The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wijit.kaew0295, 2021-09-17 09:00:21

E-Book เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิต

E-Book เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิต

Keywords: เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิต

สือ่ การเรยี นการสอน E – Book
เร่อื ง เศรษฐศาสตร์เพ่อื ชวี ิต

โดย

นางสาวสพุ ิชญา แกว้ วิจติ ร
ตาแหน่งครู

กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม

แนะนำครู

 ครสู พุ ชิ ญา แก้ววจิ ิตร
 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา

ศาสนา และวฒั นธรรม
 Website: gg.gg/kru-supitchaya

สำรบญั

เรอ่ื ง หนา้
คานา 1
มาตรฐานเรยี นรู้ / ตัวชีว้ ดั 2
สาระการเรยี นรู้ 3
คาชี้แจงการใชช้ ุดกจิ กรรม 4
การออมและการลงทนุ 5
การผลิตสนิ ค้าและบริการ 19
การคมุ้ ครองผบู้ ริโภค 43

คำนำ

สื่อการสอน E-Book เร่ือง เศรษฐศาสตร์เพ่ือชีวิต
รหัสวิชา ส22101 รายวิชา สังคมศึกษา3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
ชุดนี้จัดทาขึ้นเพอื่ ประกอบการเรียนการสอนสาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่ึงชุด
กิจกรรมท่ีจัดทาขึ้นน้ี ได้กาหนดเน้ือหาและจุดประสงค์การเรียนรู้
จานวน 3 เรื่อง ได้แก่

การออมและการลงทุน
การผลติ สนิ ค้าและบริการ
การค้มุ ครองผู้บริโภค
ได้จัดให้มีเนื้อหาและ วิธีการเรยี นรทู้ ่ีเป็นระบบ โดยเรียนรู้จากง่ายไป
หายากและเกิดทักษะในการปฏิบัติตนในชีวิตประจาวัน และนาไปใช้
อย่างถูกต้อง ซ่ึงผู้เรียนและผู้สนใจสามารถศึกษาเน้ือหาและ
ประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามข้ันตอนที่กาหนดไว้ในชุด
กิจกรรม

ผู้จัดทาหวังว่าสือ่ การสอน E-Book เร่อื ง การออมและการ
ลงทุน รหสั วิชา ส22101 รายวิชาสงั คมศกึ ษา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาหรบั นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปี
ท่ี 2 คงจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียนและผู้สนใจนาไปพฒั นาการเรียนรู้
ต่อไป

เศรษฐศำสตร์เพือ่ ชวี ิต

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการ
ทรัพยากรในการผลติ และการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการดารงชีวิตอย่างมี
ดลุ ยภาพ

ตวั ชวี้ ดั
ม.2/1 วเิ คราะห์ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การลงทุนและการออม
ม.2/2 อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ และปัจจัยที่
มีอทิ ธิพลต่อการผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร
ม.2/3 เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถ่ินตาม
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ม.2/4 อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนเองใน
ฐานะผู้บริโภค

เศรษฐศำสตร์เพอื่ ชวี ิต

สาระการเรยี นรู้
ความหมายและความสาคญั ของการลงทนุ และ
การออม
ปัจจยั ของการลงทุนและการออม
ปัญหาของการลงทนุ และการออมในสังคมไทย
ความหมาย ความสาคญั ของการผลติ สนิ ค้า
และบรกิ าร
ปัจจยั ทมี่ ีอิทธพิ ลต่อการผลติ สินค้าและบริการ
การประยุกตใ์ ช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ในการผลติ สินคา้ และบรกิ ารในท้องถน่ิ
ความรู้เบอื้ งต้นเกย่ี วกบั การคุ้มครองผบู้ ริโภค
กฎหมายค้มุ ครองผู้บริโภค
หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งกับการค้มุ ครองผู้บริโภค

คำช้แี จงกำรใช้ชุดกจิ กรรม

ขนั้ ตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนร้ผู ู้เรียนควรปฏบิ ัติ
1. อ่านคาช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจ
และปฏบิ ัติ
2. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้
และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ ห้เข้าใจ
3. ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความซื่อสัตย์ มีวินัยและมีความ
รบั ผดิ ชอบ
4. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นจานวน 10 ขอ้
5. ศึกษาประเด็นความรู้ ทาใบงาน และทากิจกรรม
เสริมเติมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หากไม่เข้าใจให้
ทบทวนใหมห่ รอื ปรึกษาครผู ู้สอน
6. ทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ข้อ จากนั้นนา
คะแนน เปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบก่อน
เรียน เพื่อทราบความก้าวหน้าของตนเองในชุด
กจิ กรรมนี้

กำรออมและกำรลงทุน

สารบญั
 มาตรฐานเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั / สาระการเรยี นรู้
 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

http://gg.gg/pretest-u01
 Question

 การออม
 การลงทุน
 ปัจจัยของการออม
 ปัจจยั ของการลงทนุ
 ใบงาน เร่อื ง การออมและการลงทุน

http://gg.gg/work-u01
 วดิ ีโอ เร่ือง การออมและการลงทุน
 แบบทดสอบหลังเรยี น

http://gg.gg/post-test-u01

กำรออมและกำรลงทนุ

มำตรฐำนกำร
เรยี นรู้

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการ
ทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภคการใชท้ รัพยากรทม่ี ี
อยจู่ ากดั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวิตอย่างมี
ดลุ ยภาพ

ตวั ช้วี ัด

ม.2/1 วิเคราะหป์ จั จยั ที่มีผลตอ่ การลงทนุ และการออม

Question

กำรออม

การออม

การออม คือ รายได้เมื่อหักรายจ่ายแล้ว
จะมีส่วนซ่ึงเหลืออยู่ ส่วนของรายได้ท่ีเหลืออยู่ซึ่ง
ไม่ ไ ด้ ถู ก ใช้ ส อยอ อ ก ไ ป นี้ เ รี ยก ว่ า เ งิ น อ อ ม
Incomes-Expenses=Savings โดยท่ัวไป การออม
จะเกิดขึ้น ก็ต่อเม่ือบุคคลน้ันมีรายได้มากกว่าการ
จ่ายของเขา ทางท่ีจะเพิ่มเงินออมให้แก่ บุคคล อาจ
ทาได้โดย การพยายามหาทางเพ่ิมรายได้ให้มากขึ้น
ด้วยการทางานมากขึ้น ใช้เวลาว่างในการหารายได้
พิ เ ศ ษ ห รื อ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ง า น ท่ี ท า อ ยู่ ให้ มี
ประสิทธิภาพมีรายได้สูงขึ้น เป็นต้น นอกจากนั้น
การลดรายจ่าย ลงด้วยการรู้จักใช้จ่าย เท่าที่จาเป็น
และเหมาะสมก็จะทาให้มกี ารออมเกิดขึ้นได้เหมือน

กำรออม

ความสาคญั ของเงินออม

เงินออมเป็นปัจจัยท่ีจะทาให้เป้าหมายซึ่ง
บุคคลกาหนดไว้ในอนาคตบรรลุจุดประสงค์ เช่น
กาหนดเปา้ หมายไว้ว่า จะตอ้ งมีบา้ น เปน็ ของตนเอง
ในอนาคตให้ได้ เงินออมจะเป็นปัจจัยสาคัญที่
ก า ห น ด เ ป้ า ห ม า ย ที่ ว า ง ไ ว้ เ ป็ น จ ริ ง ขึ้ น ม า ไ ด้
นอกจากน้ีเงินออม ยังใช้สาหรับแก้ไขปัญหา ความ
เดือดร้อนทางการเงิน ที่อาจเกิดขึ้นอย่างคาดไม่ถึง
ของบุคคลได้ด้วย ดังน้ันบุคคลจึง ควรมีการออม
อย่างสม่าเสมอในชวี ติ

กำรลงทุน

การลงทนุ

การลงทุน หมายถึง การนาเงินที่เก็บ
สะสมไปสร้างผลตอบแทนท่ีสูงกว่าการออมปัจจุบัน
ให้ได้รับผลตอบแทนจากการใช้จ่ายนั้นในอนาคต
ซ่ึงผู้ลงทุนเช่ือว่า เงินสดหรือผลตอบแทนส่วนเพ่ิมท่ี
จะได้รับคืนน้ัน จะสามารถชดเชยระยะเวลา อัตรา
เงินเฟ้อ และความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึนได้อย่างคุ้มค่า
หรืออาจกล่าวได้ว่า การลงทุนเป็นการออมเพื่อให้
ได้รับผลตอบแทนท่ีมากข้ึน โดยที่จะต้องยอมรับ
ความเส่ยี งทีเ่ พมิ่ ขนึ้ เชน่ กัน ดังน้นั การตดั สนิ ใจลงทนุ
จึงต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ และศึกษาหาข้อมูล
ที่เก่ียวข้องเป็นอย่างดี เพ่ือให้ได้รับผลตอบแทน
ตามท่ีคาดหวังไว้และ เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดข้ึน
จากการลงทุน

กำรลงทนุ

ความสาคัญของการลงทนุ

การลงทุนถือเป็นการเพ่ิมค่าของเงิน ทาให้ผู้
ลงทุนได้รับผลกาไรหรือผลตอบแทนจากการลงทุน
ทาให้ผู้ลงทุนเองมีรายได้ในรูปของดอกเบ้ีย เงินปัน
ผล รายไดจ้ ากค่าเช่า แต่อานาจเงนิ ในมอื เรา ก็ยงั คง
อยู่ ไม่ลดลง เนื่องจากเราได้นาต้นไปลงทุนจน
เกิดผลงอกเงยเกิน สร้างความม่ังค่ังได้รวดเร็ว
นอกจากน้ีเงินลงทุนยังมีความสาคัญต่อระบบ
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศด้วย เพราะเงินทุกคน
ลงทุนน้ันจะหมุนเวียนไปยังผู้ขาดแคลนเงินทุน เพ่ือ
พัฒนาหรือขยายธุรกิจท้ัง เช่น การสร้างโรงงาน
การซื้อเครอ่ื งจกั ร การจา้ งแรงงาน เปน็ ต้น

ปัจจยั ของกำรออม

1. ผลตอบแทนที่ผู้ออมได้รับจากการออ ม
หมายความว่าถ้าย่ิงผลตอบแทนในการออมเพ่ิม
มากขึ้นเท่าใด ก็จะเป็นส่ิงดึงดูดใจให้บุคคลมี
การออมเพิ่มมากข้ึนเท่าน้ัน เช่น ในภาวะที่
รัฐบาล กาหนดให้ ธนาคารพาณิชย์ ทุกแห่งลด
อัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจา ทุกประเภทลง
ทั้งยังเก็บดอกเบี้ยภาษีเงินฝากอีก จึงทาให้
ระดับเงินออมของธนาคารพาณิชย์ มีแนวโน้ม
ลดลงเปน็ อย่างมาก

ปจั จัยของกำรออม

2. มูลค่าของอานาจซื้อของเงินในปัจจุบัน ผู้ออมจะ
ตัดสินใจทา การออมมากขึ้นภายหลังจาก การ
พจิ ารณาถึง อานาจซ้ือของเงนิ ทม่ี ีอยใู่ นปัจจุบนั ว่า
จะมคี วามแตกต่างจากมลู คา่ ของเงนิ ใน อนาคตมัก
หมายความว่าจานวนเงิน 1 บาท ซื้อสินค้าและ
บริการ ได้ในจานวนใกล้เคียง หรือเท่ากับการใช้
เงิน 1 บาทซื้อสินค้าหรือบริการในอีก 2-3 ปี
ข้างหน้าหรือมากกว่านั้น ในทางตรงกันข้าม ถ้า
ท่านว่าการเก็บเงินออมไว้โดยไม่ยอมซื้อสินค้า
ขณะน้ี ท่านอาจจะสูญเสียความพอใจ ที่ควรได้รับ
จ า ก ก า ร ซ้ื อ สิ น ค้ า ใ น ปั จ จุ บั น ม า ก ก ว่ า
ผลตอบแทนที่ได้รับจาก การออม ท้ังยังเสียเวลา
คอยที่จะซื้อสินค้าในอนาคต ท่ีอาจมีราคาสูง
มากกว่า อัตราผลตอบแทน ท่ีได้รับอีกด้วย ดังนั้น
ถ้าทา่ นพอใจทจี ะซ้อื สินคา้ ในวันน้มี ากกว่าการหวัง
ผลตอบแทนท่ีจะได้รับเพิ่มข้ึนในอนาคต ท่านก็จะ
มี การออมลดลง

ปัจจัยของกำรออม

3. รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ ผู้ที่มีรายได้คงท่ีแน่นอน
เป็นประจาทุกเดือนในจานวนท่ีไม่สูงมากนัก
เช่น ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงาน
บริษัทเอกชนระดับต่า จานวนเงินออมท่ีกันไว้
อาจเป็นเพียงจานวนน้อยตามอัตราส่วนของ
รายได้ท่ีมีอยู่ ซึ่งต่างจากจานวนเงินออมของ
ผู้บริหารระดับสูง หรือนักการเมืองที่จะมีเงิน
เหลือออมได้มากกว่า ดังน้ันในระหว่างที่ท่านมี
รายได้มากกว่าปกติ หรือในขณะที่ท่านมี
ความสามารถ หารายได้ได้ อยู่จึงควรจะมี การ
ออมไว้เพ่ือป้องกัน ปัญหาทางการเงิน อันอาจ
เกดิ ข้นึ ได้ดงั กลา่ วแลว้

ปัจจัยของกำรออม

4. ความแน่นอนของจานวนรายได้ในอนาคตหลัง
การเกษียรอายุ ถ้าผู้มีรายได้ทุกคนทราบได้
แ น่ น อ น ว่ า เ ม่ื อ ใ ด ก็ ต า ม ท่ี ท่ า น ไ ม่ มี
ความสามารถหารายได้ได้อีกตอ่ ไป ท่านก็จะไม่
มีปัญหาทางการเงิน เกิดขึ้น หรือถ้ามีก็ไม่ใช่
ปัญหาท่ีรุนแรงมากนัก เน่ืองจากหน่วยงานที่
ทา่ นเคยทางานอยู่ มนี โยบายชว่ ยเหลือ ทา่ นใน
วัยชราหลัง เกษียรอายุ หรือภายหลังออกจาก
งานก่อนกาหนด เช่น นโยบายการให้บานาญ
บ า เ ห น็ จ เ งิ น ช ด เ ช ย เ ป็ น ต้ น ดั ง นั้ น
ผอู้ อมอาจมีการออมลดลง เพื่อกันเงินไว้ใช้จ่าย
มากข้ึนโดยไม่ทาให้จานวนเงินรวมในอนาคต
กระทบกระเทือนแตป่ ระการใด

ปจั จัยของกำรลงทนุ

ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ถือเป็นปัจจัยสาคัญท่ีสุดท่ี
ส่งผลกระทบต่อการลงทุนในหลักทรัพย์ ปัญหา
ทางเศรษฐกิจอาจสง่ ผลกระทบตอ่ ปัญหาอน่ื ๆ ได้
อีกมากมาย และก่อให้เกิดผลกระทบทาง
จิตวิทยาต่อผู้ลงทุนได้มากที่สุด ปัจจัยทาง
เศรษฐกจิ ทีผ่ ลู้ งทุนควรคานึงถงึ ได้แก่

สภาพคล่องทางการเงิน เม่ือใดก็ตามที่เกิด
ปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน หมายความว่า
ธุรกิจหรือกิจการท้ังหลายขาดเงินหมุนเวียนที่จะ
ใช้ในการดาเนินงาน ย่อมก่อให้เกิดปัญหาอ่ืนๆ
ตามมา

ปจั จัยของกำรลงทนุ

อัตราดอกเบ้ีย เมื่อเกิดปัญหาสภาพคล่องทาง
การเงิน อัตราดอกเบ้ียจะขยบั ตัวสูงขึ้น ทาให้ต้นทุน
การผลิตของกิจการหรืออุตสาหกรรมต่างๆ สูงขึ้น
ตามไปด้วย ในทางตรงกันข้าม หากสภาพคล่องทาง
การเงินมีมาก อัตราดอกเบี้ยจะลดต่าลง ผู้คนใน
สังคมจะมีกาลังซื้อมากข้ึน ส่งผลให้อุตสาหกรรม
ขยายตัว ธุรกิจต่างๆ รวมถึงการลงทุนในหลักทรัพย์
ก็จะได้รบั ผลดตี ามไปด้วย

อัตราแลกเปล่ียนเงินตราระหว่างประเทศ หรือ
ค่าเงิน ปัญหาอัตราแลกเปล่ียนเงินตราระหว่าง
ประเทศจะเกิดข้ึนเฉพาะอุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพา
วตั ถุดบิ จากต่างประเทศ หากค่าของเงินบาทอ่อนตัว
ลง ย่อมทาให้ค่าใช้จ่ายในการสั่งสินค้าเข้ามาผลิต
หรือจาหน่ายสูงขึ้นตามไปด้วย แต่สาหรับกิจการท่ี
ส่งออกสินค้าหรือบริการอาจได้รับผลดี อย่างไรก็
ตาม สาหรับประเทศไทยซ่ึงอุตสาหกรรมส่วนใหญ่
ตอ้ งพึ่งพาการนาเขา้ วัตถุดิบ

ปัจจยั ของกำรลงทนุ

ภาวะเศรษฐกิจต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะ
เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า หากอยู่ในสภาพดี ความ
ต้องการสินค้าย่อมมีมากข้ึน ส่งผลดีต่อยอดขายและเม็ด
เงินท่ีกลับเข้ามาในประเทศไทย ในทางตรงข้าม หาก
เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าประสบปัญหา จะทาให้ยอด
จาหน่ายสินค้าและบริการของอุตสาหกรรมต่างๆ ของ
ประเทศลดน้อยลง ซ่ึงจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจของประเทศโดยรวม

 ปัจจัยทางการเมือง เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคา
หุ้นได้อย่างรวดเร็วและรุนแรง โดยเฉพาะอย่างย่ิงปัจจัย
การเมืองในประเทศ เน่ืองจากรัฐบาลเป็นผู้กาหนด
นโยบายต่างๆ ท่ีมีผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจ ไม่ว่า
จะเป็นการกาหนดอตั ราภาษี การส่งเสริมการลงทุน การ
หาตลาดต่างประเทศ เป็นตน้

วิดีโอ
เรือ่ ง การออมและการลงทุน

แหล่งท่มี า : https://www.youtube.com/watch?v=-mqi5KXKjyQ&t=8s

สารบญั
•มาตรฐานเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวดั / สาระการเรยี นรู้
•แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
•ความหมายของการผลติ สินค้า
•สินค้าและบรกิ าร
•ปจั จยั การผลติ สินค้าและบริการ
•ตวั อย่างการผลติ สนิ ค้าในทอ้ งถิ่น
•ตวั อยา่ งการบริการในทอ้ งถ่นิ
• ใบงานความหมายและประเภทของปัจจยั

การผลติ สินค้าและบรกิ าร

สารบัญ (ต่อ)

• ปจั จัยทมี่ อี ิทธิพลต่อการผลติ สินคา้ และบรกิ าร
• สาเหตุทตี่ อ้ งใชเ้ ทคโนโลยีในการผลิตสนิ คา้

และบริการ
• ตวั อยา่ งการใช้เทคโนโลยีในการผลิตและบริการ
• ปจั จัยอนื่ ๆท่มี ผี ลตอ่ การผลติ สนิ คา้ และบริกา
• ผลิตภณั ฑใ์ นชุมชน
• วิดโี อ หนา้ ท่ีในฐานะผู้ผลิตและผ้บู รโิ ภค
• ใบงาน ผลติ ภัณฑใ์ นชุมชน
• กิจกรรมที่ 1 มาลองผลติ สนิ คา้ กันไหม
• กิจกรรมที่ 2 ทอ้ งถน่ิ เรามีอะไร
• แบบทดสอบหลังเรียน

 มาตรฐานการเรียนรู้

o มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและ
การบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการดารงชีวิตอย่างมีดุลย
ภาพ

 ตัวชี้วัด

o ม.2/2 อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ
ผลติ สินคา้ และบรกิ าร

o ม.2/3 เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

 สาระการเรยี นรู้

o ความหมายและประเภทของปจั จัยการผลติ สินค้าและบริการ

o ปจั จยั ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ การผลติ สินค้าและบริการ

o ความหมายของการบรโิ ภคและปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธิพลต่อพฤติกรรมของผบู้ ริโภค

o หลกั การบริโภคที่ดี

o ผลติ ภณั ฑ์ในชมุ ชน

o การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสินค้าและบริการใน
ท้องถ่นิ

การผลิต หมายถึง การนาเอาปัจจัยการผลิตอันได้แก่
ที่ดิน ทุน แรงงาน และความสามารถในการประกอบการมาผ่าน
กระบวนการอย่างใดอย่างหน่ึงภายใต้เทคโนโลยีระดับหนึ่ง
ผสมผสานกันเพื่อให้เกิดสินค้าและบริการเพ่ือตอบสนองความ
ต้องการของมนุษย์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การผลิต เป็น
กระบวนการเพิ่มคุณค่าหรือประโยชน์ทางเศรษฐกิจ (economic
utility) ใหก้ ับปัจจัยการผลติ ตา่ งๆ เพ่อื ตอบสนองความต้องการของ
มนษุ ย์ให้เกิดประโยชน์มากทส่ี ดุ ตวั อย่างของการผลิต ได้แก่ การนา
ขา้ วเปลือกมาผา่ นกระบวนการสีเป็นข้าวสาร การเอาด้ายมาทอเป็น
ผ้าผืน การให้บริการทางการแพทย์ การศึกษา การขนส่ง ฯลฯ จาก
ที่กล่าวมาแล้ว การผลิตจะต้องประกอบไปด้วยการทาให้เกิดสินค้า
หรือบริการอย่างใด อย่างหน่ึงซ่ึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ในทาง
เศรษฐกจิ ทเี่ รียกว่า อรรถประโยชน์ โดยอาศัยแรงงานของมนษุ ย์ ท้ัง
กาลังกายและกาลังความคิด แรงงานของสัตว์ หรือเครื่องมือ
เครือ่ งจกั รต่างๆ

สินคา้ และบรกิ าร (goods and services)
คือ สิ่งท่ีได้จากการทางาน ร่วมกันของปัจจัยการผลิตต่างๆ
เป็นสิ่งท่ีมีอรรถประโยชน์ (utility) มากกว่าศูนย์ สามารถ
สนองความต้องการของผู้บริโภคได้ ไม่ว่าความต้องการน้ัน
จะขัดต่อสุขภาพอนามัยหรือศีลธรรมอันดีงามหรือไม่ก็ตาม
อาทิเช่น ทองรูปพรรณ ตาราเรียน เทปเพลง ยาแอสไพริน
บริการตรวจรกั ษาโรค บุหร่ี ฯลฯ
เศรษฐทรัพย์ (economic goods) คือ สินค้าท่ีมีต้นทนุ โดย
ปกติผู้บริโภคจะเป็นผู้จ่ายค่าสินค้าโดยตรง แต่บางกรณี
ผู้บริโภคกับผู้จ่ายค่าสินค้าอาจเป็นคนละคน ซึ่งได้แก่เศรษฐ
ทรัพย์ท่ีได้จากการบริจาค หรือจากการให้โดยเสน่หา หรือ
จากการท่ีรัฐบาลจัดหามาให้ ซึ่งเรียกว่า “สินค้าให้เปล่า”
(ซึง่ ไม่ใช่สินคา้ ไร้ราคา)
ทรัพย์เสรี คือ ทรัพย์ที่มีอยู่ดาษดื่นท่ัวไป และไม่ต้องซื้อขาย
เช่น แม่นา้ ทะเล อากาศ แสงแดด ลม

ปัจจัยการผลิต หมายถึง ทรัพยากรท่ีใช้เพื่อการ
ผลิตเป็นสินค้าและบริการ ในความหมายทางเศรษฐศาสตร์
แบ่งปจั จัยการผลิตเป็น 4 ประเภท ดงั นี้





การผลิตสินค้าและบริการเพ่ือให้ได้
ผลผลิตท่ีดีมีคุณภาพและได้ผลผลิต จานวน
มาก ผู้ผลิตจะต้องเลือกปัจจัยการผลิตที่
เหมาะสม นอกจากนี้ยังต้องใช้ เทคโนโลยีที่
ทนั สมัยเพอ่ื เพิ่มศกั ยภาพในการผลิตสินค้าและ
บรกิ ารน้นั ๆด้วยนะคะ

เทคโนโลยีเพื่อการผลิตสินค้าและบริการ หมายถึง
การนาความรู้ วิทยาการ และประสบการณ์ต่างๆ มาประยุกต์ใช้
เพ่ือช่วยในการผลิตสินค้าและบริการ รวมทั้ง การคิดค้นหา
วิธีการนาทรัพยากรมาใช้ในด้านใหม่ ๆ เพ่ือให้ใช้ทรัพยากรอย่าง
มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น รถเก่ียวข้าว เครื่องสูบน้า เคร่ืองอบ
เครอื่ งบรรจุ สินค้า เปน็ ตน้







ในการผลิตสินคา้ และบริการ ผูผ้ ลติ ตอ้ ง
คานงึ ถงึ ปจั จัยท่ีมอี ิทธิพลตอ่ การผลิต ดงั นี้



ชุมชนแต่ละแหง่ มที รพั ยากรที่แตกต่างกัน ทาให้แต่ละชุมชน
ประกอบอาชีพที่แตกต่างกัน สินค้าและบริการส่วนใหญ่ท่ีผลิตในชุมชน
จะเป็นสินค้าท่ีนาทรัพยากรท่ีมีอยู่ในชุมชนมาเป็นปัจจัย ในการผลิต
เพ่อื ประโยชนด์ ังต่อไปนี้







หมู่บ้าน / ชุมชนพอเพยี ง
ชือ่ หมู่บา้ น .............................................................
ประวตั หิ ม่บู า้ น/ชมุ ชนพอเพยี ง

ปจั จัยท่ที าให้หมบู่ ้าน/ชุมชนพอเพียงประสบความสาเรจ็

วเิ คราะห์การบรหิ ารการจดั การของหมู่บา้ น ..............................................
ที่นาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้

ควำม
พอประมำณ

ควำมมเี หตุผล

กำรมีภูมิคุม้ กนั ใน
ตัวทีด่ ี

ควำมรู้

คุณธรรม

กจิ กรรมท่ี 1
มำลองผลิตสินคำ้ กันไหม
คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนแบง่ กล่มุ กล่มุ ละ 5 คน ตั้งชอื่ กลุ่ม แบง่ หน้าที่ต่างๆ
แลว้ วาดภาพหรอื จัดหารูปภาพสินคา้ ที่นกั เรยี นต้องการผลติ หรอื ให้บริการ
มา 1 อย่าง รว่ มกันบอกปจั จัยการผลติ แล้วตอบคาถาม

1. ปจั จยั ในการผลติ ได้แก่
1. 1 ทีด่ ิน .........................................................................

1. 2 แรงงาน....................................................................
1. 3 ทุน ............................................................................
1.4 ผ้ปู ระกอบการ.....................................................................

2. เหตผุ ลที่ต้องการผลติ และให้บรกิ าร
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................

3. นกั เรียนคิดว่าสินค้านจี้ ะตง้ั ราคาขายไว้ท่ีเทา่ ใด .....................................................
เหมาะสม เพราะ.............................................................................................................
ไม่เหมาะสม เพราะ .......................................................................................................

4. นักเรยี นคิดวา่ ถ้านา้ มันข้นึ ราคา จะมผี ลกระทบต่อการผลิตสนิ คา้ ของนกั เรียน
หรือไม่ เพราะ .............................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................

กิจกรรมท่ี 2
ทอ้ งถ่ินเรำมอี ะไร

คาชี้แจง ให้นักเรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน ตั้งช่อื กลมุ่ แบ่งหน้าทตี่ ่างๆ
ชว่ ยกันสารวจการผลิตสินค้าและบริการทีอ่ ยู่ในชมุ ชน บนั ทึกข้อมลู และนาเสนอ
ในชัน้ เรยี น ในประเดน็ ต่อไปนี้

1. ชือ่ สนิ คา้ /บรกิ าร

...........................................................................................................................

2. ประโยชนข์ องสินค้า/บริการ

...........................................................................................................................

...........................................................................................................................

3. ปัจจัยการผลิตสินคา้ /บรกิ าร

...........................................................................................................................

...........................................................................................................................

4. กลมุ่ ผู้ผลิตได้แก่ ..........................................................................................

5. สินคา้ ชนดิ น้ี

ใชเ้ ทคโนโลยใี นการผลติ ไม่ใช้เทคโนโลยใี นการผลติ

6. เทคโนโลยีทีใ่ ชใ้ นการผลิตสนิ คา้ /บรกิ าร

...........................................................................................................................

...........................................................................................................................

7. ทรัพยากรในทอ้ งถิ่นทน่ี ามาใช้
...........................................................................................................................
8. วิธีชว่ ยสนับสนุนสินคา้ /บริการในท้องถิน่
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
9. ความรู้สกึ ของสมาชกิ ในกลมุ่ ทีม่ ตี ่อสนิ ค้า/บรกิ ารนน้ั ๆ
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
10. ปญั หา/อปุ สรรคในการผลิตสินคา้ /บรกิ าร
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................

สารบัญ

• มาตรฐานเรียนรู้ / ตัวชว้ี ดั / สาระการเรียนรู้
• แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
• ความรูเ้ บ้อื งตน้ เก่ยี วกับการค้มุ ครองผ้บู ริโภค
• กฎหมายค้มุ ครองผบู้ ริโภค
• หน่วยงานท่เี กย่ี วข้องกบั การค้มุ ครองผ้บู ริโภค
• บัตรคาถามที่ 1
• บตั รคาถามที่ 2
• บัตรคาถามท่ี 3
• ใบงาน เรือ่ ง การค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค
• แบบทดสอบหลังเรยี น

 มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการ

ทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการดารงชีวิตอย่างมดี ุลยภาพ

 ตวั ชว้ี ดั
ม.2/4 อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนเอง

ในฐานะผ้บู รโิ ภค

 สาระการเรยี นรู้
 ความรู้เบือ้ งต้นเกีย่ วกับการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค
 กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
 หน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ งกับการคุ้มครองผบู้ ริโภค

ความรู้เบอ้ื งต้นเกีย่ วกบั การ
คุ้มครองผ้บู รโิ ภค

การคุ้มครองผบู้ ริโภค เป็นการรักษาและคุ้มครองสิทธิ
ประโยชน์ของผู้บริโภค ซ่ึงได้รับการรับรองสิทธิตามกฎหมาย
คุม้ ครองสทิ ธผิ ู้บรโิ ภค 5 ประการ โดยมีหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและ
เอกชนเป็นผู้รับผิดชอบเม่ือผู้บริโภคประสบปัญหาละเมิดสิทธิ
ผู้บริโภคสามารถร้องเรียนไปยังหน่วยงานดังกล่าว เพ่ือรักษา
สทิ ธิและผลประโยชน์ของตน

ค า ว่ า “ ผู้ บ ริ โ ภ ค ” ต า ม พ จ น า นุ ก ร ม ฉ บั บ
ราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ได้ให้ความหมายไว้ว่า ผู้
ซ้ือหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ และหมายความ
รวมถึงผู้ซ่ึงได้รับการเสนอหรือชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจ
เพ่ือใหซ้ ้ือสนิ คา้ หรือรับบรกิ ารดว้ ย

อีกนัยหน่ึง “ผู้บริโภค” หมายถึง ผู้เข้าทาสัญญาใน
ฐานะผู้ซ้ือ ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อ ผู้กู้ ผู้เอาประกันภัย หรือผู้เข้าทา
สัญญาอ่ืนใด เพ่ือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินบริการ หรือประโยชน์อ่ืน
ใด

ความรู้เบ้อื งต้นเกีย่ วกบั การ
คุ้มครองผู้บรโิ ภค

เพื่อให้ได้มาซ่ึงทรัพย์สินบริการ หรือประโยชน์อื่นใด โดยมี
ค่าตอบแทน ทั้งนี้การทาสัญญานั้น ต้องเป็นไปโดยมิใช่เพ่ือ
การค้าทรัพยส์ ินบรกิ ารหรือประโยชน์อื่นใดน้ันและหมายรวมถึง
ผู้เข้าทาสัญญาในฐานะผู้ค้าประกันของบุคคลดังกล่าวซ่ึงมิได้
กระทาเพอื่ การคา้ ดว้ ย
“ผู้บริโภค” ยังมีความหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง
ผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 หมายถึง ผู้ซ้อื
ผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือ
ชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจ เพ่ือให้ซื้อสินค้าหรือบริการและ
หมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบ
ธรุ กิจโดยชอบแมม้ ิไดเ้ สยี ค่าตอบแทนกต็ าม


Click to View FlipBook Version