คมู่ อื
การดาเนินงานสรา้ งเสรมิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ
ทเี่ น้นนกั เรียนเป็ นสาคญั ในโรงเรียน
สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาน่าน เขต ๑
กลุม่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาน่าน เขต ๑
เลม่ ๘ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
เอกสาร ศน. หมายเลข ๑๖/ ๒๕๔๙
คำนำ
คู่มือการดาเนินงานสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพท่ีเน้นนักเรียนเป็ นสาคัญ
ในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จังหวัดน่าน
ท่ีนายสุรชาติ ภูผาผุย ศึกษานิเทศก์ผูร้ ับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
รวมท้ังงานส่งเสริมสุขภาพและพลานามัย งานอนามัยโรงเรียนได้จัดทาข้ึน เพื่อรวบรวม
สาระสาคญั ของกิจกรรมในงานอนามยั โรงเรียน สาหรับผูบ้ ริหารโรงเรียน ครูอนามยั โรงเรียน
และผูเ้ ก่ียวข้อง ได้ใช้เป็ นแนวทางในการดาเนินงานสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน
ประกอบดว้ ยเอกสารคูม่ ือการดาเนินงาน 15 เล่ม คอื
เล่ม 1 โรคไขห้ วดั นกหรือไขห้ วดั ใหญ่ในสัตวป์ ี ก
เล่ม 2 โรคหนอนพยาธิ
เล่ม 3 โรคเลปโตสไปโรซิสหรือฉ่ีหนู
เล่ม 4 ยาสามญั ประจาบา้ นและยาสมุนไพร
เลม่ 5 แนวทางสร้างสุขภาพ 10 ประการ
เลม่ 6 ธงโภชนาการ...กินพอดี มสี ุข
เลม่ 7 ผกั พ้นื บา้ นอาหารเพอื่ สุขภาพ
เลม่ 8 อนามยั ส่ิงแวดลอ้ มและสุขาภบิ าลอาหาร
เล่ม 9 ฟันสวยรวยเสน่ห์ เลม่ 10 การสอนเพศศกึ ษาในโรงเรียน
เลม่ 11 การออกกาลงั กายเพอื่ สุขภาพ เลม่ 12 บา้ นน่าอยโู่ รงเรียนน่าอยู่
เล่ม 13 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เล่ม 14 มารู้จกั เอดส์กนั เถอะ
เลม่ 15 คมู่ อื นิเทศ ฯ (สาหรบั ผบู้ ริหารโรงเรียน ครูและศกึ ษานิเทศก)์
หวงั เป็ นอย่างยิ่งว่า เน้ือหาสาระในเอกสารท้งั 15 เลม่ ดงั กล่าว จะเป็นประโยชน์
ต่อผูบ้ ริหารโรงเรียน ครูอนามยั โรงเรียน และผูเ้ ก่ียวขอ้ ง ไดใ้ ช้เป็ นแนวทางประกอบการจดั
การเรียนการสอนและการจดั กิจกรรมในการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนให้บรรลุผล
ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพย่งิ ข้ึน
พฤษภาคม 2559
นายสุรชาติ ภูผาผยุ
จดุ ประสงค์ หน้ำ
อนามยั ของตวั เรา
2
- ความหมายอนามยั ของตวั เรา
- โทษของการไม่รกั ษาอนามยั ของร่างกาย 3
- การรกั ษาอนามยั ของร่างกาย 3
- การสร้างสุขนิสัยท่ีดี 4
- การหลีกเลย่ี งจากสิ่งเสพตดิ 8
อนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม 10
- ความหมายอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม
- การดแู ลรักษาอนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม 11
- งานอนามยั สิ่งแวดลอ้ มที่สาคญั 12
สุขาภิบาลอาหาร 15
- ความหมายสุขาภบิ าลอาหาร
- การสุขาภิบาลอาหารทาใหป้ ลอดภยั ไดอ้ ยา่ งไร 20
- อาหารทไ่ี มป่ ลอดภยั ตอ่ กากรบริโภค 20
- อาหารทีม่ ีสารเคมีท่เี ป็นอนั ตรายต่อร่างกายปะปนอยู่ 22
- การหลกี เลย่ี งอนั ตรายจากสีในอาหาร 23
- การเลอื กรบั ประทานอาหาร 24
- วิธีเลือกซ้ือผกั สดทป่ี ลอดภยั จากยาฆา่ แมลง 24
การเลือกซ้ืออาหารท่ีสะอาด ปลอดภยั 26
- การเลอื กซ้ืออาหารสดท่ีสะอาดและปลอดภยั
- การเลือกซ้ืออาหารสด 28
- การเลือกซ้ืออาหารแห้ง 29
- การเลอื กซ้ืออาหารกระป๋ อง 31
32
- การเลอื กซ้ืออาหารปรุงสาเร็จ หน้ำ
หลกั พิจารณาในการปรุงอาหาร
หลกั การพิจารณาในการเกบ็ อาหาร 32
33
- การเก็บเน้ือสตั วส์ ด 34
- การเกบ็ เน้ือสัตวป์ รุงสาเร็จ 34
วธิ ีการปรุงอาหารเน้ือสัตวใ์ นชนบท 34
โรคที่เกิดจากการบริโภคเน้ือสตั วแ์ บบดิบ หรือดิบ ๆ สุก ๆ 35
วิธีการทาความสะอาดทถี่ ูกตอ้ งตามหลกั สุขาภิบาล 40
- การลา้ งภาชนะอุปกรณ์ 43
- การลา้ งมือ 44
45
รำยรอบร้ัว สนำมหญ้ำ ท้งั อำคำร
ทุกสถำน ทุกห้อง ต้องงำมสง่ำ
ระรื่นรมย์ ร่มไม้ สบำยตำ
ช่วยรักษำ ด้วยมือทอง ของพวกเรำ
อนำมัยของตัวเรำ อนำมยั สิ่งแวดล้อม
และสุขำภิบำลอำหำร
จุดประสงค์
1. เพื่อให้เด็กวยั เรียนได้รับความรู้ ความเขา้ ใจ และประสบการณ์ด้านอนามยั ที่ถูกต้อง
เกิดเจตคติที่ดี สามารถปฏิบัติให้เป็ นผู้มีสุ ขภาพดี เป็ นตัวอย่างแก่ครอบครัว
และชุมชนตอ่ ไป
2. เพื่อส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กวัยเรียนให้อยู่ในสภาพปกติ
มีการเจริญเติบโตสมวัย มีความสมบูรณ์ท้ังร่างกายและจิตใจ อันจะส่ งผลถึง
การศกึ ษาเล่าเรียนและการเป็นผใู้ หญท่ ีม่ คี ณุ ภาพในอนาคต
“กำรอย่ใู นส่ิงแวดล้อมทถี่ ูกสุขลักษณะและรู้จักบริโภคอำหำรทส่ี ะอำด
ปลอดภยั ช่วยให้เรำสุขสบำย ปรำศจำกโรคภัย อนำมยั สมบูรณ์”
ควำมหมำยของ “อนำมยั ของตัวเรำ”
“อนำมัยของตัวเรำ” หมำยถึง การที่รู้จกั รักษาร่างกาย จิตใจของตนเอง ไม่ให้มีโรคภยั
ไขเ้ จ็บ และสามารถดารงชีวิตอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งปกตสิ ุข
โทษของกำรไม่รักษำอนำมยั ของร่ำงกำย
ถ้าปล่อยให้ร่างกายสกปรก หรือไม่ทาความสะอาดร่างกายอยู่เสมอ จะทาให้เกิดโรค
และเป็นอนั ตรายต่อร่างกายได้ เป็นตน้ วา่
2.1 ถ้ำผิวหนังสกปรก จะทาให้เป็ นโรคผิวหนังได้ง่าย เช่น โรคหิด กลาก เกล้ือน
และพุพอง เป็นตน้
2.2 ถ้ำผมและหนังศีรษะสกปรก อาจทาให้เป็ นโรคผิวหนังท่ีศีรษะได้ เช่น ชนั ตุ กลาก
เหา เป็นตน้
2.3 ถ้ำไม่รักษำควำมสะอำดปำกและฟัน ทาให้มีกลิ่นปากและอาจเป็ นโรคเหงือกอกั เสบ
และโรคฟันผุได้
2.4 ถ้ำไม่รักษำควำมสะอำดตำ จะทาให้เป็ นโรคตา เช่น ตาแดง ตาอกั เสบ ตากุ้งยิง
อาจเป็นอนั ตรายจนถงึ ตาบอดได้
2.5 ถ้ำไม่รักษำควำมสะอำดหู อาจทาให้หูอักเสบ เป็ นฝี ในหู หรืออาจเป็ นอันตราย
จนถึงหูหนวกได้
2.6 ถ้ำไม่รักษำควำมสะอำดของมือและเล็บ จะทาให้เป็ นโรคได้ เช่น โรคพยาธิ
โรคทอ้ งเดิน โรคตา โรคผิวหนงั เป็นตน้
2.7 ถ้ำไม่รักษำควำมสะอำดของอวยั วะสืบพันธ์ุ อาจกอ่ ให้เกิดอาการคนั เป็นแผลอกั เสบ
กำรรักษำอนำมยั ของร่ำงกำย
เรารู้แล้วว่าถ้าปล่อยให้ร่ างกายสกปรก และปฏิบัติไม่ถูกต้อง จะทาให้เป็ นโรค
หรือเกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ ดังน้ันเราควรจะแนะนาให้เพ่ือน ๆ ท้ังในและนอกโรงเรียน
รู้จกั ปฏิบตั ติ วั ให้ถกู ตอ้ งในการรักษาความสะอาดของร่างกาย ดงั น้ี
การอาบน้า ทาใหร้ ่างกายสะอาด สดชื่นและแจม่ ใส
3.1 กำรรักษำอนำมยั ของผิวหนัง
อาบน้าทุกวนั อย่างน้อยวนั ละ 2 คร้ัง ในเวลาเช้าและเย็น ถ้าอากาศร้อน
ควรจะอาบน้าให้บ่อยข้ึน
อาบน้าฟอกสบู่ทุกส่วนของร่างกายให้สะอาดอยู่เสมอ โดยเฉพาะบริเวณ
งา่ มนิ้วมอื งา่ มนิ้วเทา้ ลาคอ รักแร้ ขาหนีบ และอวยั วะสืบพนั ธุ์ตอ้ งรกั ษาความสะอาดเป็นพเิ ศษ
เชด็ ตวั ใหแ้ หง้ ดว้ ยผา้ ท่ีสะอาด
การสระผม ทาให้ผมและหนงั ศรี ษะสะอาด
3.2 กำรรักษำอนำมัยของผมและหนังศีรษะ
สระผมทุกคร้งั ทผ่ี มสกปรก หรือมีกลน่ิ เหม็น
ควรสระผมอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ 1 คร้งั ดว้ ยสบู่ หรือแชมพูสระผม
ควรตัดหรือไวผ้ มส้ัน ไม่ปล่อยผมให้ยาวเกินไปเพ่ือสะดวกในการรักษา
ความสะอาด
หม่นั หวีผมบ่อย ๆ จะช่วยให้ผมสะอาด และช่วยนวดศีรษะให้เลือดมาเล้ียง
มากข้ึนดว้ ย
ลา้ งหวแี ละแปรงใหส้ ะอาดเสมอ
ลา้ งมือใหส้ ะอาดดว้ ยสบทู่ กุ คร้ังกอ่ นรบั ประทานอาหารและหลงั ใชส้ ว้ ม
3.3 กำรรักษำอนำมยั ของ หน้ำ มือ เท้ำ
ตน่ื นอนตอนเชา้ ตอ้ งลา้ งหนา้ และควรทาความสะอาดใบหนา้ บอ่ ย ๆ
เล็บมอื และเลบ็ เทา้ ควรตดั ให้ส้ัน อยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละคร้งั
ลา้ งมอื และเทา้ ตามบริเวณงา่ มนิ้วมือ ง่ามนิ้วเทา้ ให้สะอาดอยเู่ สมอแลว้ เช็ด
ให้แห้ง
กอ่ นและหลงั รบั ประทานอาหารควรลา้ งมอื ดว้ ยสบู่
หลงั จากเขา้ ส้วมตอ้ งลา้ งมอื ดว้ ยสบ่ทู ุกคร้ัง
ควรสวมรองเทา้ เมื่อออกจากบา้ น
3.4 กำรรักษำอนำมัยของดวงตำ
อยา่ ใชม้ อื หรือผา้ สกปรกเชด็ ตาและอยา่ ขย้ตี าเม่อื มีผงเขา้ ตาเวลาคนั หรือเคืองตา
ไม่ควรใช้สายตาเพ่งจุด หรือหนังสือตัวเล็กนาน ๆ และอย่าดูของที่มีสีขาว
กลางแดด หรือวตั ถุทีส่ ะทอ้ นแสงมาก ๆ
อยา่ ปลอ่ ยให้แมลงวนั หรือแมลงหวีต่ อมตา เพราะอาจตดิ เช้ือโรคเยอื่ ตาอกั เสบ
และโรคริดสีดวงตาได้
อ่าน หรือเขียนหนังสือในระยะประมาณ 1 ฟุต โดยมีแสงสว่างพอเพียง
เข้าทางซ้าย หรือตรงขา้ มกับมือที่ถนัด หากรู้สึกเพลียสายตาควรพกั ผ่อนสายตาโดยการหลบั ตา
หรือมองไปไกล ๆ ชว่ั ครู่
ดูโทรทศั นใ์ นระยะห่างอยา่ งนอ้ ย 6 ฟตุ หรือ 4 เท่าของเส้นทแยงมมุ
ของจอโทรทศั น์
บารุงสายตาดว้ ยอาหารท่ีมีคุณคา่ เช่น มะละกอสุก ฟักทอง และผกั บงุ้ เป็นต้น
ใส่แวน่ ตากนั แดดถา้ จาเป็นตอ้ งมองในท่ีมแี สงสวางมากเกินไป
ควรตรวจสายตาอย่างน้อยปี ละคร้ัง และใส่แว่นตาท่ีถูกขนาดเม่ือตรวจพบว่า
สายตาผิดปกติ
3.5 กำรรักษำอนำมัยของหู
อย่าใช้ส่ิงใดแคะเขี่ยใบหูถ้าข้ีหูมีมากหรือต้องการทาความสะอาดหู ควรใช้
ไมพ้ นั สาลีชุบน้าพอหมาดเชด็ ใบหู และรูหูตอนนอก ๆ ก็เป็นการเพยี งพอ
อยา่ ใส่สิ่งใด ๆ เขา้ ไปในหูดว้ ยความซุกซน
อยา่ เล่นตบบริเวณหูกนั แรง ๆ
ควรหลีกเลี่ยงจากเสียงอึกทึกและเสี ยงท่ีดังมาก ๆ เพราะอาจเป็ นอันตราย
ตอ่ การไดย้ ิน ถึงหูหนวกไดห้ ากไดย้ นิ บ่อย ๆ และเป็นเวลานาน ๆ
เมื่อน้าเข้าหู ให้เอียงหูขา้ งน้ันไว้ น้าจะค่อย ๆ ไหลออกมาได้เอง หรือใช้ไม้
พนั สาลีเชด็ บริเวณช่องหูตอนนอก ๆ ก็เพยี งพอแลว้
เม่ือแมลงเข้าหูอย่าพยายามแคะ ให้ใช้น้ ามันมะกอกหรือน้ามันพาราฟิ น
หยอดหู ทิง้ ไวช้ ว่ั ขณะแมลงก็จะตาย
เวลาเป็นหวดั คดั จมกู ตอ้ งรีบรกั ษา ถา้ ปล่อยใหเ้ ป็นหวดั น่าน ๆ จะทาใหเ้ ช้ือโรค
ผ่านเขา้ หูช้นั กลาง ทาให้เป็นหูน้าหนวกได้
3.6 กำรรักษำอนำมยั ของจมูก
อย่าแคะหรือไชจมูกดว้ ยนิ้วหรือเล็บ เพราะอาจทาให้เย่ือจมูกอกั เสบเป็นแผล
ไดง้ ่าย ถา้ มนี ้ามูกแห้งเกรอะกรังอยู่ ควรใชผ้ า้ สะอาดชุบน้าพอเปี ยก ๆ เชด็ เบา ๆ เอาออกให้สะอาด
อย่าถอนขนจมูก เพราะจะทาให้ขาดส่ิงสาคัญที่ป้องกันฝ่ ุนละอองและ
ยงั อาจทาให้จมกู อกั เสบได้
ไมค่ วรใชย้ าพน่ หรือหยอดจมูก โดยไมป่ รึกษาแพทย์
ถา้ เป็นหวดั เร้ือรงั มีเลือดกาเดาออกบ่อย ๆ จมูกไมไ่ ดก้ ลิน่ หรือมอี าการผิดปกติ
ควรรีบให้แพทยต์ รวจรกั ษาโดยเร็ว
อยา่ ใส่เมลด็ ผลไมห้ รือสิ่งแปลกปลอมอื่นเขา้ ไปในรูจมกู
3.7 กำรรักษำควำมสะอำดของเสื้อผ้ำและเครื่องนอน
ซักเส้ือผ้าและถุงเท้าด้วยสบู่หรือผงซักฟอกเพื่อกาจัดเช้ือโรคและกล่ิน
หลงั จากใชแ้ ลว้ ทุกคร้ัง
ตากเส้ือผา้ และถุงเทา้ ใหถ้ ูกแสงแดด เพ่อื ฆ่าเช้ือโรค
ไม่สวมถุงเท้า รองเท้า ท่ีสกปรกและเปี ยกช้ืน ควรซักหรือล้างให้สะอาด
ตากให้แหง้ ก่อนใช้
ควรหมน่ั นาผา้ ห่ม ท่ีนอน หมอน มุง้ ออกผ่ึงแดดอย่างน้อยสัปดาห์ละคร้ัง
และนาส่ิงท่ซี กั ได้ เช่น ผา้ ห่ม มงุ้ เป็นตน้ ซกั ให้สะอาดอยเู่ สมอ
ควรซกั ผา้ ปูทน่ี อน ปลอกหมอน ผา้ เช็ดตวั บ่อย ๆ อยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละคร้ัง
กำรสร้ำงสุขนิสัยทด่ี ี
ควรใชผ้ า้ ปิ ดปาก จมูก เวลาไอหรือจาม
4.1 กำรไอ หรือจำม
ควรใชผ้ า้ เชด็ หน้าปิ ดปาก จมูก เวลาไอ หรือจาม เพื่อป้องกนั การแพร่กระจาย
ของเช้ือโรคในอากาศจนอาจเป็นผลให้ผูอ้ น่ื ตดิ โรคได้
4.2 กำรถ่มนำ้ ลำยหรือสั่งนำ้ มกู
การถ่มน้าลาย ตอ้ งถ่มใส่ในภาชนะทมี่ ดิ ชิด เช่นกระโถน ถงั ขยะทีม่ ีฝาปิ ด
การสง่ั น้ามกู ตอ้ งสง่ั ในผา้ หรือกระดาษเชด็ หนา้ ทสี่ ะอาด
4.3 กำรรับประทำนอำหำร
ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดกอ่ นรบั ประทานอาหาร
เลือกภาชนะใส่อาหารและชอ้ นทส่ี ะอาด
เลอื กซ้ืออาหารท่ีสะอาดไมม่ แี มลงวนั ตอม
เลือกรบั ประทานอาหารท่ปี รุงสะอาดหรือสุกใหม่ ๆ
อยา่ ซ้ืออาหารและเคร่ืองด่ืมจากผขู้ ายที่สกปรก
ควรใชแ้ กว้ น้าส่วนตวั ไม่ปะปนกบั ผูอ้ ่ืน
รับประทานชา้ ๆ เค้ียวให้ละเอียด
ถ้ารับประทานอาหารพร้อมกันท้ังครอบครัว ควรให้ความช่วยเหลือ
ดูแลนอ้ งดว้ ย
ถา้ รบั ประทานพร้อมกนั หลาย ๆ คน อาหารทกุ ชนิดควรใชช้ อ้ นกลาง
ควรแปรงฟันหลงั อาหารทุกคร้งั
4.4 กำรออกกำลังกำย
ในวยั เด็ก การออกกาลงั กายทาให้ร่างกายเจริญเตบิ โต ผูท้ ่ีไม่ค่อยไดอ้ อกกาลงั
มกั มรี ่างกายเล็กแคระและข้ีโรค
การออกกาลงั กาย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมือ่ กระทากลางแจง้ ช่วยเพิม่ ความสามารถ
ของร่างกายในการต่อสูก้ บั เช้ือโรค ทาให้ร่างกายแขง็ แรงและมสี ุขภาพดี
การออกกาลงั อาจจะเป็ นการบริหารกายด้วยมือเปล่า วิ่ง วิ่งเหยาะอยู่กับที่
การเลน่ กีฬากลางแจง้ การทางานบา้ น หรือทาสวนครวั
ควรออกกาลงั กายทกุ วนั อยา่ งสม่าเสมอ วนั ละ 10 – 15 นาที
4.5 กำรพักผ่อน
การพักผ่อนทาได้หลายอย่าง เช่น ฟังวิทยุ อ่านหนังสื อ ปลูกต้นไม้
ทาการฝีมอื และเล่นดนตรีเป็นตน้
การนอนเป็นการพกั ผ่อนท่ีดี
การนอนหลบั เป็นการพกั ผอ่ นท่ีดีทีส่ ุด
นอนหวั ค่าตืน่ แต่เชา้ เสมอ ควรนอนหลบั อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 8 ชว่ั โมง
4.6 กำรรักษำทรวงทรง
นงั่ ตวั ตรง ศรี ษะตรง เทา้ ท้งั สองวางบนพ้นื
ยนื ตวั ตรง หลงั ตรง ศรี ษะตรง ให้ลงน้าหนกั เตม็ เทา้ ท้งั สองขา้ ง
เดินเป็นแนวเส้นตรง ดว้ ยท่าทางวอ่ งไวและกระฉบั กระเฉง
หลงทางเสียเวลา หลงติดยาเสียอนาคต
กำรหลกี เลีย่ งจำกสิ่งเสพติด
ควรใชย้ าตามท่ีแพทย์ หรือเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขแนะนาเทา่ น้นั
ศกึ ษาหาความรู้เก่ียวกบั หลกั การใชย้ า
ไม่ควรซ้ือยารบั ประทานเอง
ไม่ควรทดลองสูบบุหร่ี ดื่มสุรา หรือเสพส่ิงเสพติดอื่น ๆ เช่น กญั ชา เฮโรอีน
เป็ นตน้
เมือ่ มปี ัญหา ควรปรึกษาครู หรือผปู้ กครอง
อยา่ หลงเช่ือใครงา่ ย ๆ อาจถกู ลอ่ ลวงให้ติดยาเสพติดได้
ใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ออกกาลงั กาย
สร้างความรักความเขา้ ใจกบั ทกุ คนในครอบครัว
ควำมหมำย
อนำมัยสิ่งแวดล้อม หมำยถึง วิธีปฏิบตั ิตนให้มีสุขภาพดี โดยการควบคุม ปรับปรุง
หรือรักษาสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตวั ของมนุษยใ์ ห้ถูกสุขลกั ษณะ ปราศจากอนั ตรายต่อการดารงชีวิต
อนั ปกติสุขทางจิตใจและสังคม
ส่ิงแวดล้อมที่เรำอำศัยอยู่ ได้แก่ บ้าน โรงเรียน วดั โรงพยาบาล สถานีอนามัย
หมูบ่ า้ นของเรา ตลาด ถนน บ่อน้า และสวนสาธารณะ ฯลฯ
เราควรรกั ษาสภาพแวดลอ้ มใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ
กำรดูแลรักษำอนำมัยส่ิงแวดล้อม
1. กำรดแู ลรักษำอนำมัยส่ิงแวดล้อม
รักษาบา้ นและบริเวณบา้ นให้สะอาด เราจะอยอู่ ยา่ งมีความสุข
1.1 บ้ำนของเรำ
ทาความสะอาด ปัดกวาด เช็ดถูพ้นื บา้ นทว่ั ทกุ ซอกทกุ มมุ ใหส้ ะอาดทุกวนั
เปิ ดประตู หนา้ ต่างห้องนอนให้แสงสว่างเขา้ ถึง เคร่ืองใช้ ที่นอน หมอน มุง้
ผา้ ห่มหมนั่ นาออกผ่ึงแดดและหมนั่ ซกั ฟอกให้สะอาด
ขยะมูลฝอยและเศษอาหาร ซ่ึ งเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและเช้ือโรค
ควรท้ิงในที่ท่ีมีฝาปิ ดมิดชิด แล้วนาไปเผาหรือฝังให้ถูกสุขลักษณะ ถ้าอยู่ในเขตเทศบาล
หรือสุขาภิบาล ให้นาส่งรถขยะ
รักษาบริเวณบ้านให้สะอาด เป็ นระเบียบ และสวยงามไม่มีหญ้าข้ึนรกรุงรัง
ไม่มหี ลุม หรือบ่อทีม่ ีน้าขงั เป็นแหลง่ เพาะพนั ธุย์ งุ
กาจดั น้าทิ้งในครัวเรือน โดยทาท่อระบายน้าจากครัวและห้องน้า เพ่ือให้น้าทิ้ง
จากทตี่ า่ ง ๆ ภายในครัวและหอ้ งน้า เพอื่ ใหน้ ้าทิง้ จากที่ตา่ ง ๆ ภายในบา้ นไหลลงสู่บ่อซึม
โรงเรียนจะสะอาดมน่ั คงแขง็ แรง ปลอดภยั ได้ ตอ้ งไดร้ ับความร่วมมือจากนกั เรียน
1.2 โรงเรียนของเรำ
ห้องเรียน ช่วยกนั ทาความสะอาด จดั โต๊ะ มา้ นั่งให้เป็ นระเบียบ โดยจดั ให้มี
เวรผลดั เปลยี่ นกนั รับผิดชอบ
ห้องพยำบำล เป็ นสถานท่ีให้บริการรักษาพยาบาลแก่นักเรียนเจ็บป่ วย
ไมค่ วรส่งเสียงดงั รบกวนผปู้ ่ วย ควรช่วยกนั รักษาความสะอาดและจดั ใหเ้ ป็นระเบยี บอยเู่ สมอ
โรงอำหำร ไม่ท้ิงเศษอาหาร ใบตอง กระดาษ ถุงพลาสติก ลงบนโต๊ะ
หรือพ้นื โรงอาหาร ควรท้งิ ในภาชนะรองรบั มีการทาความสะอาดทกุ วนั
ห้องส้วม ช่วยกนั รกั ษาความสะอาด ถา่ ยแลว้ ราดน้าให้สะอาดทุกคร้ัง
บริเวณท่ีดื่มน้ำ ควรระวงั ไม่ให้น้าไหลนองพ้ืนเฉอะแฉะ โดยปิ ดก๊อกน้า
ใหส้ นิท และอยา่ ท้งิ เศษอาหารบริเวณน้ี
บริเวณโรงเรียน ไม่ทิ้งสิ่งของ เศษอาหาร ใบตอง กระดาษ และถุงพลาสติก
ในสนามหญา้ ถนนหรือทางระบายน้า ตอ้ งทงิ้ ในภาชนะรองรบั ท่โี รงเรียนจดั ไว้
ช่วยกนั รักษาบริเวณโรงเรียนให้สะอาดอยเู่ สมอ
เราตอ้ งช่วยกนั รกั ษาแหลง่ น้าสาธารณะ
1.3 สำธำรณสมบัติของเรำ
แม่น้า ลาคลอง หนอง บึง บ่อน้ าและสระ ทุกคนต้องรับผิดชอบรักษา
ความสะอาด ไม่ท้ิงขยะมูลฝอย หรือส่ิงปฏิกูล หรือนาสัตว์เล้ียงลงไปและไม่ควรลงไปอาบ
หรือตกั น้าในแหล่งน้าดงั กล่าว
อากาศ ควรช่วยกันรักษาอากาศให้บริสุทธ์ิ โดยช่วยกันปลูกและดูแลรักษา
ตน้ ไม้ เพราะตน้ ไมจ้ ะดูดเอาคาร์บอนไดออกไซดไ์ ว้ และคายออกซิเจนให้เราในเวลากลางวนั
ถนนและทางเดิน เป็นสาธารณสมบตั ิของเรา จึงไม่ควรขุดให้เป็นหลุมเป็นบ่อ
ไม่ทิ้งขยะมูลฝอย ไมส่ ่ังน้ามูก ไม่บว้ นเสมหะ และน้าลายลงบนพ้ืนถนน และทางเดิน
ท่อระบายน้า ช่วยกนั รกั ษาทอ่ ระบายน้าใหส้ ะอาด ไม่ท้ิงเศษขยะ ถงุ พลาสติก
หรือส่ิงของต่าง ๆ ลงท่อระบายน้า เพราะจะทาให้เกิดการอุดตนั เป็ นแหล่งเพาะพนั ธุ์ของยุง
และก่อเหตรุ าคาญ
ส้วมสาธารณะ ถ่ายแล้วต้องราดน้ าจนโถส้วมสะอาด ไม่ทิ้งกระดาษ
หรือสิ่งอนื่ ๆ ทจี่ ะทาใหส้ ้วมอดุ ตนั
สาธารณสมบตั ิอนื่ ๆ เช่น สวนสาธารณะ สนามเด็กเลน่ เสาไฟฟ้า
ศนู ยบ์ ริการสาธารณสุข เทศบาล โรงพยาบาล และสถานทีร่ าชการอื่น ๆ
ทุกแห่ง เป็ นต้น สาธารณสมบัติเหล่าน้ี ทุกคนย่อมมีหน้าที่ช่วยกันดูแลรักษา และร่วมมือ
กับทางราชการ โดยแจ้งเจา้ หน้าที่บ้านเมืองทราบเม่ือพบผูใ้ ดทาล าย หรือพบเห็นส่ิงผิดปกติ
อนั จะก่อใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ สาธารณสมบตั ิของเรา
2. งำนอนำมัยส่ิงแวดล้อมทส่ี ำคัญ
2.1 นำ้
น้าเป็ นส่ิงจาเป็ นสาหรับการดารงชีวิตของคน สัตว์ และพืช แต่น้าก็เป็ นสิ่งนา
เช้ือโรคมากมายหลายชนิด โดยเฉพาะโรคทางเดินอาหาร เช่น โรคท้องร่วง บิด อหิวาตกโรค
และไทฟอยด์ เป็ นตน้ จึงควรคานึงถึงการหาแหล่งน้าที่สะอาด และการควบคุมคุณภาพของน้า
ใหเ้ หมาะสมแกก่ ารนามาดื่ม หรือใช้ น้าสะอาดทเี่ หมาะแกก่ ารนามาด่ืม หรือใชม้ ี 3 ชนิด
น้าฝนเป็นน้าธรรมชาติทส่ี ะอาดทีส่ ุด
นำ้ ฝน เป็นน้าธรรมชาติทีส่ ะอาด เมือ่ ฝนตกก่อนเกบ็ น้าฝน ควรปล่อยใหฝ้ น
ลา้ งหลงั คาใหส้ ะอาดเสียกอ่ น ภาชนะสาหรับเก็บน้าควรมีฝาปิ ดและทาความสะอาดอยา่ งนอ้ ย
ปี ละคร้งั
ช่วยกนั รักษาบอ่ น้าให้สะอาด ปราศจากโรคภยั
น้ำบ่อท่ีถูกสุขลักษณะ เป็ นน้าที่สะอาด เพราะขณะท่ีน้าซึมผ่านช้ันต่าง ๆ
ของดิน เช้ือโรคจะถูกกรองออกหมด และส่ิงสกปรกภายนอกไม่สามารถจะเข้าไปทาให้น้า
สกปรกได้ บ่อควรต้งั อยู่บนที่สูงห่างจากส้วม กองขยะ และสิ่งปฏิกูล ปากบ่อตอ้ งมีฝาครอบ
และการนาน้า มาใชค้ วรใชส้ ูบโยกข้ึนมา
น้ำประปำ เป็ นน้ าสะอาดที่ใส และสะอาด เพ ราะได้ผ่านการกรอง
และใส่คลอรีนฆา่ เช้ือโรคแลว้
วธิ ีทำให้นำ้ สะอำด วธิ ีทาให้น้าสะอาด 2 วิธี
1. กำรต้ม ตม้ น้าใหเ้ ดือด จะสามารถฆา่ เช้ือโรคได้
2. กำรใส่ สำรฆ่ ำเชื้อโรคลงไปในน้ำ เช่น การใส่ คลอรี น การใส่ ไอโอดีน
ซ่ึงในกรณีที่น้าข่นุ ตอ้ งทาให้ใสเสียก่อน โดยการแยกเอาตะกอนท่ีทาให้น้าขุ่นออก แลว้ จึงนามา
ฆ่าเช้ือโรค
วธิ ีกำรทำนำ้ ให้ใสมี 2 วธิ ี คือ
1. วิธกี รอง
ใช้ถังกรอง ซ่ึงอาจใช้ตุ่ม ถังพลาสติก หรืออื่น ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่น
ภายในบรรจุทราย และถา่ นเป็นช้นั ๆ เพอ่ื ใหน้ ้าท่กี รองไหลผ่านออกทางกน้ ถงั
2. วิธตี กตะกอนด้วยกำรใช้สำรส้ม
ใช้สารส้มกวนน้ าในตุ่ม หรือภาชนะใส่น้า เม่ือเห็นตะกอนเริ่มแยกตัว
จึงปลอ่ ยท้ิงไว้ แลว้ ตกั ส่วนท่ีใสข้ึนมา
น้าที่กรอง หรื อแยกตะกอนด้วยการใช้สารส้มแล้วจะต้องฆ่าเช้ือโรค
โดยการตม้ การใส่คลอรีน หรือใชไ้ อโอดีนเสียกอ่ น จึงนาไปใชด้ ื่มไดอ้ ยา่ งปลอดภยั
กำรใส่คลอรีนฆ่ำเชื้อโรคในนำ้
ละลายปนู คลอรีน 1 ชอ้ นกาแฟกบั น้า 1 ขนั ทิ้งไวส้ ักครู่
รินน้าผสมปูนคลอรีนส่วนที่ใสในขันลงในน้าใสที่จะฆ่าเช้ือโรค 10 ป๊ี บ
หรือประมาณ 1 โอง่ คนใหเ้ ขา้ กนั
ปิ ดฝาโอง่ ทง้ิ ไว้ 30 นาที
กำรใช้ไอโอดีนฆ่ำเชื้อโรค
ใช้ยาใส่ แผลสดที่มีช่ือ “ทิงเจอร์ ไอโอดีน” โดยหยดทิงเจอร์ไอโอดีน
2 – 3 หยด ลงในน้า 1 ขนั จะสามารถฆ่าเช้ือโรคในน้าได้
2.2 ส้วม
ทุกคนต้องกาจัดของเสียท่ีร่างกายไม่ได้ใช้แล้ว คือ อุจจาระ ถ้ากาจัดอุจจาระ
ไม่ถูกต้องแล้ว อุจจาระจะเป็ นแหล่งแพร่ เช้ือโรคต่าง ๆ โดยปนไปกับอาหาร น้ าด่ืม
ฉะน้นั ตอ้ งกาจดั อจุ จาระใหถ้ กู วิธี คอื ถา่ ยอจุ จาระในสว้ ม
สว้ มท่ีถกู สุขลกั ษณะ ควรเป็นสว้ มซึม มีตวั เรือนภายใน มีแสงสวา่ งและการระบาย
อากาศตามธรรมชาติ ต้งั อยหู่ ่างจากแหล่งน้า เช่น บ่อ สระ แม่น้า ลาคลอง ไม่ต่ากว่า 30 เมตร
เพอ่ื ป้องกนั การซึมของอุจจาระลงในแหลง่ น้า และภายในสว้ มควรมขี องใชท้ จี่ าเป็นไวใ้ ช้
สว้ มท่ีสะอาดแสดงถึงความเจริญของคนในชาติ
สิ่งท่ีควรมีภำยในส้วม
1. ตุม่ หรือ โอ่งทีม่ นี ้าอยเู่ สมอ
2. ขนั หรือกระบวยตกั น้า
3. สบู่
4. กระดาษชาระ หรือกระดาษฟาง
5. ถงั มีฝาปิ ดสาหรบั ทิง้ กระดาษชาระ หรือผา้ อนามยั ท่ีใชแ้ ลว้
6. แปรงทาความสะอาดโถส้วม
กำรใช้ส้วม
1. ก่อนใชร้ าดน้าลงไปก่อน พอใหโ้ ถสว้ มเปี ยกนง่ั ให้ถกู ทศิ ทางของโถสว้ ม
2. ใชแ้ ลว้ ราดน้าลงไปในโถส้วมแรง ๆ จนไม่มีอจุ จาระคา้ ง
3. ถา้ มีคราบอุจจาระคา้ งในโถส้วม ใชแ้ ปรงถูจนสะอาดไม่ควรปล่อยให้เป็นภาระ
ของคนอื่น
4. ลา้ งมอื ดว้ ยสบทู่ กุ คร้งั หลงั จากใชส้ ว้ ม
5. ควรผลัดเวรกันดูแลความสะอาดส้วมในโรงเรียน หรือในบ้านและแนะนา
ให้ผทู้ ีไ่ ม่ชอบใชส้ ้วม ไดใ้ ชส้ ว้ มและผทู้ ใี่ ชไ้ ม่ถูกตอ้ งใหใ้ ช้ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
2.3 ขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอย เป็ นส่ิงปฏิกูลท่ีอาจก่อให้เกิดโทษได้หลายอย่าง เช่น เป็ นบ่อเกิด
ของเช้ือโรคต่าง ๆ ส่งกลิ่นเหม็นก่อเหตุราคาญ ฯลฯ ดังน้ันภายในโรงเรียน บ้าน และชุมชน
จึงควรจดั ให้มถี งั ขยะอยา่ งพอเพยี ง รวมท้งั กาจดั ขยะเหล่าน้นั ให้ถูกตอ้ ง
ภำชนะรองรับขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ
มขี นาดใหญ่พอทจ่ี ะใส่ขยะไดต้ ลอดวนั
มีฝาปิ ด มีหูหิ้ว และทาดว้ ยวสั ดทุ ี่คงทน
ถา้ เป็นถงั ใส่เศษอาหาร ตอ้ งเป็นถงั ทน่ี ้าซึมออกไมไ่ ด้
ควรทาความสะอาดภาชนะใส่ขยะท้งั ภายในและภายนอกทกุ คร้ังหลงั การเทขยะ
กำรกำจดั ขยะทีถ่ ูกสุขลกั ษณะ
การเผา ควรเผาในเตาเผาขยะ หรือเผาในหลมุ ซ่ึงไมก่ ่อใหเ้ กิดเหตรุ าคาญ
การฝัง เหมาะสาหรับชนบท ทม่ี เี น้ือพอจะฝังขยะได้ การฝังตอ้ งกลบดว้ ยดิน
ให้แน่นและหนาประมาณ 1 ฟุต เพอ่ื ป้องกนั สัตวค์ ุย้ เข่ีย
การหมกั ทาป๋ ุย เป็นการนาขยะมูลฝอยท่ีเน่าเปื่ อยได้ เช่น เศษใบไม้ เศษผกั
กระดาษ มู ล สัตว์ ซ ากสั ตว์ ห รื อเศษ อาห าร ฯ ลฯ ไป ห มักในห ลุ ม พ รม น้ าให้ ช้ื น
แลว้ ใชด้ ินกลบทงิ้ ไวป้ ระมาณ 6 เดือน จึงขดุ ข้นึ มาใชเ้ ป็นป๋ ยุ
สุขำภิบำลอำหำร หมายถงึ การจดั และควบคมุ อาหารใหส้ ะอาด ปลอดภยั จาก
เช้ือโรคพยาธิ และสารเคมีที่เป็ นพิษต่าง ๆ ซ่ึงเป็ นอันตรายต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย
สุขภาพอนามยั และการดารงชีวติ ของมนุษย์
กำรสุขำภิบำลอำหำรทำให้ปลอดภัยได้อย่ำงไร
สำเหตุท่ีทำให้เกิดโรค ประกอบด้วย เช้ือโรค แบคทีเรีย พยาธิ ไวรัส พิษของ
แบคทีเรีย พิษของเช้ือรา พิษจากสารเคมี และพิษจากพืชและสัตว์ที่ปนเป้ื อนกับอาหาร
ทาให้คนกินเข้าไปเกิดการเจ็บป่ วยด้วยโรคต่าง ๆ เช่น อุจจาระร่วง บิด โรคพยาธิใบไมใ้ นตบั
เป็ นตน้
การแกไ้ ขปัญหาโดยอาศยั หลกั การสุขาภิบาลอาหาร จะดาเนินการควบคุมสื่อนาโรค
ตา่ ง ๆ ทีจ่ ะทาให้เกิดการปนเป้ื อนข้ึนอนั ไดแ้ ก่
1. คน คือ ตัวแม่บ้านหรื อผู้ประกอบ
และปรุงอาหาร จะต้องดาเนินการปรุง ประกอบ
อาหารและน้ าด่ืม สาหรับทุกคนในครอบครัว
โดยอาศัยหลักความสะอาด ปลอดภัย มีสุขวิทยา
ส่วนบุคคล และสุขนิสัยในการปรุง ประกอบอาหาร
ทด่ี ี รวมท้งั ผบู้ ริโภคกจ็ ะตอ้ งมีสุขนิสัยในการบริโภค
ที่ดี เช่น การล้างมือก่อนบริ โภค และการใช้
ชอ้ นกลาง เป็นตน้
2. อำหำร และสารปรุงแต่งอาหาร
จะต้องรู้จักหลักการเลือกซ้ือให้ได้มาตรฐาน
สะอาด ปลอดภยั รวมท้ังต้องปรุง ประกอบ
และเก็บอาหารอย่างถูกวิธี เพื่อให้ได้อาหาร
สะอาดและปลอดภยั ดว้ ย
3. ภำชนะอุปกรณ์ จะต้องเข้าใจว่า
ภาชนะอุปกรณ์นาโรคภยั มาสู่อาหารไดอ้ ย่างไร
รู้จกั วิธีป้องกันโดยการเลือก การล้าง การเก็บ
ต ล อ ด จ น ก า ร น า ภ า ช น ะ อุ ป ก ร ณ์ ม า ใ ช้
อยา่ งถกู ตอ้ ง
4. ครัวและที่รับประทำนอำหำร
ต้องจัดครัวให้สะอาดเป็ นระเบียบ สะดวก
ต่อการทางาน มีอุปกรณ์เคร่ืองใช้ที่เหมาะสม
เพ่ือปกปิ ดอาหารจากการปนเป้ื อนและมีการดแู ล
รักษาความสะอาดอยเู่ สมอ
5. สัตว์แมลงนำโรค เช่น แมลงวนั
แมลงสาบ หนู เป็ นตน้ จะต้องเขา้ ใจเกี่ยวกับ
วิธีการกาจัดแหล่งท่ีอยู่อาศยั วิธีกาจัดแหล่ง
อาหาร วิธีกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ วิธีกาจัด
ตวั แกต่ ามวธิ ีการทีถ่ ูกตอ้ ง
อำหำรท่ีไม่ปลอดภยั ต่อกำรบริโภค
1. อำหำรทส่ี กปรก ปะปนดว้ ยเช้ือโรคและพยาธิ เช่น เช้ือบิด เช้ืออหิวาตกโรค
เช้ือไทฟอยด์ พยาธิต่าง ๆ ทาให้ผทู้ รี่ ับประทานเขา้ ไปเจบ็ ป่ วยได้
2. สำเหตทุ ่ที ำให้อำหำรสกปรก
จากผปู้ ระกอบอาหารที่ไมส่ ะอาด มีโรคติดต่อหรือมีสุขวิทยาส่วนบุคคล
ไมด่ ี เช่น มือ เล็บ เส้ือผา้ สกปรก หรือผปู้ ่ วยเป็นโรคตา่ ง ๆ เช้ือโรคจะแพร่กระจายลงสู่อาหารได้
จากภาชนะอุปกรณ์ที่ใช้ใส่อาหารไม่สะอาด เช่น จาน ชาม ช้อน
ที่ลา้ งไม่สะอาด หรือลา้ งสะอาด แต่มีการปนเป้ื อนจากส่ิงสกปรกภายหลงั เช่น ใชผ้ า้ เชด็ เก็บหรือ
วางในทไ่ี มส่ ะอาด
อาหารท่ีนามาปรุงไม่สะอาด เช่น ผักท่ีล้างไม่สะอาด เน้ือสัตว์
ที่เป็นโรค หรืออาหารทเี่ กบ็ ไมด่ ีและไม่สด
จากสถานท่ีปรุง หรือรับประทานอาหารไม่สะอาด เช่น ห้องครัว
โรงอาหาร
จากอาหารที่ปรุงแลว้ ไม่ปกปิ ดให้ปลอดภยั จากแมลงวนั ฝ่ ุน หรือสัตว์
นาโรคต่าง ๆ เช่น แมลงสาบ หนู เป็นตน้
อำหำรที่มีสำรเคมีที่เป็ นอนั ตรำยต่อร่ำงกำยปะปนอยู่
อำหำรที่มีสำรเคมีท่ีเป็ นอันตรำยต่อร่ำงกำยปะปนอยู่ เช่น อาหารใส่สียอ้ มผา้
อาหารที่มียาฆ่าแมลงซ่ึงติดมากับพืชผกั น้าส้มสายชูปลอม ผงชูรสปลอม ซ่ึงลว้ นเป็ นสารเคมี
ที่ทาให้เกิดโทษตอ่ ร่างกายท้งั ส้ิน
อำหำรผสมสี
การใชส้ ีผสมอาหารอย่างไม่ถูกตอ้ ง เช่น ใช้สียอ้ มผา้ ผสมอาหาร จะทาให้
ผูบ้ ริโภคอาหารน้ัน เกิดการเจ็บป่ วยในระบบตายผ่อนส่ง อายสุ ้ัน เบ่ืออาหาร ปวดทอ้ ง อาเจียน
และโลหิตจางจากการแพพ้ ิษสารตะก่ัวท่ีมีในสียอ้ มผา้ อาหารและขนมท่ีตรวจพบว่าใช้สียอ้ มผา้
จะมีสีฉูดฉาด เช่น ลูกกวาด ขา้ วเกรียบกุง้ ทองหยิบ ฝอยทอง มะพร้าวแกว้ กุง้ แห้ง เน้ือเค็ม
หมแู ดง ลูกช้ินกงุ้ ชาทใ่ี ชท้ าชาดาเยน็ ซอสแดงที่ผสมในเยน็ ตาโฟ ฯลฯ
สีที่ใช้ผสมอำหำรได้
สีที่ใช้ผสมอาหารได้ คือ สีผสมอาหารที่ฉลาก
ตอ้ งมคี าว่า “สีผสมอำหำร” เช่น สีผสมอาหารขององคก์ าร
เภสัชกรรม หรื อสี ท่ีได้จากธรรมชาติ เช่น สี เขียว
จากใบเตย สีแดงจากคร่ัง สีเหลืองจากขมิ้น สีน้าตาล
จากน้ าเคี่ยวไหม้ สี ดาจากกาบมะพร้าวเผาไหม้ ฯลฯ
ซ่ึงสีเหล่าน้ี ปราศจากสารที่เป็ นอันตรายต่อร่างกายคือ
สารตะกวั่
กำรหลีกเลี่ยงอันตรำยจำกสีในอำหำร
กำรหลีกเล่ียงอันตรำยจำกสีในอำหำร ผู้ใช้สีท้งั ที่บ้าน และผูท้ าอาหารขาย
ควรเลือกใชแ้ ต่ “สีผสมอำหำร” เท่าน้นั
ควรพยายามใชส้ ีทไี่ ดจ้ ากธรรมชาติ
ไมร่ บั ประทานอาหารที่ใส่สีฉูดฉาด
น้ำส้มสำยชู
ใชใ้ นการปรุงอาหารเพื่อเพิ่มรสเปร้ียว น้าส้มที่ใชร้ บั ประทานไดม้ ี 3 ชนิด คอื
น้าส้มสายชูหมกั
น้าส้มสายชูกลนั่
น้าสม้ สายชูเทียม
นอกจากน้าสม้ สายชูท้งั 3 ชนิดน้ี ยงั ไดม้ ีผูผ้ ลิตน้าส้มสายชูปลอมข้ึนมา
โดยใช้กรดแร่ เช่น กรดกามะถัน นามาเจือจาง เมื่ อรับประทานเข้าไปจะทาให้เกิดโรค
กระเพาะอาหารได้
ผงชูรส
เป็ นสารเคมีที่นิยมใช้ประกอบอาหาร มีคุณสมบัติช่วยให้อาหารอร่อย
ไม่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย การรับประทานผงชูรสเขา้ ไปมากเกินไปอาจก่อให้เกิดโทษได้
หรือกรณีทเ่ี ป็นผลชูรสปลอมจะทาให้เป็นอนั ตรายต่อร่างกายได้
กำรเลือกรับประทำนอำหำร
กำรเลือกรับประทำนอำหำร ควรปฏิบตั ิดงั น้ี
รับประทานอาหารท่ีปรุงสุกใหม่ ๆ ไม่รับประทานอาหารที่สงสัยว่าบูดเน่า
หรือมีแมลงวนั ตอม
ไมเ่ ลือกรบั ประทานอาหารที่ปรุงแบบสุก ๆ ดิบ ๆ
การรับประทานผักสด ต้องแน่ ใจว่าผักน้ันสะอาดปราศจากเช้ือโรค
และยาฆา่ แมลง
อาหารที่กรอบ อาจมีสารเคมีเจือปน เช่น บอแรกซ์ ถา้ รับประทานบ่อย ๆ
จะทาให้ไตอกั เสบ จึงควรหลีกเล่ียงอาหารเหล่าน้ี ซ่ึงไดแ้ ก่ ลูกช้ินปิ งปอง ลูกช้ินปลา ลูกชิ้นเดง้
หมยู อ มะม่วงดอง รวมมิตร ทบั ทิมกรอบ กลว้ ยตาก ฯลฯ
อาหารประเภทเน้ือสัตว์ ท่ีมีสีแดงผิดจากสีธรรมชาติมักจะมีดินประสิว
เมอื่ รบั ประทานคร้งั ละมาก ๆ และบอ่ ย ๆ จะเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดทอ้ ง และอาจหมดสติ
ได้ อาหารท่ีใส่ดินประสิว ไดแ้ ก่ กุนเชียง แหนม ไสก้ รอก เน้ือเคม็ จึงไมค่ วรรบั ประทาน
น้าแขง็ น้าดื่ม ตอ้ งสะอาดมกี ารเกบ็ และการบริการท่ถี กู ตอ้ ง
สังเกตภาชนะ อุปกรณ์ที่ใช้ หรือหยิบตกั อาหาร ต้องเก็บในภาชนะที่สะอาด
และเป็นระเบยี บ มกี ารหยิบถูกวิธี
คนขายแต่งกายสะอาด สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ตดั เล็บส้ัน ลา้ งมือสะอาด
และปฏิบตั ติ ามหลกั สุขวทิ ยาบุคคลอยเู่ สมอ
วธิ เี ลือกซื้อผักสดที่ปลอดภัยจำกยำฆ่ำแมลง
วิธเี ลือกซื้อผกั สดทป่ี ลอดภัยจำกยำฆ่ำแมลง ควรปฏิบตั ิดงั น้ี
อย่าเลือกซ้ือผกั สดท่ีมีใบสวยงามนัก ควรมีรูพรุนบ้างเล็กน้อย ซ่ึงแสดงว่า
มีแมลงกดั กิน จึงอาจไมม่ สี ารตกคา้ งจากยาฆา่ แมลง หรือมอี ยนู่ อ้ ย
เลือกผกั ชนิดที่มีการฉีดยาฆ่าแมลงน้อยที่สุด เช่น หน่อไม้ กระถิน ผกั บุ้ง
ดอกแค ตาลงึ ถว่ั งอก ผกั กะเฉด หรือผกั พ้ืนบา้ นในทอ้ งถนิ่ ชนิดอื่น ๆ ฯลฯ
ก่อนรับประทานอาหารผกั หรือผลไมส้ ด ควรลา้ งดว้ ยน้าสะอาดหลาย ๆ คร้ัง
เพ่ือชาระลา้ งยาฆ่าแมลงออกไป และควรทาลายเช้ือโรคและไข่พยาธิ โดยการแช่ผกั หรือผลไม้
ท่ีลา้ งน้าแลว้ ดว้ ยส่ิงตอ่ ไปน้ี
➢ น้าผสมปูนคลอรีน อัตราส่วนปูนคลอรีนคร่ึงช้อนชา ต่อน้า 1 ปี๊ บ
นาน 30 นาที หรือ
➢ ดา่ งทบั ทิมละลายน้าเป็นสีชมพูออ่ นนาน 10 – 15 นาที หรือ
➢ น้ายาสาหรับแช่ผกั นาน 15 นาที
กำรเลือกซื้ออำหำรสดทสี่ ะอำดและปลอดภัย
ควรพิจารณ าเลือกซ้ื ออาหารจากสถานท่ีที่จาหน่ายอาหารประเภทต่าง ๆ
โดยอาศยั หลกั ดงั น้ี
สถำนที่ปรุง ประกอบและจาหน่ายอาหาร สะอาด ไม่ปรุงอาหารบนพ้ืน
มกี ารระบายอากาศทดี่ ี
อำหำร อำหำรปรุงสำเร็จ เก็บไวใ้ นภาชนะท่ีสะอาดมีการปกปิ ดอย่างดี
วางสูงจากพ้ืนอย่างน้อย 60 เซนติเมตร น้ าดื่ม เคร่ืองดื่ม น้าแข็ง เก็บในภาชนะที่สะอาด
มีการปกปิ ดมิดชิด มีอุปกรณ์ท่ีมีด้ามสาหรับตักโดยเฉพาะ และวางสูงจากพ้ืนอย่างน้อย
60 เซนตเิ มตร
ภำชนะอุปกรณ์ เช่น จาน ชาม ช้อน ส้อม ทาด้วยวัสดุไม่เป็ นพิษ
ล้างภาชนะอุปกรณ์ด้วยวิธีการที่ถูกต้องอย่างน้อย 3 ข้ันตอน ภาชนะอุปกรณ์ล้างแล้วคว่า
บนตะแกรง สู งจากพ้ืนอย่างน้อย 60 เซนติเมตร ช้อนส้อม ตะเกียบ วางต้ังเอาด้ามข้ึน
เก็บในตะกร้าทีโ่ ปร่งและสะอาด วางสูงจากพ้นื อยา่ งนอ้ ย 60 เซนติเมตร
สัตว์และแมลงนำโรค มีการควบคุมและจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
เช่น มีถงั ขยะท่ีไม่รั่วซึมและมีฝาปิ ดมิดชิด มีห้องน้าห้องส้วมที่เพียงพอ มีอ่างล้างมือในบริเวณ
หอ้ งส้วมดว้ ย และมคี วามระมดั ระวงั ในการใชส้ ารเคมี
ผู้ปรุง ผู้เสิร์ฟ แตง่ กายสะอาด สวมผา้ กนั เป้ื อนและหมวกคลุมผม มีสุขนิสัย
ทด่ี ีขณะปฏิบตั ิ
กำรเลือกซื้ออำหำรสด
หลกั พิจำรณำในกำรเลือกอำหำร ต้องยึดหลกั 3 ป. ได้แก่
1. ประโยชน์ ตอ้ งเป็นอาหารสด ใหม่ มคี ุณคา่ ทางโภชนาการ
2. ปลอดภัย ต้องเลือกอาหารที่แน่ใจว่าสะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน
ผลติ จากแหลง่ ทีเ่ ชื่อถือได้
3. ประหยัด เลือกซ้ืออาหารตามฤดูกาล เพื่อให้ไดอ้ าหารท่ีมีคุณภาพดี ราคาถูก
เหมาะสม และหาซ้ือไดส้ ะดวก
เนือ้ หมู เนื้อววั
เนื้อหมู เนื้อวัว จะต้องมีสี แดงสดตาม
ธรรมชาติไม่ช้าเลือด ไม่มีกลิ่นเหม็นบูด ไม่มีเม็ด
สาคูในเน้ือววั เน้ือหมูควรเลือกซ้ือจากแหล่งท่ีมี
สัตวแ์ พทยร์ ับรอง และตรวจซากสัตว์ ห้าม
บริโภคเน้ือหมู ววั ที่ตายโดยไม่ทราบสาเหตุ เน้ือววั
จะเน่าจากภายนอกเขา้ สู่ภายในสังเกตง่าย ในขณะ
เน้ือหมจู ะเน่าจากภายใน สู่ภายนอก มีกล่นิ เหม็นบูด
สงั เกตได้
ปลำ
ปลำสด ตอ้ งมีเหงือกสีแดงสด ไมเ่ ขยี วคล้า
ใต้ท้องสะอาด ไม่มีเมือก ไม่มีกลิ่นเหม็น ตาใส
ไม่ลึกโบ๋ ช้าเลือด ขุ่น เน้ือปลาต้องแน่นเอานิ้ว
กดลงไปตอ้ งไม่เป็ นรอยบุ๋มอยนู่ าน ถา้ นาไปลอยน้า
ปลาที่สดจะจมน้า
ก้งุ กุ้ง ตัวกุ้งจะมีเน้ือแน่น ไม่นิ่มตามครีบ
หอย และหาง ตอ้ งไม่เป็ นสีชมพู ไม่แห้ง หรือมีสีด้าน
เป็ ด ไก่ ไมส่ ดใส ไม่มีกลน่ิ เหม็นคลา้ ยกบั กล่ินแอมโมเนีย
ท่ีสาคญั คือหวั กงุ้ ไม่ควรหลดุ ออกจากตวั กงุ้
ห อยสด ฝาหรื อเปลือกควรจะต้อง
ปิ ดสนิท ไม่เปิ ดอ้า ยกเว้นหอยที่ยังไม่ตาย
ไม่ มี ก ลิ่ น เห ม็ น แ ล ะ ที่ บ ริ เว ณ เป ลื อ ก ไ ม่ ค ว ร มี
เมือกหรือสกปรกจนเกินไป และเวลาแกะ
เปลือกออกมาแล้ว ต้องมีสีสดตามธรรมชาติ
ไม่ซีดจาง
เป็ ดไก่ ควรจะมีเน้ือแน่นและสะอาด
ไม่มีการทาสี ตามตัว ไม่มีกลิ่นเหม็นหื น
โด ย เฉ พ าะบ ริ เว ณ ใต้ปี ก ใต้ข า ล าค อ
และส่วนบนของก้นบริเวณปลายปี กจะต้อง
ไม่มีสีคล้า สาหรับเคร่ืองในไก่โดยเฉพาะตบั
ตอ้ งมสี ีสดตามธรรมชาติ ไมซ่ ีดจางหรือเป็นจ้า
เพราะอาจจะมีสารเคมีที่ใช้ในการเล้ียงสะสม
ในเน้ือตบั ได้
ผกั สด ผลไม้
ผกั สด ตอ้ งสด ใหม่ สะอาด ไม่เห่ียวเฉา ไมม่ รี อยเน่าช้า
ผลไม้ มสี ีตามธรรมชาติ ไม่มีคราบสีขาวของวตั ถุ หรือไข่แมลงติดอยู่
อำหำรทะเล
อำหำรทะเล ต้องมีสีธรรมชาติ เน้ือแน่น ไม่เปื่ อยยุ่ย ไม่มีกล่ินเหม็น ครีบตา
ตอ้ งเป็นมนั สดใส ไม่ซีดจาง หรือมีสีเขยี วคล้า
ไข่สด
ไข่สด มีผิวนวลคล้ายแป้งเคลือบอยู่ท่ีเปลือกไข่ เปลือกไข่ต้องไม่แตกร้าว
ไม่มมี ลู สตั ว์ หรือคราบสกปรกตดิ อยู่ ไขส่ ดใหมจ่ ะมีน้าหนกั มากกวา่ ไข่เก่า เมอ่ื เขยา่ ดูจะไมค่ ลอน
กำรเลือกซื้ออำหำรแห้ง
กำรเลือก
ถั่วเมล็ดแห้ งและธัญพืชต่ำง ๆ ต้องสะอาด ไม่อับช้ืน ไม่มีกลิ่นเหม็นหื น
เปลอื กแหง้ สนิท เมลด็ สมบูรณ์ เน้ือแน่นไมล่ บี ไม่แตกหกั ไม่มเี ช้ือรา สีไมผ่ ดิ ปกตจิ ากธรรมชาติ
เนื้อสัตว์แห้ง สี หรื อกลิ่นต้องไม่ผิดจากธรรมชาติ ลักษณะแห้ง ไม่อับช้ืน
ไมม่ ีเช้ือรา และเลอื กซ้ือจากแหล่งทเี่ ชื่อถือได้
กำรเลือกซื้ออำหำรกระป๋ อง
กำรเลือกซื้อ
ภาชนะบรรจุอยใู่ นสภาพดี ไมโ่ ป่ งนูน ไม่มีรอยบุบบวม ไม่มีรูรว่ั ซึม
มฉี ลากอาหารแสดงชนิดของอาหาร ปริมาณสุทธิ ชื่อท่ีต้งั ของสถานทผ่ี ลิต วนั
เดือนปี ที่ผลิต หรือหมดอายุ ควรบริโภค และเลขทะเบียนตารับอาหาร (อย.) หรือเครื่องหมาย
รบั รองคณุ ภาพมาตรฐานของกระทรวงอตุ สาหกรรม (มอก.)
กำรบริโภค
ตรวจดสู ภาพกระป๋ องกอ่ นนามาปรุง ตอ้ งอยใู่ นสภาพทีด่ ี
เม่ือเปิ ดฝาออก ตอ้ งไม่มีลมดันออก ไม่มีกล่ินเหม็นเปร้ียว หรือกล่ินผิดปกติ
อย่างอื่น ตัวกระป๋ องด้านในต้องไม่ถูกกัดกร่อนจนเกินไป หรือเป็ นสีดาไม่ควรนามาบริโภค
ถา้ มลี กั ษณะดงั กล่าวแสดงวา่ อาหารกระป๋ องน้นั ไม่สะอาด
ต้องนาอาหารกระป๋ องไปอุ่นให้เดือดในภาชนะหุงต้ม เช่น หม้อ กระทะ
ไมอ่ ุ่นอาหารในกระป๋ อง
กำรเลือกซื้ออำหำรปรุงสำเร็จ
อำหำรปรุงสำเร็จ เป็นอาหารทผี่ ่านการปรุงแลว้ พร้อมทจี่ ะบริโภคไดท้ นั ที
กำรเลือกซื้อ
ตอ้ งสังเกต สี กลิ่น รสชาติของอาหารตามปกติ ไม่มีสีคล้า กลิ่นเหมน็ เปร้ียว
เน่าเสีย หรือสีท่ผี ิดปกติ
เลอื กซ้ือจากสถานทีท่ ่นี ่าเช่ือถอื และไวใ้ จได้
กำรเกบ็
ตอ้ งเก็บในตู้ หรือภาชนะทส่ี ะอาด มีฝาปิ ดมิดชิด ป้องกนั ฝ่นุ ละออง และแมลง
ตา่ ง ๆ ได้ สูงจากพ้ืนอยา่ งนอ้ ย 60 เซนติเมตร
เม่ือรับประทานไม่หมด ควรเก็บใส่ตู้เย็น เพื่อยบั ย้งั การเจริญเติบโตของเช้ือ
โรค และตอ้ งนามาอนุ่ ใหร้ ้อนใหมอ่ กี คร้งั เมื่อจะนามาบริโภคอีก
หลักพิจำรณำในกำรปรุงอำหำร
ควรยึดหลกั 3 ส. ดงั น้ี
1. สงวนคุณค่ำ คือ มีวิธีการปรุงที่จะช่วยสงวนคุณค่าของอาหารให้ผูบ้ ริโภค
ไดร้ บั ประโยชน์เตม็ ท่ี
2. สุกเสมอ คือ ใชค้ วามร้อนในการปรุงอาหารให้สุก เพื่อเป็นการทาลายเช้ือโรค
พยาธิต่าง ๆ และสารเคมีเป็ นพิษ ซ่ึงอาจปนเป้ื อนติดมากบั อาหาร การใช้ความร้อนในการปรุง
อาหารที่เหมาะสม และใช้เวลานานเพียงพอท่ีจะทาลายเช้ือโรคได้ คือ 100 องศาเซลเซียส
นานไม่นอ้ ยกว่า 10 นาที
3. สะอำด ปลอดภัย ควรคานึงถึงหลกั การ ดงั ต่อไปน้ี
➢ ก่อนปรุง อาหารดิบ ตอ้ งอยู่ในสภาพท่ีสะอาด ปลอดภยั ไม่เน่าเสีย
จาหน่ายในสถานท่ีทถ่ี กู สุขลกั ษณะ บรรจุในภาชนะอปุ กรณท์ ่ีสะอาดตามหลกั การสุขาภิบาลอาหาร
➢ ระหว่ำงปรุง ต้องมีกรรมวิธีท่ีสะอาด ถูกต้อง ซ่ึงรวมถึงการล้าง
ทาความสะอาดอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ และการมีสุขนิสัยในการปรุงอาหารทีถ่ กู ตอ้ งดว้ ย
เน้ื อสัตว์ทุกชนิด ก่อนนาไปปรุ งจะต้องล้างให้สะอาด ในกรณี ท่ีมีไขมัน
หรือเศษสิ่งสกปรกติดมามาก ควรลา้ งดว้ ยน้าอุ่น เพื่อลา้ งเอาฝุ่นละออง ส่ิงสกปรก และเช้ือโรค
ที่ติดมากับก้อนเน้ือน้ันออกหากมีกระดูกที่ไม่ต้องการติดมาด้วยก็ควรแยกออก เพื่อการปรุง
และการบริโภคจะไดส้ ะดวกข้ึน ช้ินเน้ือท่ีใช้ปรุงไม่ควรเป็ นช้ินใหญ่มากนัก เพราะจะทาให้สุก
ไม่ทว่ั ถึง หรือถา้ จะทาให้สุกทว่ั ท้งั กอ้ น ก็ตอ้ งใช้เวลานานมากข้ึนเพอ่ื จะไดฆ้ า่ เช้ือโรค หรือตวั ออ่ น
ของพยาธิท่ีอาจแฝงอยใู่ นกอ้ นเน้ือน้นั ใหต้ ายไดห้ มด
นนั่ คอื อาหารเน้ือสัตวท์ ุกชนิด ตอ้ งทาใหส้ ุก โดยอาศยั วธิ ีการปรุงต่าง ๆ เช่น แกง
ตม้ ผดั น่ึง ยา่ ง ปิ้ ง ทอด เป็นตน้
หลักกำรพจิ ำรณำในกำรเก็บอำหำร
ควรยึดหลัก 3 ส. ดงั น้ี
1. สัดส่วนเป็ นระเบียบ มีการจดั เก็บเป็นระเบียบ แยกประเภทตามอาหารประเภท
ต่าง ๆ เป็นสดั ส่วน ไมป่ ะปนกนั
2. ส่ิงแวดล้อมเหมำะสม ในการเก็บอาหาร โดยท่ัวไปควรคานึงถึงการจัด
ส่ิงแวดลอ้ มที่เหมาะสม โดยเฉพาะเร่ืองอุณหภมู ิท่เี ก่ียวขอ้ งกบั อาหาร
3. สะอำด ปลอดภยั เกบ็ ไวใ้ นภาชนะบรรจุที่สะอาด มีการทาความสะอาดสถานท่ี
เกบ็ อยา่ งสม่าเสมอ และไม่อยใู่ กลส้ ารเคมีเป็นพิษอื่น ๆ ซ่ึงมไิ ดใ้ ชเ้ พอื่ การบริโภค
กำรเก็บเนื้อสัตว์สด
การเก็บเน้ือสัตวส์ ด ก่อนเก็บอาหารสดในตูเ้ ยน็ หรือตู้แช่ตอ้ งลา้ งกาจดั สิ่งสกปรก
และเช้ือโรคที่ติดมากับอาหารออกให้หมด หรือให้เหลืออยู่น้อยท่ีสุด เพื่อท่ีจะได้ไม่ขยายตัว
แพร่พนั ธุ์มากข้ึนในขณะที่แช่เยน็ ไว้ ท้งั น้ีเน่ืองจากความเยน็ จะไม่สามารถฆ่าเช้ือโรคที่ปนเป้ื อน
มากบั อาหารได้ แตส่ ามารถหยดุ ย้งั การเจริญแพร่พนั ธุข์ องเช้ือโรค ที่เป็นตวั การให้อาหารบูดเสียได้
อาหารเน้ือสตั วไ์ มห่ นาเกินกวา่ 4 นิ้วฟุต เพ่ือความเยน็ เขา้ ไปไดท้ วั่ ถงึ
กำรเก็บเนื้อสัตว์ปรุงสำเร็จ
การเก็บเน้ือสตั วป์ รุงสาเร็จ มีหลายวิธี เช่น การทาให้แหง้ การรมควนั การทาเคม็
การหมกั ดอง จะต้องดูแลเร่ืองความสะอาดในการจดั เก็บ เนื่องจากสภาพอากาศท่ีร้อนอบอ้าว
และมีความช้ืนสูงในประเทศไทย มีผลโดยตรงต่อการเจริญแพร่พนั ธุ์อย่างรวดเร็วของเช้ือโรค
ทาให้อาหารบูดเสียได้ง่าย ดังน้ัน การเก็บอาหาร ตอ้ งเก็บให้ปลอดภยั จากสัตว์ แมลงนาโรค
และสูงจากพ้ืนอย่างนอ้ ย 60 เซนติเมตร และท่ีสาคญั คือ ตอ้ งอุ่นอาหารเพ่ือทาลายเช้ือโรคทุกคร้ัง
กอ่ นการบริโภคหรือเกบ็ ในตูเ้ ยน็
จะเห็นได้ว่า หากมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามหลักการเลือก
การปรุง และการเก็บอาหารอย่างถูกวิธี ถูกหลกั สุขาภิบาลอาหารแล้ว ก็เป็ นการป้องกันตวั เอง
และสมาชิกในครอบครวั จากพษิ ภยั ในอาหาร หรืออนั ตรายจากส่ิงปนเป้ื อนในอาหารไดอ้ กี ทางหน่ึง
วธิ ีกำรปรุงอำหำรเนื้อสัตว์ในชนบท
แบบสุก แบง่ เป็น 7 วธิ ีปรุง ดงั น้ี คือ
1. แกง, ต้ม
ต้มน้าให้เดือดพร้อมเครื่องปรุงรส เช่นตะไคร้ พริกแห้ง หอม มะขาม
ใบมะกรูด เป็นตน้ แลว้ ใส่เน้ือสตั วท์ ล่ี า้ งสะอาด ปรุงรสพร้อมใส่ผกั ลงไปดว้ ยก็ได้
2. ป่ น
นาหัวหอม กระเทียม พริกมาเผา แลว้ โขลกรวมกนั นาเน้ือสัตว์ท่ีตม้ สุก
แลว้ มาโขลกรวมกนั กบั เคร่ืองปรุงรส ปรุงรสดว้ ยมะนาว มะกอก นามาบริโภคกบั ผกั สด
3. นึง่
นาเน้ือสัตวม์ าใส่ในภาชนะประเภทซ้ึง หรือรังถึง หรือหวด มาทาให้สุก
โดยใชค้ วามร้อนจากน้าเดือดทอี่ ยดู่ า้ นล่างของภาชนะ
4. หมก อ่อม อู๋
นาตะไคร้ กระเทียม หัวหอม พริกแห้งมาโขลกรวมกันให้ละเอียด
แล้วคลุกกับเน้ือสัตว์ ใส่ใบมะกรูด และแต่งรสด้วยเคร่ืองปรุงรส ห่อด้วยใบตอง หรือเติมน้า
เลก็ นอ้ ย ต้งั ไฟ ยา่ ง หรือน่ึงให้สุก
5. ทอด
นาเน้ือสัตว์มาคลุกกับเกลือ หรือซีอิ้ว หรือเคร่ืองเทศ แล้วนาไปทอด
ในน้ามนั ทว้ มเน้ือสตั ว์
6. ผัด
นาเน้ือสัตวม์ าคลุกกบั เครื่องเทศ กระเทียม หรือซีอิ้ว หรือซอสมะเขือเทศ
แลว้ นามาผดั กบั น้นั จนสุก
7. ปิ้ง ย่ำง เผำ
นาเน้ือสัตวม์ าคลุกกบั เคร่ืองปรุงรส ใส่กระเทียม แลว้ นาไปผ่านความร้อน
โดยใช้การปิ้ ง ย่างไฟอ่อน ๆ จนเน้ือสัตว์แห้ง หรือห่อด้วยใบตอง พอกดินแล้วนาไปเผาไฟ
จนเน้ือสัตวส์ ุก
แบบสุก ๆ ดิบ ๆ แบ่งเป็น 3 วิธีปรุง ดงั น้ี คอื
1. ลำบ
นาเน้ือสัตวม์ าเลาะกระดูกออกเอาแต่เฉพาะส่วนเน้ือมาสับให้ละเอียด แลว้
ลวกในน้าตม้ เดือด หรือต้งั ไฟลวกเล็กนอ้ ย แลว้ นาไปคลกุ กบั ขา้ วคว่ั พริกแห้ง แตง่ รสดว้ ยน้าปลา
มะนาว พริกสด
2. ส้ม
นาเน้ือสัตว์ท่ีทาความสะอาดแล้ว มาคลุกกับข้าวเหนียวน่ึง เกลือ และ
กระเทียมท่ีโขลกละเอียดใส่ภาชนะที่มีฝาปิ ด ท้ิงไว้ 3 – 4 วนั นามาบริโภคโดยการปรุงรส
ดว้ ยตะไคร้ มะเขือ พริก
3. หม่ำ
นาเน้ือสัตว์และตับสับละเอียดมาใส่ เกลือหมักท้ิงไว้ 1 คืน แล้วใส่
ราขา้ วเหนียว ผสมคลุกกับเน้ือสัตวแ์ ละตบั สับละเอียดที่หมกั ไว้ บรรจุลงในไห ปิ ดปากให้สนิท
ทิ้งไว้ประมาณ 1 – 3 เดือน เวลาบริ โภคมักจะใช้พริ กแห้ง หรื อพริ กสด กระเทียมสด
แตง่ รสเพิม่ เตมิ
แบบดิบ แบง่ เป็น 2 วิธีปรุง ดงั น้ี คอื
1. ก้อย
บริโภคเน้ือสัตวท์ ี่พ่ึงฆ่าใหม่ โดยการใชม้ ะนาว หรือมดแดง พริก หวั หอม
ซอย ปลาร้า ขา้ วควั่ เป็นของแกลม้ โดยเน้ือสตั วม์ กั นิยมสบั ใหล้ ะเอยี ดกอ่ นบริโภค
2. ดบิ
บริโภคสด ๆ โดยการแล่เป็ นชิ้นบาง ๆ มักนิยมบริโภคแกล้มกับสุรา
หรืออาจมีหวั หอมซอย พริกซอยเป็นเคร่ืองแกลม้
1. โรคอุจจำระร่วง
ทีเ่ กิดจากเช้ือ Vibrio parahaemolytcus
มกั พบในอาหารทะเลประเภทหอย ปู กงุ้ ปลา ทบี่ ริโภค
แบบสุก ๆ ดิบ ๆ หรือดิบ อาการทพ่ี บ คือ ถ่ายอุจจาระ
เป็นน้า และปวดทอ้ งอยา่ งรุนแรง คลน่ื ไส้ อาเจียน มีไข้
ปวดศีรษะ
2. โรคแอนแทรกซ์
มกั พบในเน้ือววั ควาย แพะ แกะ หมูที่ตาย โดย
ไม่ทราบสาเหตุแล้ว นามาปรุงประกอบแบบสุก ๆ ดิบ ๆ
หรือดิบ ทาให้มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ท้องเดิน
อ่อนเพลีย กระหายน้า หายใจหอบ และถึงตายได้
3. โรคพยำธติ ัวจ๊ดี
พบได้จากการบริโภคอาหารประเภท ก้อยปลา
ก้อยกุ้ง ไก่ย่าง ปลาดุกย่าง ที่ไม่สุ กท่ัว เน้ืองู
กระรอก ชะมด กบยา แหนมสดที่มีตวั อ่อนพยาธิ
ตวั จี๊ดเขา้ ไป ผูป้ ่ วยจะมีอาการบวมแดง และตึงตาม
ผิวหนัง มีอาการคัน ปวดจ๊ีด รอยบวมมีขนาดไม่
แน่นอน เคลื่อนที่ได้ ถา้ ตวั พยาธิ ไชเขา้ ไขสันหลงั
สมอง ปอด หวั ใจ อาจเป็นอนั ตรายถึงตายได้
4. โรคทริคิโนซิส
เกิดจากพยาธิตวั กลมช่ือ Tricinella spiralis
เกิดจากการกินเน้ื อหมู หมูป่ า กวาง เก้ง หมี
กระรอกแบบดิบ ๆ หรือสุก ๆ ดิบ ๆ ทาให้มีอาการ
ปวดท้อง คล่ื น ไส้ อาเจียน มี ไข้สู ง ปวดตาม
กล้ามเน้ือ หายใจลาบาก มีผ่ืนแดงข้ึน ถ้ารุนแรง
อาจถงึ ตายไดภ้ ายใน 4 – 6 สัปดาห์
5. โรคพยำธใิ บไม้ตับ
เกิ ดจาก พ ยาธิ ตัวแ บ น รู ป ร่ างค ล้าย
ใบกระถิน มักพบในอาหารประเภทก้อยปลา
ปลาร้าดิบ ปลาส้มท่ีมีตวั อ่อนพยาธิอยู่ มีอาการ
ป่ วยท่ีแตกต่างกัน แล้วแต่จานวนพยาธิ ท่ีมีอยู่
ในตับ ส่วนใหญ่มีอาการเร้ือรัง เร่ิมเบ่ืออาหาร
คลนื่ ไส้ อาเจียน ทอ้ งอืด ทอ้ งเดิน ตบั ไต ดีซ่าน
และรุนแรงจนเป็ นมะเร็งท่ีตับ และถึงตายได้
ในท่ีสุด
6. โรคพยำธิใบไม้ปอด
เกิดจากพยาธิตวั แบนรูปร่างคลา้ ยใบไม้
มกั พบในกุง้ หรือปูน้าจืด ที่นามาทาเป็ นกุง้ พล่า
ปูเค็ม น้ าพริ กปูดอง น้ าปู ปูดอง มีอาการ
ไอเร้ือรังเสมหะขน้ เหนียว มีเลือดออกในปอด
เสมหะมีเลือด ปวดศีรษะ เป็นลมชกั ตามวั พร่า
อาจมีอาการอมั พาต หรือรุนแรงจนถงึ ตายได้
7. โรคสปำร์กำโนซิส
เกิดจากพยาธิตัวตืดชนิ ดหน่ึ ง มักพบ
ในอาหารประเภทเน้ืองูดิบ เน้ือและตับตะกวด
แบบสุ ก ๆ ดิบ ๆ มีอาการบวมแดง อักเสบ
แต่ไม่เคลื่อนที่ในกรณี พยาธิอยู่ในช่องท้อง
จะมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง คล้ายไส้ติ่ง
อกั เสบ ถ้าเขา้ สู่ระบบประสาททาให้ปวดศีรษะ
อยา่ งแรงจนทาใหเ้ สียชีวิตได้
8. โรคพยำธติ วั ตืด
เกิ ด จ า ก พ ย า ธิ ตัว แ บ น ค ล้า ย เส้ น บ ะ ห ม่ี
มักพบในอาหารเน้ื อหมู เน้ือวัวที่ปรุ งไม่สุ ก
ที่มีตวั อ่อนพยาธิอยู่ อาการท่ีพบ คือ กินจุแต่ผอม
อ่อนเพลีย น้าหนกั ลด ทอ้ งอดื ปวดทอ้ ง คล่ืนไส้
ถ่ายอุจจาระบ่อย
กำรล้ำงผกั
วธิ ีล้ำงผกั เพ่ือลดวัตถุมพี ษิ (ยำกำจดั ศัตรูพืช) มีหลำยวธิ ี
1. กำรแช่ผักในน้ำสะอำด ให้ลา้ งผกั ในน้าสะอาดกอ่ นหน่ึงคร้งั และเด็ดผกั เป็ นใบ ๆ
แช่ในน้าสะอาดประมาณ 4 ลติ ร นาน 15 นาที จะลดวตั ถมุ พี ิษได้ 7 – 33 %
2. กำรแช่ผักในน้ำส้มสำยชู ใช้น้าส้มสายชูละลายน้าให้ได้ความเขม้ ขน้ 0.5 %
(น้าส้ม อ.ส.ร. 1 ขวดต่อน้ า 4 ลิตร) แช่ผัก ท่ีเด็ดแล้วนาน 15 นาที จะลดวตั ถุมีพิษได้
60 – 84 %
3. กำรแช่ผักในน้ำยำล้ำงผัก ใช้ความเข้มข้น 0.3 % ในน้ า 4 ลิตร (3 CC.
ในน้า 4 ลติ ร) แช่ผกั นาน 15 นาที แลว้ ลา้ งออกดว้ ยน้าสะอาด ลดปริมาณวตั ถุมพี ิษได้ 54 – 68 %
4. กำรแช่ ผักในน้ำโซดำ โดยเตรียมโซเดียมไบคาร์บอเนต ประมาณ 1 %
ในน้า 4 ลติ ร นาน 15 นาที ลดวตั ถมุ พี ิษได้ 23 – 61 %
5. กำรล้ำงผักด้วยน้ำไหลจำกก๊อก โดยเด็ดผักเป็ นใบ ๆใส่ ตะแกรงโปร่ ง
แล้วนาไปล้างใต้ก๊อกน้ า เปิ ดน้ าให้แรงพอประมาณ ใช้มือช่วยคล่ีใบผัก ล้างนาน 2 นาที
ช่วยลดวตั ถุมีพษิ ได้ 54 – 63 %
6. กำรต้ม หรือลวกผัก ช่วยลดสารพิษฆ่าแมลงได้ แต่ถ้าบริโภคเป็ นแกงจืด
วตั ถุมพี ิษจากใบผกั ก็อาจจะตกคา้ งอยใู่ นน้าแกง
กำรล้ำงภำชนะอุปกรณ์
วสั ดุอุปกรณ์ทใี่ ช้ล้ำง
1. อ่างล้างภาชนะ 3 ตอน หรื อกะละมัง 3 ใบ วางสู งจากพ้ืนอย่างน้อย
60 เซนติเมตร
2. น้าสะอาด น้ายาลา้ งจาน ฟองน้า หรือใยสงั เคราะห์
3. ผงปนู คลอรีน
4. ตะแกรง หรือตะกร้าควา่ ภาชนะ
5. ถงั ขยะใส่เศษอาหาร
วิธกี ำรล้ำง
ก่อนล้างตอ้ งแยกภาชนะออกเป็ น 2 พวก คือ ภาชนะใส่อาหารคาว และภาชนะ
ใส่อาหารหวาน และตอ้ งกวาดเศษอาหารตา่ ง ๆ ลงในถงั ขยะก่อนลา้ งดว้ ย
ข้ันตอนท่ี 1 ล้างด้วยน้าผสมน้ ายาล้างจาน โดยใช้ฟองน้า หรือใยสังเคราะห์
ช่วยทาความสะอาด
ข้ันตอนท่ี 2 ล้างด้วยน้ าสะอาด เพ่ือล้างน้ายาล้างจาน และส่ิงสกปรกต่าง ๆ
ทยี่ งั คา้ งอยอู่ อกใหห้ มด
ข้ันตอนท่ี 3 ล้างด้วยน้าสะอาดอีกคร้ัง เพ่ือให้แน่ใจว่าไม่มีส่ิงสกปรกใด ๆ
หลงเหลืออยู่ และในกรณี ท่ีเกิดโรคระบาด ควรฆ่าเช้ือโรคด้วยการใช้น้ าร้อนท่ีอุณหภูมิ
82 - 87 องศาเซ ลเซี ยส หรื อใช้น้ าผส มผงปู นคลอรี น โดยใช้ผงปู นคลอรี น 60 %
จานวน 1 ชอ้ นชาต่อน้าสะอาด 1 ป๊ี บ แช่ไว้ 2 นาที
กำรทำให้ แห้ ง น าภาชน ะอุป ก รณ์ ท่ี ล้างเส ร็ จแล้ว ไป ค ว่าบ น ตะแก รง
หรือท่ีคว่าภาชนะสูงจากพ้ืนอย่างน้อย 60 เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งเองโดยลม หรือแสงแดด
ห้ามใชผ้ า้ เช็ด
กำรล้ำงมือ
มือนำเชื้อโรคอะไรได้บ้ำง
พยำธติ ่ำง ๆ หากผใู้ ดมีพยาธิอยใู่ นร่างกาย ไข่พยาธิจะปนเป้ื อนมาในอจุ จาระ
เม่ือคนน้ันใช้มือสัมผัสอาหารแล้วติดต่อไปยงั ผูท้ ่ีรับประทานอาหารน้ัน หรือถ้าผูน้ ้ันใช้มือ
หยบิ จบั อาหารเขา้ ปาก ก็จะทาใหไ้ ดร้ ับไข่พยาธิซ้าลงไปอกี
แบคทเี รีย เช้ือจะอยใู่ นแผล ฝี หนอง และจมูก หากใชน้ ิ้วมอื ที่เป็นแผลมีฝีหนอง
เชื้อโรคอื่น ๆ ท่ีระบาดไดโ้ ดยอจุ จาระ เมอื่ ผปู้ ่ วยถา่ ยอุจจาระแลว้ ใชม้ ือสมั ผสั
อุจจาระ อาจทาให้ปนเป้ื อนลงสู่อาหาร เกิดการระบาดของโรคสู่ผอู้ ืน่ ได้
ดงั น้นั การล้างมอื ทีส่ ะอาดด้วยน้าและสบู่ กอ่ นบริโภคอาหาร กอ่ นหยิบจบั อาหาร
หรือหลงั จากจบั สิ่งสกปรกต่าง ๆ หลงั ออกจากหอ้ งส้วม จะช่วยป้องกนั โรคต่าง ๆ ได้
กำรล้ำงมือท่ีถกู วิธี
กำรล้ำงมือให้สะอำด ต้องใช้ สบู่ และล้ำงมือให้สะอำดต้องล้ำงอย่ำงถูกต้อง 7 ข้ันตอน
ดังนี้
ข้ันตอนที่ 1 ฝ่ ำมือถูกัน
ข้นั ตอนท่ี 2 ฝ่ ำมือถหู ลังมือและถซู อกนิ้วมือ
ข้นั ตอนท่ี 3 ฝ่ ำมือถฝู ่ ำมือ และน้ิวถูซอกนว้ิ