
เหมาะสมกับการวัดและประเมินความดีงามและการปฏบิ ัติ

3. ระดับการวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 แบ่งเป็น 4 ระดับ คือระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติ
ทกุ ระดบั มเี จตนารมณเ์ ช่นเดียวกันคือ ตรวจสอบความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือนาผลการประเมิน
มาใช้เป็นขอ้ มลู ในการพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง ไดแ้ ก่

.3.1 การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผสู้ อนดาเนินการเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและติดสินผลการเรียนในรายวิชา/กิจกรรมท่ีตนสอน ในการประเมินเพ่ือการพัฒนา
ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดท่ีกาหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
เช่น การซักถาม การสังเกตการณ์ การตรวจการบา้ น การแสดงออกในการปฏิบัติผลงาน เพื่อดูว่าบรรลุตัวช้ีวัด
หรือมีแนวโน้มว่าจะบรรลุตัวช้ีวัดเพียงใด แล้วแก้ไขบกพร่องเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง และการประเมินเพ่ือตัดสิน
เป็นการตรวจสอบ ณ จุดท่ีกาหนด แล้วตัดสินว่าผู้เรียนมีผลอันเกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่
และมากน้อยเพียงใด ท้ังน้ี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเก็บคะแนนของหน่วยการเรียนรู้ หรือของการประเมินผล
กลางภาคเรียน หรือปลายภาคตามรูปแบบการประเมนิ ทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ผลการประเมินนอกจากจะให้เปน็
คะแนนหรือระดบั ผลการเรียนร้แู ก่ผ้เู รียนแลว้ ตอ้ งนามาเป็นข้อมลู ใชป้ รับปรุงการเรียนการสอนต่อไปอกี ดว้ ย

3.2 การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายปี/
รายภาค ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การอนุมัติผลการเรียน การตัดสินการเลื่อนชั้นเรียน และเป็นการประเมินเพ่ือให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีสิ่งที่ต้องการได้รับการพัฒนาในด้านใด
ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ
หรือวธิ กี ารจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพอ่ื การจัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

3.3 การประเมินระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาตามมาตรฐานการเรยี นรูข้ องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษาตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดย

11

ประเมินคุณภาพของผู้เรียนด้วยวิธีการและเคร่ืองมือที่เป็นมาตรฐานซ่ึงจัดทาและดาเนินการโดยเขตพ้ืนที่การศึกษา
นอกจากนีย้ งั สามารถดาเนินการได้ดว้ ยการตรวจสอบข้อมลู จากการประเมินคุณภาพในระดับสถานศึกษา และ
เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา

3.4การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในระดับ
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เข้ารับการประเมิน
ผลจากการประเมนิ ใชเ้ ป็นข้อมูลในการเทียบเคยี งคุณภาพการศกึ ษาในระดบั ตา่ ง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผน
ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริม สนับสนุน
เพ่ือใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ีจาแนกตามสภาพปัญหาความต้องการ
ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
กลุ่มผู้เรียนท่ีพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษา
ในการดาเนินการชว่ ยเหลือผเู้ รยี นไดท้ นั ท่วงที อันเป็นโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จ
ในการเรยี น
2. แนวดาเนนิ การประเมนิ คณุ ภาพผเู รยี น (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2562

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ยึดหลักการกระจายอานาจการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบ
ทุกแหง่ เร่ิมต้งั แตก่ ารวางแผน การดาเนินงานบริหารจัดการ การตัดสินใจ และความรับผิดชอบ โดยมีแนวคิด
สาคัญ ดงั ต่อไปน้ี

ความหมายของการกระจายอานาจ
การกระจายอานาจ คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจจากภาครัฐส่วนกลาง
ให้แก่องค์กรอื่นใด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐส่วนภูมิภาค องค์กรอิสระ องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน
โดยเฉพาะภาคประชาชน ไปดาเนินการแทน ซ่ึงการถา่ ยโอนดังกล่าว อาจจะมีลักษณะเป็นการถ่ายโอนเฉพาะภารกิจ
ซึ่งเป็นการแบ่งภารกิจ ให้แก่องค์กรที่ได้รับการกระจายอานาจดาเนินการ หรือ เป็นการถ่ายโอนโดยยึดพ้ืนที่เป็นหลัก
ซึ่งเป็นการแบง่ พ้ืนที่เปน็ หนว่ ยงานยอ่ ยในการดาเนินการ
แนวคิดพน้ื ฐานเก่ยี วกับการกระจายอานาจ
การกระจายอานาจสู่ส่วนภมู ิภาค เปน็ ยุทธศาสตร์หนึ่งในการบริหารจัดการบ้านเมืองของรัฐ ในระบบ
ประชาธิปไตย โดยมุ่งลดบทบาทของรัฐส่วนกลาง (Decentralize) ลงเหลือภารกิจหลักเท่าท่ีต้องทา เท่าท่ีจาเป็น
และให้ประชาชนได้มีส่วนในการบริหารงานชุมชนส่วนภูมิภาค ตามเจตนารมณ์ของประชาชนมากขึ้น
การกระจายอานาจสสู่ ว่ นภมู ิภาค จงึ เปน็ การจดั ความสมั พนั ธท์ างอานาจหน้าที่ใหม่ ระหว่างส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค
ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพการณ์บ้านเมอื ง ที่เปลยี่ นแปลงไปในสภาวะท่ีสังคม มีกลุ่มที่หลากหลาย มีความต้องการ
และความคาดหวังจากรัฐท่ีเพ่ิมขึ้น และแตกต่างกัน ขัดแย้งกัน ในขณะที่รัฐเองก็มีขีดความสามารถและทรัพยากร

12

ที่จากัดในการตอบสนองปัญหา ความต้องการท่ีเกิดข้ึนในแต่ละส่วนภูมิภาคได้ทันต่อเหตุการณ์ และตรงกับ
ความต้องการของส่วนภูมิภาค โดยการกระจายอานาจจากส่วนกลางไปยังส่วนภูมิภาคจะดาเนินการกระจาย
ในส่ิงตอ่ ไปน้ี

1)การกระจายหน้าที่ เป็นการกระจายภารกิจหน้าท่ีจากส่วนกลางที่เป็นประโยชน์โดยตรงกับส่วนภูมิภาค
ให้ส่วนภมู ภิ าครับผดิ ชอบดาเนินการเอง

2) การกระจายอานาจการตัดสนิ ใจ เป็นการกระจายอานาจการตัดสนิ ใจดาเนนิ การตามหน้าที่
ท่ีสว่ นกลางกระจายไปใหส้ ว่ นภูมภิ าคดาเนนิ การ

3) การกระจายทรัพยากรการบรหิ าร เปน็ การกระจายบุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
ใหก้ บั สว่ นภูมิภาค

4) การกระจายความรับผิดชอบ เป็นการกระจายความรับผิดชอบต่อภารกิจ หน้าท่ี ท่ีรัฐกับผู้บริหาร
ส่วนภมู ิภาค และประชาชน ร่วมกันรบั ผิดชอบ

5) การกระจายความพร้อม เป็นการกระจายความพร้อม ที่มีอยู่ในส่วนกลางให้กับส่วนภูมิภาค เพื่อสร้าง
ขีดความสามารถให้แก่ส่วนภูมิภาค เป็นการทาให้ส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการส่วนภูมิภาคได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือประเมินความสามารถพ้ืนฐานของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 ในดา้ นภาษาไทย และด้านคณติ ศาสตร์

กลุ่มเปา้ หมาย
กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

ทุกคน

สาระท่สี อบและตารางสอบ
การประเมินใช้เครื่องมือเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ (Multiple choices) 4 ตัวเลือก

เขียนตอบสั้น และเขียนตอบอิสระ เป็นการวัดความสามารถด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์ ตามมาตรฐาน
ตัวช้ีวัดท่ีสัมพันธ์เชื่อมโยงในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยเน้นทักษะกระบวนการ
ทกั ษะการคิด สมรรถนะสาคัญจาเป็นทเี่ ปน็ พ้ืนฐานของผเู้ รยี น

ตารางสอบ
การประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 กาหนดสอบในวันที่ 4-6 มนี าคม 2563

รายละเอียดตามตารางสอบ ดังนี้

วนั สอบ เวลา วชิ า เวลาสอบ
90 นาที
วันพุธท่ี 4 มีนาคม 09.00 น.– 10.30 น. ความสามารถด้านคณติ ศาสตร์

2563 พกั 30 นาที

11.00 น.– 12.00 น. ความสามารถดา้ นภาษาไทย 60 นาที

13

ประกาศผลการสอบ
ประกาศผลการสอบวันที่ 30 เมษายน 2563

แนวคดิ เกีย่ วกับความโปร่งใสในการประเมนิ (Transparency)
การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ถือเป็นการประเมินคุณภาพ เพ่ือตรวจสอบและประเมินคุณภาพผู้เรียน

ในทุกสังกัดท่ีจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังนั้น การบริหารจัดการสอบจึงจาเป็นต้องมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน
ซึ่งจะส่งผลให้ผลที่ได้จากการประเมินคุณภาพผู้เรียนมีความน่าเช่ือ และเป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานต่าง ๆ
ในการทดสอบครง้ั นี้ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้กาหนดแนวปฏิบัติ เพ่ือความโปร่งใส
ในการบรหิ ารจดั การสอบ ดงั ตอ่ ไปนี้

1) การจัดสนามสอบ
ศูนย์สอบจัดสนามสอบ โดยกาหนด 1 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเป็น 1 สนามสอบ

(กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนอาจเรียกช่ือต่างกัน เช่น ศูนย์เครือข่าย กลุ่มคุณภาพ กลุ่มโรงเรียน เป็นต้น)
โดยกาหนดให้โรงเรียนท่ีเป็นสนามสอบ จะต้องมีผู้เรียนตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป ทั้งนี้ให้ศูนย์สอบเป็นผู้พิจารณา
เลือกโรงเรียนในกลุ่มท่ีมีความพร้อม ความเหมาะสมเพ่ือเป็นสนามสอบ หากมีความจาเป็น เช่น โรงเรียน
มีผเู้ รยี นจานวนมาก หรอื ผู้เรียนเดนิ ทางมาสอบลาบาก อาจให้โรงเรียนเหล่าน้ีเป็นสนามสอบก็ได้ ข้ึนอยู่กับดุลยพินิจ
ของคณะกรรมการระดบั ศูนยส์ อบ แต่ต้องคานึงถงึ ความโปรง่ ใสและยตุ ธิ รรมในการสอบ

2) การแต่งต้ังคณะกรรมการระดับสนามสอบ
ศูนย์สอบแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ประกอบด้วย ประธานสนามสอบ

กรรมการกลาง กรรมการคุมสอบ กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ กรรมการรับ -ส่งแบบทดสอบ
และกระดาษคาตอบ นักการภารโรง และกรรมการอื่น ๆ ตามความเหมาะสม สาหรับกรรมการคุมสอบ และ
กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ ต้องมาจากต่างสถานศึกษา หรือ ต่างกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่เป็นสนาม
สอบ โดยใช้วิธีการหมุนเวียนหรือสลับกัน ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ
แตต่ อ้ งคานงึ ถึงความโปร่งใสและยุติธรรมในการสอบ

3) การรับ-สง่ กลอ่ งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ
การจัดการรับ-ส่งกล่องแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ สานักงานคณะกรรมการ

การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานจะมีระบบการขนสง่ เอกสารทม่ี คี วามเคร่งครดั และปลอดภัยสงู
3.1) ในการรับส่งกล่องแบบทดสอบและกระดาษคาตอบในทุกศูนย์สอบ จะต้อง

ให้ผู้ประสานงานระดับศูนย์สอบเป็นผู้ลงนามทุกครั้ง และศูนย์สอบเก็บรักษากล่องแบบทดสอบและ
กระดาษคาตอบไวใ้ นหอ้ งมั่นคงหรือห้องท่ีปิดมดิ ชิด มผี ู้ที่คอยดแู ลตลอดเวลา

3.2) ศูนย์สอบส่งมอบแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ พร้อมเอกสารประกอบการสอบ
ให้กบั ประธานสนามสอบหรือตวั แทน ในตอนเชา้ ของวันสอบ

3.3) หลังจากเสร็จส้ินการสอบ ให้ประธานสนามสอบหรือตัวแทนท่ีมีหน้าที่รับ–ส่ง
กระดาษคาตอบระดับสนามสอบเป็นผรู้ บั ผิดชอบนาซองกระดาษคาตอบส่งมอบใหศ้ ูนย์สอบ

14

3.4) ศูนยส์ อบตรวจสอบความเรยี บร้อยของซองกระดาษคาตอบ บรรจุลงในกล่อง พร้อม
ส่งมอบให้สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

4) กล่องบรรจแุ บบทดสอบและกระดาษคาตอบ
การบรรจุแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

จะบรรจุแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ ใส่ซองแยกเป็นรายวิชา และนาซองข้อสอบท้ัง 2 วิชา มาจัดชุด แยกเป็น
รายห้องสอบและบรรจุใส่กล่อง โดยกล่องบรรจุแบบทดสอบต้องแข็งแรง และปิดผนึกด้วยเทปกาว อนุญาตให้
ประธานสนามสอบเปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบได้ไม่เกิน 1 ช่ัวโมงก่อนถึงเวลาสอบ ต่อหน้าตัวแทนกรรมการ
คมุ สอบ

5) การติดตามการบริหารการประเมิน
5.1) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ร่วมกับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

หรือหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาที่เข้าร่วมการทดสอบ ทาการติดตามตรวจเยี่ยมการ ประเมินตาม
มาตรฐาน โดยคณะกรรมการจากสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน จะสุ่มตรวจเย่ียมศูนย์สอบและ
สนามสอบ ในช่วงกอ่ นวนั สอบ วันสอบ และหลงั วันสอบ

5.2) ศนู ย์สอบตรวจเย่ียมสนามสอบในชว่ งก่อนวนั สอบ วันสอบ และหลังวนั สอบ

บทที่ 3

วิธีดาเนินการ

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
ดาเนินการตามนโยบายและแนวปฏบิ ัตกิ ารประเมนิ อยา่ งเครง่ ครดั ถูกตอ้ ง โปร่งใส และยตุ ิธรรม ดงั น้ี

ประชากร

ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 ทกุ คน จานวน 2,061 คน

เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการประเมิน

เครอื่ งมอื ประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 เป็นแบบทดสอบท่ีสานักทดสอบ
ทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสร้างและพัฒนาข้ึน สาหรับใช้วัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ท่ัวประเทศ

วธิ ีดาเนินการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 สานักงาน
เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มอบหมายให้เขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ัวประเทศเป็นศูนย์สอบ
และเพื่อใหก้ ารประเมนิ ตณุ ภาพผ้เู รียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 มปี ระสทิ ธิภาพและเปน็ มาตรฐานเดยี วกัน จงึ ได้ดาเนนิ การ ดังน้ี

1. ประชุมร่วมกับสานักทดสอบทางการศึกษาเพื่อกาหนดแผนปฏิบัติงานประเมินและตรวจสอบ
จานวนนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

2. ประชาสัมพันธก์ ารจดั สอบใหก้ ับผู้บรหิ ารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน
ผู้ปกครอง ชมุ ชนและผเู้ กย่ี วข้องใหท้ ราบถึงวัตถปุ ระสงค์และความสาคัญของการสอบ

3. แจ้งกาหนดวันเวลาสอบตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนดให้โรงเรียน
และผูเ้ กี่ยวขอ้ งทราบ

4. แจ้งโรงเรียนนาเข้าข้อมูลนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ผ่านระบบ NT Access เว็บไซต์
สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน http://nt.obec.go.th/ ระหว่างวันท่ี 12-30
พฤศจิกายน 2562

5. จดั สนามสอบ โดยกาหนด 1 กลุ่มโรงเรียนหรือโรงเรียนที่มีพื้นท่ีใกล้กันให้นักเรียนมาสอบรวมกัน
เป็น 1 สนามสอบ (หน่ึงสนามสอบหลายโรงเรียน) ซึ่งโรงเรียนท่ีเป็นสนามสอบ ต้องมีผู้เรียนตั้งแต่ 10 คน ข้ึนไป
โดยพจิ ารณาเลือกโรงเรียนในกลุ่มท่มี คี วามพรอ้ ม ความเหมาะสมเปน็ สนามสอบ จานวน 31 สนามสอบ และจัดสนามสอบ
โรงเรียนท่อี ย่หู ่างไกลมีนกั เรยี นเดินทางมาสอบลาบาก (หนึง่ สนามสอบหน่ึงโรงเรยี น) จานวน 3 สนามสอบ

6. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ งานระดบั ศนู ย์สอบ

16

7. แต่งต้ังคณะกรรมการระดับสนามสอบ โดยแต่งต้ังให้ผู้อานวยการโรงเรียนเป็นหัวหน้า
สนามสอบ กรรมการกลางและกรรมการคมุ สอบ เปน็ ครจู ากต่างกลุ่มเครอื ขา่ ยโรงเรียนท่ีเป็นสนามสอบ โดยใช้
วธิ ีการหมุนไขว้กัน

8. ประชุมช้ีแจงคณะกรรมการดาเนินงานการจัดสอบระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อกาหนด
แผนดาเนนิ งานตามนโยบาย หลักการ และแนวทางที่สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานกาหนด

9. ประชุมช้ีแจงแนวทางการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึษา 2562 ให้กับคณะกรรมการ
ระดบั สนามสอบ เพื่อดาเนินงานคู่มอื การจัดสอบอยา่ งเคร่งครัด

10 แตง่ ตั้งศึกษานิเทศก์เป็นตัวแทนศูนย์สอบไปประจาท่ีสนามสอบ เพ่ือทาหน้าท่ีเป็นผู้ดูแล
ความเรียบร้อยภายใน สนามสอบและทาหน้าที่ในการรับ-ส่งแบบทดสอบ กระดาษคาตอบ และการตรวจข้อสอบ
แบบเขยี นตอบ

11. กาหนดสถานท่ีรบั -สง่ กล่องแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ ระหว่างสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาและสนามสอบอยา่ งเคร่งครัดและปลอดภยั สูง

12. ดาเนินการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ในวันที่ 4 มีนาคม 2563 และตรวจข้อสอบแบบ
เขียนตอบในวันท่ี 5 มนี าคม 2563 ณ กลมุ่ โรงเรียน

13. ติดตามตรวจเย่ียมการประเมิน โดยผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา รองผู้อานวยการ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หัวหน้ากลุ่มงาน และผู้ท่ีได้รับมอบหมายและแต่งต้ังตามคาสั่ง ซึ่งจะสุ่มตรวจ
เยี่ยมศูนยส์ อบและสนามสอบในช่วงกอ่ นวันสอบ วนั สอบ และหลงั วนั สอบ

14. เม่ือการสอบเสร็จส้ิน ศูนย์สอบส่งกล่องกระดาษคาตอบให้สานักทดสอบทางการศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

15. สรุปผลและจัดทารายงานผลการดาเนินงานประเมินของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
แจ้งโรงเรยี นในสังกดั และผู้เกย่ี วข้องตอ่ ไป

การรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูล

การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2562 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
ได้ดาเนินการตามแนวทางและคู่มือการจัดสอบอย่างเคร่งครัดในทุกขั้นตอน เพื่อให้ได้ผลการทดสอบที่มี
คณุ ภาพและน่าเชอื่ ถือ

การตรวจและวิเคราะหข์ ้อมูล

1. สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดาเนินการวิเคราะห์ผลการประเมิน
คุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 และส่งรายงานผลการประเมินรายโรงเรียนไปยังโรงเรียนทาง
เวบ็ ไซต์ของสานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
http://180.180.244.48/NT/ExamWeb/MainEsa/MainEsa.aspx

17

2. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ดาเนินการวิเคราะห์ สรุป ประมวลผลคะแนน
เฉลี่ยภาพรวมในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จาแนกเป็นคะแนนผลการทดสอบรายโรงเรียนเฉลี่ยรวม 2 ด้าน ได้แก่
ความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพ
ผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2561 และ ปกี ารศกึ ษา 2562 และส่งรายงานผลการทดสอบ
ใหก้ บั โรงเรียนในสังกดั และผูม้ ีส่วนเก่ียวข้องเพื่อนาไปใชเ้ ป็นสารสนเทศในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาต่อไป

สถิตทิ ่ีใช้

สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ คา่ เฉล่ียร้อยละของคะแนนแต่ละด้านของการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3

บทท่ี 4

ผลการประเมนิ

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนในสังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 นําเสนอในรูปแบบค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนแต่ละด้าน
ของการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ดังนี้

ตาราง 1 ค่าเฉล่ยี ผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 รวม 2 ด้าน
เรียงจากมากไปหาน้อย

ตาราง 2 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562
ด้านภาษาไทย เรียงจากมากไปหาน้อย

ตาราง 3 ค่าเฉล่ียผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562
ด้านคณิตศาสตร์ เรยี งจากมากไปหานอ้ ย

ตาราง 4 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
ระดับกลุ่มโรงเรียน เรียงจากมากไปหาน้อย

ตาราง 5 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
และปีการศกึ ษา 2562 ภาพรวม เรียงจากมากไปหานอ้ ย

ตาราง 6 ค่าร้อยละเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2561
และปกี ารศกึ ษา 2562 เรยี งจากมากไปหาน้อย

19

ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 รวม 2 ดา้ น (ดา้ นภาษาไทย
และดา้ นคณติ ศาสตร์) เรยี งจากมากไปหาน้อย

ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตามวชิ า ระดบั ผลการทดสอบจาแนกตามวิชา

ลาดับ่ ชื่อโรงเรยี น ค่าเฉล่ยี ด้าน ค่าเฉล่ยี ด้าน ค่าเฉลีย่ รวม ดา้ น ดา้ น รวม 2
ท่ี คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย 2 ด้าน คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ด้าน
(รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
ระดบั ประเทศ 46.46 45.70 พอใช้ พอใช้ พอใช้
ระดับสงั กัด 44.94 46.00 45.82 พอใช้ พอใช้ พอใช้
ระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา 45.64 48.49 47.90 พอใช้ พอใช้ พอใช้
47.31 81.50 85.75 ดีมาก ดีมาก ดมี าก
1 บ้านดอนเฟอื ง 90.00 77.37 82.68 ดีมาก ดีมาก ดมี าก
2 บ้านนํ้าลดั 88.00 75.00 82.50 ดีมาก ดมี าก ดีมาก
3 บ้านหว้ ยส้ม 90.00 80.87 79.81 ดีมาก ดมี าก ดีมาก
4 บ้านนากอก 78.75 79.00 78.75 ดีมาก ดีมาก ดีมาก
5 บ้านไหล่น่าน 78.50 72.38 73.30 ดมี าก ดีมาก ดีมาก
6 บา้ นโป่งคํา 74.22 66.00 72.50 ดีมาก ดี ดีมาก
7 บา้ นปางชา้ ง 79.00 70.75 69.62
8 บา้ นนาผา 68.50 63.00 69.50 ดี ดี ดี
9 บ้านหัวนา 76.00 59.50 69.25 ดีมาก ดี ดี
10 รมิ ฝง่ั น่านวิทยา 79.00 70.00 69.09 ดีมาก ดี ดี
11 บา้ นปงสนุก 68.18 56.50 68.25
12 บา้ นน้ําครกใหม่ 80.00 64.95 68.02 ดี ดี ดี
13 ชุมชนบ้านบอ่ แกว้ 71.10 62.00 65.75 ดมี าก ดี ดี
14 บา้ นนาํ้ พุ 69.50 63.25 63.87 ดมี าก ดี ดี
15 ศรนี าช่ืน 64.50 59.00 63.70
16 บ้านศรบี ุญเรอื ง 68.40 51.50 62.25 ดี ดี ดี
17 อนบุ าลเมอื งลี 73.00 58.87 61.56 ดี ดี ดี
18 บ้านผาขวาง 64.25 56.20 60.50 ดี ดี ดี
19 บ้านเมืองจัง 64.80 67.12 60.43 ดีมาก ดี ดี
20 บา้ นสบยาง 53.75 ดี ดี ดี
21 บา้ นนํ้าอูน 59.40 60.40 ดี ดี ดี
22 บ้านห้วยนาย 61.40 57.00 60.00 ดี ดี ดี
23 บ้านห้วยแฮ้ว 63.00 62.07 59.67 ดี ดี ดี
24 บ้านกาใส 57.28 56.25 59.37 ดี ดี ดี
62.50 ดี ดี ดี
ดี ดี ดี

20

ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตามวิชา ระดับผลการทดสอบจาแนกตามวิชา

ลาดบั ช่ือโรงเรียน ค่าเฉล่ียด้าน คา่ เฉล่ยี ด้าน คา่ เฉลีย่ รวม ด้าน ดา้ น รวม 2 ด้าน
ที่ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย 2 ดา้ น คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ดี
(รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
25 บา้ นม่วงตด๊ึ ดี ดี
53.16 64.58 58.87

26 บ้านนาราบ 57.12 60.06 58.59 ดี ดี ดี

(จุลเกษตรศกึ ษาคาร)

27 บ้านดอนหล่ายทงุ่ 62.60 53.25 57.92 ดี ดี ดี

28 บา้ นเชยี งยืน 55.14 59.64 57.39 ดี ดี ดี

29 บา้ นนวราษฎร์ 52.00 62.40 57.20 ดี ดี ดี

30 บา้ นห้วยบง 54.25 56.75 55.50 ดี ดี ดี

30 บา้ นนากา้ 49.50 61.50 55.50 พอใช้ ดี ดี

32 บา้ นนาไค้ 58.50 52.42 55.46 ดี ดี ดี

33 บา้ นนายาง 55.36 54.90 55.13 ดี ดี ดี

34 บ้านหนองบัว 53.27 56.86 55.06 ดี ดี ดี

35 บ้านนา 53.83 55.70 54.77 ดี ดี ดี

36 บา้ นเปา 52.85 56.17 54.51 ดี ดี ดี

37 บ้านดอน (ศรีเสริม 55.28 53.64 54.46 ดี ดี ดี

กสกิ ร)

38 บ้านฝัง่ หมน่ิ 49.50 59.25 54.37 พอใช้ ดี ดี

39 หาดทรายทอง 53.33 55.33 54.33 ดี ดี ดี

วทิ ยาคาร

40 บ้านสนั ทะ 56.07 52.21 54.14 ดี ดี ดี

41 บา้ นห้วยละเบา้ ยา 44.00 64.00 54.00 พอใช้ ดี ดี

42 ราชานบุ าล 53.96 54.01 53.98 ดี ดี ดี

43 ชุมชนบ้านหลวง 49.33 57.87 53.60 พอใช้ ดี ดี

44 ดอนสะไมยว์ ทิ ยา 51.60 55.20 53.40 ดี ดี ดี

45 บา้ นไพรอดุ ม 53.50 53.00 53.25 ดี ดี ดี

46 ไตรธารวทิ ยา 54.83 51.58 53.20 ดี ดี ดี

47 บ้านปา่ หงุ่ 51.75 54.50 53.12 ดี ดี ดี

48 บ้านหนองรงั มติ รภาพ 54.71 51.28 53.00 ดี ดี ดี

ท่ี 107

49 บ้านนาหลา่ ย 45.00 60.50 52.75 พอใช้ ดี ดี

21

ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตามวิชา ระดับผลการทดสอบจาแนกตามวชิ า

ลาดับ ช่ือโรงเรยี น ค่าเฉลีย่ ด้าน คา่ เฉลยี่ ด้าน คา่ เฉลี่ยรวม ด้าน ดา้ น รวม 2
ท่ี คณิตศาสตร์ ภาษาไทย 2 ด้าน คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ด้าน
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)
50 ชมุ ชนบ้านนาคา 55.25 52.67 ดี ดี ดี
51 ชุมชนบา้ นด่ใู ต้ 50.09 ดี ดี ดี
52 วดั ทา่ ขา้ ม(สริ พิ รหมคณุ 51.87 52.43 พอใช้ ดี ดี
53.00
วิรุฬหศ์ ลี าจาร อุปถมั ภ์) 58.50 52.25
46.00
53 บา้ นหนองหา้ มิตรภาพ
ที่ 125 51.00 53.41 52.20 ดี ดี ดี

54 บ้านนาเคียน 49.00 54.37 51.68 พอใช้ ดี ดี
55 บา้ นนา้ํ หิน 45.20 57.90 51.55 พอใช้ ดี ดี
56 บา้ นตา้ ม 44.28 58.42 51.35 พอใช้ ดี ดี
57 บา้ นวงั ยาว 52.77 49.88 51.33
58 ชมุ ชนบ้านนาํ้ ปัว้ 50.08 52.16 51.12 ดี พอใช้ ดี
59 บา้ นส้าน 49.80 52.10 50.95 ดี ดี ดี
60 ชุมชนบ้านนาทะนงุ 48.26 53.06 50.66 พอใช้ ดี ดี
60 บ้านฮากฮาน 53.00 48.33 50.66 พอใช้ ดี ดี
62 บา้ นนาคา 48.60 52.50 50.55 ดี พอใช้ ดี
63 บา้ นทพั ม่าน 50.75 50.12 50.43 พอใช้ ดี ดี
64 ศรีเวียงสาวิทยาคาร 50.09 50.68 50.39 ดี ดี ดี
65 บ้านฟ้า 59.00 41.30 50.15 ดี ดี ดี
66 บา้ นน้ําแพะ 53.00 46.75 49.87 ดี พอใช้ ดี
67 บ้านสถาน 47.00 52.50 49.75 ดี พอใช้ พอใช้
68 บ้านขง่ึ งามมงคล 44.16 54.97 49.57 พอใช้ ดี พอใช้
69 จอมจนั ทร์วทิ ยาคาร 48.91 49.50 49.20 พอใช้ ดี พอใช้
70 บา้ นเป้า 46.78 51.46 49.12 พอใช้ พอใช้ พอใช้
70 บา้ นนาเหลืองใน 53.00 45.25 49.12 พอใช้ ดี พอใช้
72 บา้ นน้ําลี 53.00 44.50 48.75 ดี พอใช้ พอใช้
72 บ้านวงั ตาว 43.00 54.50 48.75 ดี พอใช้ พอใช้
74 บ้านพชื เจริญ 49.00 47.50 48.25 พอใช้ ดี พอใช้
75 บา้ นใหม่ 49.55 46.77 48.16 พอใช้ พอใช้ พอใช้
76 บ้านหาดเคด็ 49.72 45.81 47.77 พอใช้ พอใช้ พอใช้
77 บา้ นคาํ เรือง 38.50 57.00 47.75 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้ ดี พอใช้

22

ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตามวชิ า ระดบั ผลการทดสอบจาแนกตามวิชา

ลาดับ ชอื่ โรงเรยี น คา่ เฉลยี่ ด้าน ค่าเฉลี่ยดา้ น ค่าเฉลีย่ รวม ด้าน ด้าน รวม 2
ที่ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย 2 ดา้ น คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย ด้าน
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ)
78 บา้ นทุ่งน้อย 47.11 47.72 พอใช้ พอใช้ พอใช้
79 บา้ นแควง้ 48.33 55.56 47.46 พอใช้ ดี พอใช้
80 บ้านเรือง 39.37 51.70 46.95 พอใช้ ดี พอใช้
81 บ้านผาสิงห์ 42.20 49.90 46.85 พอใช้ พอใช้ พอใช้
82 บ้านปิงหลวง 43.80 45.44 46.50 พอใช้ พอใช้ พอใช้
83 บา้ นตอง 47.55 49.00 46.35 พอใช้ พอใช้ พอใช้
83 บา้ นนาํ้ ปูน 43.71 51.85 46.35 พอใช้ ดี พอใช้
85 บ้านด่พู งษ์ 40.85 52.77 46.21 พอใช้ ดี พอใช้
86 บ้านสะละภูเวียง 39.65 45.50 45.91 พอใช้ พอใช้ พอใช้
87 บา้ นทา่ มงคล 46.33 43.40 45.90 พอใช้ พอใช้ พอใช้
88 บ้านนํ้าเลา 48.40 49.00 45.75 พอใช้ พอใช้ พอใช้
89 ชุมชนบ้านอ้อย 42.50 43.24 45.72 พอใช้ พอใช้ พอใช้
90 ป่าแลวหลวงวทิ ยา 48.20 48.42 45.56 พอใช้ พอใช้ พอใช้
91 บา้ นจะเขภ้ หู อม 42.70 45.25 45.37 พอใช้ พอใช้ พอใช้
92 บา้ นครกคาํ 45.50 พอใช้ พอใช้ พอใช้
93 บ้านนาไลย 46.71 45.14 พอใช้ ดี พอใช้
94 บ้านไชยสถาน 43.57 54.50 45.00 พอใช้ พอใช้ พอใช้
95 บา้ นหลบั มืนพรวน 35.50 43.60 44.90 พอใช้ พอใช้ พอใช้
96 บา้ นปางเปย๋ 46.20 44.83 44.75 พอใช้ พอใช้ พอใช้
97 บ้านนาเหลืองไชยราม 44.66 43.41 44.72 พอใช้ พอใช้ พอใช้
98 ไทยรฐั วิทยา ๔๕ 46.03 44.00 44.59 พอใช้ พอใช้ พอใช้
45.18 44.61 44.25
(บา้ นดอนแท่น) 43.88
99 บา้ นธงหลวง
100 บา้ นบงุ้ 44.00 44.25 44.12 พอใช้ พอใช้ พอใช้
101 บ้านม่วงใหม่ 39.00 48.33 43.66 พอใช้ พอใช้ พอใช้
102 บ้านวงั หมอ 49.00 38.05 43.52 พอใช้ พอใช้ พอใช้
103 ทุ่งศรที อง 40.00 47.00 43.50 พอใช้ พอใช้ พอใช้
104 บ้านแมข่ ะนิง 45.00 41.21 43.10 พอใช้ พอใช้ พอใช้
105 บ้านหัวเวยี งเหนือ 44.63 40.86 42.75 พอใช้ พอใช้ พอใช้
45.33 39.66 42.50 พอใช้ พอใช้ พอใช้

23

ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตามวิชา ระดับผลการทดสอบจาแนกตามวิชา

ลาดับ ชือ่ โรงเรียน ค่าเฉลีย่ ด้าน ค่าเฉล่ียดา้ น คา่ เฉลีย่ รวม ดา้ น ด้าน รวม 2
ที่ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย 2 ด้าน คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย ดา้ น
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)
106 บา้ นน้ําปาย พอใช้ พอใช้ พอใช้
42.85 41.07 41.96 พอใช้ พอใช้ พอใช้

107 บ้านเชตวัน 36.50 46.50 41.50 พอใช้ ดี พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
107 บ้านน้ําหก 32.00 51.00 41.50 พอใช้
พอใช้ ดี พอใช้
107 บา้ นม่วงเจรญิ ราษฎร์ 40.50 42.50 41.50 ปรับปรุง พอใช้ พอใช้
พอใช้
110 บ้านหว้ ยหลอด 30.50 52.00 41.25 พอใช้ ดี พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
111 บ้านคา้ งอ้อย 43.37 38.75 41.06 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้
112 บ้านหว้ ยปกุ 25.00 56.50 40.75 พอใช้ ดี พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
113 บ้านนํ้างาว 38.52 42.55 40.54 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
114 บ้านศาลา 43.50 37.50 40.50 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้ พอใช้
115 ชมุ ชนบ้านนาหลวง 28.75 52.12 40.43 พอใช้ พอใช้
พอใช้ พอใช้
116 บา้ นนํา้ มวบ 34.00 46.85 40.42

117 บา้ นพใี้ ต้ 41.00 39.66 40.33

118 บ้านกอ้ 39.70 40.85 40.27

119 บ้านม่วงเนิ้ง 30.00 47.87 38.93

120 บ้านหวั เมอื ง 36.92 40.84 38.88

121 บา้ นห้วยมอญ 35.85 41.71 38.78

122 บา้ นห้วยเฮือ 33.00 44.50 38.75

สาขาห้วยระพี

123 บา้ นถืมตอง 30.00 47.12 38.56 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
124 บา้ นนาํ้ เคิม 43.00 33.00 38.00 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
124 บา้ นหว้ ยเฮอื 36.25 39.75 38.00 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
126 บา้ นพี้เหนือ 34.16 41.58 37.87 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
127 บา้ นชมพู 28.12 47.43 37.78 พอใช้ พอใช้ พอใช้
พอใช้ พอใช้ พอใช้
128 บ้านปางสา 33.00 42.50 37.75 พอใช้ พอใช้ พอใช้

129 ชมุ ชนบ้านใหม่ 39.21 36.26 37.73

130 บา้ นน้ําแก่นเหนอื 38.77 36.50 37.63

131 บา้ นป่าแดด 33.33 41.66 37.50

132 บ้านสะเลียม 34.42 40.14 37.28

133 บา้ นสองแคว 34.40 38.36 36.38

24

ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตามวิชา ระดับผลการทดสอบจาแนกตามวิชา

ลาดับ ช่อื โรงเรยี น ค่าเฉลย่ี ด้าน ค่าเฉล่ยี ดา้ น คา่ เฉล่ยี รวม ดา้ น ดา้ น รวม 2
ท่ี คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย 2 ดา้ น คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ดา้ น
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
134 บ้านนํ้าแก่นกลาง 30.50 36.25 พอใช้ ปรบั ปรุง พอใช้
134 บา้ นสาคร 42.00 พอใช้ พอใช้ พอใช้
136 บา้ นปา่ สัก 43.30 36.25 พอใช้ พอใช้ พอใช้
137 บา้ นกว่ิ นา้ํ 29.20 พอใช้ พอใช้ พอใช้
138 บ้านน้ําลัดสบแกน่ 34.30 35.95 พอใช้ พอใช้ พอใช้
138 บ้านห้วยมอญ 37.60 พอใช้ พอใช้ พอใช้
32.87 35.93
สาขาใหมใ่ นฝัน 39.00
140 บ้านน้ําโคง้ 41.00 35.50
141 ริมฝ่ังวา้ วิทยา 30.00
142 บ้านสา้ นนาหนองใหม่ 34.66 35.50
143 บา้ นน้าํ พาง 36.33
144 บ้านปิงใน
145 บ้านเชียงของ 36.38 34.40 35.39 พอใช้ พอใช้ พอใช้
146 ราษฎร์รฐั พฒั นา 40.50 30.00 35.25 พอใช้ ปรับปรงุ พอใช้
147 บา้ นห้วยไฮ 29.66 40.41 35.04 พอใช้ พอใช้ พอใช้
32.75 37.31 35.03 พอใช้ พอใช้ พอใช้
148 บ้านศรนี ามา่ น 34.66 35.16 34.91 พอใช้ พอใช้ พอใช้
149 บา้ นสาลีก 29.33 38.66 34.00 พอใช้ พอใช้ พอใช้
150 บ้านหว้ ยนํา้ อุ่น 23.50 44.12 33.81 ปรับปรุง พอใช้ พอใช้
151 บ้านสันตภิ าพ 33.00 34.25 33.62 พอใช้ พอใช้ พอใช้
152 ประกิตเวชศกั ดิ์
153 บา้ นนาํ้ เกี๋ยน 29.09 37.90 33.50 พอใช้ พอใช้ พอใช้
154 บ้านน้าํ ตวง 23.66 41.83 32.75 ปรับปรงุ พอใช้ พอใช้
155 บา้ นหว้ ยเลา 25.90 36.70 31.30 ปรบั ปรงุ พอใช้ พอใช้
156 บา้ นดอนไพรวัลย์ 28.00 33.00 30.50 พอใช้ พอใช้ พอใช้
157 บา้ นซาวหลวง 32.35 28.19 30.27 พอใช้ ปรับปรงุ พอใช้
158 บา้ นบอ่ หอย 36.62 23.37 30.00 พอใช้ ปรบั ปรุง พอใช้
159 บา้ นอ่ายนาผา 33.03 25.91 29.47 พอใช้ ปรบั ปรงุ พอใช้
160 บา้ นร่มเกล้า 25.00 33.62 29.31 ปรับปรุง พอใช้ พอใช้
161 บา้ นสาลี่ 26.00 31.50 28.75 ปรบั ปรุง พอใช้ ปรบั ปรงุ
25.45 31.22 28.34 ปรบั ปรุง พอใช้ ปรับปรงุ
27.20 25.43 26.31 พอใช้ ปรบั ปรงุ ปรบั ปรงุ
18.50 33.00 25.75 ปรบั ปรงุ พอใช้ ปรบั ปรงุ
23.26 27.81 25.53 ปรบั ปรงุ ปรับปรุง ปรับปรงุ
21.80 26.50 24.15 ปรับปรงุ ปรับปรุง ปรับปรุง

25

ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตามวิชา ระดับผลการทดสอบจาแนกตามวชิ า

ลาดับ ชอื่ โรงเรียน คา่ เฉลีย่ ด้าน คา่ เฉล่ยี ด้าน ค่าเฉล่ยี รวม ด้าน ด้าน รวม 2
ที่ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย 2 ดา้ น คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย ด้าน
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)
162 ภเู คง็ พฒั นา ปรับปรงุ ปรับปรุง ปรบั ปรงุ
163 บา้ นพะเยา 22.77 25.05 23.91 ปรับปรุง ปรับปรงุ ปรับปรงุ
164 บา้ นผาตบู ปรบั ปรุง ปรับปรงุ ปรบั ปรงุ
165 บ้านนาซาว 15.00 24.50 19.75 ปรบั ปรุง ปรบั ปรงุ ปรบั ปรุง
166 บ้านพรหม ปรับปรุง ปรับปรงุ ปรับปรงุ
นักเรยี นพเิ ศษเรยี นรวม และ Walk in

นกั เรยี นพิเศษเรยี นรวม

นักเรียนพเิ ศษเรียนรวม

จากตาราง ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ีย
ระดับประเทศ รวม 2 ด้าน ร้อยละ 45.70 และระดับผลการทดสอบรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับพอใช้ ค่าเฉลี่ยระดับสังกัด
รวม 2 ด้าน ร้อยละ 45.82 และระดับผลการทดสอบรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับพอใช้ ค่าเฉล่ียระดับเขตพื้นที่การศึกษา
รวม 2 ด้าน ร้อยละ 47.90 และระดบั ผลการทดสอบรวม 2 ด้าน อยใู่ นระดบั พอใช้

เมอ่ื พจิ ารณา พบว่า โรงเรียนบ้านดอนเฟือง มีผลการทดสอบเฉลี่ยรวม 2 ด้านสูงสุด ร้อยละ 85.75 และระดับ
ผลการทดสอบรวม 2 ดา้ น อยใู่ นระดบั ดีมาก รองลงมา คือ โรงเรยี นบา้ นนาํ้ ลัด มผี ลการทดสอบเฉล่ียรวม 2 ด้าน
ร้อยละ 82.68 และระดับผลการทดสอบรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับดีมาก โรงเรียนบ้านห้วยส้ม มีผลการทดสอบเฉลี่ย
รวม 2 ด้าน ร้อยละ 82.50 และระดับผลการทดสอบรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับดีมาก ตามลําดับและโรงเรียน
บา้ นพะเยา มผี ลการทดสอบเฉลี่ยรวม 2 ด้านตํ่าสุด ร้อยละ 19.75 และระดับผลการทดสอบรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับ
ปรับปรุง ส่วนโรงเรยี นบ้านผาตูบ โรงเรียนบา้ นนาซาว และโรงเรียนบา้ นพรหม นักเรียนที่เข้าสอบเป็นนักเรียน
พเิ ศษเรียนรวม จึงไมม่ ีผลการทดสอบ

26

ตาราง 2 ผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 ดา้ นภาษาไทย
เรียงจากมากไปหาน้อย

ลาดับท่ี ช่ือโรงเรยี น ผลคะแนนการทดสอบ ระดบั ผลการทดสอบ
ด้านภาษาไทย ด้านภาษาไทย
1 บ้านดอนเฟือง (ร้อยละ)
2 บา้ นนากอก 81.50 ดีมาก
3 บ้านไหล่น่าน 80.87 ดีมาก
4 บ้านนํ้าลัด 79.00 ดีมาก
5 บ้านหว้ ยสม้ 77.37 ดีมาก
6 บา้ นโปง่ คํา 75.00 ดมี าก
7 บา้ นนาผา 72.38 ดมี าก
8 บ้านปงสนกุ 70.75
9 บา้ นสบยาง 70.00 ดี
10 บา้ นปางชา้ ง 67.12 ดี
11 ชมุ ชนบา้ นบ่อแกว้ 66.00 ดี
12 บ้านม่วงต๊ึด 64.95 ดี
13 บา้ นห้วยละเบา้ ยา 64.58 ดี
14 ศรนี าชน่ื 64.00 ดี
15 บ้านหัวนา 63.25 ดี
16 บ้านนวราษฎร์ 63.00 ดี
17 บา้ นห้วยแฮว้ 62.40 ดี
18 บา้ นนาํ้ พุ 62.07 ดี
19 บ้านนาก้า 62.00 ดี
20 บ้านนาหล่าย 61.50 ดี
21 บ้านนาราบ (จลุ เกษตรศกึ ษาคาร) 60.50 ดี
22 บ้านเชยี งยนื 60.06 ดี
23 รมิ ฝง่ั น่านวทิ ยา 59.64 ดี
59.50 ดี
ดี

27

ลาดับท่ี ชอ่ื โรงเรียน ผลคะแนนการทดสอบ ระดับผลการทดสอบ
ด้านภาษาไทย ด้านภาษาไทย
24 บ้านนํ้าอูน (รอ้ ยละ)
25 บ้านฝั่งหมิ่น 59.40 ดี
26 บ้านศรีบญุ เรือง 59.25 ดี
27 บา้ นผาขวาง 59.00 ดี
28 วัดท่าขา้ ม(สิรพิ รหมคณุ วิรฬุ ห์ศีลาจาร อปุ ถมั ภ์) 58.87 ดี
29 บา้ นต้าม 58.50 ดี
30 บา้ นนา้ํ หิน 58.42 ดี
31 ชมุ ชนบ้านหลวง 57.90 ดี
32 บา้ นห้วยนาย 57.87 ดี
32 บา้ นคําเรือง 57.00 ดี
34 บ้านหนองบัว 57.00 ดี
35 บา้ นห้วยบง 56.86 ดี
36 บ้านน้าํ ครกใหม่ 56.75 ดี
36 บ้านหว้ ยปุก 56.50 ดี
38 บา้ นกาใส 56.50 ดี
39 บา้ นเมอื งจงั 56.25 ดี
40 บ้านเปา 56.20 ดี
41 บ้านนา 56.17 ดี
42 บา้ นแควง้ 55.70 ดี
43 หาดทรายทองวิทยาคาร 55.56 ดี
44 ชุมชนบ้านนาคา 55.33 ดี
45 ดอนสะไมย์วทิ ยา 55.25 ดี
46 บา้ นข่ึงงามมงคล 55.20 ดี
47 บ้านนายาง 54.97 ดี
48 บา้ นปา่ หุง่ 54.90 ดี
54.50 ดี

28

ลาดบั ท่ี ชื่อโรงเรียน ผลคะแนนการทดสอบ ระดับผลการทดสอบ
ด้านภาษาไทย ด้านภาษาไทย
48 บา้ นวังตาว (ร้อยละ)
48 บ้านนาไลย 54.50 ดี
51 บ้านนาเคยี น 54.50 ดี
52 ราชานุบาล 54.37 ดี
53 บา้ นดอน(ศรเี สริมกสิกร) 54.01 ดี
54 บ้านหนองหา้ มิตรภาพท่ี 125 53.64 ดี
55 บา้ นดอนหลา่ ยทุ่ง 53.41 ดี
56 ชุมชนบ้านนาทะนงุ 53.25 ดี
57 บ้านไพรอุดม 53.06 ดี
58 บ้านดู่พงษ์ 53.00 ดี
59 บา้ นนาคา 52.77 ดี
59 บา้ นสถาน 52.50 ดี
61 บ้านนาไค้ 52.50 ดี
62 บ้านสนั ทะ 52.42 ดี
63 ชุมชนบา้ นนํา้ ป้ัว 52.21 ดี
64 ชมุ ชนบา้ นนาหลวง 52.16 ดี
65 บา้ นสา้ น 52.12 ดี
66 บา้ นห้วยหลอด 52.10 ดี
67 ชุมชนบ้านดู่ใต้ 52.00 ดี
68 บ้านนาํ้ ปนู 51.87 ดี
69 บา้ นเรอื ง 51.85 ดี
70 ไตรธารวทิ ยา 51.70 ดี
71 อนุบาลเมืองลี 51.58 ดี
72 บา้ นเป้า 51.50 ดี
73 บา้ นหนองรังมติ รภาพท่ี 107 51.46 ดี
51.28 ดี

29

ลาดบั ท่ี ชอื่ โรงเรียน ผลคะแนนการทดสอบ ระดบั ผลการทดสอบ
ด้านภาษาไทย ดา้ นภาษาไทย
74 บา้ นน้ําหก (รอ้ ยละ)
75 ศรเี วยี งสาวิทยาคาร 51.00 ดี
76 บา้ นทพั ม่าน 50.68 ดี
77 บา้ นผาสิงห์ 50.12 ดี
78 บา้ นวงั ยาว 49.90 พอใช้
79 จอมจันทร์วิทยาคาร 49.88 พอใช้
80 บา้ นตอง 49.50 พอใช้
80 บา้ นน้ําเลา 49.00 พอใช้
82 ปา่ แลวหลวงวิทยา 49.00 พอใช้
83 บ้านฮากฮาน 48.42 พอใช้
84 บา้ นบงุ้ 48.33 พอใช้
85 บา้ นมว่ งเน้งิ 48.33 พอใช้
86 บ้านพืชเจริญ 47.87 พอใช้
87 บา้ นชมพู 47.50 พอใช้
88 บา้ นถืมตอง 47.43 พอใช้
89 บ้านทงุ่ น้อย 47.12 พอใช้
90 บ้านวังหมอ 47.11 พอใช้
91 บา้ นน้ํามวบ 47.00 พอใช้
92 บา้ นใหม่ 46.85 พอใช้
93 บา้ นนํา้ แพะ 46.77 พอใช้
94 บา้ นครกคํา 46.75 พอใช้
95 บา้ นเชตวนั 46.71 พอใช้
96 บ้านหาดเคด็ 46.50 พอใช้
97 บ้านสะละภูเวยี ง 45.81 พอใช้
98 บา้ นปงิ หลวง 45.50 พอใช้
45.44 พอใช้

30

ลาดับท่ี ช่อื โรงเรียน ผลคะแนนการทดสอบ ระดับผลการทดสอบ
ด้านภาษาไทย ด้านภาษาไทย
99 บา้ นนาเหลืองใน (รอ้ ยละ)
99 บา้ นจะเขภ้ ูหอม 45.25 พอใช้
101 บ้านหลบั มนื พรวน 45.25 พอใช้
102 ไทยรฐั วิทยา 45 (บ้านดอนแท่น) 44.83 พอใช้
103 บา้ นนํ้าลี 44.61 พอใช้
103 บา้ นหว้ ยเฮือสาขาห้วยระพี 44.50 พอใช้
105 บ้านธงหลวง 44.50 พอใช้
106 ราษฎร์รฐั พัฒนา 44.25 พอใช้
107 บ้านนาเหลอื งไชยราม 44.12 พอใช้
108 บ้านไชยสถาน 44.00 พอใช้
109 บ้านปางเป๋ย 43.60 พอใช้
110 บา้ นท่ามงคล 43.41 พอใช้
111 บ้านสาคร 43.40 พอใช้
112 ชุมชนบา้ นอ้อย 43.30 พอใช้
113 บา้ นน้าํ งาว 43.24 พอใช้
114 บา้ นมว่ งเจรญิ ราษฎร์ 42.55 พอใช้
114 บา้ นปางสา 42.50 พอใช้
116 บา้ นสาลีก 42.50 พอใช้
117 บา้ นห้วยมอญ 41.83 พอใช้
118 บ้านป่าแดด 41.71 พอใช้
119 บา้ นพีเ้ หนือ 41.66 พอใช้
120 บา้ นฟา้ 41.58 พอใช้
121 ทงุ่ ศรีทอง 41.30 พอใช้
122 บ้านน้ําปาย 41.21 พอใช้
123 บ้านนํ้าลัดสบแก่น 41.07 พอใช้
41.00 พอใช้

31

ลาดับท่ี ช่ือโรงเรยี น ผลคะแนนการทดสอบ ระดับผลการทดสอบ
ด้านภาษาไทย ด้านภาษาไทย
124 บ้านแม่ขะนงิ (รอ้ ยละ)
125 บ้านก้อ 40.86 พอใช้
126 บ้านหวั เมือง 40.85 พอใช้
127 บ้านสา้ นนาหนองใหม่ 40.84 พอใช้
128 บา้ นสะเลียม 40.41 พอใช้
129 บ้านหว้ ยเฮอื 40.14 พอใช้
130 บา้ นหัวเวยี งเหนือ 39.75 พอใช้
131 บา้ นพใ้ี ต้ 39.66 พอใช้
132 บา้ นค้างออ้ ย 39.66 พอใช้
133 บา้ นเชียงของ 38.75 พอใช้
134 บา้ นสองแคว 38.66 พอใช้
135 บ้านมว่ งใหม่ 38.36 พอใช้
136 บ้านศรีนามา่ น 38.05 พอใช้
137 บา้ นศาลา 37.90 พอใช้
138 บา้ นนํา้ พาง 37.50 พอใช้
139 บ้านห้วยนา้ํ อ่นุ 37.31 พอใช้
140 บ้านนาํ้ แกน่ เหนือ 36.70 พอใช้
141 ชมุ ชนบ้านใหม่ 36.50 พอใช้
142 บา้ นปงิ ใน 36.26 พอใช้
143 บา้ นหว้ ยมอญสาขาใหม่ในฝัน 35.16 พอใช้
144 บ้านนํา้ โค้ง 34.66 พอใช้
145 บ้านป่าสกั 34.40 พอใช้
146 บ้านหว้ ยไฮ 34.30 พอใช้
147 บา้ นหว้ ยเลา 34.25 พอใช้
148 บ้านน้าํ เคมิ 33.62 พอใช้
33.00 พอใช้

32

ลาดบั ท่ี ช่อื โรงเรยี น ผลคะแนนการทดสอบ ระดบั ผลการทดสอบ
ดา้ นภาษาไทย ด้านภาษาไทย
148 บา้ นสันตภิ าพ (รอ้ ยละ)
148 บ้านอ่ายนาผา 33.00 พอใช้
151 บา้ นกวิ่ น้ํา 33.00 พอใช้
152 บ้านดอนไพรวัลย์ 32.87 พอใช้
153 บา้ นซาวหลวง 31.50 พอใช้
154 บา้ นนาํ้ แกน่ กลาง 31.22 พอใช้
155 ริมฝ่งั ว้าวิทยา 30.50 ปรับปรุง
156 ประกิตเวชศักด์ิ 30.00 ปรับปรงุ
157 บา้ นร่มเกล้า 28.19 ปรบั ปรุง
158 บา้ นสาลี่ 27.81 ปรบั ปรุง
159 บ้านนาํ้ ตวง 26.50 ปรบั ปรงุ
160 บ้านบ่อหอย 25.91 ปรับปรุง
161 ภูเคง็ พฒั นา 25.43 ปรบั ปรุง
162 บ้านพะเยา 25.05 ปรับปรงุ
163 บา้ นนํา้ เก๋ยี น 24.50 ปรับปรุง
164 บา้ นผาตบู 23.37 ปรบั ปรงุ
ปรบั ปรุง
165 บ้านนาซาว นักเรียนพเิ ศษเรยี นรวม
ปรบั ปรุง
166 บา้ นพรหม นกั เรียนพิเศษเรยี นรวม
ปรบั ปรงุ
นักเรยี นพเิ ศษเรียนรวม

จากตาราง ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ด้านภาษาไทย
พบว่า โรงเรียนบ้านดอนเฟือง มีผลคะแนนการทดสอบด้านภาษาไทยสูงสุด ร้อยละ 81.50 และระดับผลการทดสอบ
อยู่ในระดับดีมาก รองลงมา คือ โรงเรียนบ้านนากอก มีผลคะแนนการทดสอบด้านภาษาไทย ร้อยละ 80.87 และระดับ
ผลการทดสอบ อยู่ในระดับดีมาก โรงเรียนบ้านไหล่น่าน มีผลคะแนนการทดสอบด้านภาษาไทย ร้อยละ 79.00 และระดับ
ผลการทดสอบ อยู่ในระดับดีมาก ตามลําดับ และโรงเรียนบ้านนํ้าเก๋ียน มีผลคะแนนการทดสอบด้านภาษาไทยตํ่าสุด
ร้อยละ 23.37 และระดับผลการทดสอบ อยู่ในระดับปรับปรงุ ส่วนโรงเรียนบ้านผาตูบ โรงเรียนบ้านนาซาว และโรงเรียน
บา้ นพรหม นักเรียนท่ีเขา้ สอบเป็นนกั เรยี นพิเศษเรยี นรวม จงึ ไมม่ ผี ลการทดสอบ

33

ตาราง 3 ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 ดา้ นคณิตศาสตร์
เรยี งจากมากไปหาน้อย

ลาดับท่ี ช่อื โรงเรยี น ผลคะแนนการทดสอบ ระดบั ผลการทดสอบ
ด้านคณิตศาสตร์ ดา้ นคณิตศาสตร์
1 บา้ นดอนเฟือง (ร้อยละ)
1 บ้านหว้ ยสม้ 90.00 ดีมาก
3 บา้ นนํา้ ลัด 90.00 ดมี าก
3 บา้ นน้าํ ครกใหม่ 88.00 ดมี าก
5 บ้านปางชา้ ง 80.00 ดีมาก
5 ริมฝ่ังน่านวิทยา 79.00 ดมี าก
7 บา้ นนากอก 79.00 ดมี าก
8 บ้านไหลน่ ่าน 78.75 ดมี าก
9 บ้านหวั นา 78.50 ดีมาก
10 บ้านโปง่ คาํ 76.00 ดีมาก
11 อนบุ าลเมอื งลี 74.22 ดีมาก
12 ชุมชนบา้ นบอ่ แกว้ 73.00 ดีมาก
13 บา้ นน้ําพุ 71.10 ดีมาก
14 บ้านนาผา 69.50
15 บา้ นศรีบุญเรอื ง 68.50 ดี
16 บ้านปงสนุก 68.40 ดี
17 บา้ นเมืองจัง 68.18 ดี
18 ศรีนาชน่ื 64.80 ดี
19 บ้านผาขวาง 64.50 ดี
20 บา้ นหว้ ยนาย 64.25 ดี
21 บา้ นดอนหล่ายทุง่ 63.00 ดี
22 บา้ นกาใส 62.60 ดี
23 บ้านนาํ้ อูน 62.50 ดี
61.40 ดี
ดี

34

ลาดับท่ี ชอ่ื โรงเรยี น ผลคะแนน ระดับผลการทดสอบ
การทดสอบ ด้านคณิตศาสตร์
24 บ้านฟ้า ด้านคณติ ศาสตร์
25 บ้านนาไค้ (รอ้ ยละ) ดี
26 บา้ นห้วยแฮว้ ดี
27 บ้านนาราบ (จลุ เกษตรศกึ ษาคาร) 59.00 ดี
28 บ้านสนั ทะ 58.50 ดี
29 บา้ นนายาง 57.28 ดี
30 บ้านดอน (ศรีเสรมิ กสิกร) 57.12 ดี
31 บา้ นเชยี งยนื 56.07 ดี
32 ไตรธารวิทยา 55.36 ดี
33 บา้ นหนองรงั มิตรภาพที่ 107 55.28 ดี
34 บา้ นห้วยบง 55.14 ดี
35 ราชานบุ าล 54.83 ดี
36 บ้านนา 54.71 ดี
37 บา้ นสบยาง 54.25 ดี
38 บา้ นไพรอดุ ม 53.96 ดี
39 หาดทรายทองวิทยาคาร 53.83 ดี
40 บา้ นหนองบัว 53.75 ดี
41 บ้านม่วงต๊ดึ 53.50 ดี
42 ชมุ ชนบ้านดู่ใต้ 53.33 ดี
42 บา้ นฮากฮาน 53.27 ดี
42 บา้ นน้าํ แพะ 53.16 ดี
42 บ้านนาเหลืองใน 53.00 ดี
42 บ้านนํ้าลี 53.00 ดี
47 บ้านเปา 53.00 ดี
53.00 ดี
53.00
52.85

35

ลาดบั ท่ี ชอื่ โรงเรียน ผลคะแนนการทดสอบ ระดบั ผลการทดสอบ
ด้านคณติ ศาสตร์ ดา้ นคณติ ศาสตร์
48 บา้ นวังยาว (ร้อยละ)
49 บ้านนวราษฎร์ 52.77 ดี
50 บา้ นป่าหุ่ง 52.00 ดี
51 ดอนสะไมย์วิทยา 51.75 ดี
52 บ้านหนองหา้ มติ รภาพที่ 125 51.60 ดี
53 บา้ นทพั ม่าน 51.00 ดี
54 ชมุ ชนบ้านนาคา 50.75 ดี
55 ศรีเวียงสาวทิ ยาคาร 50.09 ดี
56 ชมุ ชนบา้ นนํา้ ปว้ั 50.09 ดี
57 บ้านส้าน 50.08 ดี
58 บา้ นหาดเคด็ 49.80 พอใช้
59 บ้านใหม่ 49.72 พอใช้
60 บา้ นนาก้า 49.55 พอใช้
61 บ้านฝ่ังหมิ่น 49.50 พอใช้
62 ชมุ ชนบา้ นหลวง 49.50 พอใช้
63 บา้ นนาเคียน 49.33 พอใช้
63 บา้ นพชื เจริญ 49.00 พอใช้
63 บ้านมว่ งใหม่ 49.00 พอใช้
66 จอมจนั ทร์วทิ ยาคาร 49.00 พอใช้
67 บา้ นนาคา 48.91 พอใช้
68 บา้ นทา่ มงคล 48.60 พอใช้
69 บ้านทุ่งนอ้ ย 48.40 พอใช้
70 ชุมชนบา้ นนาทะนุง 48.33 พอใช้
71 ชุมชนบา้ นอ้อย 48.26 พอใช้
72 บา้ นปิงหลวง 48.20 พอใช้
47.55 พอใช้

36

ลาดบั ท่ี ชอ่ื โรงเรยี น ผลคะแนนการทดสอบ ระดับผลการทดสอบ
ดา้ นคณิตศาสตร์ ดา้ นคณติ ศาสตร์
73 บ้านสถาน (ร้อยละ)
74 บ้านเปา้ 47.00 พอใช้
75 บา้ นสะละภูเวยี ง 46.78 พอใช้
76 บา้ นไชยสถาน 46.33 พอใช้
77 บ้านปางเป๋ย 46.20 พอใช้
78 วัดท่าข้าม(สิริพรหมคุณ วิรุฬห์ศีลาจาร 46.03 พอใช้
อุปถัมภ)์ 46.00 พอใช้
79 บ้านจะเขภ้ ูหอม
80 บ้านหวั เวียงเหนอื 45.50 พอใช้
81 บ้านนํ้าหิน 45.33 พอใช้
82 บ้านนาเหลอื งไชยราม 45.20 พอใช้
83 บา้ นนาหลา่ ย 45.18 พอใช้
83 ทงุ่ ศรที อง 45.00 พอใช้
85 บ้านหลับมนื พรวน 45.00 พอใช้
86 บา้ นแม่ขะนงิ 44.66 พอใช้
87 บ้านต้าม 44.63 พอใช้
88 บา้ นขง่ึ งามมงคล 44.28 พอใช้
89 บา้ นหว้ ยละเบ้ายา 44.16 พอใช้
89 บ้านธงหลวง 44.00 พอใช้
91 ไทยรฐั วิทยา ๔๕ (บ้านดอนแทน่ ) 44.00 พอใช้
92 บา้ นผาสงิ ห์ 43.88 พอใช้
93 บ้านตอง 43.80 พอใช้
94 บ้านครกคาํ 43.71 พอใช้
95 บ้านศาลา 43.57 พอใช้
96 บา้ นค้างออ้ ย 43.50 พอใช้
43.37 พอใช้

37

ลาดบั ท่ี ช่ือโรงเรยี น ผลคะแนนการทดสอบ ระดับผลการทดสอบ
ด้านคณติ ศาสตร์ ด้านคณติ ศาสตร์
97 บา้ นวังตาว (ร้อยละ)
97 บ้านน้ําเคิม 43.00 พอใช้
99 บ้านน้ําปาย 43.00 พอใช้
100 ปา่ แลวหลวงวิทยา 42.85 พอใช้
101 บา้ นน้ําเลา 42.70 พอใช้
102 บา้ นเรอื ง 42.50 พอใช้
102 บา้ นนํา้ แก่นกลาง 42.20 พอใช้
104 บ้านพี้ใต้ 42.00 พอใช้
105 บ้านน้ําปูน 41.00 พอใช้
106 บา้ นม่วงเจรญิ ราษฎร์ 40.85 พอใช้
106 ริมฝั่งว้าวทิ ยา 40.50 พอใช้
108 บา้ นวงั หมอ 40.50 พอใช้
109 บา้ นก้อ 40.00 พอใช้
110 บ้านดพู่ งษ์ 39.70 พอใช้
111 บ้านแคว้ง 39.65 พอใช้
112 ชุมชนบา้ นใหม่ 39.37 พอใช้
113 บา้ นบุ้ง 39.21 พอใช้
113 บ้านก่วิ น้ํา 39.00 พอใช้
115 บ้านนํา้ แก่นเหนอื 39.00 พอใช้
116 บา้ นนาํ้ งาว 38.77 พอใช้
117 บา้ นคาํ เรอื ง 38.52 พอใช้
118 บ้านปา่ สกั 38.50 พอใช้
119 บา้ นหวั เมอื ง 37.60 พอใช้
120 บา้ นนาํ้ เกี๋ยน 36.92 พอใช้
121 บา้ นเชตวัน 36.62 พอใช้
36.50 พอใช้

38

ลาดบั ท่ี ช่อื โรงเรยี น ผลคะแนนการทดสอบ ระดับผลการทดสอบ
ด้านคณติ ศาสตร์ ดา้ นคณติ ศาสตร์
122 บา้ นนํา้ โคง้ (รอ้ ยละ)
123 บ้านหว้ ยมอญสาขาใหมใ่ นฝัน 36.38 พอใช้
124 บ้านห้วยเฮอื 36.33 พอใช้
125 บา้ นห้วยมอญ 36.25 พอใช้
126 บา้ นนาไลย 35.85 พอใช้
127 บา้ นปิงใน 35.50 พอใช้
128 บ้านสะเลยี ม 34.66 พอใช้
129 บ้านสองแคว 34.42 พอใช้
130 บ้านพ้ีเหนือ 34.40 พอใช้
131 บ้านน้ํามวบ 34.16 พอใช้
132 บ้านปา่ แดด 34.00 พอใช้
133 บ้านนํา้ ตวง 33.33 พอใช้
134 บ้านห้วยเฮอื สาขาห้วยระพี 33.03 พอใช้
134 บา้ นปางสา 33.00 พอใช้
134 บา้ นห้วยไฮ 33.00 พอใช้
137 บา้ นนาํ้ พาง 33.00 พอใช้
138 ประกติ เวชศักดิ์ 32.75 พอใช้
139 บา้ นน้ําหก 32.35 พอใช้
140 บ้านห้วยหลอด 32.00 พอใช้
141 บ้านม่วงเนงิ้ 30.50 พอใช้
141 บา้ นถมื ตอง 30.00 พอใช้
141 บ้านนํ้าลดั สบแก่น 30.00 พอใช้
144 บ้านส้านนาหนองใหม่ 30.00 พอใช้
145 บ้านเชียงของ 29.66 พอใช้
146 บ้านสาคร 29.33 พอใช้
29.20 พอใช้

39

ลาดบั ท่ี ช่อื โรงเรยี น ผลคะแนนการทดสอบ ระดบั ผลการทดสอบ
ดา้ นคณิตศาสตร์ ดา้ นคณติ ศาสตร์
147 บ้านศรนี ามา่ น (รอ้ ยละ)
29.09 พอใช้
148 ชมุ ชนบา้ นนาหลวง
149 บา้ นชมพู 28.75 พอใช้
150 บา้ นสนั ติภาพ 28.12 พอใช้
151 บา้ นบอ่ หอย 28.00 พอใช้
152 บ้านดอนไพรวลั ย์ 27.20 พอใช้
153 บ้านหว้ ยน้ําอ่นุ 26.00 ปรับปรุง
154 บา้ นซาวหลวง 25.90 ปรบั ปรุง
155 บ้านห้วยปุก 25.45 ปรับปรงุ
155 บ้านหว้ ยเลา 25.00 ปรบั ปรงุ
157 บ้านสาลกี 25.00 ปรบั ปรงุ
158 ราษฎรร์ ัฐพัฒนา 23.66 ปรับปรงุ
159 บา้ นรม่ เกลา้ 23.50 ปรบั ปรงุ
160 ภูเค็งพัฒนา 23.26 ปรบั ปรงุ
161 บา้ นสาลี่ 22.77 ปรบั ปรงุ
162 บ้านอ่ายนาผา 21.80 ปรับปรุง
163 บ้านพะเยา 18.50 ปรบั ปรุง
164 บา้ นผาตูบ 15.00 ปรับปรุง
165 บา้ นนาซาว นักเรยี นพิเศษเรียนรวม ปรับปรุง
166 บ้านพรหม นกั เรียนพิเศษเรียนรวม ปรบั ปรงุ
นกั เรยี นพเิ ศษเรียนรวม ปรบั ปรงุ

จากตาราง ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ด้านคณิตศาสตร์
พบว่า โรงเรียนบ้านดอนเฟือง และโรงเรียนบ้านห้วยส้ม มีผลคะแนนการทดสอบด้านคณิตศาสตร์ สูงสุด ร้อยละ 90.00
และระดับผลการทดสอบ อยู่ในระดับดีมาก เท่ากนั รองลงมา คอื โรงเรียนบ้านนํ้าลัด มีผลคะแนนการทดสอบ
ดา้ นคณิตศาสตร์ รอ้ ยละ88.00 และระดับผลการทดสอบ อยู่ในระดับดีมาก โรงเรียนบ้านน้ําครกใหม่ มีผลคะแนน การทดสอบ
ด้านคณิตศาสตร์ ร้อยละ 80.00 และระดับผลการทดสอบ อยู่ในระดับดีมาก ตามลําดับ และโรงเรียนบ้านพะเยา
มีผลคะแนนการทดสอบดา้ นคณติ ศาสตร์ ตา่ํ สดุ ร้อยละ 15.00 และระดับผลการทดสอบ อยู่ในระดับปรับปรุง
ส่วนโรงเรียนบ้านผาตูบ โรงเรียนบ้านนาซาว และโรงเรียนบ้านพรหม นักเรียนที่เข้าสอบเป็นนักเรียนพิเศษเรียนรวม
จงึ ไมม่ ผี ลการทดสอบ

1

ตาราง 4 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศ

ลาดับ กลุม่ โรงเรียน ความสามารถ ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตาม
ที่ ดา้ น
ความสามารถ
1 เมอื ง 2 คณติ ศาสตร์ ร้อยละ ดา้ น รอ้ ยละ
2 นาหม่ืน 1
3 นานอ้ ย 2 59.89 ภาษาไทย
4 นาน้อย 1 51.73
5 เวียงสา 1 52.77 59.89 55.48 55.48
6 สันติสุข 47.67 51.73 53.52 53.52
7 เวียงสา 3 52.77 49.97 49.97
8 เมอื ง 4 49.31 47.67 54.06 54.06
9 นาหม่นื 2 47.90 49.31 51.62 51.62
10 บ้านหลวง 50.46 47.90 52.99 52.99
11 ภูเพยี ง 1 47.34 50.46 49.44 49.44
12 นานอ้ ย 3 47.34 51.90 51.90
13 เวยี งสา 4 51.78 51.78 46.03 46.03
14 เมือง 1 49.38 49.38 47.86 47.86
15 เมือง 3 49.06 49.06 47.94 47.94
46.57 46.57 49.80 49.80
43.40 48.08 48.08
43.40 43.87 45.77 45.77
43.87 40.53 48.40 48.40
40.53

1

ศึกษา 2562 ระดับกลุ่มโรงเรียน เรียงจากมากไปหาน้อย

มวิชา ระดับผลการทดสอบจาแนกตามวชิ า

ความสามารถ ร้อยละ ความสามารถ ความสามารถ ความสามารถ
รวมท้งั 2 ด้าน ดา้ น ดา้ น รวมทง้ั 2 ด้าน

คณิตศาสตร์ ภาษาไทย

115.37 57.68 ดี ดี ดี

105.25 52.62 ดี ดี ดี

102.75 51.37 ดี พอใช้ ดี

101.74 50.87 พอใช้ ดี ดี

100.94 50.47 พอใช้ ดี ดี 40

100.90 50.45 พอใช้ ดี ดี

99.90 49.95 ดี พอใช้ พอใช้

99.23 49.62 พอใช้ ดี พอใช้

97.81 48.90 ดี พอใช้ พอใช้

97.24 48.62 พอใช้ พอใช้ พอใช้

97.00 48.50 พอใช้ พอใช้ พอใช้

96.36 48.18 พอใช้ พอใช้ พอใช้

91.48 45.74 พอใช้ พอใช้ พอใช้

89.65 44.82 พอใช้ พอใช้ พอใช้

88.93 44.47 พอใช้ พอใช้ พอใช้

2

ลาดับ กลมุ่ โรงเรียน ความสามารถ ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตา
ท่ี ด้าน
ความสามารถ
16 เวยี งสา 2 คณติ ศาสตร์ รอ้ ยละ ดา้ น รอ้ ยละ
17 แม่จริม 36.79
18 ภูเพียง 2 ภาษาไทย
39.71 36.79 45.30 45.30

41.85 39.71 42.38 42.38

41.85 36.78 36.78

จากตาราง 4 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศ
รอ้ ยละ 57.68 และระดับผลการทดสอบรวม 2 ดา้ น อยู่ในระดับดี รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรีย
รวม 2 ด้าน อย่ใู นระดบั ดี กลมุ่ โรงเรยี นนานอ้ ย 2 มผี ลการทดสอบเฉล่ยี รวม 2 ดา้ น รอ้ ยละ 51
มีผลการทดสอบเฉล่ียรวม 2 ด้านต่าํ สุด ร้อยละ 39.32 และระดับผลการทดสอบรวม

2

ามวิชา ระดบั ผลการทดสอบจาแนกตามวิชา

ความสามารถ รอ้ ยละ ความสามารถ ความสามารถ ความสามารถ
รวมทัง้ 2 ด้าน ด้าน ด้าน รวมทั้ง 2 ดา้ น

คณิตศาสตร์ ภาษาไทย

82.09 41.05 พอใช้ พอใช้ พอใช้

82.08 41.04 พอใช้ พอใช้ พอใช้

78.64 39.32 พอใช้ พอใช้ พอใช้

รศึกษา 2562 ระดับกลุ่มโรงเรียน พบว่า กลุ่มโรงเรียนเมือง 2 มีค่าเฉล่ียรวม 2 ด้านสูงสุด 41
ยนนาหม่ืน 1 มีผลการทดสอบเฉล่ียรวม 2 ด้าน ร้อยละ 52.62 และระดับผลการทดสอบ
1.37 และระดบั ผลการทดสอบรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับดตี ามลําดับ และกลุ่มโรงเรียนภูเพียง 2
ม 2 ด้าน อยใู่ นระดับพอใช้


Click to View FlipBook Version