คมู่ อื
การดาเนินงานสรา้ งเสรมิ พฤตกิ รรมสุขภาพ
ทเี่ น้นนกั เรยี นเป็ นสาคญั ในโรงเรยี น
สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาน่าน เขต ๑
กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาน่าน เขต ๑
เลม่ ๙ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
เอกสาร ศน. หมายเลข ๑๗/๒๕๔๙
คำนำ
คู่มือการดาเนิ นงานสร้างเสริมพฤติกรรมสุ ขภาพท่ีเน้นนักเรียนเป็ นสาคัญ
ในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จังหวัดน่าน
ท่ีนายสุรชาติ ภูผาผุย ศึกษานิเทศก์ผูร้ ับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
รวมท้ังงานส่งเสริมสุขภาพและพลานามัย งานอนามัยโรงเรียนได้จัดทาข้ึน เพ่ือรวบรวม
สาระสาคญั ของกิจกรรมในงานอนามยั โรงเรียน สาหรับผูบ้ ริหารโรงเรียน ครูอนามยั โรงเรียน
และผูเ้ ก่ียวข้อง ได้ใช้เป็ นแนวทางในการดาเนินงานสร้างเสริมพฤติกรรมสุ ขภาพนักเรียน
ประกอบดว้ ยเอกสารคูม่ ือการดาเนินงาน 15 เลม่ คอื
เล่ม 1 โรคไขห้ วดั นกหรือไขห้ วดั ใหญ่ในสตั วป์ ี ก
เลม่ 2 โรคหนอนพยาธิ
เล่ม 3 โรคเลปโตสไปโรซิสหรือฉี่หนู
เลม่ 4 ยาสามญั ประจาบา้ นและยาสมุนไพร
เลม่ 5 แนวทางสร้างสุขภาพ 10 ประการ
เล่ม 6 ธงโภชนาการ...กินพอดี มสี ุข
เลม่ 7 ผกั พ้ืนบา้ นอาหารเพอ่ื สุขภาพ
เลม่ 8 อนามยั ส่ิงแวดลอ้ มและสุขาภิบาลอาหาร
เล่ม 9 ฟันสวยรวยเสน่ห์ เลม่ 10 การสอนเพศศึกษาในโรงเรียน
เล่ม 11 การออกกาลงั กายเพ่ือสุขภาพ เลม่ 12 บา้ นน่าอยโู่ รงเรียนน่าอยู่
เล่ม 13 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เลม่ 14 มารู้จกั เอดส์กนั เถอะ
เลม่ 15 ค่มู อื นิเทศ ฯ (สาหรบั ผบู้ ริหารโรงเรียน ครูและศกึ ษานิเทศก)์
หวงั เป็ นอย่างย่ิงว่า เน้ือหาสาระในเอกสารท้ัง 15 เล่มดังกล่าว จะเป็ นประโยชน์
ต่อผูบ้ ริหารโรงเรียน ครูอนามยั โรงเรียน และผูเ้ ก่ียวขอ้ ง ไดใ้ ช้เป็ นแนวทางประกอบการจัด
การเรียนการสอนและการจดั กิจกรรมในการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนให้บรรลุผล
ตามวตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพยงิ่ ข้นึ
พฤษภาคม 2559
นายสุรชาติ ภูผาผุย
3
หน้า
จดุ ประสงค์ 1
ความรูพ้ นื้ ฐานทางทนั ตสขุ ภาพ 2
สว่ นประกอบของฟัน 4
ประโยชนข์ องฟัน 8
การบารุงรกั ษาฟัน, การแปรงฟันถกู วิธี 10
ขนั้ ตอนการแปรงฟันท่ีถกู วิธี 13
การใชย้ าสีฟันเพ่ือสขุ ภาพเหงือก 21
ขอ้ ควรระวงั ในการใชย้ าสีฟัน 22
อาหารกบั ทนั ตสขุ ภาพ 23
การใชฟ้ ลอู อไรดใ์ นการปอ้ งกนั ฟันผุ 24
พฤตกิ รรมทีม่ ผี ลเสยี ต่อสขุ ภาพในช่องปาก 26
การใชไ้ หมขดั ฟัน 27
วธิ ีตรวจความสะอาดของฟัน 29
โรคในช่องปาก 39
การลกุ ลามของโรคฟันผรุ ะยะต่าง ๆ ทเ่ี หน็ ในปาก ประวตั ิท่ีซกั ถาม และขอ้ เสนอแนะ 41
โรคปริทนั ตแ์ ละการรกั ษา 45
การลกุ ลามของโรคเหงอื กในเดก็ ลกั ษณะทีเ่ หน็ ในปาก ประวตั ิท่ีซกั ถาม และขอ้ เสนอแนะ47
ความผดิ ปกติในช่องปากอน่ื ๆ ทีต่ อ้ งการรกั ษาเรง่ ด่วน 50
จดุ ประสงค์
1. เพ่ือส่งเสริมให้มีการศึกษาดา้ นทันตสุขภาพท่ีดีสาหรบั นักเรียน
จนส่งผลให้มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับโครงสรา้ ง พัฒนาการ การบารุงรักษา
การปอ้ งกนั ฟันผแุ ละเขา้ ใจวิธีแปรงฟันที่ถกู วธิ ี
2. เพือ่ ใหน้ กั เรยี นมีทศั นคติ และมีพฤตกิ รรมทางทนั ตสขุ ภาพดขี ึน้
3. เพื่อให้ครอบครัว โรงเรียน ครู และนักเรียนมีกิจกรรมร่วมกัน
อนั จะส่งผลใหท้ กุ คนตระหนกั ถึงบทบาทของตนเองในการดแู ลสขุ ภาพในชอ่ งปาก
2
ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับทนั ตสุขภาพ
โครงสร้างและพัฒนาการของฟัน ฟันธรรมชาติของคนมี 2 ชุด
ไดแ้ ก่
ฟั นชุดแรก เรียกว่าฟั นน้านม (Deciduous teeth) มี 20 ซ่ี
เมื่อมารดาตงั้ ครรภไ์ ดป้ ระมาณ 6 สปั ดาหจ์ ะเร่ิมมีหน่อฟัน (Tooth Bud) เกิดขึน้
ในตาแหน่งที่จะเจริญเป็นขากรรไกรของทารกต่อไป หน่อฟันซ่ึงมีลักษณะนิ่ม
จะมีแร่ธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรสั มาสะสม ทาใหม้ ีลักษณะแข็งขึน้ ตามลาดับ
และมีรูปรา่ งเป็นฟันท่ีสมบูรณ์ หลังจากคลอดประมาณ 6 – 7 เดือน ฟันนา้ นม
จะเร่ิมงอกโผล่พน้ จากขากรรไกรล่างบริเวณตรงกลางข้างหน้า 2 ซ่ี และทยอยขึน้
ตามมาเป็นลาดบั ครบ 20 ซ่ี เม่อื อายไุ ด้ 2 ปีครง่ึ ถงึ 3 ปี
ฟันน้านมมีสีค่อนข้างขาวคล้ายสีน้านม มีขนาดเล็กกว่าฟันแท้
เม่ือใช้งานไปนาน ๆ ปลายฟันจะสึกเป็นเส้นตรงในฟันหน้า ส่วนฟันหลังนั้น
รอยรอ่ งบนส่วนบดเคีย้ วคอ่ นขา้ งเลือนและเห็นสีเหลืองของชนั้ เนือ้ ฟัน ทาใหเ้ หมือน
สว่ นบดเคยี้ วมีสีเหลืองเขม้ ขน้ ซ่ึงแตกต่างจากฟันแทอ้ ยา่ งเห็นไดช้ ดั
ภาพแสดงฟันน้านมบนและลา่ ง
3
ฟั นชุดที่สอง เรียกว่าฟันถาวรหรือฟันแท้ (Permanent Teeth)
มี 32 ซ่ี เม่ือเดก็ อายุ 6 ปี ฟันแทซ้ ี่แรกคือฟันกรามซ่ีที่ 1 จะขึน้ มาในช่องปากมี 4 ซี่
เป็นฟันบน 2 ซ่ี ฟันล่าง 2 ซ่ี ซา้ ยและขวา ตาแหน่งที่ขึน้ จะอย่ถู ัดจากฟันกราม
นา้ นมซ่ีที่ 2 ซึ่งเป็นฟันนา้ นมซี่สดุ ทา้ ยเขา้ ไปและฟันแทอ้ ื่น ๆ จะทยอยขึน้ มาแทนท่ี
ฟันนา้ นม ซึ่งจะค่อย ๆ โยกหลุดไปเป็นลาดบั ฟันกรามแท้ซ่ีท่ี 2 จะขึน้ ถดั จากฟัน
กรามแทซ้ ีแ่ รกเขา้ ไป จนครบ 28 ซี่ เมือ่ อายไุ ดป้ ระมาณ 12 – 13 ปี
ส่วนฟันกรามแท้ซ่ีที่ 3 อาจจะขึน้ เร็วหรือช้า ง่ายหรือยากต่างกัน
ช่วงระยะเวลาการขนึ้ ตง้ั แต่อายุ 18 - 30 ปี เมอื่ ฟันขึน้ มาครบ จะมีทงั้ หมด 32 ซ่ี
ฟันแท้มีสีเขม้ ออกไปทางเหลืองมากกว่าฟันนา้ นมและมีขนาดใหญ่
กว่าฟันนา้ นม ในเด็กวยั ประถมศึกษาท่ีฟันแทเ้ พิ่งเร่ิมขนึ้ นนั้ ในฟันหนา้ อาจยังเห็น
ปลายฟันมีลกั ษณะเป็นคล่นื สว่ นฟันหลงั จะยงั เหน็ รอยรอ่ งบนสว่ นบดเคยี้ วชดั เจน
ภาพแสดงฟันแทบ้ นและล่าง
ภาพแสดงฟันแทบ้ น ภาพแสดงฟันแท้ลา่ ง
4
รูปรา่ งภายนอกของฟันท้ังซี่ แบง่ เป็น 2 สว่ น ไดแ้ ก่
ตัวฟั น (Crown) คือ ส่วนของฟั นที่ขึ้นพ้นกระดูกและเหงือก
ที่ยดึ หมุ้ ฟันอย่เู ป็นสว่ นของฟันทงั้ หมดทมี่ องเห็นในช่องปาก
รากฟัน (Root) คือ ส่วนของฟันซ่ึงต่อจากตัวฟัน ฝังอยู่ในกระดูก
ขากรรไกร มีเนือ้ เย่ือปริทนั ตย์ ึดใหต้ ิดกบั กระดกู รอบ ๆ คลา้ ยกบั รากแกว้ ของตน้ ไม้
ซ่งึ หย่งั อยใู่ นดินเพือ่ ใหต้ น้ ไมแ้ ขง็ แรง
ช้นั ตา่ ง ๆ ของฟัน
ชั้นเคลือบตัวฟั น (Enamel) ส่วนนี้คลุมอยู่นอกสุดของตัวฟัน
ทั้งหมดโครงสรา้ งที่ทาให้เกิดลักษณะแข็ง ได้แก่ผลึกสารประกอบแคลเซียม
เรยี กไฮดรอกซ่ีแอปปาไทต์ (Hydroxy appatite) เคลือบตวั ฟัน จดั เป็นสว่ นทแ่ี ข็งแรง
ท่สี ดุ ของรา่ งกายมคี วามแข็งมากกวา่ กระดกู
ชั้นเคลือบรากฟัน (Cementum) คลุมอยู่นอกสุดของส่วนรากฟัน
และเป็นที่เกาะยึดของเนื้อเย่ือปริทันต์ ซึ่งโยงไปยึดกับกระดูกรอบ ๆ รากฟัน
ทาใหฟ้ ันติดแน่นกบั กระดกู โครงสรา้ งของส่วนเคลือบรากฟันนีค้ ลา้ ยกบั ของเคลอื บ
ตวั ฟัน แต่มีผลึกสารประกอบแคลเซียมน้อยกว่า จึงเกิดการสึกกร่อนไดง้ ่ายกว่า
เม่อื ถกู ขดั ถู
5
ชัน้ เนือ้ ฟัน (Dentine) อย่ถู ดั จากชนั้ นอกสุดเขา้ ไปทงั้ ในส่วนตวั ฟัน
และรากฟั น ประกอบด้วยโครงสร้างผลึกสารประกอบแคลเซียมไฮดรอกซ่ี
แอปปาไทตน์ ้อยกว่าชั้นเคลือบตวั ฟัน แต่มากกว่าชัน้ เคลือบรากฟัน มีความแข็ง
ใกลเ้ คียงกับกระดูกบริเวณชั้นในของเนื้อฟัน มีแขนงเล็ก ๆ ของปลายประสาท
ซง่ึ ทาหนา้ ท่ีรบั ความรูส้ กึ เจ็บปวดที่ฟันหล่อเลยี้ งอยู่
โพรงประสาทฟัน (Pulp cavity) และคลองรากฟัน (Root Canal)
เป็นโพรงตรงกลางของตัวฟันและรากฟัน ซึ่งภายในมีเส้นเลือด ท่อน้าเหลือง
และเสน้ ประสาทแขนงเลก็ ๆ ทาหนา้ ท่ีหล่อเลีย้ งใหฟ้ ันมีชีวิต รบั ความรูส้ ึกเจ็บปวด
เมื่อมีส่ิงใดหรือสารใดทาอันตรายเนื้อฟัน หรือทาลายเส้นเลือด เส้นประสาท
ทห่ี ลอ่ เลยี้ งอย่ใู นตวั ฟันโดยตรง
แขนงของเสน้ เลือด เสน้ ประสาท และท่อนา้ เหลืองที่เขา้ ไปหล่อเลีย้ ง
ฟันทุกซ่ี จะมีทางติดต่อกับภายนอก โดยผ่านออกจากรูท่ีมีอยู่ตรงปลายรากฟัน
แต่ละซี่ การหมุนเวียนของเลือดที่มาเลีย้ งฟันไปยังปอดและหัวใจ ซึ่งเป็นศูนยร์ วม
ของวงจรโลหิต ทาใหเ้ กิดการแพร่กระจายเชือ้ โรค จากฟันผุชั้นโพรงประสาทฟัน
ไปทาอนั ตรายตอ่ อวยั วะสาคญั ต่าง ๆ ได้
6
เนือ้ เยื่อทเ่ี ก่ียวข้องกบั ฟัน
เหงือก (Gingival) เป็นเนื้อเย่ือที่คลุมเหนือกระดูกท่ีฟันฝังรากอยู่
ลกั ษณะปกติที่มองเห็นมีสีชมพูหรอื าจสีคลา้ ตามสีผิว ลกั ษณะเนือ้ แน่นมีผิวขรุขระ
คล้ายผิวส้ม รัดแนบสนิทกับฟันและโค้งเว้าไปตามลักษณะคอฟันบรรจุอยู่
เตม็ ระหวา่ งซอกฟัน 2 ซที่ ่ีติดกัน เป็นหนา้ ด่านป้องกันอันตรายจากภายนอกใหแ้ ก่
กระดกู และรากฟันขา้ งใต้
เนื้อเยื่อปริทันต์ (Periodontal Membrane) เป็นเนือ้ เย่ือคลา้ ยเอ็น
ยึดจากรอบ ๆ ส่วนเคลือบรากฟันไปยังกระดูกหุ้มรากฟัน มีลักษณะคลา้ ยเอ็น
ยืดหย่นุ ได้ ทาใหฟ้ ันขยบั ไดเ้ ลก็ นอ้ ยขณะออกแรงเคยี้ วอาหาร
กระดูกหุ้มรากฟัน (Alveolar bone) เป็นสว่ นกระดูกในขากรรไกร
ซึง่ หมุ้ รากฟันท่ฝี ังอยู่ ทาใหฟ้ ันแข็งแรงใชบ้ ดเคยี้ วได้
รูปรา่ งตา่ ง ๆ ของฟันและหน้าทข่ี องฟันตามรูปร่าง
1. ฟันหน้า
1.1 ฟันตัดหรือฟันกดั (Incisor) มี 8 ซี่ เป็นฟันบน 4 ซี่ ฟันล่าง 4
ซี่ อย่ดู า้ นหนา้ สุด รูปร่างแบน ปลายฟันลกั ษณะเรียบ ส่วนหน้าตดั ฟันคลา้ ยล่ิม
ทาหนา้ ทกี่ ดั หรอื ตดั อาหาร
1.2 ฟันเขีย้ ว (Canine) มี 4 ซ่ี ฟันบน 2 ซ่ี ฟันล่าง 2 ซ่ี ซา้ ยและขวา
อย่ถู ัดจากฟันตดั เขา้ ไปในตาแหน่งของมุมปาก ปลายฟันมีลกั ษณะค่อนขา้ งแหลม
ทาหนา้ ที่ฉีกอาหาร
7
2. ฟันหลัง
2.1 ฟันกรามน้อย (Premolar) มีเฉพาะในฟันแท้ 8 ซ่ี ฟันล่าง 4 ซี่
ซา้ ยและขวา ลักษณะคลา้ ยฟันกราม แต่มีขนาดเล็กกว่าปลายฟันค่อนขา้ งแหลม
เป็นยอดฟัน 2 ยอด หน้าตัดฟันมีเนือ้ ที่มากกว่าฟันเขีย้ วจนเกือบจะเป็นส่ีเหลี่ยม
ประกอบดว้ ยรอ่ งซ่ึงเกดิ จากยอดฟัน 2 ยอดเช่ือมกนั ร่องนีม้ ักมีเศษอาหารตดิ คา้ งอยู่
ถ้าทาความสะอาดไม่ท่ัวถึงจะเกิดโรคฟันผุบริเวณนี้ได้ง่าย ทาหน้าท่ีขบหรือ
ชว่ ยในการเคยี้ วอาหาร
2.2 ฟันกราม (Molar) ในฟันนา้ นมมี 8 ซี่ ฟันบน 4 ซี่ ฟันล่าง 4 ซี่
ซา้ ยและขวา อยู่ถัดเข้าไปข้างในสุดมีขนาดใหญ่กว่าฟันกรามนา้ นม ส่วนตัวฟัน
ทมี่ องเห็นลกั ษณะเกอื บเป็นส่ีเหลี่ยม ประกอบดว้ ยยอดฟันหลาย ๆ ยอด ทาใหเ้ กิด
ลกั ษณะเป็นรอ่ งมากมายบนสว่ นหนา้ ตดั ฟัน หรอื ท่ีเรียกดา้ นบดเคีย้ วและรอ่ งเหล่านี้
เป็นบรเิ วณที่เกดิ โรคฟันผไุ ดง้ ่าย ทาหนา้ ท่บี ดเคยี้ วอาหารใหล้ ะเอยี ด
8
1. บดเคี้ยวอาหาร ร่างกายจะใช้สารอาหารท่ีกินเข้าไปได้
ในลักษณะซ่ึงอาหารเหล่านั้นถูกทาให้มีอณูเล็ก ๆ และดูดซึมผ่านผนังกระเพาะ
อาหารและลาไส้ ฟันเป็นอวัยวะแรกในการทาหนา้ ทีโ่ มบ่ ดอาหารชนิ้ โต ๆ ใหม้ ีขนาด
เล็กลง เพื่อใหน้ า้ ยอ่ ยต่าง ๆ สามารถย่อยไดง้ ่าย จนทาใหเ้ กิดอณูเล็ก ๆ ท่ีร่างกาย
สามารถดูดซึมไปใชใ้ หเ้ กิดพลังงานได้ ถ้าไม่มีฟันหรือประสิทธิภาพของฟันลดลง
อวัยวะอื่นตอ้ งทางานหนักขึน้ จนถึงหนักเกินไป เกิดการเจ็บป่ วยของอวยั วะต่าง ๆ
ได้ เช่น โรคกระเพาะอาหารเป็นแผล ลาไส้อักเสบ ร่างกายขาดอาหาร อ่อนแอ
เป็นโรคต่าง ๆ ไดง้ ่าย โดยเฉพาะในเด็กจะทาใหร้ า่ งกายเจรญิ เตบิ โตไม่เต็มท่ี
2. รัก ษ ารู ป ใบ ห น้ า สุข ภ าพ ฟั น ดี ช่ วย เส ริม บุ ค ลิ กภ าพ
สรา้ งความเชื่อม่นั ในการสมาคมกับผอู้ ่ืน ถา้ ฟันถูกถอน นอกจากลดประสิทธิภาพ
ในการบดเคี้ยวแล้วยังพบว่าเนื้อเยื่อรอบ ๆ ปากจะเหี่ยวย่น ทาให้แก่เกินวัย
โดยเฉพาะในฟันหนา้ จะเหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน
3. ช่วยในการออกเสยี ง พยัญชนะบางตวั ตอ้ งอาศยั ลมผ่านไรฟัน
จะออกเสียงไมช่ ดั เจนถา้ ไมม่ ีฟัน เชน่ ส, ฟ, ฝ, ซ เป็นตน้
4. ฟันน้านมช่วยให้ฟันแท้ขึน้ เป็ นระเบียบ การถอนฟันนา้ นม
ก่อนกาหนดนอกจากจะมีผลเสียต่อสุขภาพในด้านการเจริญเติบ โตของเด็ก
ทาให้เด็กมีพัฒนาการในการพูด การสมาคมช้ากว่าปกติ และมีโอกาสเป็นโรค
ทางกายอื่น ๆ ไดง้ ่ายแลว้ ยังเกิดผลเสียในเรื่องการขึน้ ของฟันแท้ดว้ ย โดยปกติ
แรงบดเคีย้ วจากฟันนา้ นมจะกระตนุ้ การสรา้ งกระดูกขากรรไกร ใหม้ ีขนาดใหญ่ขึน้
พอท่ีฟันแท้ซ่ึงมีซ่ีใหญ่กว่าขึน้ มาได้ และฟันแท้จะขึน้ แทนท่ีฟันนา้ นมในตาแหน่ง
ที่ฟันน้านมอยู่ โดยฟันแท้เม่ือถึงกาหนดขึน้ จะมีแรงดันรากฟันน้านมให้ค่อย ๆ
ละลายโยกหลุดไป แล้วฟันแท้จะงอกขึ้นมาในช่องปากแทนที่ตรงตาแหน่งนั้น
ถ้าฟันน้านมถูกถอนก่อนกาหนด กระดูกขากรรไกรมีแรงกระตุ้นน้อยกว่าปกติ
9
และฟันแท้ไม่มีตวั ควบคุมตาแหน่งการขึน้ จึงพบฟันแท้ขึน้ เก รวน ไม่เป็นระเบียบ
การซอ้ นเกของฟันทาให้เศษอาหารติดง่าย ทาความสะอาดลาบาก จึงมีโอกาส
เป็นโรคฟันผุ หรือเหงอื กอกั เสบไดง้ ่าย
10
การแปรงฟันถกู วิธี
การแปรงฟันถูกวิธี
การแปรงฟัน เป็ นการขจัดเศษอาหารและแผ่นคราบจุลินทรีย์
มิใหต้ กคา้ งอย่บู นตวั ฟัน มีอปุ กรณด์ งั นี้
1. แปรงสีฟัน
2. ยาสีฟัน
การเลอื กใชแ้ ปรงสีฟัน
แ ป ร งสี ฟั น เป็ น อุ ป ก รณ์ ที่ จ าเป็ น ม าก ใน ก ารแ ป รงฟั น
ขจดั แผ่นคราบจลุ ินทรีย์ ถา้ เลือกแปรงสฟี ันไมถ่ กู สุขลกั ษณะ จะทาใหป้ ระสทิ ธิภาพ
ในการทาความสะอาดลดลง
ลกั ษณะของแปรงสฟี ันทคี่ วรใช้
หนา้ ขนแปรงตรงเรยี บเสมอกนั
ดา้ มแปรงตรงตลอด
ขนาดพอเหมาะกบั ปาก
ขนแปรงไมอ่ ่อนหรอื แขง็ เกนิ ไป
ความอ่อนแข็งของขนแปรง ควรเลือกใชแ้ ปรงตามความเหมาะสม
ในแต่ละคน ขนแปรงท่ีแข็งเกินไปจะไม่สามารถถูกกดให้ผ่านไปทาความสะอาด
ระหว่างซอกฟันได้ และทาให้เหงือกอักเสบ เหงือกร่น ฟันสึก ส่วนขนแปรง
ท่ีน่ิมเกินไป ไม่มีประสิทธิภาพในการขจัดแผ่นคราบจุลินทรีย์ ขนแปรงอ่อนหรือ
แขง็ ปานกลางจะดกี ว่าขนแปรงทแี่ ขง็ มาก ๆ
11
อายกุ ารใชง้ านและการเกบ็ รกั ษาแปรงสีฟัน
แปรงสีฟันมีอายุการใช้งานไม่แน่นอน ขึน้ อยู่กบั ชนิดของแปรงและ
วิธีการแปรง รวมทงั้ การเก็บรกั ษา ขนแปรงท่ีมีลกั ษณะฟูกระจายบานไมเ่ ป็นพ่มุ หรือ
เหมือนเริ่มแรกใช้ ไม่มีการสปริงตัวกลับของขนแปรงหลังใช้ ควรเปล่ียนใหม่
เพราะขนแปรงท่ีเส่ือมคุณ ภาพ จะไม่มีประสิทธิภาพในการแปรงอีกต่อไป
รวมทงั้ อาจทาอนั ตรายตอ่ เหงอื กและเนือ้ เย่อื ออ่ นในปากได้
การเก็บรักษาแปรง
หลงั จากใชแ้ ลว้ ทาความสะอาดขนแปรงใหส้ ะอาด
ไมค่ วรลวกนา้ รอ้ น เพราะนา้ รอ้ น จะทาใหข้ นแปรงเสยี คณุ สมบตั ิ
ในการสปรงิ ตวั
เกบ็ รกั ษาแปรงโดยแขวนไวใ้ นทแ่ี หง้ งา่ ยไม่อบั ชนื้
วธิ ีการแปรงฟัน
หลงั จากรบั ประทานอาหารแลว้ เศษอาหาร จะติดคา้ งอย่บู นตวั ฟัน
ผสมกบั เชือ้ จุลินทรยี ท์ ี่มีอย่ตู ามปกติในปาก ทาใหเ้ กิดแผน่ คราบจลุ ินทรียบ์ นตวั ฟัน
โดยเฉพาะตามรอยรอ่ งบนดา้ นบดเคีย้ ว ซอกฟันและคอฟัน จะเป็นบริเวณท่ีมีแผ่น
คราบจุลินทรีย์สะสมอย่มู ากท่ีสุด การแปรงฟันท่ีถูกวิธีจะช่วยขจัดเศษอาหารและ
แผ่นคราบจุลินทรียอ์ อกจากพืน้ ผิวฟันใหห้ มด โดยไม่ทาใหเ้ กิดอันตรายต่อเหงือก
ฟัน และเนือ้ เย่ือภายในปาก (เชน่ ไม่ทาใหเ้ หงือกรน่ ฉีกขาด หรอื เป็นแผล ไม่ทาให้
ฟันสกึ ไม่ทาใหเ้ กิดแผลบนเนอื้ เยอ่ื ออ่ นในปาก)
12
วิธีจับแปรง
1. กาดา้ มแปรงไวใ้ นองุ้ มือ ดว้ ยนวิ้ ทงั้ ส่ี
2. ใช้นิ้วหัวแม่มือ กดไว้ท่ีด้ามแปรงตรงระดับต่ากว่าคอคอด
ของแปรงเล็กนอ้ ย เพ่ือจดั ตาแหน่งของแปรงใหค้ งท่ี
3. จับแปรงให้สามารถบิดข้อมือไดส้ ะดวก ให้ขนแปรงปัดขึน้ ไป
ในทิศทางที่ตอ้ งการ
วิธจี ับแปรง แปรงฟันบน
วธิ ีจบั แปรง แปรงฟันลา่ ง
13
วธิ ีแปรง
1. แปรงด้านนอกของฟันบน หงายขนแปรงขึน้ ใหส้ อดอยรู่ ะหวา่ ง
กระพุง้ แกม้ และตวั ฟัน จรดขนแปรงตรงบริเวณคอฟันและขอบเหงือก (ให้ขนแปรง
ทามุม 45 องศากับตัวฟัน) ขยับแปรงไปมาเล็กน้อยหลาย ๆ ครงั้ แลว้ บิดข้อมื อ
ใหข้ นแปรงปัดลงล่างผา่ นซอกฟันและตวั ฟันในบริเวณนนั้ โดยตลอด ทาจนท่วั ทกุ ซี่
ภาพแสดงการแปรงด้านนอกของฟันบน
14
2. แป รงด้านในของฟั นบ น หงายขนแปรงขึ้นสอดแปรง
เขา้ ในปากดา้ นเพดาน จรดขนแปรงตรงบริเวณคอฟันและขอบเหงือก (ใหข้ นแปรง
ทามุม 45 องศากับตัวฟัน) ขยับแปรงไปมาเล็กน้อยตามแนวราบหลาย ๆ ครัง้
แลว้ บิดขอ้ มือใหข้ นแปรงปัดลงล่างผ่านซอกฟันและตวั ฟันในบริเวณนนั้ โดยตลอด
ทาจนท่วั ทกุ ซ่ี
ภาพแสดงการแปรงดา้ นนอกของฟันบน
15
3. แปรงด้านนอกของฟันล่าง คว่าขนแปรงใหส้ อดอยู่ระหว่าง
กระพงุ้ แกม้ และตวั ฟันจรดขนแปรงตรงบริเวณคอฟันและขอบเหงอื ก (ใหข้ นแปรงทา
มุม 45 องศากับตัวฟั น) ขยับแปรงไปมาเล็กน้อยตามแนวราบหลาย ๆ ครั้ง
แลว้ บิดขอ้ มือใหข้ นแปรงปัดขึน้ บน ผ่านซอกฟันและตวั ฟันในบริเวณนนั้ โดยตลอด
ทาจนท่วั ทกุ ซี่
ภาพแสดงการแปรงด้านนอกของฟันล่าง
16
4. แปรงด้านในของฟันล่าง คว่าขนแปรงให้สอดอยู่ระหว่างลิน้
กบั ตวั ฟัน จรดขนแปรงบริเวณคอฟันและขอบเหงือก (ใหข้ นแปรงทามมุ 45 องศา
กับตัวฟัน) ขยับแปรงไปมาเล็กน้อยตามแนวราบหลาย ๆ ครั้ง แล้วบิดข้อมือ
ใหข้ นแปรงปัดขึน้ บนผา่ นซอกฟันและตวั ฟันในบรเิ วณนนั้ ตลอด ทาจนท่วั ทกุ ซี่
ภาพแสดงการแปรงด้านในของฟันลา่ ง
17
5. แปรงด้านบดเคีย้ วของฟันบน หงายแปรงขนึ้ ใหข้ นแปรงสมั ผสั
กบั ตวั ฟันดา้ นบดเคยี้ ว ออกแรงถเู ขา้ ออกในบรเิ วณนนั้ โดยตลอด
ภาพแสดงการแปรงด้านบดเคีย้ วของฟันบน
18
6. แปรงด้านบดเคีย้ วของฟันล่าง ควา่ แปรงลงใหข้ นแปรงสมั ผสั
กบั ตวั ฟันดา้ นบดเคยี้ ว ออกแรงถูเขา้ ออกในบรเิ วณนนั้ โดยตลอด
ภาพแสดงการแปรงดา้ นบดเคยี้ วของฟันล่าง
19
การทาความสะอาดลิ้น หลังจากแปรงฟันแล้ว จาเป็นอย่างยิ่ง
ที่จะตอ้ งทาความสะอาดลิน้ ดว้ ย โดยใชแ้ ปรงสีฟันแปรงจากโคนลิน้ มาปลายลิน้
ใหส้ ะอาด
ภาพแสดงการทาความสะอาดลนิ้
20
ขอ้ สังเกต
1. การแปรงฟันวิธีนีม้ ีส่วนเพ่ิมเติมจากลกั ษณะและวิธีการแปรงฟัน
แบบเดิม โดยมีการขยับแปรงไปมาเล็กนอ้ ยหลาย ๆ ครงั้ บริเวณคอฟัน ก่อนจะปัด
ขึน้ หรือลง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขัดแผ่นคราบจุลินทรีย์
บรเิ วณคอฟันใหไ้ ดผ้ ลดยี ิง่ ขนึ้
2. แปรงสฟี ันขนาดเลก็ ชนิดแปรงอ่อน เหมาะสมท่ีจะนามาใชใ้ นการ
แปรงฟันวธิ ีนี้
3. การนาสียอ้ มฟันมาใชร้ ว่ มในการฝึกปฏิบตั ิแปรงฟันเป็นครงั้ คราว
จะช่วยเป็นตวั บ่งชใี้ หเ้ ห็นตาแหนง่ ของฟันทย่ี งั แปรงไม่สะอาด ซึ่งจะติดสยี อ้ มเหน็ ชดั
และช่วยเป็ นตัวกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ สนใจและต้ังใจในการ
ทจ่ี ะแปรงฟันของตนใหส้ ะอาดได้
4. เทคนิคในการสอนแปรงฟันนั้น ถา้ ครูผูฝ้ ึกไดช้ ่วยจับมือนกั เรียน
ขณ ะฝึ ก ป ฏิ บัติ จะช่ วย ให้นัก เรีย น สา ม า รถ เข้าใจถึ งต าแ ห น่ งข องก า รวา งแ ป ร ง
การใชแ้ รงในการแปรง การขยบั แปรง การบดิ ขอ้ มือไดถ้ กู ตอ้ งและรวดเรว็ ขนึ้
5. ควรแปรงฟันใหท้ ่วั ทงั้ ปาก ทกุ ซี่ ทกุ ดา้ น
6. แปรงฟันบริเวณหนึ่ง ๆ ไม่น้อยกว่า 5 – 6 ครั้ง และไม่ควร
ออกแรงมากเกนิ ไป
7. เวลาท่ีใชใ้ นการแปรงประมาณ 2 – 3 นาที
8. ทกุ คนควรมแี ปรงฟันเป็นของตนเอง
21
เพอื่ สขุ ภาพเหงือก
ยาสฟี ัน แปรงสีฟันอย่างเดียวสามารถช่วยขจดั แผน่ คราบจลุ นิ ทรีย์
ได้ แต่เพ่ือให้เกิดความรูส้ ึกอยากแปรงและสะอาดปากในขณะแปรง จึงมีการนา
ยาสีฟันมาใช้ ปัจจุบันวิวัฒนาการของยาสีฟันทาให้เราสามารถขจัดคราบ
ออกไดส้ ะดวกขนึ้ และบางชนดิ มีผลในการต่อตา้ นโรคฟันผุ
สว่ นประกอบท่วั ไปของยาสีฟัน
โดยท่วั ไปยาสฟี ันจะประกอบดว้ ยสารตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้
ผงขัด มีลกั ษณะเป็นผงละเอียด ช่วยในการขจัดคราบท่ีเกาะ
ตวั ฟัน
สารทาใหเ้ กิดฟอง มีคณุ สมบตั ิในการลดความตึงผวิ ระหว่างฟัน
และคราบอาหาร ทาใหค้ ราบตา่ ง ๆ ถกู ขดั ออกไดง้ า่ ย
นา้ สารเก็บความชืน้ สารกันบูด สารช่วยยึด ช่วยใหส้ ่วนผสม
รวมตวั กนั เกาะยดึ กนั ดี มอี ายกุ ารใชง้ านนานขนึ้
สารปรุงแต่ง กลิ่นและรส ช่วยให้ยาสีฟันน่าใชจ้ ากรสและกลิ่น
ซ่ึงตา่ งกนั ไปตามผผู้ ลิต
สารอื่น ๆ ไดแ้ ก่สารต่าง ๆ ท่ีเติมลงไปใหม้ ีคณุ สมบตั ิพิเศษ เช่น
ฟลอู อไรด์ เพ่ือใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพในการปอ้ งกนั โรคฟันผุ
22
การแพ้ยาสีฟั น อาจพบได้จากการแพ้สารประกอบบางอย่าง
ในยาสฟี ัน
อาการ ชาท่ีริมฝีปาก เนื้อเยื่ออ่อนในปากและลิน้ หรือเป็นแผล
พุพองท่ีริมฝี ปาก ให้หยุดใช้ยาสีฟั นชนิดนั้น ๆ ทันที เปล่ียนไปใช้ชนิดอื่น
ถา้ เป็นเรอื้ รงั หรือเป็นมากใหป้ รกึ ษาทนั ตแพทยห์ รือแพทยท์ นั ที
ข้อแนะนาในการใช้ยาสีฟัน ควรเลือกใชย้ าสีฟันที่มีฟลูออไรด์
ผสมอยู่ และเป็นยาสฟี ันทไ่ี ดร้ บั เครอื่ งหมายรบั รองคณุ ภาพและมาตรฐาน
ยาสีฟั นผสมฟลูออไรด์ ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ที่ได้มาตรฐาน
ควรมีปริมาณฟลอู อไรด์ 1 ส่วนในพนั ส่วน (0.1%) มีทงั้ ชนิดผง ครีม และเยลล่ี
ประโยชน์ของยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ มีผลในการช่วยป้องกัน
โรคฟันผุโดยเฉพาะบริเวณผิวฟันที่เป็นพืน้ เรียบ แต่สาหรบั บริเวณร่องหรือหลุม
บนฟัน จะมีผลลดโรคฟันผุได้น้อยกว่า การเพ่ิมฟลูออไรด์ให้แก่ฟันในรูปขอ ง
ยาสีฟันจะมปี ระสิทธิภาพดีโดยเฉพาะในเด็กที่กาลงั เจรญิ เติบโต
ก ารใช้ย า สี ฟั น ผ ส ม ฟ ลู อ อ ไรด์ เป็ น วิธี ก ารท่ี ง่าย ส ะด ว ก
ไดผ้ ลเป็นที่น่าพอใจและราคาไม่แพง นักเรียนทุกคนสามารถปฏิบัติไดด้ ว้ ยตนเอง
เป็นกจิ วตั รประจาวนั
23
1. อาหารหลัก 5 หมู่ มีคุณประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต
ของร่างกาย รวมทั้งกระดูกและฟัน แร่ธาตุท่ีเสริมสรา้ งใหก้ ระดูกและฟันแข็งแรง
ไดแ้ ก่ แคลเซียมและฟอสฟอรสั มารดาในระยะตงั้ ครรภต์ อ้ งการแรธ่ าตุท่ีเสริมสรา้ ง
ทงั้ 2 นสี้ งู กว่าปกติ
อาหารที่ให้แร่ธาตุเหล่านี้สูงไดแ้ ก่ นม ไข่แดง อาหารทะเลพวกปู
หอย ปลาตวั เล็ก ๆ กงุ้ แหง้ ผกั สีเขียว ผลไม้ และงา
ความต้องการแร่ธาตุเหล่านี้จะยังคงมีอยู่ต่อไป เพื่อใช้ในการ
เจริญเติบโตของกระดูกและฟันจนถึงวัยหนุ่มสาว หลังจากนั้นความต้องการ
จะลดลง
2. ลักษณะรูปแบบของอาหาร อาหารพวกแป้งและน้าตาล
โดยเฉพาะท่ีมีลกั ษณะเหลวขน้ หนืด ผ่านการบดละเอียด เช่น ก๋วยเต๋ียว คุกกี้
ทอฟฟ่ี จะเกดิ คราบตดิ ฟันง่ายตอ่ การเกิดโรคฟันผแุ ละโรคเหงือก
ในทางตรงขา้ ม อาหารลกั ษณะหยาบโดยธรรมชาติ มีเสน้ ใย เช่น
ผักสด ผลไม้สด ฝร่ัง อ้อย มันแกว ชมพู่ ข้าวเป็นเม็ด นอกจากจะไม่ค่อย
เกิดคราบแลว้ ขณะที่เคีย้ วอาหารบดไปมาบนฟัน จะทาความสะอาดฟันไปในตัว
ทาใหเ้ หงอื กและฟันสะอาด มีผลในการปอ้ งกนั โรคฟันและโรคเหงือกโดยธรรมชาติ
3. อาหารรสเปรยี้ วจดั และพวกเครื่องด่ืมท่มี รี สเปรยี้ ว มีกรดทาให้
ฟันสกึ กรอ่ นได้
4. ระยะเวลามื้ออาหาร การเกิดโรคฟันผุ ขึน้ อยู่กับระยะเวลา
ที่น้าตาลอยู่ในปากนานมากน้อยเพียงใดดว้ ย ยิ่งเวลาในการกินมาก โอกาสท่ี
จลุ ินทรยี จ์ ะใชน้ า้ ตาลในการเจรญิ เติบโตและเกดิ กรดทาลายฟันกม็ ากตามไปดว้ ย
24
ขณะท่ีร่างกายกาลังเสริมสรา้ งฟันและกระดูก การไดร้ บั ฟลูออไรด์
ปริมาณพอเหมาะสม่าเสมอ จะช่วยเสริมให้โครงสร้างของฟันแข็งแรงทนทาน
ต่อกรดสูงขึน้ และเมื่อฟันขึน้ มาในช่องปากแลว้ การให้ฟันสมั ผัสกับสารฟลูออไรด์
ปรมิ าณเหมาะสมเป็นประจา จะเสรมิ สรา้ งเคลือบฟันใหแ้ ข็งแรงทนต่อการกัดกรอ่ น
จากกรดดีขึน้
ฟลอู อไรดใ์ นธรรมชาติ พบทงั้ ในดินและนา้ ปริมาณมากนอ้ ยต่างกัน
ตามสภาพภมู ิประเทศ ฟลอู อไรดใ์ นลกั ษณะหนิ แร่ เชน่ ฟลอู อสปาร์ เม่อื ถกู นา้ ฝนชะ
จะเปลี่ยนเป็นสารละลายฟลูออไรด์ ดังนั้นแหล่งแร่ฟลูออไรด์จะมีสารละลาย
ฟลอู อไรดใ์ นนา้ สงู และในนา้ ทะเลก็พบวา่ มฟี ลอู อไรดส์ งู ดว้ ย
ในพืชผักต่าง ๆ บางชนิดมีฟลูออไรดส์ ูง เช่น ใบชา ใบเม่ียง
ใบกยุ ช่าย
ในสตั วท์ ะเลมีฟลอู อไรดส์ งู
ในกระดกู และฟันสตั วม์ ฟี ลอู อไรดส์ งู
รูปแบบของการใชฟ้ ลูออไรด์
1. ยานา้ ฟลอู อไรด์
2. ยาเมด็ ฟลอู อไรด์
3. ยาสีฟันผสมฟลอู อไรด์
4. นา้ ยาฟลอู อไรดอ์ มบว้ นปาก
แ บ บ 1 แ ล ะแ บ บ 2 เป็ น การรับ ฟ ลูออไรด์เข้าสู่ร่างกาย
โดยการรบั ประทานมผี ลเสริมสรา้ งใหโ้ ครงสรา้ งของฟันและกระดกู แข็งแรงยง่ิ ขึน้
25
แ บ บ 3 แ ล ะ แ บ บ 4 เป็ น ก า รให้ ฟั น ใน ช่ อ งป า ก สั ม ผั ส
กบั ฟลูออไรด์ โดยการอมนา้ ยาฟลูออไรดห์ รือแปรงฟันดว้ ยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
เป็นตน้ และฟลูออไรดจ์ ะซึมแทรกเข้าในชัน้ เคลือบฟัน ทาใหช้ ั้นเคลือบฟันแข็งขึน้
ทนการกดั กรอ่ นของกรดดขี นึ้
นา้ ยาฟลูออไรดอ์ มบว้ นปาก
ใช้หลังแปรงฟั นทาความสะอาดฟั นและอมกล้ัวไปมาในปาก
แล้วบ้วนทิ้งห้ามกลืน เพราะยาท่ีใช้มีความเข้มข้นสูงอาจเป็ นอันตรายได้
(ความเขม้ ขน้ ทใี่ ช้ 0.2 % อมทกุ 2 สปั ดาห)์
การใชฟ้ ลอู อไรด์ จะทาในทอ้ งถ่ินที่มีการตรวจหาปริมาณฟลอู อไรด์
ในนา้ ไมเ่ กิน 0.5 ส่วนในลา้ นส่วนเท่านนั้ เพราะฟลอู อไรดถ์ า้ ไดร้ บั มากเกนิ ปริมาณ
ท่ีเหมาะสมกลับเป็นอันตรายต่อฟันไดค้ ือ เกิดฟันตกกระลักษณะขรุขระเป็นจุดสี
นา้ ตาลบนตวั ฟันหรือเป็นทางสีนา้ ตาลบนตวั ฟัน
อนั ตรายจากการกินฟลูออไรดค์ รงั้ เดียวเป็นปริมาณมาก จะมีอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน ทอ้ งเดิน ปวดทอ้ ง ถา้ กินมาก ขนาด 1 – 2 กรมั จะมีอันตราย
ถงึ ชวี ิตได้ ซงึ่ จาเป็นตอ้ งทาการแกไ้ ขอย่างรบี ด่วน โดยการทาใหอ้ าเจียนและใหด้ ื่ม
นา้ ปูนหรือน้านมให้มากท่ีสุด ถ้ายังมีอาการรุนแรงควรนาส่งแพทย์ ซึ่งแพทย์
จะรกั ษาผปู้ ่วยโดยการ
1. ฉีดกลูโคสเข้าเสน้ เลือดรักษาระดับของนา้ ตาลในเลือดให้ปกติ
เพอ่ื ปอ้ งกนั การช็อก
2. ลา้ งกระเพาะอาหารดว้ ยนา้ ปนู ขาวชนดิ เจือจาง
3. ควรล้างผิวหนังบริเวณท่ีเปื้อนอาเจียนทุกแห่ง เพ่ือป้องกัน
การระคายเคอื งของเนอื้ เย่อื ภายนอก
26
จัดเป็นพฤติกรรมซึ่งไม่ควรให้เด็กปฏิบัติ เพราะจะทาใหเ้ กิดผลเสีย
ต่อการเจริญเติบโตตามปกติของฟันและกระดกู ขากรรไกร หรือส่งเสริมให้เป็นโรค
ในชอ่ งปากไดง้ ่าย
1. การดดู นิว้ มือ การดูดหัวนมปลอม การใชล้ ิน้ ดันระหว่างฟันบน
และฟันลา่ ง
ปกติเดก็ แรกเกิดถึง 2 ขวบ มีนสิ ยั ชอบดูดนวิ้ มือ แต่ถา้ เด็กอายเุ กิน
3 ขวบ ควรเลิกไดเ้ พราะการกระทาดงั กล่าวจะมีผลเสียอาจทาใหก้ ระดกู ขากรรไกร
เจริญผิดปกติ ฟันหน้ายื่นหุบปากไม่สนิท มีช่องว่างระหว่างฟันบนและฟันล่าง
เป็นผลให้ประสิทธิภาพในการกดั ฉีกลดลง พูดออกเสียงไม่ชัดเจน เกิดโรคติดเชือ้
ในลาคอได้ง่าย ถ้าร่วมกับการเอาลิน้ ดันระหว่างฟันบนและฟันล่างจะย่ิงทาให้
ผิดปกติมากขนึ้
2. การกดั แทะสง่ิ ของต่าง ๆ เลน่ ท่ีพบบ่อย เชน่ การกัดเล็บ ดินสอ
ปากกา ดา้ มแวน่ ตา จะทาให้ ฟันยื่น ฟันแตกหกั ฟันบดิ เก ผดิ ตาแหน่ง เกิดการ
เม่อื ยขากรรไกร ขากรรไกรอกั เสบ
3. การดดู นมขวดอย่ใู นปากเป็นเวลานานหรือขณะหลบั เป็นประจา
27
เพื่อสขุ ภาพเหงอื ก
เด็ก ๆ ควรรูว้ ่า สขุ ภาพปากนนั้ ไม่ใช่เพียงแต่การดแู ลเฉพาะฟันเท่านั้น
การดูแลเหงือกก็สาคัญเช่นกัน เมื่อเด็กเริ่มใช้มือและนิว้ ไดด้ ี และฟันแท้ของเด็ก
เร่ิมขึน้ มาชิดกนั พวกเขาควรเริ่มฝึกใชไ้ หมขัดฟัน คือ ทาความสะอาดฟันในบรเิ วณ
ที่แปรงสีฟันแปรงไดไ้ ม่ถึง ช่วยปกป้องโรคเหงือก โดยกาจัดกรดจากแบคทีเรียและ
เศษอาหารทต่ี ดิ อย่ตู ามซอกฟันท่ีการแปรงฟันไมส่ ามารถเขา้ ถึง
วิธใี ชไ้ หมขัดฟัน
ดึงไหมขดั ฟันยาวประมาณ 30 – 45 เซนตเิ มตร และพันรอบนวิ้ กลาง
ใชน้ ิว้ หวั แมม่ ือและนิ้วชเี้ ป็ นตัวบงั คับทศิ ทางของไหมขดั ฟัน
28
สอดไหมขัดฟันเข้าไประหวา่ งซอกฟัน
คอ่ ย ๆ ขยบั ไป – มา จนถึงบรเิ วณขอบเหงือก (ไมใ่ ช่ถูเข้าออก)
ถูขึน้ - ลงตรงซอกฟัน แนวขอบเหงือกให้สะอาดหมดจด
ทาซา้ ทกุ ๆ ซ่ี และอย่าลืมใชไ้ หมขัดฟันซ่ีสดุ ทา้ ยดว้ ย
29
นกั เรียนควรมีการตรวจฟันหลงั การแปรงฟัน โดยส่องกระจกเงาตรวจสภาพ
ชอ่ งปากบริเวณตอ่ ไปนี้
1. ตรวจบรเิ วณฟันบนและลา่ ง
ยิ้มยิงฟันกับกระจกให้เห็นฟันหน้าทัง้ หมดทงั้ ตัวฟันและเหงอื ก
30
2. ตรวจฟันด้านตดิ แก้ม
ยิ้มให้กว้างไปถงึ ฟันกราม อาจใช้นิ้วมอื ช่วยดงึ มมุ ปาก
เพือ่ ให้เหน็ ชดั เจน
31
3. ตรวจดา้ นในของฟันลา่ ง
ก้มหน้า อ้าปากกว้าง กระดกลน้ิ ขนึ้ เวลาตรวจ
เพอ่ื ให้เหน็ ฟันกราม
32
4. ตรวจดา้ นบดเคยี้ วของฟันกรามลา่ ง
อ้าปากดูด้านบดเคยี้ วของฟันล่าง
33
5. ตรวจฟันบนด้านเพดานและด้านบดเคีย้ ว
เงยหน้าอ้าปากในกระจก
34
สขุ ภาวะของปากและฟันเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในภาคปกติ
ตลอดปีการศึกษา ประกอบดว้ ย
1. ผู้ปฏิบัติ คือ ครูอนามัย หรือครูประจาชั้น หรือครูคณะทางาน
ซ่ึงไดร้ บั มอบหมายจากผู้บริหารโรงเรียนให้รบั ผิดชอบการดาเนินงาน การตรวจ
อนามยั ในชอ่ งปากและโรคฟันผุ ของนกั เรยี นทกุ คนทกุ ชนั้
2. นักเรยี น ตอ้ งไดร้ บั การตรวจทนั ตสขุ ภาพ ปีละ 2 ครงั้
การจดั ทา่ ตรวจ
1. ครูและนักเรียนน่ังเก้าอีโ้ ดยหันหนา้ เข้าหากัน จัดเกา้ อีเ้ ด็กนักเรียน
ไปหาดา้ นสวา่ ง
2. ดดู า้ นนอกของฟันกรามและเหงือกบนดา้ นขวาของนกั เรียน โดยใช้
นวิ้ มือแหวกมมุ ปากดา้ นขวาขึน้ ขา้ งบน และดูดา้ นในโดยนกั เรียนอา้ ปากและแหงน
ศรี ษะขนึ้
3. ดดู า้ นนอกของฟันหนา้ บน โดยดงึ ริมฝีปากพรอ้ มทงั้ ดดู า้ นในดว้ ย
35
ตาแหน่งทต่ี รวจ
อนามัยในช่องปาก
การตรวจอนามัยในช่องปาก ใหแ้ บ่งช่องปากออกเป็น 6 ส่วน โดย
อาศยั ดฟู ันเขยี้ วเป็นหลกั ในการแบง่ สว่ น
ส่วนท่ี 1 ฟันบนขวา สว่ นท่ี 4 ฟันล่างซา้ ย
ส่วนท่ี 2 ฟันหนา้ บน ส่วนท่ี 5 ฟันหนา้ ลา่ ง
ส่วนท่ี 3 ฟันบนซา้ ย สว่ นท่ี 6 ฟันล่างขวา
ส่วนที่ 2
ฟันบนขวา
ส่วนท่ี 1 ส่วนท่ี 3
ฟันบนขวา ฟันบนซา้ ย
ส่วนท่ี 5 สว่ นท่ี 4
ฟันล่างขวา ฟันลา่ งซา้ ย
สว่ นที่ 5
ฟันหนา้ ลา่ ง
36
เกณฑก์ ารพิจารณาอาการของอนามยั ในช่องปาก
อนามัยในช่องปาก พิจารณ าตามคะแนน และดูบริเวณ
ทเี่ ป็นมากท่ีสดุ ของส่วนนนั้ ๆ คอื
คะแนน ลักษณะ
0 เหงอื กปกติ ไมม่ ีการอกั เสบ โดยเหงือกมียอดแหลมสชี มพู หรอื สีคลา้
(ถา้ ผวิ สดี า) ไมม่ เี ลือดออกถึงแมว้ ่าจะมฟี ันผกุ ็ตาม
1 ถา้ มีลกั ษณะเขา้ หลกั เกณฑเ์ พียง 1 ขอ้ และไม่มีลกั ษณะของคะแนน 0
กถ็ ือเป็นคะแนน 1
ก. ขอบเหงือก บวมและแดง เหน็ ชดั เจน หรอื
ข. ยอดเหงือก บวมและแดง เหน็ ชดั เจน หรือ
ค. มีเลือดออก
2 ถา้ มีลกั ษณะเขา้ หลกั เกณฑเ์ พยี ง 1 ขอ้ ก็ถือเป็นคะแนน 2
ก. มหี ินปนู ปกคลมุ ดา้ นใดดา้ นหน่งึ ของฟันเต็มดา้ น
และมีเหงือกอกั เสบดว้ ย
ข. รากฟันยื่นแหลมขนึ้ มา จนแทงเหงือกเป็นแผล
ค. ฟันถาวรขนึ้ มาเตม็ ซี่ แลว้ ซอ้ นกบั ฟันนา้ นมซงึ่ ยงั คงอยู่
ทาใหฟ้ ันถาวรเก
ง. มีอาการปวดฟัน และเกดิ การอกั เสบอยา่ งรุนแรงขณะตรวจ
จ. บริเวณปลายรากฟัน มหี นองและเป็นแผลทะลมุ าทีเ่ หงอื ก
ฉ. มีกอ้ นเนือ้ อยใู่ นรูฟันทีผ่ ุ
หมายเหตุ : 0 หมายถงึ ปกติ
1 หมายถึง มอี าการเลก็ นอ้ ย
2 หมายถึง แกไ้ ขเรง่ ดว่ น
37
โรคฟั นผุ ตรวจดูลักษณะฟันถาวรท่ัวทัง้ ปาก แล้วให้คะแนน
ดงั นี้
คะแนน ลักษณะ
0 ไม่มีฟันถาวรผเุ ลย
1 มีฟันถาวรเป็นรูเห็นชดั เจนตง้ั แต่ 1 ซข่ี นึ้ ไป
การจดั ระดับปัญหาระดบั บุคคล
อนามัยในชอ่ งปาก
ระดับ ลกั ษณะ
ก คะแนน 0 ทกุ ส่วน
ข คะแนน 1 จานวน 1 – 2 สว่ นและไมม่ คี ะแนน 0
ค คะแนน 1 จานวน 3 – 4 ส่วนและไมม่ ีคะแนน 0
ง คะแนน 1 จานวน 5 – 6 สว่ นและไม่มีคะแนน 0
จ เม่ือมคี ะแนน 0 อย่ตู งั้ แต่ 1 ส่วนขนึ้ ไป
โรคฟันผุ ยกคะแนน 0 , 1 มาเป็นระดบั
38
การวดั และประเมนิ ผล
ดูผลการตรวจครงั้ ที่ 1 และครงั้ ท่ี 2 เปรียบเทียบกัน ถ้าครงั้ ท่ี 2 มีเด็ก
ทมี่ ีปัญหาลดนอ้ ยลง กแ็ สดงวา่ สุขภาพชอ่ งปากของเดก็ ดีขนึ้ โดยมีการเปรียบเทยี บ
ดงั นี้
การเปรียบเทยี บรายบคุ คล
เปรยี บเทยี บรายกลมุ่ – หอ้ งเรยี น
เปรียบเทียบระดบั โรงเรยี นดว้ ยกนั
39
โรคในช่องปากมีมากมาย แตใ่ นท่ีนีจ้ ะกล่าวถึงโรคท่ีเกิดและพบบอ่ ย
จนเป็นปัญหาสาคญั ในโรงเรียน ไดแ้ ก่ โรคฟันผุ และโรคปรทิ นั ต์
หลงั จากการรบั ประทานอาหารจะมีเศษอาหารละเอียดและสารจาก
น้าลายเป็นเมือกใส ซึ่งในตอนแรกมองไม่เห็นชัดเจนเกาะติดรอบตัวฟันและ
บนร่องฟัน โดยมีจุลินทรียแ์ ทรกอาศัยอยู่มากมาย เรียกว่า แผ่นคราบจุลินทรีย์
จุลินทรียใ์ ช้อาหารจากบริเวณแผ่นคราบนีใ้ นการเจริญเติบโต และขบั ถ่ายของเสีย
เป็นกรดต่าง ๆ และปล่อยสารพษิ ออกมาจากตวั มนั ทาอนั ตรายตอ่ ฟันและเหงือก
โรคฟันผุและการรักษา
สาเหตขุ องโรค
จุลิน ท รีย์ห ลายชนิด ใน ปากเจริญ เติบโต โด ยอาศัยน้าต าล
จากเศษอาหารท่ีติดคา้ งในปากและถ่ายของเสียเป็นกรดอินทรยี ต์ ่าง ๆ กรดเหล่านี้
จะยังอยู่ในบริเวณ ร่องฟั นท่ีลึกซอกฟั นรอบ ๆ คราบฟั น และกัดกร่อนฟั น
โดยทาปฏกิ ิรยิ ากบั พวกแรธ่ าตใุ นฟันเกิดฟันผเุ ป็นรู
การลุกลามของโรคและการรักษา
โรคฟันผุระยะที่ 1
ลักษณะ กรดเริ่มกัดกร่อนชั้นเคลือบฟัน ในระยะแรกมองเห็น
การผกุ รอ่ นไม่ชดั เจน อาจเป็นลกั ษณะสดี า ๆ เทา ๆ ตามรอ่ งฟันทีเ่ ร่ิมผุ
อาการ ไม่มีอาการเจบ็ ปวด หรือเสยี ว
40
การชะลอการลุกลามของโรค แปรงฟันให้สะอาดอย่าปล่อยให้
สภาพในชอ่ งปากสกปรก
การรักษา ใช้เครื่องมือกรอเอาส่วนของเคลือบฟันผุ ซึ่งมีเชื้อโรค
และคราบฟันออกจนสะอาดแลว้ ปิดทับดว้ ยวัสดุอุด เป็นการหยุดยั้งการลุกลาม
ของโรคและปิดทางเขา้ ของเชอื้ โรค วธิ ีการนีเ้ รยี กว่า การอุดฟัน
โรคฟันผรุ ะยะท่ี 2
ลักษณะ เป็นการผุลุกลามต่อจากระยะท่ี 1 ซ่ึงไม่ไดร้ บั การรกั ษา
กรดที่มากขนึ้ จะกดั กรอ่ นถงึ ชนั้ เนือ้ ฟัน รูฟันท่ีผเุ ห็นชดั เจน ลกั ษณะเป็นรูปสีดาเทา
อาจมีเศษอาหารติด การผุชั้นนี้จะลุกลามเร็วกว่าระยะแรก เพราะชั้นเนื้อฟัน
แขง็ นอ้ ยกวา่ ชนั้ เคลือบฟัน
อาการ จะรูส้ กึ เสียวฟันเมื่อถกู นา้ เยน็ แตย่ งั ไม่มอี าการปวด
การรกั ษา อดุ ฟันอยา่ งรีบด่วน
โรคฟันผุระยะที่ 3
ลัก ษ ณ ะ เป็ นการผุต่อจากระยะที่ 2 กรดท าลายเนื้อฟั น
เกือบถึงโพรงประสาทฟันหรือทะลุถึงชั้นโพรงประสาทฟัน ลักษณะของฟันผุ
จะเป็นโพรงใหญ่สีดาสกปรก มีกล่ินบูดเน่าของเศษอาหารท่ีติดอยู่ อาจมีอาการ
อกั เสบของเนอื้ เยอื่ ภายในโพรงประสาทฟัน
อาก าร ปวดฟั น อาจปวด ตลอดเวลา หรือปวด เป็ น พัก ๆ
เคยี้ วอาหารลาบาก ระยะนผี้ ปู้ ่วยมกั ไปพบทนั ตแพทยเ์ พือ่ รบั การรกั ษา
การรักษา อุดฟันอย่างเร่งด่วนหรือรักษารากฟันหรือถอนฟัน
แลว้ แตก่ รณี ต่อมาระยะหนึ่ง เชือ้ โรคจะทาใหเ้ กิดการเน่าตายของพวกเนือ้ เยื่อ
ในโพรงฟัน ดงั นนั้ การรบั ความรูส้ กึ เจ็บปวดถกู ทาลายไป จงึ ไมร่ ูส้ กึ ปวด แต่การเน่า
จะลุกลามลงไปจนถึงกระดกู ทีร่ องรบั ฟันเกดิ มีหนองขา้ งใต้ มกี ารบวมปวดขึน้ มาอีก
ฝีอาจจะเกิดในปากหรือทะลุออกมาเป็นฝีข้างแก้มได้ ฟันเร่ิมโยก ระยะนีเ้ ชือ้ โรค
จะลกุ ลามไปตามกระแสเลอื ดและนา้ เหลอื งไปสอู่ วยั วะอน่ื ได้ ตวั ฟันมีลกั ษณะกรอ่ น
ไปมากอาจเหลือแตร่ ากฟัน
การรกั ษา ถอนฟัน
41
ประวตั ิท่ีซกั ถามได้ และข้อแนะนา
ภาพแสดงลกั ษณะฟันผรุ ะยะท่ี 1
ระยะท่ีผุ ลกั ษณะทเี่ ห็นในปาก ประวตั ิท่ซี กั ถามได้ ขอ้ แนะนา
ระยะท่ี 1 เคลือบฟั นถูกทาลาย ไ ม่ มี อ า ก า ร แ น ะ น า เด็ ก
เห็นเป็นจุดสดี าหรือรอ่ งสีดา ปวดหรอื เสยี ว ให้รู้จัก ท าค วาม
บนตวั ฟัน อาจเห็นเป็นสีเทา สะอาดฟั นให้มาก
หรือขาวขนุ่ ขึน้ เพ่ือชะลอการ
ใช้เคร่ืองมือเข่ียหารูผุ ลกุ ลามของโรค
เขี่ยดูจะรูส้ ึกสะดุดติดปลาย แนะนาเด็กให้
เคร่อื งมือ ง ด ข อ ง ห ว า น ที่
เหนียวตดิ ฟัน
42
ระยะทผ่ี ุ ลกั ษณะทีเ่ ห็นในปาก ประวตั ิที่ซกั ถามได้ ขอ้ แนะนา
ระยะท่ี 2 การผุลุกลามถึงชั้นเนื้อ เสียวฟันเวลา แ น ะ น า เด็ ก
ฟั น ต าม รอยร่องของฟั น กินอาหารเย็นจัด หรือผู้ปกครองพา
ห า ย ไป เล็ ก น้ อ ย เห็ น รู ผุ หรอื หวานจดั เด็กไปรบั การรกั ษา
ชัดเจนแต่ไม่กว้าง เคลือบ เ ว ล า เ คี้ ย ว จากทนั ตบคุ ลากร
ฟันรอบรูผุเห็นเป็นสีเทาขุ่น อ า ห า ร มี เ ศ ษ
กวา้ งขนึ้ อาห ารติด รูฟั น ท่ีผุ
ใช้เครื่องมือเขี่ยหารูผุ แตไ่ มป่ วด
เขี่ยดูจะมีเศษ อาหารติด ฟันไม่โยก
เลก็ นอ้ ย
ภาพแสดงลักษณะฟันผรุ ะยะท่ี 2
43
ระยะทีผ่ ุ ลกั ษณะท่เี หน็ ในปาก ประวตั ิท่ีซกั ถามได้ ขอ้ แนะนา
ระยะที่ 3 เหมือนการผุระยะที่ 2 เค ย ป ว ด ฟั น ฟั น ผุ ระ ย ะ นี้
แต่การผุลกุ ลามไปกวา้ งและ หรือกาลังปวดฟัน มอี าการเสยี วแตย่ งั
ลึกมากจนอาจทะลุโพรง อย่างรุน แรงอาจ ไม่ มี อ าก ารป วด
ประสาทเห็นเนือ้ ฟันหายไป ปวดเป็นพัก ๆ หรือ ม า ก ส า ม า ร ถ
มาก ตลอดเวลา รัก ษ า ด้ ว ย ก า ร
มีกล่ินบูดเน่าของเศษ เคี้ย วอ าห าร อุดฟั น ซึ่งครูควร
อาหารทต่ี กคา้ งอยใู่ นรูฟัน ลาบ ากห รืออาจ พานักเรียนไปรับ
ถา้ ใชเ้ คร่ืองมือเข่ียหารูผุ เคีย้ วไมไ่ ดเ้ ลย การรกั ษา
ต้องระวัง ถ้าเข่ียลึกโพรง เคยบวม หรือ ถา้ เดก็ มีอาการ
ประสาทฟันอาจจะปวดได้ กาลงั บวม ปวด ครูสามารถ
แ ต่ ส า ห รับ รู ร ะ ย ะ นี้ ไม่ มี ห น อ ง เปิ ด บาบัดเบื้องต้นได้
จาเป็ น ต้อ งใช้เค รื่อ งมื อ ออกบรเิ วณรากฟัน แลว้ จึงส่งไปขอรับ
สามารถดดู ว้ ยตาเปลา่ ได้ หรอื มตี ่มุ หนอง การรกั ษาตอ่
บางซี่ฟันผุลุกลามทะลุ ถา้ เดก็ มีอาการ
โพรงประสาทฟัน เนื้อฟั น ปวด บวม ให้ครู
หายไปเหลือแต่ราก น าส่ งเจ้าห น้า ท่ี
บางซี่มีอาการบวมหรือ สาธารณสขุ ทนั ที
มีห น องปลายรากเปิ ดท ะลุ
ออกมาท่เี หงอื ก
บางซี่อาจมีอาการบวม
มีห น องปลายรากเปิ ดท ะลุ
ออกมาท่ีแกม้
44
ภาพแสดงฟันผุระยะที่ 3 มีอาการบวมทีบ่ รเิ วณเหงือกด้านขวาของผปู้ ่ วย
ภาพแสดงฟันผรุ ะยะที่ 3 บางคร้งั มอี าการบวมทแี่ ก้ม
45
และการรกั ษา
สาเหตขุ องโรค
1. สารพิษของจุลินทรีย์ ที่ขับออกมาจากแผ่นคราบ
จลุ ินทรียร์ อบ ๆ ตวั ฟัน จะมีผลทาใหเ้ หงอื กอกั เสบบวมแดงและเนือ้ เย่อื ที่ยึดรากฟัน
ฉีกขาด
2. หินปูนหรือหินน้ าลาย ปกติในน้าลายมีแร่ธาตุ
แคลเซียม ฟอสฟอรัสในปริมาณมากน้อยต่างกันไปในแต่ละคน แร่ธาตุเหล่านี้
จะตกตะกอนรวมกับแผ่นคราบจุลินทรีย์ ค่อย ๆ เปลี่ยนสภาพจากนิ่มเป็นแข็ง
ตามระยะเวลา ของการพอกพูน ความแข็งคมของหินปูนจะบาดเหงือกอักเสบ
จากพิษของจุลินทรียต์ ลอดเวลา จึงเป็นสาเหตุร่วมให้เกิดการอักเสบของเหงือก
รุนแรงยิ่งขึน้ เยอื่ ยดึ รากฟันและกระดกู หมุ้ รากฟันจะถกู ทาลาย
การลกุ ลามของโรคและการรกั ษา
ระยะท่ี 1 เป็นระยะของโรคเหงือกอักเสบ ซ่ึงมักพบบ่อย
ในเด็กวยั ประถมศกึ ษา พษิ ของจลุ ินทรยี ท์ าใหเ้ กิดการอักเสบของเหงือกและเยื่อยึด
รากฟั น เหงือกจะมีลักษณะบวมแดงคลา้ เร่ิมไม่แนบสนิทกับตัวฟันเผยอได้
อาจมีเลือดออกขณะแปรงฟันจากบริเวณเหงือกท่ีบวม อาจพบมีหินปูนเกาะฟัน
บางซี่ ในระยะนยี้ งั ไมม่ ีการทาลายกระดกู หมุ้ รากฟัน
การรักษา รกั ษาความสะอาดของเหงือกและฟัน และ/หรือ
ใชเ้ ครอื่ งมอื ขจดั แผ่นคราบจลุ ินทรีย์ รวมทงั้ หินปูนที่อยรู่ อบตวั ฟันออก
ระยะท่ี 2 นอกจากพิษของจุลินทรียแ์ ลว้ ลักษณะเหงือก
ท่ีบวมอกั เสบทาใหม้ ีเศษอาหารมาเกาะรอบฟันมากขึน้ ทาใหท้ าความสะอาดยาก
และแคลเซียมในน้าลายจะตกตะกอนเป็นหินปูน เกิดการระคายเคืองต่อเหงือก
ทาใหเ้ หงือกอักเสบและแยกตวั จากฟันมากขึน้ กระดูกหมุ้ รากฟันละลายตวั ถอยร่น
ตามไปดว้ ย
46
ลักษณะ เหงือกมีสีแดงคลา้ บวมฉุ มีเลือดไหลจากเหงือก
ท่ีบวม เริ่มมีหินปูนเกาะบางส่วนหรือรอบ ๆ ตัวฟัน ฟันดูยาวขึน้ จากการที่กระดูก
ถกู ทาลายและเหงือกรน่ ไปทางปลายรากฟัน มีกลิ่นปาก
การรักษา ขูดหินปูน ขัดทาความสะอาดฟัน และรักษา
ความสะอาดในช่องปาก
ระยะที่ 3 โรคลกุ ลามมากขนึ้ มีหินปนู จบั หนา และขยายไป
ตามปลายรากฟัน กระดูกหุ้มรากฟันถูกทาลาย และเหงือกรน่ มากขึน้ ถ้าอาการ
รุนแรง ฟันจะโยกรว่ มกบั มีอาการปวด มีหนองและเลือดไหลบริเวณเหงือกอกั เสบ
กลิน่ ปากรุนแรง
การรักษา ขูดหินปูน ขัดทาความสะอาดฟั น รักษา
ความสะอาดในช่องปากรว่ มกบั การผ่าตดั ในบางส่วนที่เป็นรุนแรงมาก หรือถอนฟัน
ทโี่ ยกและปวดออก
ภาพแสดงข้ันตอนของโรคเหงอื กอกั เสบ
47
ลกั ษณะที่เหน็ ในปาก ประวตั ิท่ีซกั ถาม
และ ขอ้ เสนอแนะ
ระยะ ลกั ษณะท่ีเหน็ ในปาก ประวตั ทิ ่ซี กั ถามได้ ขอ้ แนะนา
ท่ีเป็น
ระยะท่ี 1 มีแผน่ คราบฟัน เมื่อใช้ รูส้ กึ มีกลิน่ ปาก ครูแนะนาให้
เครื่องมือเขี่ยหารูผุ เขีย่ ผวิ แปรงฟันมกั มี เดก็ รูจ้ กั วธิ ีแปรง
ฟันรอบ ๆ จะมแี ผ่นคราบ เลอื ดไหลออก ฟันที่ถกู วธิ ี เพ่ือ
ฟันตดิ ออกมา และบางครงั้ อาจรูส้ กึ คนั ๆ กาจดั แผ่นคราบ
ปลายเคร่อื งมือสะกดิ โคนผวิ บรเิ วณเหงือก ฟัน
เหงือกเบา ๆ ก็จะมเี ลอื ดซึม
ออกมาดว้ ย
จะเริม่ มอี าการอกั เสบ
ของขอบเหงอื ก เหงือกจะมี
สแี ดงจดั ขนึ้ ผวิ เป็นมนั วาว
ขอบเหงอื กบวมออกมาบา้ ง
บรเิ วณคอฟันทาใหด้ เู หมอื น
ฟันสนั้ ขนึ้
ขอบเหงอื กไมแ่ นบสนิท
กบั ตวั ฟัน เลอื ดออกงา่ ย
ภาพแสดงแผน่ คราบจุลินทรยี ท์ ยี่ ้อมสจี ะมองเห็นไดอ้ ย่างชัดเจน