สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
๓) สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ในการบริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงให้แก่ นักเรียน ครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๔) จัดให้มีช่องทางการสื่อสาร การให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบันให้กับสถานศึกษา
และจัดระบบสนับสนุนเมื่อมีนักเรียน ครูหรือบุคลา กรมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19)
๕) สำรวจ ติดตามสถานการณใ์ นพ้ืนที่บริการอย่างต่อเนื่อง กรณี พบผู้มีอาการเสี่ยงหรอื ป่วย
ต้องดำเนินการทันที และรายงานใหส้ ถานศึกษาทราบเพ่อื ดำเนนิ การตามมาตรการตอ่ ไป
๖) ออกให้บรกิ ารตามท่ีสถานศกึ ษารอ้ งขอ เชน่ จัดเจา้ หนา้ ท่ี อสม.ประจำหมบู่ า้ น ตำบล ตรวจเวรยาม
บันทกึ ตู้แดงตามจดุ ทโี่ รงเรียนกำหนด และอ่ืน ๆ ตามความตอ้ งการจำเป็น
๕.๓ องคก์ รทางปกครอง
๑) ประชาสัมพันธ์สรา้ งความเข้าใจให้โรงเรียน และชุมชนในเขตการปกครองมคี วามรูค้ วามเข้าใจ
เก่ยี วกับการปอ้ งกนั ตนเอง การดแู ลสขุ อนามัยของตนเอง และบคุ คลในครอบครวั
๒) สนับสนุน ช่วยเหลอื โรงเรยี นในเขตปกครองตามคำส่ังของจงั หวดั อย่างเคร่งครดั
๓) กำกับ ตดิ ตามการได้รบั วคั ซนี ของประชาชนในเขตปกครองและมขี ้อมูลทางสถิตทิ อ่ี า้ งองิ เช่ือถอื ได้
๔) ให้บรกิ ารตามที่สถานศกึ ษารอ้ งขอตามความตอ้ งการเรง่ ดว่ นและจำเปน็
๕.๔ องคก์ รเอกชน
๑) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วดั อุณหภูมิ
หน้ากากอนามัย เจลลา้ งมอื ฯลฯ
๒) สนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาในการนำไปใช้บรหิ ารจดั การภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๓) อำนวยความสะดวกใหค้ วามชว่ ยเหลอื กรณีฉุกเฉิน จำเป็นในการส่งตวั นกั เรียน ครแู ละบุคลากรที่
คาดวา่ จะได้รบั เชือ้ หรือเปน็ กลุ่มเสี่ยงสง่ หน่วยงานสาธารณสขุ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
๔) สร้างระบบการติดต่อส่ือสารหน่วยงานภายในจังหวดั อำเภอ ตำบล ให้มีความรวดเรว็ ในการ
ช่วยเหลอื ดูแล นักเรียน ครู บคุ ลากร และผู้ปกครอง ที่สถานศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
47
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
48
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
สว่ นที่ 7
การติดตามและประเมนิ ผล
การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการสำคัญที่จะต้องดำเนินการ ให้เป็นไปตามแนวทางการ
เตรียมการเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดไว้ เพื่อติดตาม
ดูแลช่วยเหลือหรอื แกไ้ ขปัญหา รบั ทราบความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงาน และขอ้ เสนอแนะ
ดงั น้ี
การตดิ ตามและประเมนิ ผล มี ๓ ระดบั ประกอบดว้ ย
๑. ระดับสถานศึกษา
สถานศึกษากำหนดหรอื แต่งตงั้ ผู้รับผิดชอบดำเนนิ การตามแนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี ๒
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยให้
มีการติดตามและประเมินผล ดงั นี้
๑) การนำแนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พื้นฐานสูก่ ารปฏิบัติ
๒) การประเมินตนเองผา่ นระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมินผลผา่ น MOE Covid
๓) การปฏบิ ัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ทง้ั ๔ องค์ประกอบ
๔) การปฏบิ ัติตาม ๗ มาตรการเขม้ ของสถานศึกษาระหวา่ งการจัดการเรยี นการสอน
๕) การทำและการปฏิบัติตามแผนการเผชิญเหตุทกี่ ำหนดไว้
๖) การรายงานข้อมูลสารเทศที่สำคัญต่อสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาและหน่วยงานท่ี
เก่ยี วขอ้ ง
๒. ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษากำหนดหรือแตง่ ตั้งผ้รู ับผิดชอบดำเนนิ การตดิ ตามและประเมนิ ผลการ
ดำเนินงานตามแนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศกึ ษาในสงั กัด ดงั น้ี
๑) การนำแนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พื้นฐานสู่การปฏบิ ัติ
49
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
๒) การประเมินตนเองผา่ นระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการตดิ ตามการ
ประเมนิ ผลผา่ น MOE Covid
๓) การปฏบิ ัตติ ามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ท้งั ๔ องคป์ ระกอบ
๔) การปฏิบตั ิตาม ๗ มาตรการเข้มระหว่างการจดั การเรียนการสอน
๕) การทำและการปฏบิ ตั ิตามแผนการเผชญิ เหตทุ ก่ี ำหนดไว้
๖) การกำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และรับรายงานขอ้ มูลสารเทศทสี่ ำคญั
๗) รายงานผลการดำเนนิ งานและข้อมลู ทส่ี ำคญั ต่อสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขน้ั พน้ื ฐาน
๓. ระดบั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานกำหนดหรือแตง่ ตง้ั ผู้รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การติดตามและ
ประเมินผลการดำเนินงานตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
และสถานศกึ ษาในสงั กดั ดงั น้ี
๑) การลงพื้นที่กำกับ ติดตาม และประเมินผลแบบ Site Visit โดยการสุ่มเฉพาะพื้นที่
เป้าหมายหรอื เขตตรวจราชการ เพื่อรับรองผลการดำเนนิ งานของสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศึกษา
เพอ่ื ทราบผลการนำแนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ไปใช้
๒) กำกบั ตดิ ตาม และประเมินผลแบบ Online ในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ๑๐๐% โดย
ใช้เครื่องมือตดิ ตามทสี่ รา้ งข้ึน
๓) รายงานผลการดำเนินงานตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา
๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ต่อ
กระทรวงศกึ ษาธิการ และหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง
ข้อเสนอแนะ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศกึ ษา ควร
ดำเนนิ การ
๑. ส่ือสาร สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจท่ถี กู ตอ้ งให้กับนักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้เข้ารับ
การฉีดวคั ชนี ครบถ้วน 100%
๒. กำหนดมาตรการ และแนวปฏบิ ตั ิท่ีสอดคล้องกับมาตรการ และแนวปฏิบัตขิ องกระทรวงสาธารณสขุ
และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด
๓. จัดให้มีระบบการรายงานและการนำเสนอขอ้ มลู ท่ีเปน็ ข้อเทจ็ จรงิ เพื่อสรา้ งการรบั รทู้ ี่ถกู ต้อง เป็น
ปจั จุบัน ทนั ตอ่ สถานการณ์ท่ีเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา
50
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
ภาคผนวก
51
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงสาธารณสขุ . (๒๕๖๔), ค่มู ือการปฏิบตั ิมาตรการ Sandbox Safety Zone in School เปิดเรียน
มน่ั ใจ ปลอดภัยไรโ้ ควดิ ๑๙ ในสถานศกึ ษา. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓), คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา ในการป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคโควดิ ๑๙. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๖๔).ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง หลกั เกณฑ์การเปดิ โรงเรียนหรอื
สถาบันการศกึ ษาตามขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบรหิ าร
ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒) ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.
๒๕๖๔.เอกสารสง่ิ พิมพ์.
กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓), คาํ แนะนําการป้องกนั ควบคุมโรคไวรสั โคโรนา สายพันธใุ์ หม่
๒๐๑๙ สําหรับสถานศึกษา สถานการณ์การระบาดในวงกว้าง ระยะเริ่มต้น. สืบค้น ๕ ตุลาคม
๒๕๖๔,
จาก https://ddc.moph.go.th/viraloneumonia/file/introduction/ introduction07_1.
กรมอนามัย.(๒๕๖๔). แนวทางการปฏบิ ัตดิ า้ นสาธารณสุขเพอื่ ห้องกนั การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ฉบบั ท่ี ๑.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓), คําแนะนําการป้องกันตนเองและการปฏบิ ัตดิ ้านสขุ อนามยั
ในสถานศึกษา ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19).
สบื คน้ ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔, จาก https://www.anamai.moph.go.th/ewt_dt link.php?nid=16545.
งานสรา้ งเสริมสขุ ภาพ ศิรริ าชพยาบาล.(๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔). น่ังวินมอเตอร์ไซดอ์ ย่างไรให้ปลอดภยั จาก
Covid-19.สบื ค้นจาก https://www.pptvhd36.com/news/154963
เมือ่ วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔.
ชนาธปิ ไชยเหล็ก.(21 กนั ยายน ๒๕๖๔).ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ vs. อย.สรปุ ปมวัคซนี Sinopharm ในเดก็ .
สืบค้นจาก thestandard.co/cra-us-fda-moph-and-sinopham-in-child/.
เมอื่ วันท่ี ๗ ตุลาคม ๒๕๖๔
ศูนย์เฉพาะกิจการศึกษาทางไกล ในสถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( COVID-19) สำนักงาน
คณะกรรมการ การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน. (๒๕๖๓). แนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของ โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19).สืบค้นจากhttps://www.covid19.obec.go.th/
เมอื่ วนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔.
52
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
ราชวิทยาลยั กุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย.(๒๒ กันยายน ๒๕๖๔).คำแนะนำการฉดี วัคซนี ป้องกนั โรคโควิด-๑๙
สำหรบั เด็กอายตุ ั้งแต่ ๑๒ ปีขึน้ ไป(ฉบับที่ ๓).สบื คน้ จาก
thaipendiatrios.org/pages/people/Detail/481383.
โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๕๕ จังหวัดตาก. (๒๕๖๓). มาตรการเตรยี มความพร้อมปอ้ งกัน ควบคุมโรคตดิ เชอื้
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ด้านการจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓.
โรงพยาบาลวชิ ยั เวชอินเตอร์เนชนั่ แนลหนองแขม.(๒๕๖๔). วัคซนี ไฟเซอร์.สบื ค้นจาก
https://vichaivej-nongkhaem.com/health-info/ เมื่อวนั ที่ ๖ ตลุ าคม ๒๕๖๔.
ไทยรฐั ออนไลน.์ (๑๕ กนั ยายน ๒๕๖๔).โรงเรียน Sandbox : Safety Zone in School.สืบคน้ จาก
https://www.thairath.co.th/news/local/๒๑๙๓๙๑๐ เมอ่ื วนั ท่ี ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สอื่ ดจิ ิทัลเพอ่ื การเรียนการสอน. สืบค้นจาก https://contentcenter.obec.go.th/
เมอื่ วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สื่อดจิ ิทัลเพอ่ื การเรียนการสอน. สืบคน้ จาก https://deep.moe.go.th/
เมื่อวันที่ ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).ส่ือดิจทิ ัลเพอ่ื การเรยี นการสอน. สืบค้นจาก https://www.dltv.ac.th/
เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สอ่ื ดิจิทัลเพอ่ื การเรยี นการสอน. สืบคน้ จาก https://www.scimath.org/index.php /
เมอ่ื วันท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สือ่ ดจิ ทิ ัลเพ่อื การเรยี นการสอน. สืบคน้ จาก https://learningspace.ipst.ac.th/
เมื่อวนั ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สื่อดิจทิ ลั เพอื่ การเรยี นการสอน. สืบค้นจาก http://www.stemedthailand.org/
เมอ่ื วันท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สอ่ื ดจิ ิทลั เพื่อการเรยี นการสอน. สืบค้นจากhttps://www.scimath.org/index.php/
เมอ่ื วนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).ส่อื ดิจิทัลเพื่อการเรยี นการสอน.สบื คน้ จาก https://pisaitems.ipst.ac.th/
เม่อื วนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สอื่ ดจิ ทิ ัลเพือ่ การเรียนการสอน.สบื ค้นจาก https://www.tkpark.or.th/
เม่อื วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สื่อดจิ ทิ ัลเพื่อการเรยี นการสอน.สบื ค้นจาก https://dlit.ac.th/site/classroom.php/
เมือ่ วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔.
______(๒๕๖๔).สอ่ื ดจิ ิทัลเพื่อการเรยี นการสอน.สบื ค้นจาก https://www.ครพู รอ้ ม.com/
เมอื่ วันท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔.
_____________________
53
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
อภิธานศพั ท์
ATK : Antigen Test Kit
หมายถงึ ชุดตรวจการติดเชอ้ื โควิด๑๙ ที่สามารถทดสอบไดใ้ นเบ้ืองตน้ เหมาะกบั ผ้ทู สี่ งสยั หรอื ไมแ่ สดง
อาการติดเชือ้ ซง่ึ เป็น ๑ ใน ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้ม ของ Sandbox Safety
Zone in School นกั เรยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ทกุ คนต้องตรวจคดั กรอง ATK กอ่ นเข้าโรงเรียน
และมกี ารสุม่ ตรวจเฝา้ ระวังอย่างต่อเนอื่ ง โดยใช้ Antigen Test Kit (ATK) หรอื ชุดตรวจโควิด ๑๙ แบบเรง่ ด่วน
ด้วยวิธีการ Swab เกบ็ ตวั อย่างสารคดั หล่ังทางจมกู ลึกถงึ คอ หรือเก็บจากคอ สามารถทำได้เองทบ่ี า้ น การตรวจ
ชนดิ นี้เปน็ การตรวจคดั กรองเบอื้ งตน้
Covid free Zone
หมายถึง สถานศึกษาเป็นพื้นที่ทีป่ ราศจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-) อันเนือ่ งจากสถานศกึ ษามีการปฏิบตั ติ ามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ าร
กำหนด สามารถเปดิ การเรยี นการสอนแบบ Onsite และการจัดกจิ กรรมไดอ้ ยา่ งปลอดภัยและยั่งยนื
DMHT-RC
หมายถึง คำย่อของ ๖ มาตรการหลัก ได้แก่ ๑) Distancing เว้นระยะห่าง เว้นระยะห่างระหว่าง
บุคคลอย่างน้อย ๑-๒ เมตร ๒) Mask Wearing สวมหน้ากาก สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย
ตลอดเวลาทอ่ี ยใู่ นสถานศึกษา ๓) Hand washing ล้างมือ ลา้ งมือบอ่ ยๆ ดว้ ยสบ่แู ละนำ้ นาน ๒๐ วินาที หรือ
ใช้เจลแอลกอฮอล์ ๔) Testing คัดกรองวดั ไข้ วัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผสั เส่ียงทุกคนก่อนเขา้
สถานศึกษา ๕) Reducing ลดการแออดั ลดเข้าไปในพน้ื ท่ีเสี่ยง กลมุ่ คนจำนวนมาก และ ๖) Cleaning ทำ
ความสะอาด ทำความสะอาดบริเวณพืน้ ผิวสัมผัสร่วม อาทิ ทจ่ี ับประตู ลูกบดิ ประตู ราวบนั ได ปมุ่ กดลฟิ ต์
MOE Covid
หมายถึง ระบบการติดตามและประเมินผลข้อมูลของศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19
กระทรวงศึกษาธิการ (ศบค.ศธ.) เว็บไซต์ www.covid.moe.go.th ซึ่งมีเครื่องมือประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษาในการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรยี น ซง่ึ เปน็ ๑ ใน ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ
๗ มาตรการเข้ม ของ Sandbox : Safety Zone in School ที่สถานศกึ ษาตอ้ งประเมินตนเอง
54
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
mRNA Vaccine
หมายถงึ คำย่อของ Messenger Ribonucleic Acid เทคโนโลยีในการผลิตวัคซีนรูปแบบใหม่ ท่ีลง
ลกึ ถงึ ระดับโมเลกลุ จากเดมิ ท่ใี ชโ้ ปรตนี ของไวรสั หรือใช้ไวรสั ท่ถี กู ทำใหอ้ อ่ นแอฉดี เข้าไปร่างกายเพื่อใหร้ า่ งกาย
สร้างภมู ิต้านทานขึน้ มา แต่สำหรับเทคโนโลยี mRNA จะแตกต่างออกไป โดยใช้วิธีฉีดพันธกุ รรมโมเลกุลที่
เรียกวา่ mRNA เข้าไปในร่างกาย ซง่ึ รา่ งกายกจ็ ะสร้างโปรตนี ที่มีลักษณะคลา้ ยหนามของไวรสั โควดิ ๑๙ แต่ไม่
เปน็ อนั ตรายตอ่ มนุษย์ข้ึนมา ซ่งึ โปรตีนตัวน้ีจะกระตุน้ ใหร้ ่างกายสรา้ งภูมิตา้ นทานเพ่อื ตอ่ ส่กู ับไวรสั นอกจากนี้
วัคซนี ยังมี ไขมันอนุภาคนาโน (Lipid Nanoparticle) ท่ใี ช้หอ่ หุ้ม mRNA เพื่อปอ้ งกนั การย่อยสลายจากเอนไซม์
ไรโบนิวคลิเอสซ่ึงมีอยทู่ ่วั ร่างกาย
Safety Zone
หมายถึง พื้นที่ชั้นในที่มีความปลอดภัยสำหรับนกั เรียน ครู และบุคลากรที่ผ่านการตรวจหาเชือ้
โควิด๑๙ สถานศึกษามกี ารประเมนิ ตนเองและจดั แบง่ พนื้ ทีไ่ ว้เป็นการเฉพาะในโรงเรียน ไดแ้ ก่ พนื้ ที่คัดกรอง
พ้ืนท่ีกักกนั ผ้สู มั ผัสเสย่ี ง และพน้ื ท่ีปลอดภัยสีเขยี ว
Safety Zone in School
หมายถึง แนวปฏบิ ัติของ Sandbox : Safety Zone in School ในการกำหนดมาตรการด้านความ
ปลอดภัย และสขุ อนามยั ภายในโรงเรยี น เช่น การจำกดั บุคคลเข้าออกโรงเรียนอยา่ งชัดเจน มกี ารคัดกรองโดย
ใช้วิธี Rapid Antigen Test มีระบบตดิ ตามของครู และบคุ ลากรอย่างเข้มงวด กำหนดให้ทกุ คนต้องประเมิน
ความเสย่ี งผ่าน “Thai save Thai” อย่างสมำ่ เสมอ และเฝ้าระวังโดยการสมุ่ ตรวจทุก ๑๔ วัน หรือ ๑ เดอื นต่อ
ภาคเรียน เปน็ ตน้
School Pass
หมายถึง เอกสารหรือใบอนุญาตใหน้ กั เรยี น ครู และบคุ ลากร หรอื บุคคลที่เกยี่ วขอ้ งที่สถานศึกษาออก
ใหเ้ พือ่ ให้เกดิ ความปลอดภยั เม่ือเขา้ -ออกโรงเรียน โดยเป็นข้อมูลจากผลการประเมินสถานศกึ ษาผ่าน Thai
Save Thai ผลการตรวจ ATK ภายใน ๗ วนั ประวตั กิ ารรบั วัคซีน ตามมาตรการกระทรวงศึกษาธิการ และ
กระทรวงสาธารณสุข เพอ่ื ใหเ้ กิดความปลอดภัยเมื่อเขา้ – ออกโรงเรียน School Pass นเ้ี ป็น ๑ ใน ๗ มาตรการ
เขม้ เพม่ิ สำหรับโรงเรียนทจ่ี ะเปดิ การเรยี นการสอนแบบ Onsite ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
School Isolation
หมายถึง สถานแยกตัวในโรงเรียน ที่โรงเรียนทุกแห่งจะตอ้ งจัดให้มีเตรียมพรอ้ มไว้หากเกิดกรณี
ฉุกเฉนิ เป็นการวางแผนการเผชิญเหตุ และมีการซักซ้อมอยา่ งเคร่งครดั หากพบผู้ตดิ เชอื้ ที่ต้องมคี วามพร้อมใน
เรือ่ งสถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกบั บคุ ลากรทางการแพทย์
ในพน้ื ท่ี
55
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
Screening Zone
หมายถึง พน้ื ทีแ่ รกท่ีโรงเรยี นต้องดำเนนิ การคดั กรองนักเรยี น ครู ผู้ปกครอง หรือ ผ้มู าติดตอ่ ท่เี ข้ามา
ในโรงเรยี นเบื้องต้น เช่น การใช้เครอื่ งตรวจวดั อณุ หภมู ิ การตรวจ ATK การตรวจระบบ School Pass และ
อ่นื ๆ ตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสขุ กำหนด เปน็ ๑ ใน ๓ พ้นื ที่ Safety Zone ในโรงเรยี น ท่ถี กู กำหนด
ไว้ใน ๗ มาตรการเข้มสำหรับโรงเรียนท่ีจะเปดิ การเรยี นการสอนแบบ Onsite ได้แก่ คือ พน้ื ท่ี ๑ Screening
พ้ืนท่ี ๒ Quarantine และพื้นท่ี ๓ Safety Zone
Seal Route
หมายถึง การควบคุมรถรับ-ส่งนกั เรยี น รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสาธารณะ สำหรบั โรงเรยี นไป-
กลบั ) อยา่ งเข้มงวด โดยใช้กระบวนการกำกับ ตดิ ตามอยา่ งเคร่งครัด เพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดการแพร่กระจายเชือ้ การรับ
เชื้อจากชมุ ชน เข้าสู่โรงเรียน และควบคมุ การแพร่เชอื้ ไมใ่ หอ้ อกไปส่ชู มุ ชน มาตรการควบคุมเข้มงวดน้ีโรงเรียน
สามารถดำเนินการไดเ้ อง หรอื ขอความร่วมมอื จากหน่วยงานภายนอกชว่ ยควบคุม กำกบั ดแู ลใหด้ ำเนินการ
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้นึ
Small Bubble
หมายถงึ การจดั กลุม่ ยอ่ ย ให้นักเรียน ครแู ละบคุ ลากรปฏิบัตกิ จิ กรรมภายใตเ้ งอื่ นไขเดยี วกนั และไมข่ า้ ม
กลุ่ม ดงั น้ันเม่อื พบ ผู้ตดิ เชอ้ื จะสามารถแยกผ้ทู ่ีติดเชอ้ื เข้าสู่ระบบการรกั ษาไดท้ นั ที และทราบกลมุ่ เสย่ี งหรอื กล่มุ
ผ้สู มั ผสั โดยเร็ว ทำให้ควบคุมไดไ้ ว และลดการแพรก่ ระจายของโรคในโรงเรียน เช่น การแบ่งกลุ่มยอ่ ยในกลุ่ม
ใหญ่(Large Bubble) ตามลักษณะระดับชัน้ เรียน กลุ่มวิชาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มละประมาณ
๑๐–๒๐ คน เป็นต้น ซึง่ Small Bubble นี้เป็น ๑ ใน ๗ มาตรการเขม้ เพมิ่ สำหรบั โรงเรียนที่จะเปิดการเรียน
การสอนแบบ On site ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
SSET-CQ
หมายถึง คำยอ่ ของ ๖ มาตรการเสริม ได้แก่ ๑) Self care ดูแลตนเอง ดูแลใสใ่ จ ปฏิบัตติ น มีวินัย
รับผิดชอบตัวเอง ปฏิบตั ิตามมาตรการอย่างเคร่งครัด ๒) Spoon ใช้ช้อนกลางส่วนตวั ใช้ช้อนกลางของ
ตนเองทกุ ครัง้ เมื่อต้องกนิ อาหารรว่ มกัน ลดสัมผสั ร่วมกับผู้อ่ืน ๓) Eating กินอาหารปรงุ สุกใหม่ กนิ อาหาร
ปรุงสุกใหม่ร้อน ๆ กรณีอาหารเกบ็ เกิน ๒ ชม. ควรนำมาอุ่นใหร้ อ้ นทวั่ ถงึ กอ่ นกนิ อกี คร้งั ๔) Thai Chana
ไทยชนะ ลงทะเบยี นตามที่รฐั กำหนดดว้ ย APP ไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า-ออกอย่างชัดเจน
๕) Check สำรวจ ตรวจสอบ สำรวจบุคคล นักเรียน กลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง เพื่อเข้าสู่
กระบวนการคัดกรอง และ ๖) Quarantine กักกันตวั เอง กักกันตวั เอง ๑๔ วนั เมอ่ื เข้าไปสัมผัสหรืออยู่ใน
พนื้ ท่ีเส่ยี งท่มี ีการระบาดโรค
56
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
SSS
หมายถึง คำยอ่ ของ Sandbox Safety Zone in School เป็นการกำหนดมาตรการทดลองใชร้ ะยะที่
๑ สำหรบั การเปิดเรียนแบบ Onsite ในโรงเรยี นแบบพักนอน โดยมีหลักการ ตดั ความเสี่ยง สรา้ งภูมคิ ุม้ กนั และ
สรา้ งความความปลอดภัย ซึง่ ประสบผลสำเร็จ และมีการขยายผลในระยะที่ ๒ ให้กบั โรงเรียนจะเปิดการเรียน
การสอนแบบ Onsite ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ เป็นการกำหนดมาตรการเข้มข้นกวา่ ระยะท่ี ๑
TST
หมายถึง คำย่อของ Application Thai Save Thai เป็นเครื่องมือประเมินตนเองของนักเรียน ครู
บุคลากรทางการศึกษา และโรงเรียนท่ตี ้องประเมนิ และมีขอ้ มูลความเสี่ยงของตนเอง โดยสามารถดาวโหลด
แบบฟอรม์ จากเว็บไซต์ www.savethai.anamai.moph.go.th และผา่ นทาง Application Thai save Thai
TSC+
หมายถึง คำย่อของ Thai Stop Covid Plus เปน็ เครื่องมอื ประเมินเพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเปิด
เรยี นแบบ Onsite โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ เพือ่ ใหโ้ รงเรียนประเมนิ ตนเอง ระบบประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ซง่ึ โรงเรียนตอ้ งประเมิน
ตนเองเตรียมความพรอ้ มก่อนเปิดเรยี น ประกอบดว้ ย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ โรงเรียนสามารถดาวโหลดไดท้ ่ี
www.stopcovid.anamai.moph.go.th
V : Vaccine
หมายถงึ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จะตอ้ งมกี ารเข้าถงึ การฉดี วคั ซีน มากกว่าหรอื เท่ากับ รอ้ ยละ
๘๕ และตอ้ งมีการประเมนิ ความเส่ียง (TST) ๑ วัน/สัปดาห์ ซ่งึ เปน็ ไปตาม ๗ มาตรการเข้มสำหรับโรงเรียน
ที่จะเปดิ การเรียนการสอนแบบ Onsite ในภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
Quarantine Zone
หมายถึง พืน้ ท่ี ๒ ซึง่ โรงเรยี นต้องดำเนินการคดั แยกกกั ตัวนักเรียน ครู ผู้ปกครอง หรือ ผู้มาติดต่อ ท่ี
เขา้ มาในโรงเรยี นที่ยงั ไม่ครบ ๑๔ วนั หรือรอผลตรวจยืนยันและต้องปฏบิ ัตติ ามมาตรการอยา่ งเข้มงวด ตาม
มาตรการทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ กำหนด เปน็ ๑ ใน ๓ พืน้ ท่ี Safety Zone ในโรงเรียน ทถี่ ูกกำหนดไว้ใน ๗
มาตรการเข้มสำหรับโรงเรียนทจ่ี ะเปิดการเรยี นการสอนแบบ Onsite ได้แก่ คือ พน้ื ที่ ๑ Screening พ้ืนท่ี ๒
Quarantine และพ้ืนท่ี ๓ Safety Zone
57
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
คณะทำงาน
ที่ปรึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
1. นายอมั พร พินะสา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
๒. นางเกศทิพย์ ศุภวานิช ผชู้ ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
2. นายเทอดชาติ ชยั พงษ์ ท่ปี รึกษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
3. นายสนทิ แย้มเกษร
คณะทำงาน
๑. นายชนะ สุ่มมาตย์ หัวหนา้ คณะทำงาน
ผเู้ ช่ยี วชาญด้านการพฒั นาการแนะแนว
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
๒. นางสาวหฤทยั บุญประดบั รองหวั หน้าคณะทำงาน
รองผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต ๑
๓. นายอฏั ฐผล ถริ พรพงษศ์ ิริ คณะทำงาน
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั สุทธิวราราม
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒
๔. นายสมมาตร ศิรสิ มพร คณะทำงาน
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นปรดี ารามวทิ ยาคม
สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษานครปฐม
๕. นายปรพล แก้วชาติ คณะทำงาน
ผู้อำนวยการโรงเรยี นพบิ ลู อุปถัมภ์
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
๖. นางภฏั รพนิ ท์ ใจเพียรทอง คณะทำงาน
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านท่ามะเขือ
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต ๒
๗. นายวฒุ ชิ ัย จำปาหวาย คณะทำงาน
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นทา่ เรงิ รมย์
สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภูมิ เขต ๒
8. นายอดศิ ักด์ิ ดงสงิ ห์ คณะทำงาน
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั ลำพญา (จำเนียรบำรงุ วทิ ย์)
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต ๒
58
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
คณะทำงาน (ตอ่ ) คณะทำงาน
คณะทำงาน
9. นายอดศิ กั ด์ิ นนทะสี คณะทำงาน
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบุ่งง้าว คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2 คณะทำงาน
คณะทำงาน
10. นายพนม เข็มเงิน คณะทำงาน
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบอ่ กรุคุรุประชาสรรค์ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๓ คณะทำงาน
คณะทำงาน
11. นายชนม์นิธิศ เทย่ี งภญิ ญานันท์
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลวัดสระเกษ (หลวงพอ่ โต๊ะอปุ ถัมภ)์
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง
๑2. นายสมชาย เสมากลู
ผู้อำนวยการโรงเรียนวดั หนองขนุ ชาติ
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต ๒
13. นางสาวศศิธร ชชู ื่น
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นวัดสุทธวิ ราราม
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒
14. นายธีรชัย ศรีนาม
รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นเทพลีลา
สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๒
15. นายกิตตพิ ล โยงทองหลาง
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการ รชั ดา
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒
16. นางสาวณฐั รนิ เจรญิ เกยี รติบวร
ศกึ ษานิเทศก์
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑
17. นางสาวประกายดาว จันทรา
ครู โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทศิ เบญจมราชาลยั
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒
18. นายวรพล สายโสภา
ครู โรงเรียนวัดสทุ ธิวราราม
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒
59
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
คณะทำงาน (ตอ่ )
19. นายกติ ตกิ ุล แกว้ กาหลง คณะทำงาน
ครู โรงเรยี นนาเชอื กพทิ ยาสรรค์
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษามหาสารคาม
20. นายตฤณ กา้ นดอกไม้ คณะทำงาน
นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ
สำนกั เทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
21. นางสาวสชุ าดา สภาพงศ์ คณะทำงานและเลขานุการ
ผู้อำนวยการกลุม่ ส่งเสริมและพฒั นากองทุนการศึกษา
สำนกั อำนวยการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
๒2. นางสาวปรตี ประทมุ สวุ รรณ์ คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานุการ
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนสตรวี ดั อัปสรสวรรค์
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑
23. นางสาววราศิริ วงศ์สนุ ทร คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานุการ
รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นเทพลลี า
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒
24. นางสาววรรณธนา จริ มหาศาล คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ
ครู โรงเรียนศีลาจารพพิ ัฒน์
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
25. นางสาวบตุ รยี า รตั นมณี คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานกุ าร
ครู โรงเรยี นสตรีวดั อปั สรสวรรค์
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑
๒6. นางสาวลลั นา ลฤี ทธเิ กียรติ คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานุการ
นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ตั ิการ
สำนักอำนวยการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
60
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)