แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่๒ปีการศึกษา๒๕๖๔
ของโรภคตายิดใเตช้สื้อไถวารนัสกโคารโรณน์กาา๒รแ๐พ๑ร๙่ร(ะCบาoดvid-19)
ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่านเขต๑
๒๕๖๔ปีการศกึษา
สำนกังานเขตพน้ืทก่ีารศกึษาประถมศกึษานา่นเขต๑
กลมุ่นเิทศตดิตามและประเมนิผลการจดัการศกึษา
สำนกังานคณะกรรมการการศกึษาขน้ัพน้ืฐาน กระทรวงศกึษาธกิาร
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
คำนำ
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มนี้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐา น
กระทรวงศึกษาธกิ าร จดั ทำขึ้นเพื่อให้สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษา และหนว่ ยงานทางการศกึ ษาใน
สังกัด ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิด ภาคเรียนที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปว่า สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมแี นวทางการสร้างความปลอดภยั ให้กบั นกั เรียนกอ่ นการเปดิ ภาคเรยี นท่ี ๒
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ และระหวา่ งท่ีจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา ซงึ่ สอดคล้องกบั มาตรการทก่ี ระทรวง
สาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานหวังเป็นอย่างยง่ิ ว่า แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียน
ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
เล่มนี้จะชว่ ยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัตงิ านในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในสถานศึกษา และใน
หน่วยงานทางการศึกษาสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานได้เปน็ อย่างดี ขอบคณุ คณะทำงาน
ทุกทา่ นท่ีได้รว่ มกันจดั ทำจนสำเรจ็ บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์
(นายอัมพร พนิ ะสา)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ตลุ าคม 2564
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
สารบญั
หนา้
คำนำ
สารบัญ
สว่ นที่ 1 ความรู้เบอ้ื งต้นทคี่ วรรู้
วัคซนี Pfizer................................................................................................................. ๑
วัคซนี Sinopharm…………………………………………………………………………………………… ๒
โรงเรยี น Sandbox : Safety Zone in School.......................................................... ๓
ส่วนที่ 2 แนวปฏบิ ัติการเตรียมการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น 6
การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปดิ เรียน.......................................................................... 10
การเตรยี มการกอ่ นเปดิ ภาคเรียน..................................................................................
16
ส่วนที่ 3 แนวปฏบิ ตั ิระหวา่ งเปดิ ภาคเรียน 2๐
กรณเี ปิดเรียนไดต้ ามปกติ (Onsite)..............................................................................
กรณีโรงเรียนไม่สามารถเปิดเรยี นไดต้ ามปกติ...............................................................
สว่ นที่ 4 แนวทางการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ฯ.......... ๒๒
คลังความรู้ (Knowledge Bank) ท่สี นบั สนุนการเรยี นการสอนดว้ ยระบบ
เทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Learning Platform)……………………………………………………. 28
แอปพลิเคชัน (Applications) สนบั สนนุ การเรียนการสอนทางไกล............................... 32
ส่วนที่ 5 แผนการเผชญิ เหตุ 38
ส่วนที่ 6 บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
บทบาทของนักเรียน....................................................................................................... 41
บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา..................................................................... 41
บทบาทของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา.................................................................................... 43
บทบาทของผปู้ กครองนกั เรียน....................................................................................... 45
บทบาทขององคก์ รสนบั สนนุ .......................................................................................... 46
สว่ นที่ 7 การติดตามและประเมนิ ผล
การตดิ ตามและประเมินผล………………………………………………………………………………… 49
ข้อเสนอแนะ................................................................................................................. ๕๐
ภาคผนวก
เอกสารอา้ งอิง................................................................................................................. 5๒
อภิธานศพั ท์.................................................................................................................... 5๔
คณะทำงาน.......................................................................................................... ........... ๕๘
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
ความร้เู บอ้ื งตน้ ท่คี วรรู้
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
สว่ นท่ี ๑
ความรู้เบื้องตน้ ที่ควรรู้
การเปิดภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศกึ ษาธิการ
เร่งดำเนนิ การสร้างความรู้ความเขา้ ใจใหก้ ับประชาชน ๒ เร่อื งท่สี ำคัญและนำส่กู ารปฏิบตั ิ ได้แก่ การรณรงคใ์ ห้
นักเรียนอายุ ๑๒ -๑๘ ปีเข้ารับการฉีดวคั ซีน Pfizer และให้สถานศึกษาปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox :
Safety Zone in School อย่างเคร่งครัด จึงเป็นสิง่ จำเปน็ สำหรับนักเรยี น ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และ
บุคคลทเ่ี ก่ียวข้อง จะต้องรบั รูแ้ ละสามารถเข้ารับการฉีดวัคซนี Pfizer และปฏิบัตติ ามมาตรการไดอ้ ย่างเครง่ ครดั
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
นอกจากวัคซนี Pfizer ท่รี ฐั นำมาใหก้ ับนกั เรยี นอายุ ๑๒-๑๘ ปเี ขา้ รับการฉีดแลว้ ยังมวี คั ซนี ทางเลือก
อีกหนึ่งยี่หอ้ ได้แก่ Sinopharm ท่ีราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ดำเนินการฉีดวคั ซีน ให้กับเด็กและเยาวชนอายุ
ระหว่าง ๑๐-๑๘ ปี ในโครงการ VACC 2 School ดังนั้น เพื่อให้ความรู้เบื้องต้น สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงขอนำเสนอข้อมูลที่ควรรูข้ อง วัคซีน Pfizer วัคซีน Sinopharm และมาตรการ
Sandbox : Safety Zone in School พอสงั เขป ดงั น้ี
๑. วัคซีน Pfizer
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ชว่ งปีท่ผี า่ นมาและปจั จุบันมี
การกลา่ วถึง เก่ียวกบั การฉดี วคั ซีน (COVID-19 Vaccines) กนั มากมาย โดยเฉพาะการเร่งสร้าง “ภูมิคุ้มกันหม”ู่
ซ่ึงจำเปน็ ต้องอาศยั วัคซีนท่ีมปี ระสิทธิภาพเข้าช่วย มวี คั ซีนที่ผ่านการรองรบั จากองค์การอนามัยโลก (WHO)
และทุกประเทศไดเ้ ลือกและนำมาให้ประชาชนรบั การฉีด วัคซีน (COVID-19 Vaccines) มีหนา้ ท่สี ำคัญ คือ
การเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าไปเพิ่มจำนวน และเสริมความแขง็ แรงของภมู ิคุ้มกันให้พรอ้ มเขา้ ทำลาย
สง่ิ แปลกปลอม หรอื ไวรสั ชนิดต่างๆ ที่แฝงเขา้ มาในรา่ งกายได้ในทนั ที ซ่งึ เปน็ ถือเปน็ อาวธุ ชิน้ สำคญั ทช่ี ่วยยบั ย้ัง
ความรุนแรง หมายรวมถึงช่วยลดอัตราการติดเชื้อและการเสียชีวิตของประชาชน ปัจจุบันวัคซีนท่ีผ่าน
การรองรับจากองคก์ ารอนามยั โลก (WHO) มีหลายย่ีหอ้ มีประสิทธภิ าพในการทำหน้าทแ่ี ตกตา่ งกนั (โรงพยาบาล
วชิ ยั เวชอินเตอรเ์ นช่นั แนล. ๖ ตลุ าคม ๒๕๖๔) ไดแ้ ก่
๑. Pfizer ผลติ โดยประเทศสหรัฐอเมริกา มปี ระสิทธิภาพ 95%
๒. Moderna ผลิตโดยประเทศสหรฐั อเมรกิ า มปี ระสทิ ธิภาพ 94.5%
๓. Johnson and Johnson ผลติ โดยประเทศสหรฐั อเมริกา มปี ระสิทธภิ าพ 66%
๔. AstraZeneca ผลิตโดยประเทศองั กฤษ มีประสิทธภิ าพ 65%
๕. Covishield ผลิตโดยประเทศอนิ เดีย มีประสทิ ธภิ าพ 72%
๖. Sinovac ผลติ โดยประเทศจนี มีประสทิ ธิภาพ >50%
๗. Sinopharm ผลิตโดยประเทศจีน มปี ระสิทธภิ าพ 79-86%
1
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
สำหรบั วัคซนี ที่รฐั บาลโดยกระทรวงสาธารณสขุ อนมุ ตั ิให้ฉดี กับนักเรียนอายุระหวา่ ง ๑๒-๑๘ ปี น้ัน
ไดแ้ ก่ Pfizer ซึ่งองคก์ ารอนามัยโลก (WHO) ได้รบั รองการใช้วัคซนี Pfizer เมื่อวนั ที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
และประเทศไทยโดยองค์การอาหารและยา (อย.) ขึ้นทะเบยี นเมอื่ วนั ท่ี ๒๔ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ กำหนดให้
สามารถฉีดวัคซนี Pfizer ให้กับนักเรียน นักศึกษา อายุระหว่าง ๑๒ - ๑๘ ปี ดังนั้นรัฐบาลโดยกระทรวง
สาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด Kick Off การฉีดวัคซีน Pfizer ให้กับนักเรียนนักศึกษา
อายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปีในวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๖๔ เพือ่ เตรยี มความพร้อมให้กับสถานศึกษามีความปลอดภัย
และนกั เรยี นไดร้ ับวคั ซีนอย่างถ้วนเพ่ือรองรับการเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในรูปแบบ Onsite
วนั ที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ซึ่งสอดคล้องกับราชวทิ ยาลัยกมุ ารแพทย์แห่งประเทศไทย(๒๒ กันยายน๒๕๖๔)
ได้ตดิ ตามขอ้ มูลดา้ นประสทิ ธิภาพ และความปลอดภัยของวคั ซนี โควิด ๑๙ ในเด็กและวัยร่นุ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัย และประโยชน์ทางดา้ นสุขภาพของเดก็ เป็นสำคัญ และได้แนะนำให้ฉีดวคั ซีนที่ได้รับการรับรอง
โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.) ให้ใช้กบั เด็กและวัยรุน่ ตง้ั แต่อายุ ๑๒ ปขี นึ้ ไป ซ่ึงขณะนีม้ ีชนิด
เดียวท่ีมใี นประเทศไทยคอื วคั ซนี Pfizer
วัคซีน Pfizer เป็นวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA Vaccine) กระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี
(Antigen) ใหร้ า่ งกายร้จู กั กบั เชอ้ื โรคโควดิ ๑๙ หลังจากฉดี วคั ซีนไฟเซอรเ์ ขม็ ท่ี ๒ แลว้ จะมปี ระสทิ ธิภาพในการ
ปอ้ งกนั โรคโควดิ ๑๙ สูงถึง ๙๑.๓% ในช่วง ๗ วันถึง ๖ เดอื นหลังฉีดปอ้ งกันความรุนแรงของโรคได้ ๑๐๐%
ป้องกันการตดิ เช้อื มีอาการที่ ๙๔% ปอ้ งกนั การตดิ โรค ๙๖.๕% ปอ้ งกนั การเสียชวี ติ ๙๘-๑๐๐% นอกจากนี้ยัง
มีประสิทธิภาพในการปอ้ งกันโควดิ ๑๙ สายพันธ์อุ ังกฤษ หรืออลั ฟา่ ได้ถงึ ๘๙.๕% ป้องกันโควิด ๑๙ สายพันธุ์
แอฟริกาใต้ หรือเบต้า ได้ถึง ๗๕% งานวิจัยของหน่วยงานสาธารณสุขอังกฤษ พบว่าวัคซีน Pfizer มี
ประสทิ ธภิ าพ ๘๘ % ในการปอ้ งกนั การป่วยแบบมอี าการจากไวรสั เดลต้าหรืออินเดยี
การรับวคั ซนี Pfizer รบั การฉีดทง้ั หมด ๒ เขม็ โดยเข็มท่ี ๒ ห่างจากเข็มแรก ๒๑-๒๘ วัน ใชว้ ธิ กี ารฉีด
เข้ากล้ามเนื้อแขนดา้ นบน ภูมคิ ุ้มกนั จะเริม่ เกดิ หลงั จากฉดี วคั ซนี ไฟเซอรไ์ ปแล้ว ๑๒ วนั แต่ภูมิคมุ้ กันจะทำงาน
เต็มทห่ี ลังจากฉดี ครบ ๒ เขม็ หลังการฉดี วคั ซีนเขม็ ๑ หรอื เข็ม ๒ ผู้รบั การฉดี อาจมผี ลข้างเคยี งบ้างแต่ไม่รนุ แรง
(โรงพยาบาลวชิ ัยเวชอินเตอร์เนช่นั แนล. ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔)
๒. วัคซนี Sinopharm
วคั ซนี Sinopharm เป็นวคั ซีนชนิดเชอ้ื ตาย ผลิตโดยสถาบันชวี วตั ถแุ ห่งปักกิง่ (Beijing Institute of
Biological Products: BIBP) นำเข้าโดย บริษัท ไบโอจนี ีเทค จำกดั ไดร้ บั การอนุมัติขน้ึ ทะเบยี นในประเทศไทย
เมอ่ื วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ มีข้อบ่งใชส้ ำหรับฉีดเพ่อื กระตนุ้ ใหร้ า่ งกายสร้างภูมิคมุ้ กนั ในผ้ทู ่มี อี ายุตงั้ แต่ ๑๘
ปขี น้ึ ไป ฉีดครั้งละ ๑ โดส จำนวน ๒ ครัง้ ห่างกัน ๒๑ - ๒๘ วนั ในประเทศไทย วัคซนี Sinopharm เป็นวัคซนี
ทางเลอื กทก่ี ระจายใหก้ บั องคก์ ร นติ ิบคุ คล รวมถึงบคุ คลธรรมดาผา่ นราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ์ ตง้ั แต่วันที่ ๒๐
มิถนุ ายน จนถึงปจั จบุ นั เปน็ จำนวนทัง้ สน้ิ ๑๕ ลา้ นโดส โดยทผี่ า่ นมาเปน็ การฉีดให้กับผ้ทู มี่ ีอายตุ ัง้ แต่ ๑๘ ปี
ขน้ึ ไป
วัคซีน Sinopharm อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาขอ้ มูลเรอ่ื งการกระตนุ้ ภูมคิ ้มุ กนั ประสิทธภิ าพและความ
ปลอดภัยในเด็ก และขณะน้ีสำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.)ยงั ไมไ่ ดร้ ับรองใหใ้ ช้ในเดก็ และวยั ร่นุ
2
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
(ราชวทิ ยาลัยกุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย.๒๒ กนั ยายน๒๕๖๔) ซึ่งสอดคล้องกบั ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ์ (ชนาธปิ
ไชยเหลก็ .๒๑ กนั ยายน ๒๕๖๔) กลา่ ววา่ การฉดี วคั ซีน Sinopharm ในกลุ่มอายตุ ่ำกวา่ ๑๘ ปี จะตอ้ งได้รบั การ
อนุมัติขึ้นทะเบยี นจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.) ก่อน ถึงแม้จะเป็นชนิดเชื้อตาย แต่ก็
จำเป็นตอ้ งมขี อ้ มลู การวจิ ัยในระยะที่ ๓ ซึ่งเปน็ ระยะท่มี ีการศึกษาทงั้ ความปลอดภยั และประสิทธิผลของวคั ซีน
รองรับ และในเม่ือ อย. ยังไม่อนุมัติ การฉีดวัคซีน Sinopharm ใหก้ ับนักเรียนอายุ ๑๐-๑๘ ปี เป็นเพียง
โครงการวิจัยของราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ์เท่านั้น โดยวนั ที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ ศาสตราจารย์ นายแพทย์
นิธิ มหานนท์ เลขาธิการราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณฯ์ ไดเ้ ปดิ โครงการ ‘VACC 2 School’ ณ ศูนยฉ์ ีดวคั ซีนตัวเลือก
ซิโนฟาร์ม บมจ.โทรคมนาคมแหง่ ชาติ ถ.แจ้งวัฒนะ เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ ฉดี วัคซีนใหก้ ับนกั เรียนกว่า ๒,๐๐๐
คน และจะดำเนนิ การฉดี จนถึงกลางเดอื นตลุ าคม โดยมีสถานศึกษาในกรุงเทพฯ และปรมิ ณฑล สมคั รเข้าร่วม
โครงการรวม ๑๓๒ โรง คดิ เป็นจำนวนนักเรยี นทง้ั หมด ๑๐๘,๐๐๐ คน
๒. โรงเรียน Sandbox : Safety Zone in School
กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย (นายแพทย์สุวรรณชัย
วัฒนายิง่ เจรญิ ชัย อธบิ ดีกรมอนามยั ) มีการนำร่องเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ตามมาตรการ Sandbox
Safety Zone in School ในโรงเรียนประเภทพกั นอน มกี ารดำเนนิ การระหว่างวันท่ี ๑ เมษายน - ๑๑ กันยายน
๒๕๖๔ ซ่ึงมกี ารแบง่ โซนคดั กรอง โซนกักกันผสู้ ัมผัสเส่ียง และโซนปลอดภยั สีเขียว รว่ มกบั มาตรการตา่ ง ๆ มี
การตดิ ตามและประเมนิ ผล พบว่าได้ผลดี แม้พบผู้ติดเชือ้ กเ็ ปน็ การสัมผสั กับผตู้ ิดเชือ้ ภายนอกและตรวจจับได้
นับไดว้ ่าเป็นระยะที่ ๑ ท่ปี ระสบผลสำเร็จ จึงเตรียมขยายผลในโรงเรยี นแบบไป-กลับ และโรงเรยี นพักนอน-ไป
กลับ ในภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นระยะที่ ๒ โดยมาตรการจะเข้มข้นกว่าระยะท่ี ๑ เน้น ๖
มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสรมิ และ ๗ มาตรการเขม้ สถานศกึ ษา (ไทยรฐั ออนไลน์.๑๕ กันยายน ๒๕๖๔ )
ดังนน้ั ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ สถานศกึ ษาของรัฐและสถานศกึ ษาของเอกชนทกุ แห่งทงั้ แบบ
พักนอน แบบไป-กลบั แบบพกั นอน-ไปกลับ และลักษณะอื่นๆ จะเปดิ ใหม้ ีการเรียนการสอนตามปกติแบบ
Onsite ไดจ้ ะต้องดำเนนิ การมาตรการท่ีเขม้ ขน้ โดยเนน้ ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสรมิ และ ๗ มาตรการ
เขม้ สถานศึกษา อยา่ งเครง่ ครัด
3
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
4
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
ส่วนท่ี ๒
แนวปฏบิ ตั ิการเตรยี มการกอ่ นเปิดภาคเรียน
การเตรยี มการก่อนการเปดิ เรยี น มีความสำคัญอยา่ งมากเนือ่ งจากมีความเกยี่ วข้องกบั การปฏิบัติตน
ของนกั เรยี น ครู บุคลากร และผูเ้ ก่ยี วข้องทุกคนในสถานศึกษา เพือ่ ปอ้ งกันไม่ใหม้ ีการติดเช้ือโรคโควิด ๑๙
(Covid-19) ตัดความเสี่ยง สร้างภูมคิ มุ้ กัน และสร้างความปลอดภัยแกท่ กุ คน สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขัน้ พื้นฐาน จึงกำหนดให้มแี นวปฏบิ ัติการเตรยี มการกอ่ นเปิดภาคเรียน ให้กบั สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา และ
สถานศกึ ษาในสังกัดใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏบิ ัติ ดังน้ี
๑. การประเมนิ ความพร้อมกอ่ นเปดิ เรยี น
กระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมอนามัย ได้สร้างเคร่ืองมอื สำหรบั สถานศึกษาประเมินตนเองในระบบ
Thai Stop Covid Plus ตัวยอ่ TSC+ เพือ่ ใหส้ ถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปดิ เรยี น ภาคเรียนที่ ๒
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมิน
ตนเองดังกล่าว ประกอบด้วย ๖ มติ ิ ๔๔ ข้อ สถานศกึ ษาจะตอ้ งผ่านการประเมนิ ทั้ง ๔๔ ขอ้ ตามขัน้ ตอนการ
ประเมนิ ตนเอง ดังภาพ
5
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
⚫ กรอบการประเมิน Thai Stop Covid Plus
มติ ิท่ี 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพร่เช้ือโรค
1. มีมาตรการคัดกรองวดั ไข้ ใหก้ บั นักเรียน ครู และผเู้ ขา้ มาตดิ ต่อ ทุกคน ก่อนเข้าสถานศกึ ษา หรอื ไม่
2. มมี าตรการสงั เกตอาการเส่ยี งโควิด 19 เช่น ไอ มีนำ้ มกู เจ็บคอ เหนอื่ ยหอบ หายใจลำบาก จมูก
ไมไ่ ด้กล่ิน ลน้ิ ไม่รู้รส พร้อมบันทกึ ผล สำหรบั นักเรียน ครู และผเู้ ขา้ มาติดต่อ ทกุ คน ก่อนเขา้ สถานศึกษา หรือไม่
3. มีนโยบายกำหนดให้นักเรียน ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรอื
หน้ากากอนามัย หรอื ไม่
4. มีการจัดเตรียมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั สำรองไว้ให้กบั นักเรียน ร้องขอ หรือผู้ที่ไมม่ ี
หนา้ กากเข้ามาในสถานศกึ ษา หรือไม่
5. มจี ุดลา้ งมอื ด้วยสบู่ อย่างเพียงพอ หรือไม่
6. มกี ารจดั วางเจลแอลกอฮอล์สำหรบั ใช้ทำความสะอาดมือ บรเิ วณทางเข้าอาคารเรียน หนา้ ประตู
หอ้ งเรยี น ทางเข้าโรงอาหาร อยา่ งเพียงพอ หรอื ไม่
7. มกี ารจัดโต๊ะเรียน เกา้ อน้ี ั่งเรยี น ที่น่งั ในโรงอาหาร ทน่ี ่ังพกั โดยจัดเวน้ ระยะหา่ งระหว่างกนั อย่าง
นอ้ ย 1-2 เมตร (ยดึ หลกั Social Distancing) หรอื ไม่
8. มีการทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจนในการจัดเว้นระยะห่างระหว่างกั น หรือไม่
9. กรณีหอ้ งเรียนไมส่ ามารถจดั เว้นระยะหา่ งตามท่ีกำหนดได้ มีการสลบั วนั เรยี นของแตล่ ะชัน้ เรียนหรอื
การแบง่ จำนวนนกั เรยี น หรอื ไม่
10. มกี ารทำความสะอาดหอ้ งเรียน ห้องต่าง ๆ และอปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการเรียนการสอน กอ่ นและหลังใช้
งานทุกคร้งั เช่น ห้องคอมพวิ เตอร์ หอ้ งดนตรี อปุ กรณ์กีฬา หรือไม่
11. มีการทำความสะอาดบรเิ วณจดุ สมั ผัสเส่ยี งรว่ ม ทกุ วัน เช่น โตะ๊ เกา้ อ้ี ราวบนั ได ลฟิ ต์ กลอนประตู
มือจับประตู - หน้าตา่ ง หรือไม่
12. มถี ังขยะแบบมฝี าปิดในหอ้ งเรียน หรอื ไม่
13. มกี ารปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมประตู หน้าต่าง และพัดลมของห้องเรียน ใหม้ สี ภาพการใช้งานไดด้ ี สำหรบั
ใชป้ ิด - เปิดใหอ้ ากาศถ่ายเทสะดวก หรือไม่
14. มีการแบ่งกลมุ่ ย่อยนักเรียนในหอ้ งเรียนในการทำกิจกรรม หรือไม่
15. มกี ารปรับลดเวลาในการทำกิจกรรมประชาสมั พนั ธ์ ภายหลังการเขา้ แถวเคารพธงชาติ หรือไม่
16. มีการจัดเหลื่อมเวลาทำกิจกรรมนักเรียน เหลื่อมเวลากินอาหารกลางวัน หรือไม่
17. มีมาตรการใหเ้ วน้ ระยะหา่ งการเข้าแถวทำกจิ กรรม หรอื ไม่
18. มกี ารกำหนดใหใ้ ชข้ องใชส้ ่วนตัว ไมใ่ ชส้ งิ่ ของร่วมกบั ผู้อื่น เชน่ แก้วนำ้ ชอ้ น ส้อม แปรงสีฟัน
ยาสีฟนั ผ้าเชด็ หนา้ หรือไม่
19. มีห้องพยาบาลหรือพื้นที่สำหรับแยกผู้มีอาการเสี่ยงทางระบบทางเดินหายใจ หรือไม่
20. มนี กั เรยี นแกนนำดา้ นสุขภาพ จติ อาสา เป็นอาสาสมัคร ในการชว่ ยดแู ลสขุ ภาพเพ่ือนนักเรียน
ดว้ ยกนั หรอื ดูแลรุ่นน้อง หรอื ไม่
6
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
มิตทิ ่ี 2 การเรียนรู้
21. มกี ารตดิ ป้ายประชาสัมพันธ์แนะนำการปฏิบตั เิ พื่อสุขอนามัยทด่ี ี เชน่ วิธีล้างมือทถ่ี ูกต้อง การสวม
หน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เป็นต้น หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับโรคโควิด 19 หรือไม่
22. มกี ารเตรยี มความพรอ้ มการจัดการเรียนการสอนโดยคำนึงถงึ การเรยี นรตู้ ามวยั และสอดคล้องกบั
พัฒนาการด้านสงั คม อารมณ์ และสติปัญญา หรือไม่
23. มมี าตรการกำหนดระยะเวลาในการใช้ส่ือออนไลนใ์ นสถานศึกษา ในเด็กเลก็ (ประถมศึกษา) ไมเ่ กนิ
1 ชวั่ โมงตอ่ วัน และ ในเด็กโต (มัธยมศกึ ษา) ไม่เกนิ 2 ชั่วโมงตอ่ วนั หรอื ไม่
24. มกี ารใช้สื่อรอบร้ดู ้านสุขภาพผา่ นชอ่ งทาง Social media เช่น Website, Facebook, Line, QR
Code, E-mail หรือไม่
มิติท่ี 3 การครอบคลมุ ถึงเด็กดอ้ ยโอกาส
25. มกี ารเตรยี มหน้ากากผ้า สำรองสำหรบั เดก็ เลก็ หรือไม่
26. มกี ารปรับรูปแบบการเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทการเข้าถงึ การเรยี นรู้ในสถานการณ์
การระบาดของโรคโควดิ 19 หรอื ไม่
27. มมี าตรการส่งเสริมใหน้ ักเรยี นไดร้ บั บรกิ ารสุขภาพข้ันพ้นื ฐานอย่างทัว่ ถึง หรอื ไม่
28. มีมาตรการการทำความสะอาดและจดั สภาพแวดล้อมของทีพ่ ักและเรือนนอนให้ถูกสุขลักษณะ
พร้อมมีตารางเวรทกุ วนั หรอื ไม่ (กรณีมที ่พี กั และเรือนนอน)
29. มมี าตรการการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดลอ้ มใหส้ อดคล้องกบั ข้อบัญญตั ิการปฏิบัติด้าน
ศาสนกจิ พร้อมมตี ารางเวรทกุ วัน หรือไม่ (กรณมี ีสถานท่ปี ฏิบัติศาสนากจิ )
30. มมี าตรการดแู ลนกั เรียนท่มี ีความบกพร่องดา้ นพัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้านพฤติกรรมอารมณ์
รวมถงึ ภาวะสมาธสิ นั้ และเด็กออทสิ ติก ทีส่ ามารถเรยี นรว่ มกับเด็กปกติ หรอื ไม่
มติ ิที่ 4 สวัสดิภาพและการคุ้มครอง
31. มีการจัดเตรียมแผนรองรับการจัดการเรียนการสอนสำหรบั นักเรียนป่วย กักตัว หรือกรณีปดิ
โรงเรยี น หรอื ไม่
32. มีการจัดเตรียมแนวปฏิบัตกิ ารสอ่ื สารเพอ่ื ลดการรงั เกียจและการตตี ราทางสงั คม (Social Stigma)
หรอื ไม่
33. มีการจัดเตรียมแนวปฏบิ ัตดิ า้ นการจดั การความเครียดของครแู ละบคุ ลากรของสถานศกึ ษา หรอื ไม่
34. มีการตรวจสอบประวตั เิ สี่ยงของนกั เรียนและบุคลากร รวมทั้งตรวจสอบเรอ่ื งการกักตวั ให้ครบ 14
วัน กอ่ นมาทำการเรยี นการสอนตามปกติ และทุกวันเปิดเรียน หรอื ไม่
35. มีการกำหนดแนวทางปฏิบตั ติ ามระเบยี บสำหรบั นักเรียน ครู และบุคลากรท่สี งสยั ติดเชื้อหรอื ปว่ ย
ด้วยโรคโควดิ 19 โดยไม่ถอื เป็นวนั ลาหรอื วนั หยดุ เรยี น หรอื ไม่
7
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
มิติที่ 5 นโยบาย
36. มีการสื่อสารประชาสัมพันธค์ วามรู้การป้องกันโรคโควิด 19 แก่นักเรียน ครู บุคลากร และ
ผ้ปู กครอง โดยการประชุมชแี้ จงหรือผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ อย่างนอ้ ย 1 ครั้ง กอ่ นหรือวนั แรกของการเปิดเรียน
หรือไม่
37. มีนโยบายและแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ของสถานศึกษา อย่างเป็น
ลายลกั ษณ์ หรอื มหี ลกั ฐานชัดเจน หรอื ไม่
38. มกี ารประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา หรอื ไม่
39. มกี ารแต่งตง้ั คณะทำงานปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19 และกำหนดบทบาทหน้าท่ีอย่าง
ชดั เจน หรือไม่
40. มีมาตรการบริหารจดั การความสะอาดบนรถรับ-สง่ นกั เรียน เวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล จดั ท่นี ั่ง
บนรถหรอื มีสญั ลักษณ์จุดตำแหน่งชดั เจน หรือไม่ (กรณีรถรบั - สง่ นกั เรยี น)
มิติท่ี 6 การบรหิ ารการเงนิ
41. มีแผนการใชง้ บประมาณในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ตามความจำเป็นและ
เหมาะสม หรือไม่
42. มีการจัดหาซ้อื วัสดอุ ุปกรณ์ปอ้ งกนั โรคโควดิ 19 สำหรับนักเรยี นและบุคลากรในสถานศกึ ษา เช่น
หนา้ กากผ้า หรอื หน้ากากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ หรอื ไม่
43. มีการประสานแสวงหาแหล่งทุนสนับสนนุ จากหนว่ ยงาน องคก์ ร หรือเอกชน เช่น ท้องถิ่น บรษิ ัท
หา้ งรา้ น NGO เปน็ ต้น หรอื มกี ารบรหิ ารจดั การด้านการเงินเพอื่ ดำเนนิ กิจกรรมการป้องกันการแพรร่ ะบาดของ
โรคโควิด 19 หรอื ไม่
44. มีการจัดหาบคุ ลากรในการดแู ลนกั เรยี นและการจดั การส่งิ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษา หรือไม่
8
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
เม่อื สถานศกึ ษาประเมนิ ตนเอง ผา่ นการประเมนิ ทง้ั ๔๔ ขอ้ จะไดร้ บั ใบประกาศรบั รองมาตรฐาน จาก
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ดงั ภาพตัวอยา่ ง
๒. การเตรยี มการก่อนเปดิ ภาคเรียน
ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอื่ ง หลกั เกณฑ์การเปิดโรงเรยี นหรอื สถาบนั การศกึ ษาตามข้อกำหนด
ตามความในมาตรา ๙ แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบบั ที่ ๓๒)
ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพื่อให้สถานศึกษา
นำไปใชใ้ นการการปฏิบตั ิ โดยจำแนกประเภทของสถานศกึ ษา ดงั นี้
๒.๑ มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทพกั นอน
มหี ลกั เกณฑ์ทีต่ ้องปฏบิ ัตอิ ย่างเครง่ ครดั ๔ องค์ประกอบ ดังนี้
๑. องค์ประกอบดา้ นกายภาพ ลกั ษณะอาคารและพนื้ ทีโ่ ดยรอบอาคารของสถาบนั การศกึ ษาประเภท
พักนอนหรือโรงเรียนประจำ ประกอบด้วย
๑.๑ หอพกั นกั เรยี นชาย และ/หรอื หอพักนกั เรยี นหญิง
๑.๒ พืน้ ท่ี/อาคารสนบั สนุนการบรกิ าร
๑.๓ พืน้ ท่ี/อาคารเพ่ือจดั การเรยี นการสอน
๑.๔ สถานทีพ่ กั ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
โดยจัดอาคารและพืน้ ทโี่ ดยรอบใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรการทกี่ ระทรวงสาธารณสุขกำหนด
9
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
๒. องคป์ ระกอบดา้ นการมีสว่ นร่วม ต้องเป็นไปตามความสมคั รใจของทกุ ฝา่ ย โดยโรงเรียนท่ีประสงค์
จะดำเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของ
คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน ครู ผปู้ กครอง ผนู้ ำชุมชน และมมี ตใิ หค้ วามเหน็ ชอบร่วมกันในการจัด
พื้นที่การเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนำเสนอ
โครงการผ่านต้นสังกัดในพื้นท่ี แล้วขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หรอื
คณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวดั
๓. องคป์ ระกอบดา้ นการประเมินความพรอ้ มสู่การปฏิบัติ โรงเรยี น หรือสถานศึกษาต้องเตรียมการ
ประเมินความพรอ้ ม ดงั นี้
๓.๑ โรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษา ต้องดำเนินการ
๑) ต้องประเมินและผา่ นการประเมินความพร้อมโดยใชเ้ ครือ่ งมอื Thai Stop Covid Plus
(TSC+) และรายงานการติดตามการประเมนิ ผลผา่ น MOE Covid
๒) ต้องจัดให้มีสถานทแี่ ยกกกั ตวั ในโรงเรียน (School Isolation) สำหรบั รองรบั การดแู ลรักษา
เบ้อื งตน้ กรณีนักเรียน ครู หรือบคุ ลากรในสถานศกึ ษามกี ารตดิ เช้ือโควดิ ๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็นบวก รวมถงึ
มแี ผนเผชญิ เหตแุ ละมีความร่วมมือกับสถานพยาบาลเครอื ขา่ ยในพ้นื ทีท่ ด่ี แู ลอยา่ งใกล้ชดิ
๓) ตอ้ งจดั อาคารและพนื้ ท่ีโดยรอบใหเ้ ป็นอาณาเขตในรปู แบบ Sandbox ในโรงเรียน ดังน้ี
(๑) Screening Zone จดั พื้นทีห่ รือบรเิ วณใหเ้ ปน็ จุดคัดกรอง (Screening Zone) ท่ี
เหมาะสม จัดจดุ รับส่งส่งิ ของ จดุ รบั สง่ อาหาร หรอื จดุ เส่ยี งอนื่ เปน็ การจำแนกนักเรยี น ครู บุคลากร ผู้ปกครอง
และผู้มาตดิ ต่อที่เข้ามาในโรงเรียน ไม่ให้ใกล้ชิดกับบคุ คลในโซนอืน่ รวมถึงจัดให้มพี ้ืนที่ปฏิบัติงานเฉพาะ
บุคลากรท่ไี ม่สามารถเขา้ ปฏบิ ตั งิ านในโซนอน่ื ได้
(๒) Quarantine Zone จัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดกักกันและสังเกตอาการ
สำหรบั นกั เรยี น ครู และบุคลากรทีย่ ังต้องสงั เกตอาการ เนน้ การจดั กิจกรรมแบบ Small Bubble
(๓) Safety Zone จดั เป็นพ้นื ทป่ี ลอดเชื้อปลอดภัย สำหรับนกั เรยี น ครู และบคุ ลากร
ท่ีปฏบิ ัตภิ ารกจิ กิจกรรมแบบปลอดภัย
(๔) ต้องมีระบบ/แผนรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการ
บูรณาการรว่ มกนั ระหว่างกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกับกระทรวงสาธารณสุข ทงั้ ชว่ งก่อนและระหวา่ งดำเนินการ
๓.๒ นักเรยี น ครู และบุคลากร ต้องปฏบิ ตั ิ
๑) ครู และบคุ ลากร ตอ้ งไดร้ ับการฉดี วคั ซนี ครบโดส ตั้งแตร่ ้อยละ ๘๕ เปน็ ตน้ ไป
ส่วนนกั เรียนและผปู้ กครองควรได้รบั วัคซีนตามมาตรการของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข
โดยเฉพาะสถานศกึ ษาที่อยูใ่ นพืน้ ที่ควบคมุ สูงสุด(พื้นทส่ี ีแดง)และพ้นื ท่ีควบคมุ สูงสดุ และเขม้ งวด(พน้ื ท่สี แี ดงเข้ม)
๒) นักเรยี น ครู และบุคลากรในโรงเรยี นหรือสถานศกึ ษา ทกุ คนต้องตรวจคัดกรอง Antigen
Test Kit (ATK) ก่อนเขา้ Quarantine Zone
๓) นกั เรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา มกี ารแยกกกั ตวั สังเกตอาการให้ครบกำหนด ๑๔
วัน กอ่ นเขา้ สู่ Safety Zone (กรณยี ้ายมาจาก State Quarantine ใหพ้ ิจารณาลดจำนวนวนั กกั ตวั ลงตามความ
เหมาะสม ๗-๑๐ วัน) รวมถงึ การทำกิจกรรมในแบบ Small Bubble และหลกี เล่ยี งการทำกจิ กรรมขา้ มกลมุ่ กัน
10
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
๔. องค์ประกอบด้านการดำเนินการของโรงเรียนหรือสถานศึกษา ระหว่างภาคการศึกษาต้อง
ดำเนนิ การ ดังนี้
๔.๑ โรงเรยี นหรือสถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนได้ ท้งั รูปแบบ Onsite หรอื Online
หรอื แบบผสมผสาน(Hybrid)
๔.๒ นกั เรียน ครู และบคุ ลากร ทุกคนต้องประเมนิ Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ ำแนกตาม
เขตพ้ืนท่กี ารแพร่ระบาด
๔.๓ ใหม้ กี ารสมุ่ ตรวจ ATK นักเรยี น ครู และบคุ ลากรทีเ่ กย่ี วข้องกับสถานศึกษา เพอ่ื เฝ้าระวังตาม
เกณฑ์จำแนกตามเขตพ้ืนทก่ี ารแพรร่ ะบาด
๔.๔ ปฏิบตั ติ ามมาตรการสขุ อนามยั ส่วนบุคคลอยา่ งเข้มข้น ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC)
และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)
๔.๕ ปฏิบตั ิตามแนวทางมาตรการเข้มสำหรบั สถานศกึ ษาอยา่ งเครง่ ครัด ดงั นี้
๑) สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมินผลผ่าน MOE Covid โดยถือปฏิบตั อิ ย่างเขม้ ข้น ตอ่ เนือ่ ง
๒) ทำกิจกรรมร่วมกนั ในรปู แบบ Small Bubble หลกี เลี่ยงการทำกจิ กรรมข้ามกลุ่มกนั และ
จดั นักเรยี นในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกิน ๒๕ คน หรอื จัดใหเ้ ว้นระยะห่างระหวา่ งนกั เรียนใน
ห้องเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั
๓) จดั ระบบการให้บริการอาหารสำหรบั นกั เรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา ตามหลัก
มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทเิ ช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดบิ จกแหล่งอาหาร การปรุง
ประกอบอาหาร หรือการสั่งซื้ออาหารตามระบบนำสง่ อาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและต้องมีระบบ
ตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบรโิ ภค เปน็ ตน้
๔) จดั การดา้ นอนามัยสงิ่ แวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัตดิ ้านอนามัยส่ิงแวดล้อมในการป้องกัน
โรคโควิด ๑๙ ในสถานศกึ ษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพนำ้ สำหรับ
อปุ โภคบริโภค และการจัดการขยะ
๕) จดั ให้มีสถานทีแ่ ยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) แผนเผชญิ เหตุสำหรับรองรับการ
ดูแลรักษาเบือ้ งต้นกรณีนักเรยี น ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการตดิ เชื้อโควิด๑๙ หรือผลตรวจ ATK
เปน็ บวก โดยมกี ารซักซอ้ มอย่างเคร่งครัด
๖) ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่าง
เข้มข้น โดยหลกี เลีย่ งการเขา้ ไปสมั ผสั ในพื้นทต่ี า่ ง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทาง
11
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
๒.2 มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไป-กลับ
มีหลักเกณฑท์ ตี่ ้องปฏบิ ตั ิอยา่ งเครง่ ครดั ๔ องค์ประกอบ ดังนี้
๑. องค์ประกอบด้านกายภาพ ลักษณะอาคารและพื้นที่โดยรอบอาคารของโรงเรียนหรือ
สถาบันการศกึ ษาประเภทไป-กลบั ทมี่ ีความพร้อมและผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
๑.๑ พน้ื ท/่ี อาคารสนบั สนุนการบรกิ าร
๑.๒ พนื้ ท/่ี อาคารเพอ่ื จัดการเรียนการสอน
โดยจัดอาคารและพืน้ ทโี่ ดยรอบใหเ้ ป็นพืน้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านทปี่ ลอดภยั และมพี ้นื ทท่ี ีเ่ ป็น Covid free Zone
๒. องค์ประกอบด้านการมีส่วนรว่ ม ต้องเป็นไปตามความสมคั รใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียนหรอื
สถานศึกษาทีป่ ระสงคจ์ ะดำเนินการในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดใหม้ ีการประชุม
หารือรว่ มกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง ผนู้ ำชุมชน และมมี ตใิ หค้ วามเห็นชอบ
ร่วมกันในการจัดพน้ื ทก่ี ารเรยี นการสอนในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา
ก่อนนำเสนอโครงการผ่านต้นสงั กดั ในพื้นที่ แลว้ ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อกรงุ เทพมหานคร
หรือคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั
๓. องคป์ ระกอบดา้ นการประเมนิ ความพร้อมสู่การปฏบิ ัติ โรงเรียนหรือสถานศกึ ษาตอ้ งเตรียมการ
ประเมินความพร้อม ดังนี้
๓.๑ โรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษา ตอ้ งดำเนนิ การ
๑) ตอ้ งผา่ นการประเมนิ ความพรอ้ มผา่ น TSC+ และรายงานการติดตามการประเมนิ ผลผ่าน
MOE Covid
๒) ต้องจดั ใหม้ สี ถานทแ่ี ยกกกั ตัวในโรงเรยี น (School Isolation) สำหรบั รองรบั การดแู ลรกั ษา
เบอ้ื งตน้ กรณนี กั เรยี น ครู หรอื บคุ ลากรในสถานศึกษามกี ารตดิ เช้ือโควิด๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็นบวก รวมถงึ
มแี ผนเผชญิ เหตแุ ละมคี วามรว่ มมือกับสถานพยาบาลเครอื ขา่ ยในพืน้ ทท่ี ่ีดแู ลอยา่ งใกลช้ ิด
๓) ต้องควบคมุ ดแู ลการเดินทางระหวา่ งบา้ นกบั โรงเรียนอยา่ งเข้มขน้ โดยหลีกเล่ยี งการเขา้ ไป
สมั ผสั ในพ้ืนที่ตา่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง
๔) ต้องจัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุ ดคัดกรอง (Screening Zone) ที่เหมาะสม
จดั จุดรบั ส่งส่ิงของ จดุ รับสง่ อาหาร หรอื จุดเสยี่ งอืน่ เป็นการจำแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และ
ผ้มู าตดิ ตอ่ ท่ีเข้ามาในโรงเรียน
๕) ต้องมีระบบและแผนรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการ
บรู ณาการร่วมกันระหว่างกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกระทรวงสาธารณสุข ทัง้ ชว่ งกอ่ นและระหวา่ งดำเนินการ
๓.๒ นักเรียน ครู และบุคลากร ตอ้ งปฏิบัติ
๑) ครู และบุคลากร ต้องไดร้ บั การฉีดวคั ซนี ครบโดส ตง้ั แต่รอ้ ยละ ๘๕ เปน็ ต้นไป สว่ นนกั เรียน
และผูป้ กครองควรได้รบั วัคซีนตามมาตรการของกระทรวงศกึ ษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะ
สถานศกึ ษาทอ่ี ยใู่ นพ้นื ทีค่ วบคมุ สงู สดุ (พืน้ ท่สี ีแดง) และพ้นื ท่คี วบคมุ สูงสุดและเขม้ งวด (พ้นื ที่สีแดงเข้ม)
๒) นกั เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษาทอี่ ยใู่ นพ้ืนทีค่ วบคุมสงู สดุ (พ้นื ที่สีแดง) และพ้ืนที่
ควบคุมสงู สุดและเขม้ งวด(พื้นทีส่ ีแดงเข้ม)ทุกคนต้องตรวจคดั กรอง ATK ในวันแรกของการเปิดเรียนของ
สถานศึกษา
12
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
๓) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา มีการทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ
Small Bubble และหลีกเลีย่ งการทำกิจกรรมขา้ มกลมุ่ กัน โดยเฉพาะพ้นื ที่ควบคมุ สูงสดุ (พน้ื ท่ีสแี ดง) และพ้นื ท่ี
ควบคมุ สูงสดุ และเข้มงวด (พื้นทส่ี ีแดงเขม้ )
๔. องค์ประกอบดา้ นการดำเนินการของโรงเรียน หรือสถานศึกษา ระหวา่ งภาคการศึกษาต้อง
ดำเนนิ การดงั น้ี
๔.๑ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ทั้งรูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบผสมผสาน
(Hybrid)
๔.๒ นกั เรียน ครู และบคุ ลากรทอ่ี ยู่ในพน้ื ที่ Safety Zone ตอ้ งประเมนิ Thai Save Thai (TST)
อย่างต่อเนอื่ งตามเกณฑจ์ ำแนกตามเขตพื้นท่กี ารแพรร่ ะบาด
๔.๓ ใหม้ กี ารสมุ่ ตรวจ ATK นักเรียน ครู และบคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ งกับสถานศกึ ษา เพ่ือเฝา้ ระวงั ตาม
เกณฑจ์ ำแนกตามเขตพ้นื ที่การแพรร่ ะบาด
๔.๔ ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการสุขอนามัยสว่ นบุคคลอย่างเขม้ ข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC)
และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)
๔.๕ นักเรียน ครู และบุคลากร ที่เกี่ยวขอ้ งกับสถานศึกษา เขียนบันทึก Timeline กิจกรรม
ประจำวนั และการเดนิ ทางเขา้ ไปในสถานทต่ี า่ ง ๆ แต่ละวันอย่างสม่ำเสมอ
๔.๖ ปฏิบตั ติ ามแนวทาง ๗ มาตรการเข้มสำหรบั สถานศึกษาประเภทไป-กลบั อยา่ งเครง่ ครดั
๑) สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมนิ ผลผ่าน MOE Covid โดยถือปฏบิ ตั อิ ยา่ งเขม้ ขน้ ตอ่ เนอ่ื ง
๒) ทำกิจกรรมร่วมกนั ในรูปแบบ Small Bubble หลกี เล่ียงการทำกิจกรรมข้ามกลมุ่ กนั และ
จัดนักเรยี นในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกิน ๒๕ คน หรอื จดั ใหเ้ วน้ ระยะหา่ งระหว่างนกั เรียนใน
หอ้ งเรยี นไม่นอ้ ยกว่า ๑.๕ เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวดั
๓) จัดระบบการใหบ้ ริการอาหารสำหรบั นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา ตามหลัก
มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร
การปรงุ ประกอบอาหาร หรือการสง่ั ซ้อื อาหารตามระบบนำสง่ อาหาร (Delivery) ท่ีถกู สขุ ลักษณะและต้องมี
ระบบตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนำมาบรโิ ภค เปน็ ต้น
๔) จดั การดา้ นอนามัยสิง่ แวดล้อมใหไ้ ดต้ ามแนวปฏิบตั ิด้านอนามยั สงิ่ แวดล้อมในการป้องกัน
โรคโควิด๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพนำ้ สำหรับ
อปุ โภคบรโิ ภค และการจดั การขยะ
๕) จัดให้มีสถานที่แยกกกั ตัวในโรงเรียน (School Isolation) แผนเผชญิ เหตุสำหรับรองรับการ
ดแู ลรกั ษาเบือ้ งตน้ กรณีนักเรยี น ครู หรอื บคุ ลากรในสถานศกึ ษามกี ารตดิ เชอ้ื โควิด๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็น
บวก โดยมีการซกั ซ้อมอย่างเคร่งครัด
๖) ควบคมุ ดแู ลการเดินทางเขา้ และออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเขม้ ข้น โดย
หลกี เลยี่ งการเข้าไปสัมผสั ในพ้ืนทตี่ ่างๆ ตลอดเส้นทางการเดินทางจากบ้านไป-กลบั โรงเรยี น ทงั้ กรณรี ถรับ-ส่ง
นักเรยี น รถสว่ นบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ
13
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
๗) ให้จดั ใหม้ ี School Pass สำหรบั นกั เรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซึง่ ประกอบดว้ ย
ข้อมูล ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗-๑๔ วัน และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวดั
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภัยเม่อื เขา้ -ออกโรงเรียน โดยเฉพาะพนื้ ทีค่ วบคมุ สงู สุด(พนื้ ทีส่ ีแดง) และพื้นท่ีควบคุม
สงู สดุ และเข้มงวด (พ้นื ทสี่ แี ดงเขม้ )
๔.๗ กรณสี ถานศกึ ษาต้งั อยใู่ นพน้ื ท่ีควบคมุ สูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพื้นท่คี วบคุมสงู สดุ และเขม้ งวด
(พน้ื ที่สีแดงเขม้ ) กำหนดให้สถานประกอบกิจการ กิจกรรม ทอ่ี ยรู่ อบร้ัวสถานศกึ ษาให้ผา่ นการประเมนิ Thai
Stop Covid Plus (TSC+) Covid Free Setting
2.3 มาตรการ Sandbox: Safety Zone in School สำหรับโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษาอนื่
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตาม
ข้อกำหนดตามความในมาตรา ๙ แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘
(ฉบบั ที่ ๓๒) ลงวนั ที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพ่ือให้
สถานศกึ ษานำไปใชใ้ นการการปฏบิ ัติ โดยจำแนกประเภทของสถานศึกษา ๒ ประเภท ได้แก่ ประเภทพักนอน
และประเภทไป-กลับ เท่านั้น เนื่องจากโรงเรียนหรือสถานศกึ ษาสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขน้ั พ้นื ฐาน มีประเภทโรงเรียน หรือสถานศกึ ษาทีม่ ีลักษณะทีแ่ ตกตา่ ง เช่น
๑. ประเภทพักนอนและไป-กลับ
๒. ขนาดโรงเรียน หรอื สถานศึกษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
๓. ระดบั การจดั การเรยี นการสอน ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศกึ ษา
๔. สถานศึกษาทน่ี กั เรียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการฉีดวัคซนี หรือยังไม่ได้รับ
การฉดี วคั ซนี หรือได้รับการฉีดวคั ซีนบางส่วน
๕. โรงเรยี นหรอื สถานศึกษา ลักษณะอื่น ๆ ตอ้ งดำเนนิ การ ดังนี้
๑) ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ Sandbox: Safety Zone in School ท่กี ระทรวงสาธารณสขุ
และกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนดอย่างเครง่ ครัด ท้ัง ๔ องค์ประกอบ
๒) กรณีโรงเรียนหรอื สถานศึกษาเป็นประเภทพักนอนและไป-กลับ ต้องนำมาตรการ
Sandbox : Safety Zone in School มาบูรณาการในการปฏิบัติระหว่างประเภทพักนอน และประเภทไป-
กลบั อย่างเคร่งครัด
ทง้ั นี้ โรงเรียน หรือ สถานศกึ ษาทุกประเภท ทกุ ลกั ษณะ ทป่ี ระสงค์จะขอเปดิ การเรยี นการสอนโดย
ดำเนินการตามรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดทำเอกสารข้อเสนอโครงการเสนอต่อ
ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสขุ ในพื้นที่ (ศึกษาธกิ ารจังหวดั และสาธารณสุขจงั หวดั )
พิจารณาและเสนอตอ่ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรุงเทพมหานครหรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด โดยต้อง
จัดทำแผนงานและแสดงความพรอ้ มการดำเนนิ การดา้ นกายภาพ ดา้ นการมสี ว่ นร่วม ดา้ นการประเมินความ
พร้อมสกู่ ารปฏิบัติ และด้านการดำเนนิ การของโรงเรียนหรอื สถานศึกษา ให้ครบถ้วน
14
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
15
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
สว่ นที่ ๓
แนวปฏิบัติระหวา่ งเปดิ ภาคเรียน
สถานศึกษาต้องปฏิบัติตามมาตรการระหว่างเปิดเรียนตามที่กระทรวงสาธารณสุขและ
กระทรวงศกึ ษาธิการกำหนดใหค้ รอบคลมุ ทุกมิตอิ ย่างเครง่ ครดั เพ่ือป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยคำนึงถงึ ความปลอดภยั ของนักเรยี น ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสูงสดุ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน จงึ ไดด้ ำเนินการจดั ทำและรวบรวมแนวปฏิบัติระหว่างเปิดเรยี น
เป็น ๒ กรณี ดงั น้ี
1. กรณเี ปิดเรยี นไดต้ ามปกติ (Onsite) สถานศึกษาต้องปฏบิ ัติ ดังน้ี
มาตรการ แนวทางการปฏิบัติ
๗ มาตรการเขม้ งวด ๑) สถานศึกษาผา่ นการประเมนิ TSC+ และรายงานการตดิ ตาม
การประเมินผลผ่าน MOE Covid
2) ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลีย่ งการทำกิจกรรม
ขา้ มกลมุ่ และจดั นักเรยี นในหอ้ งเรยี นขนาดปกติ (๖ x ๘) ไมเ่ กิน ๒๕ คน
หรือจัดใหเ้ วน้ ระยะห่างระหว่างนักเรยี นในห้องไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร
พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จังหวัด
3) จัดระบบการใหบ้ ริการอาหารสำหรบั นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรใน
สถานศึกษาตามหลักมาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ
เชน่ การจดั ซ้อื จดั หาวตั ถุดบิ จากแหล่งอาหาร การปรงุ ประกอบอาหารหรอื
การสัง่ ซอื้ อาหารตามระบบนำสง่ อาหาร (Delivery) ทถ่ี กู สุขลักษณะและ
ตอ้ งมีระบบตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนำมาบริโภค ตามหลกั สุขาภิบาล
อาหารและหลกั โภชนาการ
๔) จดั การด้านอนามยั สงิ่ แวดลอ้ มใหไ้ ดต้ ามแนวปฏิบตั ดิ า้ นอนามัยสงิ่ แวดลอ้ ม
ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศกึ ษาได้แก่ การระบายอากาศภายใน
อาคาร การทำความสะอาดคณุ ภาพนำ้ ดม่ื และการจัดการขยะ
๕) ให้นักเรยี นท่ีมคี วามเสย่ี งแยกกักตวั ในสถานศึกษา (School Isolation)
และมีการซกั ซ้อมแผนเผชิญเหตุ รองรับการดูแลรักษาเบอ้ื งตน้ กรณี
นักเรยี น ครู หรือบุคลากรในสถานศกึ ษามีผลการตรวจพบเชอ้ื โรคโควดิ ๑๙
หรอื ผล ATK เป็นบวกโดยมกี ารซกั ซ้อมอย่างเครง่ ครัด
16
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
มาตรการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
อนามัยสงิ่ แวดล้อม แนวทางการปฏิบตั ิ
๖) ควบคมุ ดแู ลการเดนิ ทางกรณีมกี ารเข้าและออกจากสถานศกึ ษา
(Seal Route) อยา่ งเข้มข้น โดยหลกี เลี่ยงการเข้าไปสัมผสั ในพื้นทต่ี ่าง ๆ
ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง
๗) ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา
ซงึ่ ประกอบดว้ ยข้อมลู ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วนั
และประวัติการรบั วคั ซนี ตามมาตรการ
๑) การระบายอากาศภายในอาคาร
- เปิดประตูหนา้ ตา่ งระบายอากาศกอ่ นและหลงั การใชง้ าน อย่างนอ้ ย
๑๕ นาที หนา้ ตา่ งหรอื ชอ่ งลม อยา่ งนอ้ ย ๒ ดา้ นของหอ้ ง ให้อากาศ
ภายนอกถา่ ยเทเขา้ สู่ภายในอาคาร
- กรณใี ชเ้ ครอ่ื งปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลัง
การอยา่ งนอ้ ย ๒ ชั่วโมง หรือเปิดประตหู นา้ ตา่ งระบายอากาศช่วงพัก
เทีย่ งหรอื ชว่ งทไี่ ม่มีการเรยี นการสอน กำหนดเวลาเปดิ -ปดิ
เคร่ืองปรบั อากาศ และทำความสะอาดสมำ่ เสมอ
๒) การทำความสะอาด
- ทำความสะอาดวัสดสุ ่งิ ของด้วยผงชักฟอกหรอื นำ้ ยาทำความ
สะอาด และล้างมือด้วยสบู่และนำ้
- ทำความสะอาดและฆ่าเชอื้ โรคบนพืน้ ผิวทว่ั ไป อปุ กรณส์ มั ผัสรว่ ม เชน่
ห้องนำ้ หอ้ งส้วม ลกู บดิ ประตู รีโมทคอนโทรล ราวบันได สวิตชไ์ ฟ
(กดลฟิ ท์ จดุ น้ำด่มื เป็นตน้ ดว้ ยแอลกอฮอล์ ๗๐%
นาน ๑๐ นาที และฆ่าเชือ้ โรคบนพน้ื ผิววัสดุแขง็ เช่น กระเบื้อง เซรา
มกิ สแตนเลส ดว้ ยน้ำยาฟอกขาวหรอื โซเดียมไฮโปคลอไรท์ ๐.๑%
นาน ๕-๑๐นาที อย่างนอ้ ยวันละ ๒ คร้งั และอาจเพ่ิมความถตี่ าม
ความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาทม่ี ผี ูใ้ ชง้ านจำนวนมาก
๓) คุณภาพน้ำเพ่ือการอปุ โภคบรโิ ภค
- ตรวจดูคณุ ลักษณะทางกายภาพ สี กลิ่น และไม่มีส่งิ เจอื ปน
- ดแู ลความสะอาดจดุ บริการนำ้ ดมื่ และภาชนะบรรจุน้ำดื่มทุกวนั
(ไมใ่ ชแ้ กว้ นำ้ ด่มื ร่วมกนั เดด็ ขาด)
- ตรวจคณุ ภาพน้ำเพอื่ หาเชือ้ แบคทเี รยี ด้วยชดุ ตรวจภาคสนาม
ทกุ ๖ เดอื น
17
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
มาตรการ แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การใชอ้ าคาร ๔) การจดั การขยะ
สถานทขี่ องสถานศึกษา
- มีการคดั แยกลดปริมาณขยะ ตามหลัก 3R (Reduce Reuse
Recycle)
- กรณีขยะเกิดจากผสู้ มั ผสั เสีย่ งสงู / กกั กันตวั หรือหนา้ กากอนามยั
ท่ีใชแ้ ลว้ นำใส่ในถงั ขยะปดิ ใหม้ ดิ ชดิ
การฝึกอบรม หรอื การทำกิจกรรมใด ๆ ท่มี ีผู้เข้าร่วมจำนวนมาก สถานศกึ ษา
หรือผู้ขออนุญาต ตอ้ งจัดทำมาตรการเพ่อื เสนอต่อ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่
กรุงเทพมหานครหรอื คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัดจะพจิ ารณารว่ มกับ
ผแู้ ทนกระทรวงศึกษาธิการ เมอื่ ได้รับอนญุ าตแลว้ จงึ จะดำเนินการได้ โดยมี
แนวปฏิบตั ิ ดังน้ี
๑. แนวปฏิบตั ดิ า้ นสาธารณสุข
๑) กำหนดจุดคดั กรองช่องทางเข้าออก หากพบว่ามไี ข้ ไอ จาม มนี ้ำมูกหรือ
เหน่ือยหอบ หรือมีอุณหภมู ริ ่างกายเทา่ กับหรอื มากกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเซยี ส
ข้นึ ไป แจง้ งดใหเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม และแนะนำไปพบแพทย์ และอาจมีหอ้ งแยก
ผู้ท่ีมีอาการออกจากพน้ื ท่ี
๒) ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม และผมู้ าตดิ ตอ่ ต้องสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากาก
อนามัย ตลอดเวลาทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม
3) จัดใหม้ ีเจลแอลกฮอล์ หรือ จดุ ล้างมอื สำหรบั ทำความสะอาดมือไว้
บรกิ าร บริเวณต่าง ๆ อย่างเพยี งพอ เช่น บรเิ วณหนา้ ห้องประชมุ ทางเขา้ ออก
หน้าลิฟต์ จุดประชาสมั พันธ์ และพน้ื ทท่ี มี่ กี จิ กรรมอนื่ ๆ เป็นตน้
4) จดั บริการอาหารในลักษณะทลี่ ดการสัมผัสอปุ กรณท์ ใ่ี ช้ร่วมกนั เช่น จัด
อาหารว่างแบบกล่อง (Box Set) อาหารกลางวันในรูปแบบอาหารชุดเดี่ยว
(Course Menu)
5) กรณที ่ีมีการจดั ใหม้ ีรถรบั สง่ ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม ใหเ้ วน้ ระยะหา่ ง ๑ ทีน่ ัง่ ทำ
ความสะอาดรถรับส่งทกุ รอบหลงั ใหบ้ รกิ าร
6) กำกับให้นักเรยี นนั่งโดยมกี ารเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งทน่ี ่ัง และทางเดนิ
อย่างน้อย ๑.๕ เมตร
7) จดั ใหม้ ถี ังขยะทมี่ ีฝาปดิ เกบ็ รวบรวมขยะ เพื่อส่งไปกำจดั อยา่ งถูกตอ้ ง
และการจดั การขยะทดี่ ี
8) จัดใหม้ ีการระบายอากาศภายในอาคารทดี่ ี มีการหมนุ เวียนของอากาศ
อยา่ งเพยี งพอ ท้ังในอาคารและหอ้ งส้วม และทำความสะอาด
เคร่อื งปรับอากาศสมำ่ เสมอ
18
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
มาตรการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
แนวทางการปฏิบัติ
9) ให้ทำความสะอาดและฆ่าเช้ือทั่วทง้ั บรเิ วณ และเนน้ บริเวณที่มักมีการ
สัมผัส หรอื ใช้งานรว่ มกันบอ่ ย ๆ ด้วยน้ำยาฟอกขาวทเ่ี ตรียมไว้ หรอื แอลกฮอล์
70% หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% เชด็ ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อ
อย่างน้อยวันละ 2 ครัง้ ทำความสะอาดหอ้ งส้วมทกุ 2 ชั่วโมงและอาจเพมิ่
ความถต่ี ามความเหมาะสม โดยเฉพาะเวลาท่มี ีผ้ใู ชง้ านจำนวนมาก
10) มมี าตรการตดิ ตามขอ้ มลู ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม เชน่ การใชแ้ อปพลิเคชัน
หรือใช้มาตรการควบคมุ การเขา้ ออกด้วยการบนั ทึกขอ้ มูล
11) มกี ารจดั การคณุ ภาพเพอื่ การน้ำอปุ โภคบรโิ ภคทีเ่ หมาะสม
- จดั ให้มีจดุ บรกิ ารนำ้ ด่มื 1 จุด หรอื หัวกอ๊ กตอ่ ผบู้ รโิ ภค 75 คน
- ตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ ด่ืมนำ้ ใช้
- ดูแลความสะอาดจุดบรกิ ารน้ำด่ืมภาชนะบรรจนุ ำ้ ดม่ื และใชแ้ กว้ น้ำสว่ นตัว
๒. แนวทางปฏิบตั ิสำหรบั ผ้จู ดั กจิ กรรม
1) ควบคุมจำนวนผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ไม่ใหแ้ ออดั โดยคิดหลักเกณฑ์จำนวน
คนตอ่ พนื้ ทจี่ ัดงาน ไมน่ อ้ ยกว่า ๔ ตารางเมตรตอ่ คน พิจารณาเพมิ่ พืน้ ที่
ทางเดนิ ให้มีสัดส่วนมากขึน้
๒) จำกดั จำนวนผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม และกระจายจดุ ลงทะเบยี นใหเ้ พยี งพอ
สำหรับผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม เพอ่ื ลดความแออัด โดยอาจใช้ระบบการประชมุ ผา่ น
สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใช้การสแกน QR Code ในการลงทะเบียนหรือตอบ
แบบสอบถาม
๓) ประชาสมั พนั ธม์ าตรการ คำแนะนำในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดให้แก่
ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมทราบ
๓. แนวทางปฏบิ ตั สิ ำหรบั ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม
๑) สงั เกตอาการตนเองสมำ่ เสมอ หากมีไข้ ไอ จาม มีน้ำมกู หรือเหน่ือยหอบ
ให้งดการเขา้ รว่ ม กจิ กรรมและพบแพทยท์ นั ที
๒) สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย เว้นระยะห่างระหว่างบคุ คลอย่าง
น้อย ๑ - ๒ เมตร งดการรวมกลุ่ม และลดการพดู คยุ เสียงดัง
๓) ล้างมือด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์บ่อย ๆ ก่อนและหลงั ใช้บริการ หรือ
หลงั จากสมั ผัสจุดสมั ผสั รว่ มหรอื สง่ิ ของ เคร่อื งใช้ เมือ่ กลับถงึ บา้ นควรเปลี่ยน
เสอื้ ผา้ และอาบน้ำทันที
๔) ปฏิบตั ิตามระเบียบของสถานทอี่ ย่างเครง่ ครดั และปฏิบัติตามมาตรการ
สขุ อนามยั สว่ นบคุ คลอย่างเข้มข้น ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ
๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)
19
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
2. กรณีโรงเรียนไมส่ ามารถเปิดเรยี นได้ตามปกติ
การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ซึ่งสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพื่อให้ผู้เรยี นได้รบั การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สถานศึกษาจึงควรเลือกรปู แบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) โดยพิจารณารปู แบบใหม้ ี
ความเหมาะสม และความพรอ้ มของสถานศึกษา ดงั น้ี
1) การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) คือการเรียนรู้ท่ีใช้ส่ือวีดิทัศน์การเรียนการสอนข อง มูลนิธิ
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแตช่ ั้นอนบุ าลปที ี่ ๑ ถงึ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ และใชส้ อ่ื
วีดิทัศน์การเรียนการสอนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ถึงชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖
๒) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและ
แอปพลิเคชั่น การจัดการเรียนการสอนแบบนี้ สำหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น
คอมพวิ เตอร์ แทบ็ เลต็ โทรศัพท์ และมีการเช่ือมต่อสัญญาณอินเทอร์เนต็
๓) การเรียนผ่านหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนในกรณที ี่
นกั เรยี นมที รัพยากรไม่พร้อมในการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบข้างต้น โดยสถานศึกษาจัดทำแบบฝึกหัด
หรือให้การบา้ นไปทำท่ีบา้ น อาจใชร้ ว่ มกับรปู แบบอืน่ ๆ ตามบริบทของท้องถ่นิ
4) การจัดการเรียนการสอนแบบ ( ON Demand) คือการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV
(www.dltv.ac.th) หรอื ช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟน หรอื
แทบ็ เลต็
แนวปฏิบตั ริ ะหว่างเปิดภาคเรยี น
กรณีเปิดเรียนไดต้ ามปกติ (On Site) กรณโี รงเรียนไมส่ ามารถเปิดเรยี นได้ตามปกติ
1. ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม 1. การเรยี นผ่านโทรทัศน์ (On Air)
และ ๗ มาตรการเข้ม 2. การเรียนการสอนแบบออนไลน์
2. ดา้ นอนามัยส่งิ แวดล้อม (Online)
3. ดา้ นการจดั การเรียนการสอน 3. การเรยี นผ่านหนงั สือ เอกสาร ใบงาน
4. ดา้ นสาธารณสขุ
5. แนวทางปฏิบัตสิ ำหรับผูจ้ ดั กจิ กรรม (ON Hand)
6. แนวทางปฏบิ ัตสิ ำหรับผ้เู ขา้ ร่วม 4. การจดั การเรยี นการสอนแบบ
กจิ กรรม (ON Demand)
20
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
21
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
ส่วนที่ ๔
แนวทางการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ท่กี ำหนดไวน้ ี้ สถานศึกษาควรพจิ ารณาเลือกจดั การเรียนการสอนโดยพิจารณารปู แบบให้มีความ
เหมาะสม ตามความต้องการของสถานศกึ ษา และใหส้ อดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน นอกจากนี้
สถานศึกษาสามารถที่จะกำหนดแนวทางการการจัดการเรยี นการสอนทแ่ี ตกตา่ งจากทีก่ ำหนดไว้น้ี หรือจดั การ
เรียนการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครู และบุคลากร
เปน็ สำคัญ
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้
ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
รูปแบบทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) มี ๒ รปู แบบ ดังนี้
๑. รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบชนั้ เรียน (Onsite)
วิธีการน้ีสำหรบั สถานศึกษาทีม่ ผี ลการประเมินตนเองผ่าน ตามแบบประเมินตนเองสำหรับสถานศกึ ษา
ในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวยอ่ TSC+ ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน และปฏิบัติตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง หลกั เกณฑก์ ารเปดิ โรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษาตามขอ้ กำหนดตามความ
ในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒)
ลงวนั ท่ี ๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๔ ซงึ่ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพอื่ ใหส้ ถานศึกษา
นำไปใช้ในการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ซึ่งสถานศึกษาจะต้องนำเสนอ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ผา่ นคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน และไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวดั (กศจ.)
และศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารควบคุมโรคจังหวัด (ศปก.จ.) เมอื่ ได้รับอนุญาตแลว้ สถานศึกษาจึงจะสามารถเปดิ การเรียน
การสอนได้
เมื่อสถานศึกษาเปิดให้มีการเรียนการสอนตามปกติ ที่เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนหรือ
ในชั้นเรียนเป็นหลัก ครูผู้สอนสามารถนำรูปแบบการเรียนการสอนอื่นๆ มาผสมผสาน(Hybrid) ใช้กับการเรียน
การสอนเพิ่มเติมในชั้นเรียนได้ เช่น การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) หรือการเรียนผ่านอินเทอรเ์ น็ต ผ่าน
แอปพลิเคชัน (Online) หรอื รปู แบบอ่ืน ๆ ตามความพร้อม และความต้องการของสถานศึกษา หรอื ครูผู้สอน ดงั นี้
22
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
การจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ในแบบชัน้ เรียน (Onsite)
รูปแบบเป็นการจดั การเรียนการสอนท่ีมีความหลากหลาย ยืดหยุ่น ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ที่
เกิดขนึ้ ในห้องเรยี น ผสมผสานกับการเรียนร้นู อกห้องเรียนที่ครแู ละนักเรยี นไม่ไดเ้ ผชญิ หนา้ กัน หรือใช้แหล่ง
เรยี นรทู้ ่ีมีอยู่ ซ่ึงมีเปา้ หมายอย่ทู กี่ ารเรียนรู้ของนักเรียนเป็นสำคญั โดยสถานศกึ ษาสามารถเลือกรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนไดต้ ามตัวอย่าง ดงั น้ี
รูปแบบที่ 1 การสลบั ชั้นมาเรียนของนกั เรยี น แบบสลับชัน้ มาเรยี น
รูปแบบน้ี สถานศกึ ษาทเ่ี ปิดสอนตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวัย ถึงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถ
จัดให้นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
(ม.๑ – ม.๓) มาเรยี นในวันอังคาร และวนั พฤหสั บดี และนักเรยี นระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๔ – ป.๖) และ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๔ – ม.๖) มาเรียนในวันจันทร์ วันพุธ วันศุกร์ สลับกันไปทุกสัปดาห์
ในวนั ที่นกั เรียนอยทู่ บี่ ้านสามารถใหน้ กั เรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทัง้ ON Air และ Online
ตามบรบิ ทความพรอ้ มของนักเรียน
23
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
รปู แบบท่ี ๒ การสลบั ช้นั มาเรียนของนกั เรยี น แบบสลบั วันคู่ วันค่ี
รปู แบบน้ี สถานศึกษาท่เี ปดิ สอนต้งั แต่ระดับปฐมวัย ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถจัด
ใหน้ ักเรยี นระดับปฐมวัย ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.๑ – ม.๓)
มาเรยี นในวันคู่ และนักเรียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔ – ป.๖) และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
(ม.๔ – ม.๖) มาเรียนในวันคี่ สลบั กนั ไป ในวนั ทนี่ ักเรยี นอยูท่ ี่บา้ นสามารถให้นักเรยี นเรยี นร้โู ดยการเรียนการ
สอนทางไกลได้ ทั้ง ON Air และ ONLINE ตามบรบิ ทความพรอ้ มของนักเรยี น
รปู แบบที่ ๓ การสลับชั้นมาเรยี นของนกั เรียน แบบสลบั วันมาเรยี น ๕ วนั หยุด ๙ วัน
รปู แบบน้ี เหมาะสมกบั โรงเรยี นท่มี ขี นาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ท่มี จี ำนวนนักเรียนต่อห้องมาก
มพี นื้ ทห่ี ้องเรียนจำกัดหรือโรงเรียนทีจ่ ัดการเรียนการสอนโครงการห้องเรยี นพเิ ศษตา่ ง ๆ โรงเรียนต้องสำรวจ
ขอ้ มลู เพอ่ื วางแผนแบ่งกลมุ่ นกั เรยี นในห้องเรียนเปน็ สองกลุ่ม กลุ่ม A และกลุม่ B ให้สลับกนั มาเรียน สัปดาห์แรก
และสัปดาห์ทีส่ าม กลุม่ A มาเรยี นทโี่ รงเรียน กลมุ่ B เรียนอยทู่ ี่บ้านด้วยการเรยี นการสอนทางไกล สัปดาห์ที่สอง
และสปั ดาห์ท่ีสี่ กลุม่ A เรียนอยูท่ ี่บ้านดว้ ยการเรียนการสอนทางไกล กลุม่ B มาเรยี นที่โรงเรียนสลับกันไป
นักเรียนสามารถเรยี นรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทั้ง On Air และ Online ตามบริบทความพร้อม
ของนักเรียน
24
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
รปู แบบที่ ๔ การสลับชว่ งเวลามาเรยี นของนกั เรยี น แบบเรยี นทกุ วัน
รูปแบบนี้ สถานศกึ ษาท่เี ปิดสอนตง้ั แต่ระดับปฐมวัย ถงึ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถจัดให้
นกั เรียนระดับปฐมวยั ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ – ป.๓) และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.๑ – ม.๓)
มาเรยี นในช่วงเวลา ๘.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. และนกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔ – ป.๖) และระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖) มาเรียนในมาเรียนในชว่ งเวลา ๑๒.๓๐ - ๑๕.๓๐ น. ในวันทน่ี กั เรียนอยู่ท่ี
บา้ นสามารถใหน้ กั เรียนเรยี นรูโ้ ดยการเรยี นการสอนทางไกลได้ ทั้ง On Air และ Online ตามความเหมาะสม
และความพร้อมของนักเรียน
รูปแบบที่ ๕ การสลบั กล่มุ นกั เรยี น แบบแบ่งนักเรยี นในหอ้ งเรยี นเปน็ ๒ กล่มุ
รูปแบบนี้ เหมาะสมกับสถานศึกษาที่มีขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พเิ ศษ ที่มีจำนวนนักเรียน
ต่อห้องมาก มีพื้นที่หอ้ งเรียนจำกัดหรือโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนโครงการห้องเรียนพิเศษต่าง ๆ
สถานศกึ ษาตอ้ งสำรวจข้อมลู เพ่ือวางแผนแบง่ กลมุ่ นกั เรยี นในห้องเรยี นเป็นสองกลมุ่ กลุ่ม A และกลุ่ม B ให้
สลับกันมาเรียน วนั จันทร์ กลุม่ A มาเรียนท่ีโรงเรียน กลุม่ B เรียนอย่ทู ่บี า้ นด้วยการเรียนการสอนทางไกล วัน
อังคาร กลุ่ม A เรยี นอยูท่ บ่ี า้ นดว้ ยการเรยี นการสอนทางไกล กลมุ่ B มาเรียนทโ่ี รงเรียนสลับกันไป นักเรียน
เรยี นรโู้ ดยการเรยี นการสอนทางไกลได้ ทั้ง ON AIR และ ONLINE ตามความเหมาะสม และความพร้อมของ
นกั เรียน
25
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
รูปแบบท่ี 6 รูปแบบอน่ื ๆ
รูปแบบท่ี ๖ รปู แบบอืน่ ๆ
นอกจากรูปแบบท่ี ๑ รูปแบบท่ี ๕ ดังกล่าวแล้ว สถานศกึ ษาสามารถออกแบบวิธกี ารจัดการ
เรียนการสอนไดต้ ามความเหมาะสมกบั สภาพพนื้ ทข่ี องสถานศึกษา โดยจำเป็นต้องคำนึงถึงความปลอดภยั ของ
นักเรยี นในการป้องกันการติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ซึ่งรูปแบบการจดั การเรียนการสอนดงั กล่าว
ต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา (กตปน.) รวมถงึ ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั
(กศจ.) และศนู ย์ปฏิบตั กิ ารควบคมุ โรคจังหวัด (ศปก.จ.) ตามลำดบั
๒. รูปแบบการเรยี นการสอนทางไกล (Distance Learning)
รปู แบบการเรยี นการสอนทางไกล (Distance Learning) มี ๔ รูปแบบ ดังนี้
๒.๑ รปู แบบการเรยี นผ่านโทรทศั น์ (On Air)
วิธกี ารนี้ เป็นกรณที ีไ่ ม่สามารถจดั การเรียนการสอนท่ีโรงเรียนได้หรอื ไม่สามารถจัดการเรียน
การสอนให้นักเรียนมาเรียนท่ีโรงเรียนพร้อมกันได้ทุกคน เป็นการเรียนรู้ผ่านสื่อวิดิทัศน์การจัดการ
เรียนการสอนของมลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแต่ช้ันอนุบาลปีที่ ๑
ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ โดยดำเนินการออกอากาศ มีท้ังหมด ๔ ระบบ ไดแ้ ก่
๑. ระบบดาวเทียม (Satellite)
๑.๑ KU-Band (จานทบึ ) ช่อง ๑๘๖ – ๒๐๐
๑.๒ C-Band (จานโปรง่ ) ช่อง ๓๓๗ – ๓๔๘
๒. ระบบดิจทิ ลั ทวี ี (Digital TV) ช่อง ๓๗ – ๔๘
๓. ระบบเคเบลิ้ ทวี ี
๔. ระบบ IPTV.
26
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
๒.๒ รปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online)
เป็นรูปแบบการเรยี นการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต และแอปพลิเคชัน การจัดการเรียนการสอนแบบน้ี สำหรับ
ครูและนักเรยี นที่มีความพรอ้ มทางด้านอปุ กรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แทบ็ เล็ต โทรศพั ท์ และมีการเช่ือมต่อสัญญาณ
อนิ เทอร์เน็ต มที ้งั หมด ๔ ชอ่ งทาง ไดแ้ ก่
๑. เว็บไซต์ OBEC Content Center - https://contentcenter.obec.go.th/
๒. เว็บไซต์ DEEP - https://deep.moe.go.th/
๓. เวบ็ ไซต์ DLTV - https://www.dltv.ac.th/
๔. ช่องยูทบู (YouTube) DLTV 1Channel ถงึ DLTV 15 Channel
ระดับปฐมวยั ระดับประถมศึกษา
DLTV 10 Channel (อ.๑) DLTV 1 Channel (ป.๑)
DLTV 11 Channel (อ.๒) DLTV 2 Channel (ป.๒)
DLTV 12 Channel (อ.๓) DLTV 3 Channel (ป.๓)
DLTV 4 Channel (ป.๔)
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ DLTV 5 Channel (ป.๕)
DLTV 7 Channel (ม.๑) DLTV 6 Channel (ป.๖)
DLTV 8 Channel (ม.๒)
DLTV 9 Channel (ม.๓) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
DLTV 13 Channel (ม.๔)
DLTV 14 Channel (ม.๕)
DLTV 15 Channel (ม.๖)
27
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
๒.๓ รูปแบบการเรยี นการสอนผ่านหนงั สือ เอกสาร ใบงาน (ON Hand)
รูปแบบนเ้ี ป็นการเรยี นการสอนผา่ นหนังสือโดยให้แบบฝึกหดั ให้การบา้ นไปทำท่ีบ้าน อาจใช้
ร่วมกับรูปแบบอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม และความต้องการของนกั เรียน ในกรณีที่นักเรียนมที รัพยากร
ไมพ่ รอ้ มในการจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบอ่นื ๆ
๒.4 รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ (ON Demand)
รูปแบบนี้เป็นการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรือ ช่อง YouTube
(DLTV Channel 1-15) และแอปพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟน หรอื แท็บเล็ต
คลังความรู้ (Knowledge Bank) ท่ีสนับสนุนการเรยี นการสอนด้วยระบบเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั ( Digital Learning Platform)
คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่สนับสนุนการเรียนการสอน ด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Learning Platform) ในสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ทำ
ใหน้ กั เรยี นไมส่ ามารถกลับไปเรียนแบบ Onsite ทสี่ ถานศกึ ษาได้ แตก่ ารเรยี นของนักเรยี นยงั คงตอ้ งดำเนินตอ่ ไป
ไม่หยุดยั้ง ดังนั้น คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้ในระบบเทคโนโลยีดิจ ิทัล
(Digital Learning Platform) สนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอนให้กบั ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และนกั เรียน
เลอื กนำไปใชใ้ นการนำไปจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสม และตรงตามความต้องการของสถานศึกษาแต่ละ
พ้นื ที่ ดงั น้ี
๑. DEEP เว็บไซต์ https://deep.moe.go.th/
DEEP ย่อมาจาก Digital Education Excellence Platform คือ แฟลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้
แหง่ ชาติ สร้างข้ึนมาเพ่อื สนบั สนนุ การจัดการเรยี นการสอนผา่ นระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รวมถึงการฝึกอบรมเพ่อื พัฒนาทักษะครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ
๒. OBEC Content Center เว็บไซต์ https://contentcenter.obec.go.th/
OBEC Content Center คือ คลังเนื้อหาอเิ ล็กทรอนกิ สข์ องสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน(สพฐ.) เปน็ โปรแกรมสำหรับให้บรกิ ารเผยแพรเ่ นือ้ หาอิเล็กทรอนกิ ส์ แกน่ ักเรียน ครู ศกึ ษานิเทศก์
และบุคลากรทางการศกึ ษา รองรับการเขา้ ถงึ เนอื้ หาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ แอปพลเิ คชัน,หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์
ต่าง ๆ
28
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
๓. DLTV เวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th/ แอปพลิเคชัน DLTV และช่องยูทูป DLTV
1Channel - DLTV 12 Channel และ DLTV 15 Channel
DLTV คือการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เกิดจากพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงมพี ระราชปณิธานในการจัดการศกึ ษา
ให้กับประชาชนอยา่ งทั่วถึง เท่าเทยี ม และมีคณุ ภาพ ดว้ ยเทคโนโลยที ที่ ันสมัยทส่ี ุดในขณะน้ัน เพื่อลดความ
เหลอื่ มลำ้ ทางการศกึ ษา แก้ปัญหาการขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้น และครสู อนไมต่ รงสาขาวิชาเอก โดยเฉพาะ
โรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล ปัจจุบันโครงการนี้อยู่ในความดูแลของมูลนิธิศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยจะถ่ายทอดการเรียนการสอนจากโรงเรียนวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์
อำเภอหัวหนิ จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ และเผยแพรภ่ าพไปท่ัวประเทศ ทำใหม้ จี ำนวนครแู ละนักเรียนท่ีได้รับ
โอกาสเพิ่มขึ้นกว่าหนึ่งล้านห้าแสนคน ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทำใหพ้ สกนกิ รทกุ หมู่เหล่าสามารถเขา้ ถงึ การศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพไดอ้ ย่างทวั่ ถงึ และเทา่ เทียม
๔. Scimath เวบ็ ไซต์ https://www.scimath.org/index.php
Scimath คลังความรูส้ คู่ วามเป็นเลิศทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จัดทำโดย
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นเว็บไซตท์ ี่รวบรวมส่ือการเรียนการสอน
โครงงาน บทความ ข้อสอบ และรายการโทรทัศน์และวิทยุท่ีเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ
เทคโนโลยี
๕. ศูนย์เรยี นร้ดู จิ ิทัลระดบั ชาตดิ า้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี สสวท.
เวบ็ ไซต์ https://learningspace.ipst.ac.th/ ศูนย์เรียนรูด้ จิ ิทลั ฯ คอื ศนู ย์ดจิ ิทลั ชมุ ชน เป็น
ศูนย์การเรียนรู้และต่อยอดเทคโนโลยีด้านดิจทิ ัลใหก้ ับเด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนทั่วประเทศให้
สามารถคน้ หาขอ้ มลู เรยี นรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง ผา่ นเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นการลดความเหลอ่ื มลำ้ ในการเข้าถึง
เทคโนโลยดี จิ ิทลั ใหค้ นไทยทกุ คนไดใ้ ช้บรกิ ารอย่างทว่ั ถงึ และเทา่ เทียมกนั
29
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
๖. สะเต็มศึกษา(STEM Education Thailand) เว็บไซต์ http://www.stemedthailand.org/
สะเต็มศกึ ษา คือ แนวทางการจดั การศกึ ษาที่บรู ณาการความรู้ใน ๔ สหวทิ ยาการ ไดแ้ ก่ วทิ ยาศาสตร์
วศิ วกรรม เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แกป้ ัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา
กระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ช่วยนักเรียนสร้าง
ความเช่อื มโยงระหว่าง ๔ สหวิทยาการ กบั ชวี ติ จริงและการทำงาน การจดั การเรียนร้แู บบสะเต็มศกึ ษาเป็นการ
จดั การเรียนรทู้ ไ่ี มเ่ น้นเพียงการท่องจำทฤษฎี หรอื กฎทางวิทยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความ
เข้าใจทฤษฎหี รือกฎเหล่านนั้ ผ่านการปฏบิ ัตใิ ห้เหน็ จริงควบคู่กบั การพฒั นาทักษะการคิด ตั้งคำถาม แกป้ ัญหา
และการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ ๆ พร้อมทั้งสามารถนำข้อค้นพบนัน้ ไปใช้หรือบูรณาการกบั
ชีวติ ประจำวันได้
๗. ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA เวบ็ ไซต์ https://pisaitems.ipst.ac.th/
ระบบออนไลน์ขอ้ สอบ PISA เปน็ ระบบสารสนเทศท่เี ผยแพรข่ ้อสอบที่ OECD อนญุ าตให้เผยแพร่
และข้อสอบที่พัฒนาโดย สสวท. การลงทะเบียนเขา้ ใช้งานระบบออนไลนข์ ้อสอบ PISA ที่ OECD อนุญาต
ให้เผยแพร่ และข้อสอบที่พฒั นาโดย สสวท. สามารถใชช้ ่ือผ้ใู ช้ (User Name) เดียวกันได้
๘. TK Park เวบ็ ไซต์ https://www.tkpark.or.th/tha/home
TK Park คอื แอปพลิเคชัน แหลง่ รวมสาระความรแู้ ละความความเพลดิ เพลินใหเ้ ดก็ ไทยเรียนรอู้ ย่าง
สร้างสรรค์ โดยการนำองค์ความรู้ ไทยท่มี ีความหลากหลาย
30
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
๙. ห้องเรียนแหง่ คณุ ภาพ (DLIT Classroom) เว็บไซต์ https://dlit.ac.th/site/classroom.php/
DLIT คอื เครอ่ื งมือทม่ี เี น้ือหาและเทคโนโลยีสำหรบั การพฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างครบ
วงจร ตัง้ แตก่ ารวางแผน การจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาฯ การ
จัดการเรียนการสอนเพิ่มเติม การสอบท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และการพัฒนาวิชาชีพอย่างย่ังยนื
๑๐. ครูพรอ้ ม เว็บไซต์ https://www.ครูพรอ้ ม.com/
ครพู ร้อม เป็น Web Portal จากกระทรวงศึกษาธิการ ที่จัดทำขน้ึ มาใหม่ เพื่อเสริมแฟลต
ฟอรม์ ตา่ ง ๆ ทหี่ น่วยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการมีอยู่ โดยจะเปน็ คลงั สื่อ ขอ้ มลู การเรียนรู้ ตลอดจน
รปู แบบการจดั กิจกรรม ซง่ึ มขี ้อมูลทั้งของ สพฐ.-สช.-สำนักงาน กศน.-สอศ
31
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
แอปพลเิ คชัน (Applications) สนบั สนนุ การเรียนการสอนทางไกล
สถานศึกษาสามารถเลือกใช้ Applications สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งเป็นช่องทาง
การสือ่ สารการจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล ท่เี หมาะสมตามสภาพพ้ืนท่ีของสถานศกึ ษา ดังน้ี
๑. Microsoft Teams
โปรแกรมประชมุ ออนไลนข์ อง Microsoft สำหรบั ใชพ้ ดู คุยประชมุ กันผา่ นการแชตและวิดีโอคอล
อีกทง้ั ยังสามารถเปดิ ดแู ละแก้ไขไฟลง์ านรว่ มกันไดแ้ บบเรียลไทม์ เหมาะสำหรับการใช้ทำงานในระดบั องค์กร
หรือการศกึ ษา สามารถใชง้ านไดฟ้ รี โดยการใช้ Microsoft Team แบบฟรีจะสามารถเรียนออนไลนร์ ว่ มกันได้
สงู สดุ ๑๐๐ คน นานสดุ ๖๐ นาที พรอ้ มพน้ื ทีจ่ ัดเกบ็ ไฟลค์ นละ ๑GB รองรบั การใช้งานทง้ั บนเวบ็ เบราว์เซอร์
ตดิ ตงั้ เปน็ โปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ หรอื แอปพลเิ คชั่น บนอุปกรณม์ ือถือและแท็บเลต็
๒. Zoom Meeting
โปรแกรมประชุมออนไลนแ์ บบ Video Call ท่มี ีคนใช้งานกนั มากที่สดุ ในช่วง Work from Home
ซ่งึ ทำให้องคก์ รต่าง ๆ สามารถประชุมงานพร้อมกันได้หลายคน พดู คุยแบบเห็นหน้ากนั สามารถแชร์หนา้ จอให้
คนอนื่ ดูได้ รวมทัง้ นักเรยี นนักศกึ ษาและครอู าจารย์กส็ ามารถใช้ Zoom ในการเรยี นและสอนออนไลน์ได้ด้วย
เช่นกัน
สำหรบั การใชง้ าน Basic User (โดยไม่เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย) จะรองรับการซูมพรอ้ มกันสูงสุด ๑๐๐ คน
แตม่ กี ารจำกัดระยะเวลาการประชุมไว้ที่ ๔๐ นาทตี ่อครั้ง สำหรบั Pro User (เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย) รองรับการซูม
พรอ้ มกนั สูงสุด ๓๐๐ คน และไม่จำกดั ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการประชุม
๓. Google Meet
โปรแกรมสำหรบั การประชุมทางวิดโี อแบบออนไลน์ โดยผสู้ อนท่ีมบี ญั ชี Google จะสามารถสร้าง
ห้องเรียนออนไลน์ที่รองรับนักเรียนได้สูงสุด ๑๐๐ คน และใช้สอนได้สูงสุด ๖๐ นาทีต่อการสร้าง
หอ้ ง ๑ ครัง้ นอกจากน้กี ย็ ังมฟี ีเจอรข์ ้นั สูงทรี่ องรับนักเรียนภายในหรือภายนอกชนั้ เรยี นสงู สดุ ๒๕๐ คน และ
สตรีมม่ิงแบบสดสำหรบั ใหค้ นเขา้ มาดูพรอ้ มกนั ได้สูงสดุ ถึง ๑๐๐,๐๐๐ คน
32
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
๔. LINE
LINE เป็นแอปพลเิ คชัน ท่ีนยิ มใชใ้ นการคยุ แชต การใช้ LINE สำหรบั การสอนออนไลน์ไปดว้ ยกเ็ ปน็
วิธีทสี่ ะดวก เพราะทง้ั ผเู้ รียนและผู้สอนไมจ่ ำเปน็ ต้องไปหาแอปฯ อื่น ๆ มาใช้เพิ่มเติม โดยใช้ฟีเจอร์ Group
Call ที่รองรบั สูงสุดถึง ๒๐๐ คน ใช้ได้ทั้งบน PC และมือถือ อีกทั้งสามารถแชร์ภาพหน้าจอของตัวเองให้
นกั เรยี นดไู ด้ หรอื จะใช้ฟีเจอร์ Live เพือ่ ถา่ ยทอดสดการสอนกไ็ ดเ้ ชน่ กนั
๕. Discord
Discord เป็นโปรแกรมแชตที่เป็นที่นิยมในกลุม่ คนเล่นเกม ซึ่งมีฟีเจอรท์ ี่เหมาะสำหรับใช้ใน
การเรยี นการสอนเช่นกัน คือสามารถสรา้ งหอ้ งประชมุ คุยกนั ทงั้ แบบเสยี งและแบบเปดิ กล้อง รวมท้งั สามารถ
แชรห์ น้าจอให้นักเรียนดไู ด้ แถมยงั สามารถสร้างหอ้ งแยกยอ่ ยและกดย้ายหอ้ งไปมาได้อย่างสะดวกงา่ ยดายอีก
ด้วย นอกจากนี้ Discord ยังมจี ุดเดน่ คอื สามารถใช้ไดฟ้ รี โดยรองรบั จำนวนคนต่อหอ้ งไดไ้ มจ่ ำกัด
๖. Facebook Live
การใช้ Facebook Live ในการสอนออนไลน์เปน็ อีกวธิ ีหนึ่งที่ง่ายและสะดวก เน่ืองจากคนส่วนใหญ่
มักมบี ัญชี Facebook อย่แู ล้ว จงึ สามารถสอนออนไลน์แบบถา่ ยทอดสดใหน้ กั เรยี นสามารถเขา้ มาดไู ด้แสนง่าย
แต่มขี อ้ เสยี คอื ตัวผ้สู อนจะไมส่ ามารถเหน็ หน้าจากกลอ้ งของนักเรียนแต่ละคน รวมทงั้ ไมส่ ามารถจำกดั ผู้เขา้ เรียน
ได้ แต่การแชรห์ นา้ จออาจตอ้ งใชโ้ ปรแกรมเพม่ิ เตมิ อยา่ งเชน่ OBS
๗. YouTube
YouTube เป็นอกี หน่ึงชอ่ งทางทส่ี ามารถใชถ้ า่ ยทอดสดการสอนได้เช่นเดียวกบั Facebook Live
โดยตวั ผูส้ อนจะตอ้ งมีบัญชี YouTube ส่วนผู้เขา้ เรยี นน้นั จะมีบญั ชหี รือไม่มกี ไ็ ด้ และผู้สอนสามารถตั้งค่าการ
ถ่ายทอดสดเพื่อให้เฉพาะผู้ท่ีมีลิงก์สามารถเข้าเรียนได้ ส่วนการแชร์หน้าจออาจต้องใช้โปรแกรมเพิ่มเตมิ
อย่างเชน่ OBS เหมือนกบั Facebook Live หากต้องการสตรีมแบบสดบนอุปกรณเ์ คลอ่ื นที่ ชอ่ งของผใู้ ชจ้ ะตอ้ ง
มีผ้ตู ดิ ตามอย่างนอ้ ย ๑,๐๐๐ คน จงึ จะสามารถดำเนินการแบบสดผ่านคอมพิวเตอร์และเว็บแคมได้
สมาชิก YouTube Premium จะได้เพลิดเพลินไปกบั ภาพยนตร์ฟรีท่ีมีหลากหลาย และรายการทวี ี
บน YouTube แบบไม่มโี ฆษณาค่ัน โดยจะสตรีมภาพยนตรเ์ หลา่ นใี้ นอุปกรณไ์ ด้สูงสดุ ๒ เคร่ืองพร้อมกันต่อ
บญั ชี YouTube Premium ๑ บัญชีเทา่ น้ัน และสตรีมในอปุ กรณ์ได้สูงสดุ ๔ เคร่อื งพร้อมกนั หากใช้แพ็กเกจ
YouTube Premium สำหรบั ครอบครวั
33
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๘. Google Hangouts Meet
สามารถแชทกบั เพ่อื น คยุ แบบเห็นหนา้ ได้ท้ังแบบเดย่ี วและแบบกลุ่ม เช่อื มตอ่ ไดท้ ้ังคอมพิวเตอร์
แทบ็ เลต็ หรอื ใชก้ บั สมาร์ทโฟน โดยลงช่อื เข้าใช้ดว้ ยบญั ชีของ Google เพิม่ อโี มจิ และภาพเคลื่อนไหวแบบ GIF
รับส่งข้อความ SMS/ MMS มีแจ้งเตือน เก็บบันทึกไว้หลังประชุมจบ อีกทั้งยังสามารถแชร์ Location ได้
ปัจจุบันรองรับจำนวนผู้เข้ารว่ มสูงสดุ ไดถ้ ึง ๕๐ คน โดยเปิดใช้ฟรีท้ังหมด ไม่เสียค่าใช้จา่ ย
๙. Skype
Skype เป็นโปรแกรมแชทและโทรผ่านเน็ต และสนทนาทีไ่ ด้รับความนยิ มท่ีสดุ สามารถสง่ ไฟล์
สนทนาแบบวดี โี อ อกี ท้ังยงั สามารถพูดคุย สง่ ข้อความ แบบพิมพห์ ากนั ได้โดยคู่สนทนาตอ้ งมีโปรแกรมดงั กล่าว
เชน่ กัน รองรับระบบคอมพิวเตอร์ มอื ถือ แท็บเล็ต มรี ะบบการปรับระดับเสยี งอัตโนมตั ิ แบบฟรีไม่สามารถ
ประชุมเกนิ ๑๐ คนได้ หากใช้ Skype for Business สามารถประชมุ ได้มากถึง ๒๕๐ คน
๑๐. Cisco Webex
Cisco Webex ถือเป็นต้นฉบับของโซลูชันการประชมุ วิดโี อในองค์กร (ปัจจุบันใช้ชื่อ Webex
Meetings) และภายหลงั ก็ขยายตัวมายังระบบแชทในองคก์ รด้วย (ใชช้ อ่ื Webex Teams) ฟเี จอร์ของ Webex
เรียกว่าครบถ้วนสำหรับลูกค้าองค์กร รองรับการประชุมสงู สุด ๓,๐๐๐ คนต่อห้อง และไลฟ์สตรีมสูงสดุ
๑๐๐,๐๐ คน ปัจจบุ ัน Webex มีแพ็กเกจรุน่ ฟรี สำหรบั การประชมุ ไม่เกิน ๑๐๐ คน และไมจ่ ำกัดความยาวใน
การประชมุ (ต่างจาก Zoom ทจ่ี ำกัด ๔๐ นาท)ี เข้าใชไ้ ด้ฟรี (จำกดั การประชมุ ไมเ่ กิน ๑๐๐ คน) รุ่นเสียเงิน
เริ่มต้นท่ี (ประมาณ ๔๑๕ บาท) ต่อเดือน พร้อมพ้ืนที่จัดเก็บข้อมลู บน Cloud ขนาด 5GB และรองรบั การ
เช่อื มต่อเสยี งผ่านระบบโทรศัพท์
๑๑. Padlet
Padlet คือ เว็บไซต์ท่ีให้บริการกระดานแสดงความคดิ เห็นออนไลน์ รองรับผู้ใช้หลายคน
ผู้ใชส้ ามารถเขา้ มาอภปิ รายแลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสาร เขยี นคำถาม คำตอบ หรอื สรุปเน้ือหา เป็นช่องทางแสดง
ความคิดเห็นของนกั เรยี นและครูหรือเพ่ือน ๆ ในช้ันเรยี น ได้ดีมาก วนั น้ีจึงนำโปรแกรมดี ๆ มีฝากเพื่อนครู
และผทู้ ี่สนใจลองใช้ มีแบบฟรแี ละเสียค่าใช้จ่าย
34
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
สรุป ความสามารถในการใชง้ านของแต่ละโปรแกรม
35
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
สรุป ความสามารถในการใช้งานของแต่ละโปรแกรม (ตอ่ )
36
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
แผนการเผชญิ เหตุ
37
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
สว่ นท่ี 5
แผนการเผชิญเหตุ
แผนการเผชิญเหตุ สถานศกึ ษาทุกแหง่ จะตอ้ งจดั ใหม้ ีเตรียมพรอ้ มไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการ
ซักซอ้ มอยา่ งเครง่ ครดั สมำ่ เสมอ หากพบผตู้ ดิ เชื้อ หรือพบว่าเป็นกลมุ่ เส่ียงสงู สถานศึกษาตอ้ งมีความพร้อม
ในเรื่องสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางกา ร
แพทยใ์ นพื้นท่ี รวมทั้งการสรา้ งการรบั รขู้ ่าวสารภายใน การคัดกรองเพอื่ แบง่ กลุม่ นักเรียน ครแู ละบุคลากรใน
สถานศึกษา ซงึ่ กระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้จดั ทำแผนการเผชญิ เหตใุ นคู่มือการปฏิบัติ
ตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School รายละเอยี ด ดังน้ี
ระดบั การแพร่ระบาด มาตรการปอ้ งกัน
ในชุมชน ในสถานศึกษา
ไมม่ ผี ู้ตดิ เชอื้ ไม่พบผู้ตดิ เชือ้ ครู/นกั เรยี น สถานศึกษา
ยนื ยนั ๑. ปฏบิ ัตติ ามมาตรการ DMHTT ๑. เปิดเรียน Onsite
มีผู้ตดิ เชอ้ื ไมพ่ บผ้ตู ดิ เชือ้ ๒. ประเมนิ TST เปน็ ประจำ ๒. ปฏิบัติตาม TST
ประปราย ยืนยัน
๓. เฝา้ ระวังคัดกรอง กรณเี ด็ก
พบผู้ตดิ เชอ้ื
ยืนยันใน พักนอน,เด็กพิเศษ
หอ้ งเรียน ๑
รายขน้ึ ไป ๑. ปฏิบัตติ ามมาตรการ DMHTT ๑. เปดิ เรียน Onsite
๒. ประเมนิ TST ทกุ วนั ๒. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ
TST Plus
๓. เฝา้ ระวังคัดกรอง กรณีเด็ก
พักนอน,เดก็ พิเศษ
๑. ปฏบิ ตั เิ ข้มตามมาตรการ DMHTT * ๑. ปิดหอ้ งเรยี นทพ่ี บผู้ติดเชื้อ
เน้นใสห่ น้ากาก *เว้นระยะหา่ งระหว่าง ๓ วัน เพ่อื ทำความสะอาด
บคุ คล ๑ - ๒ ม. ๒. เปิดห้องเรียนอื่นๆ Onsite
๒. ประเมนิ TST ทุกวนั ไดต้ ามปกติ
๓. ระบายอากาศทกุ ๒ ชั่วโมง กรณีใช้ ๓. สมุ่ ตรวจเฝ้าระวงั
เคร่อื งปรับอากาศ Sentinel Surveillance
๔. กรณี High Risk Contact : ทุก ๒ ครัง้ /สปั ดาห์
งดเรยี น Onsite และกักตัวทบ่ี ้าน ๔. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ
๑๔ วัน TST Plus
38
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
ระดบั การแพรร่ ะบาด มาตรการปอ้ งกัน
ในชุมชน ในสถานศึกษา คร/ู นกั เรียน สถานศกึ ษา
๕. กรณี Low Risk Contact : ๕. ปดิ หอ้ งเรียนทพ่ี บผูต้ ดิ เชือ้ ๓
ใหส้ ังเกตอาการของตนเอง และปฏิบัติ วนั เพ่ือทำความสะอาดหรอื
ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข มากกวา่ ตามขอ้ สัง่ การของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
๖. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ
TST Plus
มีผูต้ ิดเช้อื ๑. ปฏิบตั เิ ข้มตามมาตรการ DMHTT * ๑. พจิ ารณาการเปดิ เรียน Onsite
เป็นกลุ่ม เนน้ ใสห่ นา้ กาก *เว้นระยะห่างระหว่าง โดยเขม้ มาตรการทกุ มติ ิ
กอ้ น บคุ คล ๑-๒ ม. ๒. สำหรับพ้นื ที่ระบาดแบบ
๒. ประเมิน TST ทกุ วนั กล่มุ ก้อน พิจารณาปิดโดย
๓. ระบายอากาศทกุ ๒ ชว่ั โมง กรณี คณะกรรมการควบคมุ การแพร่
ใชเ้ ครื่องปรบั อากาศ ระบาดระดับพ้นื ที่ หากมี
๔. กรณี High Risk Contact : หลกั ฐานและความจำเปน็
งดเรยี น Onsite และกกั ตวั ที่บา้ น ๑๔ วัน ๓. สุ่มตรวจเฝ้าระวัง
๕. กรณี Low Risk Contact : Sentinel Surveillance
ให้สังเกตอาการของตนเอง ทุก ๒ สปั ดาห์
มกี ารแพร่ ๑. ปฏิบตั ิเข้มตามมาตรการ DMHTT ๑. พจิ ารณาการเปดิ เรยี น Onsite
ระบาดใน ๒. เฝ้าระวังอาการเสี่ยงทุกวนั Self โดย เขม้ ตามมาตรการทกุ มติ ิ
ชมุ ชน Quarantine ๒. สำหรบั พ้นื ที่ระบาดแบบ
๓. ประเมิน TST ทกุ วนั กล่มุ ก้อน พจิ ารณาปิดโดย
คณะกรรมการควบคมุ การแพร่
ระบาดระดับพ้ืนที่ หากมี
หลักฐานและความจำเป็น
๓. ส่มุ ตรวจเฝ้าระวัง Sentinel
Surveillance ทุก ๒ สัปดาห์
ทีม่ า: กระทรวงสาธารณสขุ . (๒๕๖๔). คู่มือการปฏิบัติมาตรการ Sandbox Safety Zone in School เปิดเรยี นม่ันใจ ปลอดภัย
ไรโ้ ควดิ ๑๙ ในสถานศกึ ษา.กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ .
39
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
40
แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
ส่วนที่ ๖
บทบาทของบคุ ลากรและหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ยงั คงมกี ารแพรร่ ะบาด
อยา่ งตอ่ เน่อื ง เพ่อื ใหส้ ถานศกึ ษามแี นวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน จึงกำหนดบทบาทของบุคลากรและหน่วยงานท่ี
เกยี่ วขอ้ ง ดงั น้ี
๑. บทบาทของนักเรยี น
นกั เรยี นเป็นหวั ใจสำคญั ทีต่ อ้ งได้รบั ความคมุ้ ครอง ดูแลในเร่ืองความปลอดภัยอย่างสงู สดุ ทั้งน้ี นกั เรยี น
จะต้องถือปฏบิ ตั ติ นตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธิการ อย่าง
เครง่ ครดั ต้ังแต่การเดนิ ทางออกจากบา้ นมาเรียน ขณะอยูใ่ นโรงเรยี น จนถงึ การกลบั บา้ น บทบาทของนกั เรียน
ควรมีดงั น้ี
๑) เตรียมความพรอ้ มในเรอ่ื งอปุ กรณก์ ารเรียน เครือ่ งใชส้ ่วนตัว และอน่ื ๆ ทจ่ี ำเป็นสำหรับการเรียน
การสอน
๒) ปฏบิ ตั ติ าม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสรมิ ของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธกิ าร
กำหนดอยา่ งเคร่งครดั
๓) ติดตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจของคำแนะนำในการปอ้ งกนั ตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหล่งขอ้ มูลที่เชอ่ื ถอื ได้
๔) ประเมินความเสีย่ งของตนเองผ่านแอพพลิเคช่นั Thai Save Thai (TST) อย่างสมำ่ เสมอ และสังเกต
อาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส รีบแจ้ง
ครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) หรอื กลบั จากพื้นท่เี ส่ียง และอยู่ในช่วงกกั ตวั ให้ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข
อยา่ งเคร่งครัด
๕) ขอคำปรกึ ษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกีย่ วกับการเรียน อุปกรณ์การเรียนเรยี น เคร่ืองใชส้ ่วนตัว
หรอื พบความผดิ ปกตขิ องร่างกายทอี่ าจเสีย่ งตอ่ การตดิ เชือ้ ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ทนั ที
๒. บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ครแู ละบุคลากรทางการศึกษานน้ั ซึง่ ถอื อยู่ใกล้ชดิ นกั เรียน มหี น้าทส่ี ำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้แก่
นักเรยี นทุกรูปแบบ จึงตอ้ งเตรยี มความพร้อมการจดั การเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน
นอกจากจะต้องดแู ลตนเองแล้ว ยงั ต้องดแู ลนักเรยี นอกี ดว้ ย โดยเฉพาะดา้ นสุขอนามัยตามมาตรการท่ี กระทรวง
สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนด บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ควรมดี งั นี้
๑) ประชมุ ออนไลน์(Online) ชี้แจงผูป้ กครองนักเรียนเพื่อสร้างความเขา้ ใจรว่ มกัน ในการป้องกัน
การเฝ้าระวัง การเตรยี มตัวของนกั เรียนใหพ้ รอ้ มก่อนเปดิ เรียน
41
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
๒) ประเมินความเส่ียงของตนเองผา่ นแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสมำ่ เสมอและสังเกต
อาการปว่ ยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ่ ด้กล่นิ ไม่รู้รส ใหห้ ยดุ
ปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโร คติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) หรือกลับจากพนื้ ทีเ่ ส่ยี งและอยู่ในช่วงกักตวั ใหป้ ฏิบัติตามคำแนะนำของเจา้ หน้าทสี่ าธารณสขุ อย่าง
เคร่งครดั
๓) ติดตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสรา้ งความร้คู วามเข้าใจของคำแนะนำในการปอ้ งกนั ตนเอง และลดความเสย่ี งจากการแพรก่ ระจายของโรค
ตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่เี ช่อื ถอื ได้
๔) จัดหาสื่อประชาสมั พันธใ์ นการป้องกันและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายโรคตดิ เชื้อไวรสั
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวธิ กี ารลา้ งมอื ท่ถี กู ตอ้ ง การสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กาก
อนามัย คำแนะนำการปฏบิ ตั ิตวั การเว้นระยะห่างทางสงั คม การทำความสะอาด หลกี เลยี่ งการทำกิจกรรม
ร่วมกนั จำนวนมากเพอื่ ลดจำนวนคน
๕) ปฏบิ ตั ิตาม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสรมิ ของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธิการ
กำหนดอยา่ งเคร่งครดั
๖) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยให้เป็นไปตามมมาตรการที่
กระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด ได้แก่
(๑) ทำการตรวจคดั กรองสุขภาพนักเรียนทกุ คนทเี่ ข้ามาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้เคร่ืองวัด
อุณหภูมิรา่ งกายพรอ้ มสงั เกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เชน่ ไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจ็บคอ
หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไ่ ด้กล่นิ ไม่รรู้ ส โดยติดสญั ลกั ษณ์ สติกเกอรห์ รอื ตราปมั๊ แสดงให้เหน็ ชัดเจนว่า
ผา่ นการคัดกรองแลว้
(๒) กรณีพบนักเรยี นหรอื ผมู้ อี าการมีไข้ อณุ หภมู ิรา่ งกายตงั้ แต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสขึ้นไป
ร่วมกบั อาการระบบทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอย่างหนึง่ จัดให้อยู่ในพ้นื ท่ีแยกสว่ น ประสานโรงพยาบาลส่งเสริม
สขุ ภาพประจำตำบล หรือเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสุข เพ่อื ตรวจคัดกรองอีกคร้งั หากพบว่าผลตรวจเบื้องเปน็ บวกจึง
แจ้งผูป้ กครองมารับ จากนนั้ แจง้ ผ้บู ริหารหรอื ผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้อง เพอื่ ดำเนนิ การตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการ
ปอ้ งกนั ตามระดบั การแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศึกษา
(๓) บนั ทึกผลการคดั กรองและสง่ ตอ่ ประวตั กิ ารปว่ ย ตามแบบบันทกึ การตรวจสุขภาพ
(๔) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอยา่ งเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณ
ทางเขา้ สบู่ลา้ งมือบริเวณอา่ งลา้ งมือ
๗) ตรวจสอบ กำกบั ตดิ ตามการมาเรียนของนักเรยี นขาดเรียน ถูกกกั ตวั หรืออยใู่ นกลุ่มเส่ียง ต่อการ
ตดิ โรคโควดิ 19 และรายงานตอ่ ผ้บู รหิ าร
๘) ปรับพฤตกิ รรมสำหรับนักเรยี นทีไ่ มร่ ่วมมอื ปฏิบตั ิตามมาตรการท่ีครูกำหนด ด้วยการแกป้ ญั หาการ
เรียนรู้ใหมใ่ ห้ถกู ต้อง นนั่ คือ “สร้างพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค”์ หรอื “ลดพฤติกรรมทไี่ มพ่ งึ ประสงค”์
42
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
๙) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติ
ทีม่ ีการแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) และนำกระบวนการการจัดการความเครยี ด
การฝึกสติใหก้ ลมกลืนและเหมาะสมกบั นกั เรยี นแต่ละวัยรว่ มกับการฝกึ ทักษะชวี ติ ทีเ่ สริมสรา้ งความเข้มแขง็ ทาง
ใจ (Resilience) ให้กับนักเรยี น ไดแ้ ก่ ทักษะชวี ติ ด้านอารมณ์ สงั คม และความคิด เป็นตน้
๑๐) สังเกตอารมณค์ วามเครียดของตวั เอง เนือ่ งจากภาระหน้าท่ีการดแู ลนักเรียนจำนวนมาก และกำกบั
ใหป้ ฏิบัติตามมาตรการปอ้ งกนั การตดิ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เปน็ บทบาทสำคญั อาจจะ
สรา้ งความเครียดวิตกกังวลท้งั จากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกนั ตวั เองจากการสมั ผัสกับเช้อื โรค ดังน้ัน
เมื่อครมู ีความเครียด จากสาเหตตุ ่าง ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี
(๑) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชัดเจน แนะนำให้สอบถาม
กับผบู้ ริหารโรงเรยี นหรอื เพ่อื นร่วมงาน เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจบทบาทหน้าที่และขอ้ ปฏิบตั ทิ ต่ี รงกัน
(๒) กรณีมีความวิตกกงั วล กลัวการติดเชือ้ ในโรงเรียน ให้พดู คยุ สอื่ สารถึงความไม่สบายใจ
และรอ้ งขอสิ่งจำเป็นสำหรับการเรยี นการสอนทเ่ี พียงพอต่อการปอ้ งกนั การตดิ โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) เชน่ สถานที่ สื่อการเรยี นการสอน กระบวนการเรยี นรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นตน้ หาก
ตนเองเปน็ กล่มุ เส่ยี ง หรือมโี รคประจำตวั ก็สามารถเข้ารบั การตรวจ รกั ษาตามมาตรการทก่ี ระทรวงสาธารณสุข
และกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
(๓) จัดให้มกี ิจกรรมบำบดั ความเครยี ด โดยการฝึกสตใิ หเ้ ปน็ กจิ วัตรกอ่ นเรมิ่ การเรียนการสอน
เพือ่ ลดความวิตกกังวลต่อสถานการณท์ ตี่ ึงเครยี ดน้ี
๑๑) กำกบั และตดิ ตามการได้รับวคั ซนี ของนกั เรยี นและผู้ปกครองนกั เรียนให้เป็นไปตามมาตรการท่ี
กำหนดและเป็นปจั จบุ นั
๓. บทบาทของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา
ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาเป็นผทู้ มี่ ีบทบาทสำคัญในการขับเคลอ่ื นต้ังแต่การวางแผน การกำหนดนโยบาย
สถานศึกษา การเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรียน การส่งเสริมครใู นการออกแบบการจดั การเรียนการสอน การกำกับ
ตดิ ตามช่วยเหลือ การประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอน การแกไ้ ขปญั หา การประเมนิ สถานการณ์ การรายงาน
ตลอดจนร่วมมอื กบั ครแู ละบุคลากร ผปู้ กครองนกั เรียน ให้การตรวจสอบสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เพือ่ ความปลอดภัยของนกั เรียน โดยบทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ควรมี
ดงั น้ี
๑) จดั ให้มกี ารประชมุ หารือรว่ มกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน
ผนู้ ำชมุ ชน และมมี ติใหค้ วามเหน็ ชอบร่วมกนั ในการจดั พนื้ ท่ี และรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน
๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ในโรงเรยี น
43
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๓) แตง่ ตัง้ คณะทำงานดำเนินการควบคมุ ดแู ลและป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ประกอบดว้ ย นกั เรียน ครู ผปู้ กครอง เจ้าหน้าท่สี าธารณสุข ท้องถิน่ ชุมชน และผเู้ กยี่ วขอ้ ง
๔) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมนิ ผล
ผา่ น MOE Covid
๕) ทบทวน ปรับปรุง ซักซ้อมปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุของโรงเรียนในภาวะที่มีการระบาด
ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๖) จัดให้มีการสอ่ื สารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนใหแ้ กค่ รู นักเรียน
ผูป้ กครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผา่ นชอ่ งทางสอ่ื ที่เหมาะสม และตดิ ตามขอ้ มลู ข่าวสารทเี่ กย่ี วข้อง จาก
แหลง่ ข้อมูลท่ีเชอื่ ถอื ได้
7) สนบั สนนุ ใหน้ กั เรียน ครแู ละบุคลากรไดร้ บั วคั ซนี ครบโดส ตัง้ แต่รอ้ ยละ 85 ขึน้ ไป
8) สนับสนุนใหม้ ีการตรวจคดั กรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครฐั
9) สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี น ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผปู้ กครองประเมินตนเองผา่ น Thai
Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนกเขตพน้ื ท่กี ารแพร่ระบาด
10) สอ่ื สารสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ เพ่อื ลดการรงั เกยี จ และลดการตีตราทางสังคม (Social Stigma)
กรณพี บวา่ มีบุคลากรในโรงเรียน นกั เรียน หรอื ผ้ปู กครองตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
11) กำหนดมาตรการคัดกรองสขุ ภาพทุกคน บรเิ วณจดุ แรกเขา้ ไปในโรงเรียน (Point of Entry) ใหแ้ ก่
นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพื้นที่แยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้า
หรือหน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มชอ่ งทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน
ผ้ปู กครอง และเจ้าหน้าท่สี าธารณสุข ในกรณที ี่พบนกั เรยี นกล่มุ เสยี่ งหรือสงสัย
12) จดั ใหน้ กั เรยี นสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มคี ุณภาพเหมาะสมตามบรบิ ทไดอ้ ย่างต่อเนื่อง
ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรยี นการสอนทางไกล
สื่อออนไลน์ การติดต่อทางโทรศพั ท์ หรอื Social Media เปน็ รายวนั หรอื รายสปั ดาห์
13) กรณพี บนักเรยี น ครู บคุ ลากร หรือผปู้ กครองอยใู่ นกลุ่มเส่ยี งหรอื ผู้ป่วยยืนยนั เข้ามาในโรงเรยี น ให้
รบี แจง้ เจา้ หน้าที่สาธารณสุขในพ้นื ทเี่ พือ่ ดำเนนิ การสอบสวนโรค และพิจารณาดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ
และมาตรการป้องกันตามระดบั การแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศกึ ษา
14) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิที่ควรได้รับ
กรณพี บอยู่ในกลุม่ เสยี่ งหรืออยใู่ นช่วงกักตัว
15) ควบคุม กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดําเนินงาน ตามมาตรการป้องกัน
การแพร่ระบาดภายในโรงเรยี นอย่างเครง่ ครดั และตอ่ เนอ่ื ง
๑๖) เย่ียมบ้าน สร้างขวญั กำลังใจนักเรียน ทงั้ นกั เรียนทีม่ าเรียนแบบปกติ และท่ีไม่สามารถมาเรียน
แบบปกติได้
44
แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
๔. บทบาทของผ้ปู กครองนกั เรียน
ผู้ปกครองนักเรยี นเป็นบุคคลท่มี ีสำคญั ยง่ิ มีหน้าทตี่ ้องดูแลเอาใจใส่นักเรยี นและตนเอง ในด้านสุขอนามัย
และการปอ้ งกนั ความเสี่ยงจากการแพรร่ ะบาดของเช้ือโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) อย่างเคร่งครัด
ต้องให้ความร่วมมือกบั โรงเรียน ครปู ระจำชั้น หรอื ครทู ่ปี รึกษา เกย่ี วกบั มาตรการการดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง
นักเรียนจึงมีบทบาทสำคัญร่วมกบั ครูเพ่ือชว่ ยนักเรียนทั้งในเรื่องการเรียนรู้ และการดูแลความปลอดภัยของ
นกั เรยี น บทบาทของผูป้ กครองนักเรยี น ควรมีดังนี้
๑) ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการปอ้ งกันตนเอง และลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของโรค
ตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีเช่อื ถอื ได้
๒) ประเมินความเส่ยี งของตนเอง นักเรียน และคนในครอบครวั ผ่านแอปพลิเคชัน Thai Save Thai
(TST) อย่างสมำ่ เสมอ สังเกตอาการป่วยของนักเรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการไข้ ไอ มี
น้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ไดก้ ลิ่น ไม่รูร้ ส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเดก็ ไมใ่ ห้ไปเลน่
กับคนอนื่ ให้พกั ผ่อนอย่ทู บี่ ้านจนกว่าจะหายเปน็ ปกติ กรณีมคี นในครอบครัวป่วยดว้ ยโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) หรือกลับจากพื้นทีเ่ ส่ยี งอยใู่ นช่วงกักตัวใหป้ ฏบิ ัตติ ามคำแนะนำของเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข
อย่างเคร่งครดั
๓) จดั หาของใช้สว่ นตัวใหน้ กั เรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวนั เชน่ หนา้ กากผ้า
ชอ้ น ส้อม แกว้ น้ำ แปรงสฟี นั ยาสฟี ัน ผา้ เช็ดหนา้ ผ้าเช็ดตวั เปน็ ต้น
๔) จดั หาสบ่หู รือเจลแอลกอฮอลแ์ ละกำกับดูแลนักเรียนให้ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ กอ่ นกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเล่นกับเพื่อน
และเม่อื กลบั มาถงึ บ้าน ควรอาบน้ำ สระผม และเปลี่ยนชดุ เสื้อผ้าใหมท่ นั ที
๕) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรยี มอาหารปรงุ สุก ใหม่ ส่งเสรมิ ให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ
๕ หมู่และผัก ผลไม้ ๕ สี และควรจดั อาหารกล่อง (Box Set) ใหแ้ ก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซือ้ จากโรงเรียน
(กรณที ีไ่ มไ่ ดร้ บั ประทานอาหารเชา้ จากทีบ่ า้ น) เพอ่ื เสรมิ สร้างภูมคิ มุ้ กนั ออกกำลงั กาย อย่างน้อย ๖๐ นาที
ทกุ วนั และนอนหลับอยา่ งเพียงพอ ๙ - ๑๑ ช่ัวโมงต่อวัน
๖) หลีกเลี่ยงการพานักเรียนไปในสถานเส่ียงตอ่ การตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) สถานท่ี
แออดั ทม่ี ีการรวมกนั ของคนจำนวนมาก หากจำเป็นตอ้ งสวมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั ล้างมือบ่อย ๆ
๗ ขัน้ ตอน ดว้ ยสบู่และน้ำนาน ๒๐ วนิ าที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์
๗) กรณนี กั เรยี นเดินทางมาโรงเรยี น โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรอื รถอ่ืน ๆ ผู้ปกครองและโรงเรียนต้องขอ
ความรว่ มมอื กบั คนขับรถใหป้ ฏิบัติตามมาตรการของสาธารณสขุ อย่างเคร่งครดั
๘) กรณมี กี ารจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการ
ดูแลจัดการเรยี นการสอนแก่นกั เรยี น เชน่ การสง่ การบ้าน การร่วมทำกิจกรรม เป็นต้น
45
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๕. บทบาทขององคก์ รสนบั สนุน
๕.๑ สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
๑) ประชาสัมพันธส์ รา้ งความรู้ความเข้าใจให้โรงเรียนในสังกัด เก่ยี วกับการปอ้ งกนั ตนเอง การดูแล
สุขอนามยั ของตนเอง และบุคคลในครอบครวั
๒) ประสานงานองคก์ รตา่ ง ๆ ในเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาในการชว่ ยเหลือสนบั สนนุ โรงเรยี น
๓) นิเทศ กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสงั กัดดา้ นการบริหารโรงเรยี นภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๔) กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการได้รับวัคซีน
ของนกั เรียน ครู ผู้บรหิ ารโรงเรยี น และผู้ปกครองนกั เรยี นให้ไดร้ บั วัคซนี ตามมาตรการทก่ี ำหนด
๕) รายงานผลการดำเนินการตอ่ หน่วยงานต้นสงั กดั ใหท้ ราบความเคลอ่ื นไหวอย่างตอ่ เนอ่ื ง สม่ำเสมอ
๖) ประชุม ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา สร้างขวัญกำลังใจในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน
ทัง้ แบบปกตแิ ละแบบทางไกล
๕.๒ สำนักงานสาธารณสขุ
๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัตขิ องสถานศึกษา สนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียนให้
สอดคล้องตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด
๒) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วดั อุณหภูมิ
หน้ากากอนามัย เจลลา้ งมอื ฯลฯ
46
แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)