The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9. คู่มือ...ฟันสวยรวยเสน่ห์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2020-04-29 01:07:17

9. คู่มือ...ฟันสวยรวยเสน่ห์

9. คู่มือ...ฟันสวยรวยเสน่ห์

48

ระยะ ลกั ษณะท่ีเหน็ ในปาก ประวตั ทิ ซ่ี กั ถามได้ ขอ้ แนะนา

ทเ่ี ป็น

ระยะ คลา้ ยกบั ระยะแรก  มีกลนิ่ ปาก  ครูควรพาเดก็

ตอ่ มา  แต่มหี นิ ปนู จบั ฟันบางซี่ รุนแรงขนึ้ ไปขอรบั การรกั ษา

โดยเฉพาะบรเิ วณดา้ นชดิ  ไม่ค่อยอยาก

ลนิ้ ของฟันหนา้ ลา่ ง แปรงฟัน เน่ืองจาก

 การอกั เสบรุนแรงขนึ้ เจ็บและพบมี

อาจมหี นองปนเลือดออกมา เลือดออกเมอ่ื แปรง

เมือ่ ใชม้ ือบบี และเคยี้ วอาหาร

 เจบ็ ๆ คนั ๆ

บรเิ วณเหงือก

ภาพแสดงลักษณะเหงอื กท่ีมีแผ่นคราบฟันเกาะบรเิ วณคอฟันด้านริมฝี ปาก
และเร่มิ มอี าการอักเสบเหงือกบวมไม่แนบติดกบั ตัวฟัน

49

ภาพแสดงลักษณะของเหงอื กทมี่ ีหินปนู เกาะบริเวณคอฟันดา้ นลนิ้

ภาพแสดงลักษณะของเหงอื กทม่ี ีหินปูนเกาะบรเิ วณคอฟันด้านลนิ้
และด้านบดเคีย้ ว

50

ท่ีต้องการรกั ษาเรง่ ด่วน

ลกั ษณะของโรคในช่องปากที่ตอ้ งการการรกั ษาเร่งด่วน นอกจากโรค
ฟันผุและโรคเหงือกอักเสบแลว้ ยังมีฟันลักษณะอ่ืน ๆ ที่ครูพบแลว้ ควรรีบนาส่ง
ทนั ตบคุ ลากรโดยเรว็ ไดแ้ ก่ ฟันทีม่ ีลกั ษณะต่าง ๆ ดงั นี้

 ฟันที่มีการผหุ ลาย ๆ ซีใ่ นชอ่ งปาก
 ฟันนา้ นมหกั เหลอื แตร่ ากฟันและมฟี ันแทข้ ึน้ ซอ้ นเก
 ฟันนา้ นมอย่ปู กติไม่หลดุ ขณะทฟ่ี ันแทข้ ึน้ ซอ้ นเก
 ฟันทไ่ี ดร้ บั อบุ ตั ิเหตหุ กั , บิ่น

ภาพแสดงฟันผุหลาย ๆ ซใี่ นชอ่ งปาก

ภาพแสดงฟันนา้ นมหกั เหลือแตร่ ากและมฟี ันแทข้ ึน้ ซอ้ น

51

ผลเสียของการเป็ นโรคและการแพรก่ ระจายของโรค
โรคฟันผุและโรคปริทันต์ เม่ือปล่อยให้ถูกลุกลามไประยะหน่ึง
จะมีผลเสียโดยตรงคือความเจ็บปวด การสิ้นเปลืองในด้านการรักษา หรือ
ตอ้ งสญู เสียฟัน ผลเสียในทางออ้ มมีมากมาย การสูญฟันซ่ีหน่ึงอาจจะตอ้ งเสียฟั น
อีกหลาย ๆ ซ่ี เพราะจากสภาพการเรียงตัวตามธรรมชาติของฟันและเหงือก
ช่วยป้องกันการเป็นโรคฟันและเหงือกในตัวมันเองอยู่แล้ว ฟันท่ีเรียงชิดกัน
เป็นระเบียบไม่มีช่องว่าง เหงือกแนบสนิทไม่มีช่องโหว่ จะป้องกันการกักเก็บ
เศษอาหารไดด้ ี ซงึ่ ลกั ษณะธรรมชาตินจี้ ะหมดไปเมื่อเกิดโรค เหงอื กร่นเกิดช่องว่าง
ฟันถูกถอน ทาใหเ้ กิดการลม้ เกของฟันขา้ งเคียง หรือฟันที่เคยกัดชนกันจะยื่นยาว
ลงมา หรือขึน้ ไปในชอ่ งว่างทเี่ กิดจากการถอนฟัน ทาใหฟ้ ันห่างเศษอาหารติดไดง้ ่าย
เกิดการผขุ องฟันขา้ งเคียง เกิดเหงือกอักเสบบรเิ วณนนั้ ได้ ถา้ รกั ษาไม่ทนั หรือไม่ได้
ระวงั ดแู ล และในทส่ี ดุ ฟันตอ้ งถกู ถอนตามกนั ไปอกี
ผล เสี ยจ าก ระบ บ ย่ อย อาห า รขั้น ต้น ถูก ท าล าย จาก ก ารถ อน ฟั น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟันกราม อาหารถกู กลืนลงกระเพาะในลักษณะหยาบกว่าปกติ
ทาให้กระเพาะอาหารต้องทางานหนัก เกิดโรคในระบ บทางเดินอาหารได้
รา่ งกายดดู ซมึ สารอาหารลดลง ทาใหร้ า่ งกายออ่ นแอเกิดโรคตา่ ง ๆ ไดง้ ่าย
การแพรก่ ระจายของเชือ้ โรคจากบรเิ วณฟัน และเหงอื กท่ีเป็นโรคไปยัง
อวยั วะอื่นของรา่ งกายทางเสน้ เลือดและเสน้ นา้ เหลืองท่ีเลยี้ งฟันและเหงือก เชือ้ โรค
และหนองจากโพรงประสาทฟันหรือบริเวณเหงอื กท่ีอกั เสบจะติดไปกับเสน้ เลือดและ
เสน้ นา้ เหลืองท่ีไหลเวียนไปฟอกท่ีปอดและส่งเขา้ หัวใจ ดงั นนั้ เมื่อเลือดจากหวั ใจ
สบู ฉีดไปเลยี้ งส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย กจ็ ะนาเชอื้ โรคเหลา่ นไี้ ปดว้ ย อาจทาใหเ้ ป็นฝี
หนองอักเสบกับอวัยวะท่ีสาคัญ ๆ ถึงแก่ชีวิตได้ เช่น โรคเยื่อบุหัวใจอักเสบ
ฝีในปอด ตบั อกั เสบ เย่อื หมุ้ สมองอกั เสบ โพรงจมกู อกั เสบเป็นตน้

52
บทท่ี ๒

มฐ. พ ๑.๑ (๑) ชนั้ ป.๓ เวลา (ชม.)


สาระที่ ๑การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์

--------------------------------------------------------------------------

สาระสาคัญ
ฟัน เป็นอวยั วะท่สี าคญั อยา่ งหนงึ่ ดงั นนั้ เราจงึ ควรดแู ลรกั ษาฟันใหอ้ ย่กู บั เรา

นานทีส่ ดุ

สาระการเรยี นรู้
1. ชดุ ของฟัน

2. โครงสรา้ งของฟัน

3. หนา้ ท่ขี องฟัน

4. การดแู ลรกั ษาฟัน

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายลกั ษณะของฟันนา้ นมและฟันแทไ้ ด้

2. เขียนแผนภาพและอธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของฟันได้

3. บอกวิธีดแู ลรกั ษาฟันได้

4. ดแู ลรกั ษาฟันใหแ้ ข็งแรงอย่เู สมอ

5. บรรยายประโยชนแ์ ละนาความรูเ้ ร่ืองฟันของเราไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

กระบวนการจดั การเรียนรู้
กระบวนการจดั การเรยี นรูม้ ี 6 ขนั้ ตอน ดงั นี้

1. ขน้ั เกรนิ่ นา
ให้นักเรียนรอ้ งเพลง เล่านิทาน เล่นเกม หรือทากิจกรรมอื่นๆ เพื่อเตรียม

ความพรอ้ มนกั เรียน เช่น ใหน้ กั เรียนรอ้ งเพลง แปรงฟัน พรอ้ มกบั ทาท่าทางประกอบ
เพลงตามจนิ ตนาการ

53

เพลง แปรงฟัน

แปรงฟัน แปรงฟัน แปรงฟัน ทกุ วนั อยา่ งนอ้ ย สองหน
หลงั อาหาร ก่อนนอน ทกุ คน จะพน้ โรคฟัน ไมม่ ี
ฟันลา่ ง แปรงปัด ขนึ้ บน ฟันบน ปัดลงล่าง อย่างนี้
แปรงใหท้ ่วั ปาก สะอาดดี พวกเรา จะมี ความสขุ เอย

2. ขน้ั ประสบการณ์
ใหน้ กั เรยี นทากิจกรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสบการณต์ รงเก่ยี วกบั ฟันของเรา

ดงั นี้

กิจกรรม เรอ่ื ง ชุดของฟัน
ที่ 1

1. ครูนาแบบจาลองฟันมาใหน้ กั เรยี นบอกลกั ษณะต่าง ๆ ที่มองเหน็ เช่น ลกั ษณะ
ของฟัน จานวนฟันแต่ละส่วน และประโยชนข์ องฟัน

2. ครูใหน้ กั เรยี นเปรยี บเทียบฟันของตนเองกบั ฟันในแบบจาลองว่า เหมอื นกนั
หรือแตกตา่ งกนั อย่างไร เชน่ จานวนฟันเทา่ กนั หรือไม่ เพราะอะไร ทาไมฟัน
บางซีข่ องนกั เรยี นจึงหลดุ ไป

3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นและสรุปว่า คนเราทุกคน
มีฟัน 2 ชดุ คือฟันนา้ นม และฟันแท้ โดยฟันนา้ นมจะโผล่ขึน้ เม่ืออายุ 6 เดือน
จนครบ 2๐ ซี่ เมอ่ื อายุ 2 ปีครงึ่ จากนนั้ จะเรมิ่ หลดุ และมฟี ันแทข้ ึน้ มาแทน

4. ใหน้ กั เรียนแบง่ กล่มุ ๆ ละ 5 - 6 คน สารวจฟันของสมาชิกในกล่มุ ว่า มีฟันแท้
และฟันนา้ นมจานวนเทา่ ใด นาผลท่ไี ดม้ ารว่ มกนั วิเคราะหว์ ่า เพราะอะไร
จานวนฟันแทแ้ ละฟันนา้ นมของเพื่อนแตล่ ะคนจงึ แตกตา่ งกนั จดั ทาเป็น
ผลงานชิน้ ที่ 1 สารวจฟัน

5. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรูเ้ ก่ยี วกบั ชดุ ของฟัน

54

กิจกรรม เร่อื ง โครงสร้างของฟัน
ท่ี 2

1. ครูใหน้ กั เรยี นดภู าพโครงสรา้ งของฟัน แลว้ ตอบคาถาม ดงั นี้
- ฟันแตล่ ะซี่มีลกั ษณะอย่างไร
- สว่ นของฟันทีม่ องไม่เหน็ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
- นกั เรยี นรูส้ กึ อย่างไร เมือ่ ฟันโดนของเยน็ จดั
- ถา้ ขาดโครงสรา้ งบางส่วนไป จะสง่ ผลอย่างไร

2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับโครงสรา้ งของฟัน นามาเขียนสรุป
เป็นแผนภาพแสดงโครงสรา้ งของฟันและรายละเอียดต่าง ๆ เช่น ลักษณะ
ของชนั้ เคลือบฟันและหนา้ ทขี่ องแตล่ ะส่วน พรอ้ มกบั วาดภาพระบายสลี กั ษณะ
ต่าง ๆ ที่ตรงตามความเป็นจรงิ จดั ทาเป็น ผลงานชิน้ ที่ 2 โครงสร้างของฟัน

3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปเก่ยี วกบั โครงสรา้ งของฟัน

กจิ กรรม เร่ือง หน้าท่ขี องฟัน
ที่ 3

1. ครูนาแบบจาลองฟัน มาใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั สงั เกตลกั ษณะและส่วนประกอบ
ตา่ ง ๆ แลว้ ตอบคาถาม ดงั นี้
- ทาไมฟันจึงมลี กั ษณะแตกต่างกนั
- ฟันแตล่ ะลกั ษณะทาหนา้ ทแ่ี ตกต่างกนั อยา่ งไร
- การฉีกหรือตดั อาหารใชฟ้ ันสว่ นใด
- ฟันเขยี้ วมีหนา้ ทีอ่ ะไร
- ฟันสว่ นใดทาหนา้ ทีบ่ ดเคยี้ วอาหารใหล้ ะเอียด

2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเก่ยี วกบั หนา้ ท่ขี องฟันแตล่ ะลกั ษณะ
3. นกั เรียนดแู ผนภาพรูปฟัน และเติมช่ือลงในช่องว่าง จดั ทาเป็น ผลงานชนิ้ ที่ 3

หน้าทขี่ องฟัน

55

กจิ กรรม เรอ่ื ง การดแู ลรักษาฟัน
ท่ี 4

1. ให้นกั เรียนอาสาสมคั รออกมาเล่าประสบการณข์ องตนเองขณะปวดฟัน และ
บอกวิธีการปฏิบัติตนในการดูแลรักษาฟั น แล้วให้เพ่ือนร่วมกันแสดง
ความคิดเหน็ วา่ เป็นวิธีการปฏิบตั ิทีถ่ กู ตอ้ งหรอื ไม่ อยา่ งไร

2. ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้
1) จบั คกู่ บั เพือ่ น ตรวจความสะอาดและความผิดปกตขิ องฟัน แลว้ บนั ทึกผล

โดยขดี ✓ลงใน ❑ ตามความเป็นจรงิ

2) เขยี นแผนผงั ความคดิ เก่ยี วกบั วธิ ีการดแู ลรกั ษาฟัน
จดั ทาเป็น ผลงานชนิ้ ที่ 4 การดูแลรักษาฟัน แลว้ นาเสนอผลงานหนา้ ชนั้
3. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปความรูเ้ ก่ยี วกบั การดแู ลรกั ษาฟัน

กิจกรรม เร่อื ง อาหารท่มี ปี ระโยชนต์ ่อฟัน
ท่ี 5

1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์และอาหารท่ีมีโทษต่อฟันว่า
มีอะไรบา้ ง อาหารแตล่ ะชนิดมปี ระโยชนห์ รอื โทษตอ่ ฟันอยา่ งไร

2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ยกตัวอย่างชื่ออาหารท่ีมีประโยชน์ต่อฟันและอาหาร
ที่มีผลเสียต่อฟัน แลว้ เขียนบอกว่า มีผลดีและผลเสียต่อฟันอย่างไร จัดทาเป็น
ผลงานชนิ้ ที่ 5 อาหารทีม่ ีประโยชน์ต่อฟัน

3. ขน้ั สะทอ้ นความคิด
1. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมารายงานผลการทา กิจกรรมที่ 1 - 5
2. นักเรียนนาเสนอผลงานชิ้นท่ี 2.1 - 2.5 จากนั้น นาผลงานมาจัดแสดงท่ี

ป้ายนิเทศ

56

4. ข้ันทฤษฎี
1. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปความรูท้ ไ่ี ดจ้ ากการทา กจิ กรรมที่ 1 - 5 (ผลงาน

ชนิ้ ท่ี 1 - 5)
ถา้ นกั เรียนรายงานผลการทากิจกรรมในขนั้ สะทอ้ นความคิดไม่ถกู ตอ้ งหรอื ไม่

สมบรู ณ์ ใหค้ รูเฉลยคาตอบที่ถกู ตอ้ ง

2. ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาสาระการเรียนรูจ้ าก ใบความรู้ที่ 2 บทที่ 2 ฟันของเรา
และสรุปความรูท้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษา

5. ขั้นนาไปใช้

กจิ กรรม เร่อื ง อาหารท่ีมปี ระโยชนต์ ่อฟัน
ที่ 6

1. ให้นักเรียนอภิปรายกลุ่มว่า จะนาความรูท้ ่ีไดจ้ ากการเรียนเร่ือง ฟันของเรา
ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างไร สรุปผลการอภิปรายและเขียน
เป็ นแผนผังความคิดบนกระดาน แล้วให้นักเรียนจดบันทึกลงในสมุด
แลว้ นาเสนอผลงานท่หี นา้ ชนั้

2. นกั เรียนหาภาพอาหารที่มีประโยชนต์ ่อฟันมาติด พรอ้ มทงั้ เขยี นบอกประโยชน์
ของอาหาร จดั ทาเป็น ผลงานชิน้ ที่ 6 กินดี มฟี ันแขง็ แรง

6. ข้ันสรุป
1. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดบทที่ 2 ฟันของเรา และทาแบบทดสอบวินิจฉัยผล

การเรียนรู้ท่ี 1 ธรรมชาติของชีวิต จากนั้น ครูตรวจแบบฝึ กหัดและ
แบบทดสอบ พรอ้ มกบั เฉลยคาตอบ
2. ใหน้ กั เรยี นสรุปเนอื้ หาในบทเรียน โดยเขยี นเป็นแผนผงั ความคดิ

3. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปผลการทากิจกรรมในขนั้ ท่ี 1 – 5

4. นกั เรยี นรว่ มกนั รอ้ งเพลง แปรงฟัน
5. ใหน้ กั เรียนอภิปรายและซกั ถามเพ่ิมเติม แลว้ เกบ็ ผลงานชิน้ ที่ 1 - 2 ในแฟ้ม

ผลงานนกั เรยี น จากนนั้ ครูนดั หมายการเรียนครงั้ ต่อไป

57

ส่ือการเรยี นรู้
1. ใบผลงานชนิ้ ที่ 1 - 6 และวสั ดอุ ปุ กรณต์ ามท่กี าหนดไวใ้ นใบผลงาน
2. ใบความรูท้ ี่ 1 บทท่ี 2 ฟันของเรา
การประเมินผลการเรียนรู้
1. ประเมนิ ตามสภาพจริง

1.1 ฟังรายงานผลการทากิจกรรมของนกั เรยี น
1.2 สงั เกตการสารวจฟันของนกั เรียน
1.3 สงั เกตการดแู ลรกั ษาฟันของนกั เรยี น
1.4 สงั เกตการเลือกรบั ประทานอาหารท่มี ปี ระโยชนต์ ่อฟัน
1.5 สงั เกตการบรรยายประโยชนข์ องการศึกษาเรื่อง ฟันของเรา
2. ตรวจผลงานชนิ้ ท่ี 1 - 6ในแฟ้มผลงานนกั เรียน
3. ตรวจแบบฝึกหดั บทที่ 2 ฟันของเรา
4. ตรวจแบบทดสอบวนิ จิ ฉัยผลการเรยี นรูท้ ี่ 1 ธรรมชาตขิ องชวี ิต

การประเมินผล

เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพผลงาน

☺ ระดับ 3 (ดี) ไดค้ ะแนน 7 - 10 คะแนน
- นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ติ ามกระบวนการแกป้ ัญหาไดค้ รบทกุ ขนั้ ตอน
- นกั เรยี นสามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดต้ ามขนั้ ตอนของกระบวนการทางานเป็นกล่มุ

ทกุ ขน้ั ตอน
- ผลงานมีขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งครบถว้ นสมบรู ณต์ ามจดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
- ผลงานของนกั เรียนมีภาพประกอบชดั เจน ถกู ตอ้ งตามจดุ ประสงคข์ องกิจกรรม

- นกั เรียนสามารถรายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ชน้ั เรยี นไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งชดั เจน

☺ ระดับ 2 (พอใช้) ไดค้ ะแนน 4 - 6 คะแนน
- นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการแกป้ ัญหาได้ แตไ่ ม่ครบทกุ ขน้ั ตอน
- นกั เรยี นสามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดต้ ามขนั้ ตอนของกระบวนการทางานเป็นกล่มุ

แต่ไม่ครบทกุ ขน้ั ตอน
- ผลงานมขี อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งสมบรู ณพ์ อสมควรตามจดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
- ผลงานของนกั เรยี นมภี าพประกอบถกู ตอ้ งพอสมควรตามจดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
- นกั เรียนสามารถรายงานผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหนา้ ชนั้ เรียนไดถ้ กู ตอ้ งพอสมควร

58

☺ ระดับ 1 (ต้องแก้ไข) ไดค้ ะแนน 1 - 3 คะแนน บ
- นกั เรยี นไม่สามารถปฏบิ ตั ิตามกระบวนการแกป้ ัญหาได้
- นกั เรียนไมส่ ามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้
- ผลงานมขี อ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งเป็นส่วนนอ้ ย ไมส่ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคข์ องกจิ กรรม
- ผลงานไม่มีภาพประกอบ หรอื มภี าพประกอบแตไ่ มต่ รงกบั จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
- นกั เรยี นไมส่ ามารถรายงานผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหนา้ ชนั้ เรยี นได้

แผนการเรยี นรู้ที่ ๓ สขุ ภาพฟัน

มฐ. พ ๑.๑ ชน้ั ป. ๖ เวลา
(๑)
สาระที่ ๑ (ชม.)
…...
สาระท่ี ๑ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์ ๒….

ความคิดรวบยอด
การดูแลฟันใหส้ ะอาดและแขง็ แรงอยเู่ สมอ จะทาให้คนเรามสี ุขภาพดี

สาระการเรยี นรู้

๑. ลกั ษณะของคราบจุลนิ ทรีย์
๒. โรคและความผิดปกตขิ องเหงือกและฟัน
๓. การดแู ลรักษาเหงอื กและฟัน

จุดประสงคก์ าร
เรียนรู้

๑. บอกลกั ษณะและสาเหตุของการเกิดคราบจลุ นิ ทรียไ์ ด้
๒. บอกสาเหตแุ ละอาการของโรคและความผิดปกตขิ องเหงือกและฟันได้
๓. บอกวิธีการดแู ลรักษาเหงือกและฟันได้
๔. ปฏิบตั ิตนในการดูแลรกั ษาเหงือกและฟันไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

59

กระบวนการ
เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ มี ๖ ข้นั ตอน ดงั น้ี

๑. ข้นั เกร่ินนำ
ใหน้ กั เรียนร้องเพลง เล่านิทาน เล่นเกม หรือทากิจกรรมเก่ียวกบั สุขภาพฟัน เช่น ให้
นกั เรียนร้องเพลง แปรงฟัน พร้อมกบั ทาท่าทางประกอบเพลงตามจินตนาการ

เพลง แปรงฟนั
ตื่นเชา้ ลา้ งหนา้ แปรงฟัน แปรงทกุ วนั ฟันจะสวยดี แปรงข้ึน แปรงลง เขา้ ซิ วนั ละ ๒ ที
แปรงฟัน แปรงฟัน

๒. ข้นั ประสบกำรณ์

ให้นกั เรียนทากิจกรรมตา่ งๆ เพื่อให้เกิดประสบการณต์ รงเก่ียวกบั สุขภาพฟัน ดงั น้ี

กิจกรรมที่ ๑ เร่ือง ลักษณะของครำบจลุ นิ ทรีย์

๑. ครูนาหุ่นจาลองฟัน มาให้นกั เรียนดู และให้นกั เรียนตอบคาถามเก่ียวกบั ชนิดและหนา้ ที่

ของฟันแต่ละชนิด
๒. ครูให้นักเรียนช่วยกนั คดิ ว่า ลกั ษณะของฟันท่ีดีท่ีทุกคนตอ้ งการควรมีลกั ษณะอยา่ งไร
เพราะอะไร โดยออก

มาเขยี นบนกระดาน พร้อมกบั บอกเหตผุ ลประกอบ
๓. ครูและนกั เรียนช่วยกนั ยกตวั อยา่ งลกั ษณะของฟันท่ีมีสุขภาพไม่ดี เช่น ฟันท่ีไม่สวยผิด
รูป ฟันสกปรกและไม่แข็งแรง ว่าแต่ละลักษณะจะส่งผลต่อผูเ้ ป็ นเจา้ ของฟันและผูใ้ กล้ชิด
อยา่ งไรบา้ งเช่น ฟันไม่สะอาด ทาให้ขาดความมน่ั ใจ ฟันหลอ ทาให้ออกเสียงไมช่ ดั เจน ฟันผุ ทา
ให้ปวดฟัน เป็นตน้
๔. ครูนาภาพฟันท่ีมีคราบจุลินทรีย์ มาให้นักเรียนดู และตอบคาถาม เช่น ฟันท่ีเห็นมี
ลกั ษณะอย่างไร ลกั ษณะดงั กล่าวจะส่งผลอยา่ งไร และอะไรเป็นสาเหตุของการเกิดลกั ษณะน้นั
ให้นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายและสรุปเก่ียวกบั ลกั ษณะและสาเหตขุ องการเกิดคราบจลุ ินทรีย์

60

๕. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝึกกิจกรรม ดงั ต่อไปน้ี
๑) สารวจสภาพฟันของตนเอง แลว้ บนั ทึกผล
๒) ตอบคาถามเก่ียวกบั ลกั ษณะและสาเหตุของการเกิดคราบจลุ ินทรีย์
จดั ทาเป็น ผลงานช้ินท่ี ๓.๑ คราบจลุ นิ ทรีย์ หนา้ ๔๗

กจิ กรรมที่ ๒ เรื่อง โรคและควำมผิดปกติของเหงือกและฟัน

๑. ครูนาภาพเก่ียวกบั โรค และความผิดปกตขิ องเหงือกและฟันลกั ษณะต่างๆ เช่น โรคฟัน
ผุ โรคปริทนต์ และโรคแผลในช่องปาก มาให้นกั เรียนดู และตอบคาถาม เช่น

- โรคน้ีเป็นความผิดปกตขิ องส่วนใด และมีอาการอยา่ งไร
- นกั เรียนเคยมอี าการดงั กล่าวหรือไม่ อยา่ งไร
- ถา้ มอี าการดงั กล่าวแลว้ จะมวี ิธีการรกั ษาอยา่ งไร
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือสรุปว่าลกั ษณะและอาการตามขอ้ ๑ เรียกว่า โรค
และความผดิ ปกติของเหงือกและฟัน ซ่ึงจะเรียกช่ือโรคตามลกั ษณะอาการที่เกิดข้ึน เช่น โรคฟัน
ผุ โรคเหงอื กอกั เสบ และโรคแผลในช่องปาก เป็นตน้
๓. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั โรคและความผดิ ปกตขิ องเหงอื กและฟัน
กลุ่มละ ๑ ขอ้ โดยบอกถึงสาเหตุ อาการ และการรกั ษา พร้อมกบั วาดภาพประกอบ จดั ทาเป็น
ผลงานช้ินท่ี ๓.๒ โรคและควำมผดิ ปกติของเหงือกและฟัน หนา้ ๔๗

กิจกรรมที่ ๓ เรื่อง กำรดูแลรักษำเหงือกและฟัน

๑. ครูให้นกั เรียนอาสาสมัครออกมาแสดงวิธีการแปรงฟันที่ตนเองปฏิบัติเป็นประจากับ
หุ่นจาลอง แล้วให้เพื่อนในช้ันช่วยประเมินว่า นักเรียนแปรงฟันไดถ้ ูกวิธีหรือไม่ เพราะอะไร
แลว้ ร่วมกนั สรุปวธิ ีแปรงฟันที่ถกู ตอ้ ง
๒. ครูให้นกั เรียนช่วยกนั ยกตวั อย่างการดูแลรักษาฟันวิธีต่างๆ ท่ีตนเองปฏบิ ตั ิ เช่น การใช้
ไหมขดั ฟันเพอ่ื กาจดั เศษอาหาร การกินอาหารใหค้ รบ ๕ หมู่ และกินอาหารบารุงฟัน เป็นตน้
๓. ครูยกตวั อยา่ งกรณีศกึ ษาตา่ งๆ ให้นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถาม เช่น

๑) ถา้ เกิดอุบตั เิ หตุ ทาใหฟ้ ันแทห้ ลดุ ควรทาอยา่ งไร
๒) ควรเลือกแปรงสีฟัน และยาสีฟันลกั ษณะใด
๓) ควรตรวจสุขภาพฟันอยา่ งนอ้ ยปี ละก่ีคร้งั
๔) อาหารใดบา้ ง ที่ควรกินเพ่ือช่วยบารุงฟัน

61

๔. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกกิจกรรม ดงั ต่อไปน้ี
๑) สารวจการดแู ลสุขภาพฟัน และเหงือกของตนเอง โดยขีด √ ลงในตารางตามความ

เป็นจริง แลว้ นาผลท่ี ไดไ้ ปปรบั ปรุงพฤติกรรมในการดูแลรักษาฟัน
๒) อ่านสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ แลว้ แสดงความคิดเห็นจดั ทาเป็ น ผลงานช้ินที่ ๓.๓

กำรดแู ลรักษำสุขภำพเหงือกและฟัน หนา้ ๔๘
๕. ครูและนักเรียนช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของผลงาน และสรุปเกี่ยวกบั การดูแล
รักษาเหงอื กและฟัน

๓. ข้นั สะท้อนควำมคิด

๑. ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่ม ส่งตวั แทนออกมารายงานผลการทา กิจกรรมท่ี ๑ - ๓
๒. ให้นกั เรียนนาเสนอผลงำนชิน้ ที่ ๓.๑ - ๓.๓ จากน้นั นาผลงานมาจดั แสดงทปี่ ้ายนิเทศ

๔. ข้นั ทฤษฎี

๑. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้ที่ไดจ้ ากการทา กิจกรรมท่ี ๑ - ๓ (ผลงานช้ินที่ ๓.๑ -
๓.๓) ถา้ นักเรียนรายงานผลการทากิจกรรมในข้นั สะทอ้ นความคิดไม่ถูกตอ้ ง หรือไม่สมบูรณ์
ให้ครูเฉลยคาตอบท่ถี กู ตอ้ ง
๒. ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาสาระการเรียนรู้เพิม่ เติมจาก ใบความรู้ที่ ๓ บทท่ี ๓ สุขภาพฟัน และ
สรุปความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษา

๕. ข้นั นำไปใช้

กจิ กรรมที่ ๔ เรื่อง สุขภำพฟัน

๑. ครูให้นักเรียนอภิปรายกลุ่มว่า จะนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนเร่ือง สุขภาพฟัน ไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไร สรุปผลการอภิปรายและเขียนเป็นแผนผงั ความคิด จดั ทา
เป็น ผลงานชิ้นที่ ๓.๔ แผนผงั ความคิด หนา้ ๔๘ แลว้ นาเสนอผลงานท่ีหนา้ ช้นั
๒. ครูให้นักเรียนนาแผนผงั ความคิดมาแลกเปล่ียนกันดู แล้วร่วมกันสนทนาซักถาม
เก่ียวกบั การเขียนแผนผงั ความคิด เพือ่ ดูว่า มีความเหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร

62

กิจกรรมท่ี ๕ เร่ือง สุขภำพฟัน

ครูใหน้ กั เรียนบนั ทกึ ผลการปฏิบตั ติ นในการดูแลรกั ษาสุขภาพฟันของตนเอง เป็นเวลา
๑ สัปดาห์ เกี่ยวกบั รายการปฏิบตั แิ ละผลท่ีเกิดจากการปฏบิ ตั ิ จดั ทาเป็น ผลงานชิ้นที่ ๓.๕
สุขภำพฟันของฉัน หนา้ ๔๙

๖. ข้นั สรุป

๑. ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั บทที่ ๓ สุขภาพฟัน และทาแบบทดสอบวนิ ิจฉัยผลการเรียนรู้
ท่ี ๑ ธรรมชำตขิ อง

ชีวิต จากน้นั ครูตรวจแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ พร้อมกบั เฉลยคาตอบ
๒. ให้นกั เรียนสรุปเน้ือหาในบทเรียน โดยเขยี นเป็นแผนผงั ความคดิ
๓. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปผลการทากิจกรรมในข้นั ที่ ๑ - ๕
๔. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั รอ้ งเพลงแปรงฟัน
๕. ให้นักเรียนอภิปรายและซักถามเพ่ิมเติม แล้วเก็บผลงานชิน้ ที่ ๓.๑ - ๓.๕ ในแฟ้ม
ผลงานนกั เรยี น จากนนั้ ครูนดั หมายการเรยี นครงั้ ต่อไป

สื่อการเรยี นรู้

๑. เพลง แปรงฟัน
๒. หุ่นจาลองฟัน
๓. ภาพโรคเกี่ยวกบั เหงอื กและฟัน
๔. ใบผลงานชิ้นท่ี ๓.๑ - ๓.๕ และวสั ดอุ ุปกรณ์ตามท่กี าหนดไวใ้ นใบผลงาน
๕. ใบความรู้ที่ ๓ บทท่ี ๓ สุขภาพฟัน

63

การประเมินผล

๑. ประเมินตามสภาพจริง
๑) ฟังรายงานผลการทากิจกรรมของนกั เรียน
๒) สังเกตการบอกลกั ษณะและสาเหตุของการเกิดคราบจุลินทรีย์ และอาการ

ของโรคท่เี กิดกบั เหงอื กและฟัน
๓) สังเกตการปฏิบตั ิตนในการดูแลรกั ษาเหงือกและฟัน
๔) สังเกตการบรรยายประโยชนข์ องการศึกษาเรื่องสุขภาพฟัน

๒. ตรวจผลงานชิ้นที่ ๓.๑ - ๓.๕ ในแฟ้มผลงานนกั เรียน
๓. ตรวจแบบฝึกหัดบทที่ ๓ สุขภาพฟัน
๔. ตรวจแบบทดสอบวินิจฉัยผลการเรียนรู้ที่ ๑ ธรรมชาตขิ องชีวิต

เกณฑก์ ารประเมินผล
เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ภาพของผลงานท่นี กั เรียนทา ดูรายละเอียดในหนา้ ๑๗ - ๑๘

เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพผลงาน

ใชป้ ระเมนิ ผลงานนกั เรียนทกุ ชนิ้ งาน

ใหค้ รูตรวจผลงานของนกั เรยี น โดยจดั ระดบั คณุ ภาพเป็น ๓ ระดบั ตามเกณฑต์ ่อไปนี้

☺ ระดับ ๓ (ด)ี ได้คะแนน ๗ - ๑๐ คะแนน
- นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ิตามกระบวนการแกป้ ัญหาไดค้ รบทกุ ขนั้ ตอน
- นกั เรยี นสามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ไดต้ ามขนั้ ตอนของกระบวนการทางานเป็นกลมุ่ ทกุ

ขนั้ ตอน
- ผลงานมีขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งครบถว้ นสมบรู ณต์ ามจดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
- ผลงานของนกั เรยี นมภี าพประกอบชดั เจน ถกู ตอ้ งตามจดุ ประสงคข์ องกจิ กรรม
- นกั เรียนสามารถรายงานผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหนา้ ชนั้ เรียนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ชดั เจน

64

 ระดับ ๒ (พอใช้) ได้คะแนน ๔ - ๖ คะแนน
- นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ิตามกระบวนการแกป้ ัญหาได้ แตไ่ ม่ครบทกุ ขน้ั ตอน
- นกั เรียนสามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดต้ ามขนั้ ตอนของกระบวนการทางานเป็นกลมุ่ แต่

ไมค่ รบทกุ ขน้ั ตอน
- ผลงานมีขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งสมบรู ณพ์ อสมควรตามจดุ ประสงคข์ องกจิ กรรม
- ผลงานของนกั เรียนมีภาพประกอบถกู ตอ้ งพอสมควรตามจดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
- นกั เรียนสามารถรายงานผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหนา้ ชนั้ เรียนไดถ้ กู ตอ้ ง

พอสมควร

 ระดบั ๑ (ต้องแก้ไข) ได้คะแนน ๑ - ๓ คะแนน
- นกั เรยี นไมส่ ามารถปฏิบตั ิตามกระบวนการแกป้ ัญหาได้
- นกั เรยี นไม่สามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้
- ผลงานมขี อ้ มลู ท่ถี กู ตอ้ งเป็นสว่ นนอ้ ย ไมส่ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
- ผลงานไม่มีภาพประกอบ หรอื มีภาพประกอบแตไ่ มต่ รงกบั จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
- นกั เรยี นไม่สามารถรายงานผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี นได้

จนั ทรเ์ พ็ญ ชปู ระภาวรรณ. (2543). สถานะสขุ ภาพคนไทย. นนทบรุ ี : สถาบนั วิจยั ระบบ
สาธารณสขุ .

ทนั ตสาธารณสขุ , กอง. กรมอนามยั . กระทรวงสาธารณสขุ . (2540). คู่มอื การดแู ล
ทนั ตสุขภาพดว้ ยตนเอง. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หาร
ผ่านศกึ .

---------. (2540). ค่มู อื การดแู ลสุขภาพช่องปากของตนเองและครอบครวั ในงาน
ทันตกรรมป้องกัน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศึก.

---------. (2544). 101 ปัญหาในชอ่ งปาก หนังสอื สาหรบั ประชาชน. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2.
กรุงเทพมหานคร : ไซเบอร์ เพรส.

บรรจบ ชญุ หสวสั ดิกลุ . (2544). บุหรห่ี รือสขุ ภาพ. พมิ พค์ รงั้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร :
ราไทย เพรส.

---------. (2544). อจุ จาระสอ่ งสขุ ภาพ. กรุงเทพมหานคร : รวมทรรศน.์
ประสานการปฏบิ ตั ิการบาบดั รกั ษาผตู้ ดิ ยาและสารเสพตดิ , กอง. กระทรวงสาธารณสขุ .

(2544). สารระเหย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตร
แห่งประเทศไทย. (แผน่ พบั )
เพลนิ พร ผวิ งาม, และดรรชนี มหาชานิกะ. (2543). คูม่ อื อนามยั สงิ่ แวดลอ้ มในโรงเรยี น
ทาอยา่ งไรใหไ้ กลโรค. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพอ์ งคก์ ารรบั ส่งสนิ คา้
และพสั ดภุ ณั ฑ.์
สมทรง อินสวา่ ง. (2536). การดแู ลสขุ ภาพส่วนบุคคล. พิมพค์ รงั้ ท่ี 7. กรุงเทพมหานคร :
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.
สวุ รรณา หงั สพฤกษ์, และคณะ. (2544). สรีรวิทยา 2. กรุงเทพมหานคร : เรอื นแกว้ การพิมพ.์

ทป่ี รกึ ษา ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษานา่ น เขต 1
รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาน่าน เขต 1
นายเพ็ชร ธรรมราช ศึกษานเิ ทศกเ์ ชีย่ วชาญ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่หวั หนา้ กล่มุ นิเทศ
นายมงคล หมวกพิกลุ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สพท.น่าน เขต 1
นางลมยั จนั ตะ๊ ยอด ศกึ ษานิเทศก์ ชานาญการพิเศษ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่
หวั หนา้ กล่มุ งานวดั และประเมนิ ผล สพท.น่าน เขต 1
นายสมเกียรติ รตั นวิฑรู ย์ ศึกษานเิ ทศก์ ชานาญการพิเศษ กลมุ่ งานส่งเสริมพฒั นา
สื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
นายสมชาติ วงษอ์ ยนู่ อ้ ย

ผู้เรียบเรียง ศึกษานเิ ทศก์ ชานาญการพิเศษ กล่มุ งานนเิ ทศ ติดตาม
และประเมนิ ผลระบบบรหิ ารฯ สพท.นา่ น เขต 1
นายสรุ ชาติ ภผู าผยุ

รูปเล่ม/อัดสาเนาดิจิตอล

นายสมชาติ วงษอ์ ย่นู อ้ ย ศึกษานเิ ทศก์ ชานาญการพิเศษ

นายสรุ ชาติ ภผู าผยุ ศึกษานิเทศก์ ชานาญการพเิ ศษ

นางวิพาภรณ์ พฒุ มิ า ศกึ ษานเิ ทศก์ ชานาญการ

นายวนั ชยั ภผู าคณุ ศกึ ษานิเทศก์ ชานาญการ

นางลาเนาว์ ชยั คา ศกึ ษานิเทศก์ ชานาญการ

นางเพยี รจิต แสนธิ เจา้ หนา้ ทอี่ ดั สาเนา

ปก/ภาพประกอบ ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ

นายสรุ ชาติ ภผู าผยุ


Click to View FlipBook Version