ความรเู้ บื้องตน้ เก่ยี วกับการ
คุ้มครองผู้บรโิ ภค
รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกท่ีให้ความสาคัญในเร่ืองของการ
คุ้มครองผู้บริโภค โดยบัญญัติถึง “สิทธิของผู้บริโภค” คือ สิทธิ
ของบุคคล ซ่ึงเป็นผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครองตามท่ี
กฎหมายบัญญตั ิเพ่ือเป็น “การคมุ้ ครองผบู้ ริโภค” หมายถึง การ
ป้องกัน ปกป้องระวังดูแลสิทธ์ิของผู้ซ้ือสินค้า หรือผู้ใช้สินค้า
ไม่ให้ถูกละเมิดจากผู้ประกอบธุรกิจ ซ่ึงรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ
คุ้มครองผู้บริโภคโดย “กาหนดมาตรการในการคุ้มครอง
ผบู้ รโิ ภค”
ความรู้เบือ้ งตน้ เก่ียวกับการ
คมุ้ ครองผูบ้ ริโภค
“มาตรการในการคมุ้ ครองผู้บริโภค” มี 3 ลกั ษณะใหญ่ ๆ ดังน้ี
1. มาตรการท่ีมีลักษณะป้องกัน (Preventive
Measures) หรอื ท่เี รยี กว่า มาตรการก่อน
การซ้ือขาย เช่น การกาหนดและควบคุมมาตรฐานสินค้าการ
กาหนดข้อห้าม ในทางการค้าการขอความร่วมมือแจ้งการปรับ
ราคาล่วงหน้า รวมทั้งการให้ความรู้ตลอดจนข้อมูลข่าวสารท่ี
เปน็ ประโยชนต์ อ่
การตัดสนิ ใจในการเลอื กซอื้ สนิ ค้าและบรกิ าร
2. มาตรการที่เก่ียวเน่ืองกับสินค้า (Transaction of
consumption) เช่น การกากบั ดูแล
การขายตรง การกากับดูแลการเช่าซ้ือสินค้า การกาหนด
มาตรฐานของสญั ญาทีเ่ ป็นธรรม ตลอดจน
การกาหนดเงื่อนไขในการขายสินค้าบางรายการเพ่ือท่ีจะ
คุม้ ครองผู้บริโภค
ความร้เู บ้อื งต้นเก่ียวกบั การ
คุ้มครองผบู้ ริโภค
3. มาตรการในการแก้ปัญหา (Problem-soving
Measures) หรือ มาตรการหลังการซื้อขาย ในกรณีที่ผู้บริโภค
ประสบปัญหาหลังจากที่ได้มีการซ้ือขายสินค้ากันแล้วจะต้องมี
มาตรการและกระบวนการทจ่ี ะแกไ้ ขปัญหา โดยการจดั ตั้งระบบ
และข้ันตอนในการฟอ้ งร้องและชดเชยความเสยี หายท่ีเกิดขึ้นแก่
ผู้บริโภค รวมทั้งกาหนดกรอบความรับผิดชอบของผู้ผลิต หรือ
ผขู้ ายสนิ คา้ หรือบรกิ ารทีบ่ กพรอ่ งดว้ ย
กฎหมายค้มุ ครองผ้บู ริโภค
ปัจจุบันมีผู้ผลิตและผู้จาหน่ายสินค้าและบริการเป็น
จานวนมาก ทาให้ต้องแข่งขันกันเสนอสินค้าและบริการต่าง ๆ
แก่ประชาชนที่เป็นผู้บริโภค โดยการนาวิธีการทางการตลาด
และการโฆษณามาใช้เพื่อส่งเสริมการขาย ทาให้ผู้บริโภคตกอยู่
ในฐานะเสียเปรียบ เพราะผู้บริโภคไม่ทราบภาวะของตลาด
และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคุณภาพของสินค้าและบริการเหล่านี้ได้
อย่างถูกต้อง ดังน้ัน จึงต้องมีกฎหมายมาปกป้องผู้บริโภคให้
ได้รบั ความเป็นธรรมจากการใช้สนิ คา้ และบริการเหลา่ นี้ (ปรางค์
สวุ รรณ ศักดิ์โสภณกุล. 2558 : 183)
กฎหมายคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
พระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 ซ่ึงแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ
โดย (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2541 มสี าระสาคญั ดังน้ี
1. สิทธขิ องผู้บรโิ ภค ท่ีจะได้รับความคมุ้ ครองตามกฎหมาย 5
ประการ ดงั นี้
1.1 สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคาพรรณนา
คุณภาพท่ีถูกต้องและเพียงพอเก่ียวกับสินค้าหรือบริการ ได้แก่
สิทธิที่จะได้รับการโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเป็นจริง
และปราศจากพิษภัยแก่ผู้บริโภครวมตลอดถึงสิทธิที่จะได้
รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการอย่างถูกต้องและเพียง
พอทจี่ ะไมห่ ลงผิดในการซื้อสินคา้ หรอื รบั บรกิ ารโดยไม่เป็นธรรม
ภาพที่ 7 ผู้บริโภคได้รับข่าวสารรวมทั้งคาพรรณนาคุณภาพที่
ถกู ต้องและเพยี งพอเกี่ยวกับสินค้า
กฎหมายค้มุ ครองผ้บู ริโภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
ท่ีมา : ทีม Goddesszilla. 2559 : เว็บไซต์, ปภาภัทร์ ดิสนีเวทย์.
2558 : เว็บไซต์
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
1.2 สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ ได้แก่
สิทธิท่ีจะเลือกซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยความสมัครใจของ
ผบู้ ริโภคและปราศจากการชักจงู ใจอันไมเ่ ป็นธรรม
ผู้บรโิ ภคมอี ิสระในการเลอื กหาสินคา้ หรือบรกิ าร
ที่มา : ทีม Goddesszilla. 2559 : เว็บไซต์, ปภาภัทร์ ดิสนีเวทย์.
2558 : เว็บไซต์
กฎหมายคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
1.3 สิทธิท่ีจะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับสินค้าหรือบริการท่ีปลอดภัยมีสภาพและ
คุณภาพได้มาตรฐานเหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ
ชีวิตร่างกายหรือทรัพย์สิน ในกรณีใช้ตามคาแนะนาหรือ
ระมดั ระวังตามสภาพของสนิ ค้าหรือบรกิ ารนั้นแล้ว
ผู้บริโภคต้องไดร้ ับความปลอดภัยจากการใชส้ ินค้าหรอื บรกิ าร
ทีม่ า : ทีม Goddesszilla. 2559 : เว็บไซต,์ ปภาภัทร์ ดสิ นีเวทย.์
2558 : เว็บไซต์
กฎหมายคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
1.4 สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทาสัญญา ได้แก่ สิทธิ
ที่จะได้รับข้อสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบ
ธุรกิจ
ผู้บริโภคต้องได้รบั ความเปน็ ธรรมในการทาสญั ญา
ที่มา : ทีม Goddesszilla. 2559 : เวบ็ ไซต,์ บรษิ ัท โฮมบายเออร์
ไกด์ จากัด. 2559 : เวบ็ ไซต์
กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
1.5 สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
ได้แก่ สิทธิท่ีจะได้รับการคุ้มครองและชดใช้ค่าเสียหาย เม่ือมีการ
ละเมิดสิทธิของผู้บริโภคตามข้อ 1 2 3 และ 4 ดังกลา่ ว
ผูบ้ รโิ ภคต้องไดร้ ับการพิจารณาและชดเชยความเสยี หาย
ทีม่ า : ทีม Goddesszilla. 2559 : เวบ็ ไซต,์ ปภาภัทร์ ดิสนีเวทย.์
2558 : เวบ็ ไซต์
กฎหมายคุม้ ครองผบู้ รโิ ภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
“สทิ ธขิ องผู้บรโิ ภค”
เป็นสิทธิของนักเรียนทตี่ อ้ งรู้ไว้
เพือ่ ประโยชน์ของนักเรยี นเองนะคะ
1. สทิ ธทิ ่ีจะไดร้ บั ขา่ วสารรวมทั้งคาพรรณนา
คุณภาพทีถ่ กู ตอ้ ง
และเพียงพอเกย่ี วกบั สินคา้ หรือบริการ
2. สทิ ธิทจ่ี ะมอี สิ ระในการเลอื กหาสนิ คา้ หรือ
บรกิ าร
3. สทิ ธทิ ี่จะไดร้ ับความปลอดภัยจากการใช้
สนิ คา้ หรอื บริการ
4. สิทธทิ จ่ี ะได้รับความเปน็ ธรรมในการทา
สญั ญา
5. สิทธทิ จ่ี ะได้รบั การพิจารณาและชดเชย
ความเสยี หาย
กฎหมายคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค
พระราชบัญญัติความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่
เกิดขึ้นจากสินค้าท่ีไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติ
ฉบับน้ีมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันท่ี 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เป็น
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ท่ี ใ ห้ ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง ป ร ะ ช า ช น ทั้ ง ใ น ฐ า น ะ
ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ซึ่งสามารถสรุปสาระสาคัญได้ ดังนี้
1. ผู้ประกอบการทุกคนต้องร่วมกันรับผิดชอบต่อผู้เสียหาย
ในความเสียหายทีเ่ กิดจากสินคา้ ทไ่ี ม่ปลอดภัย
2. ผู้ผลิตตามคาสั่งของผู้ว่าจ้างไม่ต้องรับผิดชอบ หากพิสูจน์ได้
ว่าความไม่ปลอดภัยดังกล่าว เกิดจากการออกแบบของผู้
ว่าจา้ งให้ผลติ หรือปฏบิ ัตติ ามคาสง่ั ของผู้ว่าจา้ ง
กฎหมายคุ้มครองผูบ้ ริโภค
3. ผู้เสียหายไม่จาเป็นต้องพิสูจน์ว่าความเสียหายเกิดจากการ
กระทาของผู้ประกอบการเพียงแต่พิสูจน์ได้ว่าได้รับความ
เสียหายจากสินค้าของผู้ประกอบการหรือพิสูจน์ได้ว่าการใช้
หรือเก็บรักษาสินค้าเป็นไปตามปกติธรรมดาก็จะได้รับ
คา่ ชดเชยความเสียหายจากผู้ประกอบการ
4. นอกจากค่าสินไหมทดแทนแล้วผู้เสียหายยังได้รับ
ค่าเสียหายสาหรับความเสียหายต่อจิตใจหากผู้เสียหายถึง
แก่ความตายสามีภรรยาบุพการี หรือผู้สืบสันดาน มีสิทธิ์
ได้รับค่าเสียหายสาหรับความเสียหายตอ่ จติ ใจ
5. อายุความการเรียกร้องค่าเสียหายมีกาหนด 3 ปีนับตั้งแต่รู้
ความเสียหายและทราบตัวผู้ประกอบการหรือ 10 ปี
นับตั้งแต่ขายสินค้าหรือในกรณีที่ความเสียหายเกิดต่อชีวิต
ร่างกายสุขภาพหรืออนามัยโดยผลของสารสะสมในร่างกาย
หรอื ตอ้ งใชเ้ วลาในการแสดงอาการ
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551
เปน็ กฎหมายที่กาหนดเก่ียวกับการ ดาเนินคดีคมุ้ ครองผู้บริโภคใน
ศาลยุติธรรมท้ังศาลช้ันต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา โดย
กาหนดให้ผู้พิพากษามีบทบาทสาคัญในการแสวงหาข้อเท็จจริง
รวมทั้งการดาเนินกระบวนการพิจารณาคดีในศาล มีสาระสาคัญ
ดังน้ี (ปรางคส์ วุ รรณ ศักด์ิโสภณกลุ . 2558 : 186-187)
1. ผูบ้ รโิ ภคได้รับการยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมในการดาเนินคดี
และสามารถฟ้องร้องคดีดว้ ยวาจาได้
2. ให้คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคหรือสมาคมที่
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภครับรอง มีอานาจฟ้องคดี
แทนผู้บริโภคได้
3. กาหนดให้มเี จา้ พนักงานเพ่ือชว่ ยเหลือศาลในการดาเนินคดี
4. ขยายกาหนดอายุความในการฟ้องคดีมากกว่าคดีแพ่งทั่วไป
เป็นเวลา 3 ปี นับแต่วันท่ี ผู้เสียหายรู้ถึงความเสียหายและ
รู้ตัวผู้ประกอบธุรกิจท่ีต้องรับผิดชอบ หรือ 10 ปี นับแต่
วนั ที่ร้ถู ึงความเสียหาย
กฎหมายคุม้ ครองผู้บริโภค
5. ภาระการพิสูจน์อยู่กับผู้ประกอบธุรกิจท่ีรู้เห็นการผลิต การ
ออกแบบ หรือส่วนผสม โดยเฉพาะ
6. เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลสามารถเข้าไปค้นหา
ความจรงิ นอกเหนือจากพยาน หลกั ฐานทค่ี ู่ความเสนอได้
7. ผลของคาพิพากษาผูกพันคดีอ่ืนท่ีมีฐานข้อเท็จจริงเดียวกัน
โดยไม่ต้องสืบพยานอีก เพราะ ถือข้อเท็จจริงในคดีก่อน
หนา้
กฎหมายคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค
8. ศาลมีอานาจกาหนดค่าเสียหายเพื่อการลงโทษได้ไม่เกิน 2
เท่าของค่าเสียหายที่แท้จริงที่ ศาลกาหนด ถ้าค่าเสียหายท่ี
แท้จริงมีจานวนเงินไม่เกิน 50,000 บาท ศาลมีอานาจ
กาหนดค่าเสียหาย เพื่อการลงโทษได้ไม่เกิน 5 เท่าของ
คา่ เสยี หายที่แท้จรงิ
9. กาหนดให้สามารถสงวนสิทธิ์ท่ีจะแก้ไขคาพิพากษาเพ่ิม
ค่าเสยี หายในภายหลังได้
10. ศาลมีอานาจพิพากษาให้ผู้ประกอบการเปลี่ยนสินค้าใหม่
ให้แก่ผู้บริโภคแทนการแก้ไข ซ่อมแซมสินค้าที่ชารุด
บกพร่องน้นั ได้
กฎหมายค้มุ ครองผบู้ ริโภค
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ แ ข่ ง ขั น ก า ร ค้ า พ . ศ . 2542
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ฉ บั บ น้ี มี เ จ ต น า ร ม ณ์ เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม
การประกอบธุรกิจให้เป็นไปอย่างเสรี ป้องกัน และขจัดการ
กระทาอันเป็นการผูกขาดหรือจากัดการแข่งขันและมุ่งเสริมและ
สร้างกติกาให้ผู้ประกอบธุรกิจแข่งขันกันอย่างเสรีและเป็นธรรม
รวมทั้งให้ใช้กลยุทธ์การตลาดอย่างมีจริยธรรมเมื่อมีการแข่งขัน
กันทางการค้าอย่างสมบูรณ์แล้วผู้ประกอบธุรกิจจาเป็นต้อง
แข่งขันการผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพดีท่ีสุดให้ได้ราคาต่าสุด เพื่อจูง
ใจให้ผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าของตนนับว่าเป็นกฎหมายท่ีให้การ
ค้มุ ครองผูบ้ ริโภคโดยทางอ้อม
กฎหมายคมุ้ ครองผ้บู ริโภค
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.
2542 เป็นกฎหมายท่ีให้การคุ้มครองผู้บริโภคโดยตรงมี
เจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรมในด้าน
ราคาสินคา้ และบรกิ ารป้องกนั มิให้ราคาสินค้าและค่าบริการต่างๆ
สูงเกินความจาเป็นรวมทั้งมีปริมาณสินค้าเพียงพอกับความ
ตอ้ งการของผู้บรโิ ภค
กฎหมายคุม้ ครองผู้บรโิ ภค
1. สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
สานักงานนายกรัฐมนตรี มีหน้าท่ี เรื่องราวร้องทุกข์จาก
ผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายอันเน่ืองมาจากการ
กระทาของผู้ประกอบธุรกิจ สอดส่องพฤติการณ์ และดาเนินคดี
ต่อผู้ประกอบการธุรกิจท่ีละเมิดสิทธิผู้บริโภค แจ้งหรือโฆษณา
ข่าวสารท่ีเกยี่ วขอ้ งกับสิทธิผู้บริโภคให้ผ้บู รโิ ภค
สญั ลกั ษณ์ของสานกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค
ที่มา : สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค. 2559 :
เวบ็ ไซต์
กฎหมายคมุ้ ครองผู้บริโภค
2. สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง
สาธารณสุข มีหน้าที่ กากับดูแลการผลิต การจาหน่ายและ
โฆษณาต่าง ๆ ได้แก่ อาหาร เคร่ืองสาอาง วัตถุอันตราย ยา
เครื่องมือแพทย์ และวตั ถุเสพติดใหโ้ ทษให้เปน็ ไปตากฎหมาย
สญั ลกั ษณข์ องสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ท่มี า : สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา. 2559 : เว็บไซต์
กฎหมายคุ้มครองผบู้ รโิ ภค
3. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยกอง
โภชนาการ มีหน้าท่ี จัดทาเกณฑ์มาตรฐานด้านโภชนาการและให้
คาปรกึ ษาแนะนาวิชาการดา้ นโภชนาการ
สัญลกั ษณข์ องกรมอนามยั
ทม่ี า : กรมอนามัย. 2559 : เวบ็ ไซต์
กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ ริโภค
4. กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ มีหน้าที่
ควบคุมสินค้าให้เป็นไปตามกฎหมายกาหนดและไม่ให้ผู้บริโภค
เสยี เปรียบ
สญั ลกั ษณ์ของกรมการคา้ ภายใน
ทม่ี า : กรมการคา้ ภายใน. 2559 : เว็บไซต์
กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ ริโภค
4. กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ มีหน้าที่
ควบคุมสินค้าให้เป็นไปตามกฎหมายกาหนดและไม่ให้ผู้บริโภค
เสยี เปรียบ
สญั ลกั ษณ์ของกรมการคา้ ภายใน
ทม่ี า : กรมการคา้ ภายใน. 2559 : เว็บไซต์
กฎหมายคุ้มครองผบู้ ริโภค
5. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เป็น
กรมที่ได้เปล่ียนชื่อมาจากกรมเดิม คือ "กรมทะเบียนการค้า "
ตามผลการปฏิรูปราชการ ครั้งใหญ่ ที่ใช้บังคับมาตั้งแต่ วันที่ 3
ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 5 ) พ.ศ. 2545 และ
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มี
หน้าที่ ส่งเสริมธุรกิจบริการและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาปฏิบัติ
พร้อมกบั ภารกิจเดมิ คือ งานด้านจดทะเบียนธุรกิจ การกากับดูแล
ธุรกิจ และการใหบ้ รกิ ารธุรกจิ
สญั ลักษณข์ องกรมพฒั นาธรุ กิจการค้า
ท่มี า : กรมพฒั นาธุรกิจการคา้ . 2559 : เว็บไซต์
กฎหมายคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค
6. กรมทดี่ นิ กระทรวงมหาดไทย มีหน้าท่ี เกย่ี วกับ
การทาสัญญาซอ้ื ขายท่ดี นิ
สญั ลกั ษณ์ของกรมพัฒนาธุรกจิ การค้า
ท่ีมา : กรมพฒั นาธุรกิจการค้า. 2559 : เวบ็ ไซต์
กฎหมายคุ้มครองผบู้ รโิ ภค
7. สานักงานมาตรฐานการผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม มีหน้าท่ี กาหนดและติดตามตรวดสอบ
มาตรฐานสินคา้ อตุ สาหกรรม
สญั ลักษณ์ของสานกั งานมาตรฐานการผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม
ทีม่ า : สานักงานมาตรฐานการผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม. 2559 :
เว็บไซต์
กฎหมายค้มุ ครองผบู้ ริโภค
8. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มหี นา้ ท่ี ควบคมุ วตั ถุมีพษิ ทางการเกษตร
สัญลกั ษณข์ องกรมวิชาการเกษตร
ที่มา : กรมวชิ าการเกษตร. 2559 : เวบ็ ไซต์
กฎหมายคุ้มครองผูบ้ ริโภค
9. คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัด
มีหน้าที่ รับเรือ่ งราวรอ้ งทกุ ขห์ รอื ร้องเรยี นจากผบู้ รโิ ภค
สญั ลกั ษณ์ของคณะอนุกรรมการคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคประจาจงั หวดั
ที่มา : สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค. 2550 :
เวบ็ ไซต์
กฎหมายคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค
ถ้าผู้บริโภคได้รับความไม่เป็นธรรม ได้รับความ
เดือดร้อนเสียหาย อันเน่ืองมาจากการกระทาของผู้ประกอบการ
ผู้บริโภคสามารถไปแจ้งตามหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ที่ทาหน้าท่ีเก่ียวกับ
การคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคเรอื่ งนน้ั ๆ ทั้งน้ี เพ่ือเป็นการรักษาสิทธิของ
ตนที่พึงมีตามกฎหมาย (บรรลือศักด์ิ ปานมี. 2558 : เวบ็ ไซต)์
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
องค์กรท่ีมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
คือ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (คคบ.) มีนายกรัฐมนตรีเป็น
ประธาน ซึ่งมีสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.)
เป็นหน่วยงานทางธุรการ โดยมีอานาจหน้าที่ (ณัทธนัท เลี่ยว
ไพโรจน์. 2559 : 75)
1. พจิ ารณาเรื่องราวรอ้ งทุกขจ์ ากผบู้ รโิ ภคท่ไี ดร้ ับความ
เดอื ดร้อนหรอื เสียหายอนั เนอื่ งมาจากการกระทาของผู้
ประกอบธรุ กจิ
2. ดาเนินการเกีย่ วกบั สินคา้ ท่อี าจเปน็ อันตรายแกผ่ ู้บริโภค
3. แจ้งหรือโฆษณาข่าวสารเก่ยี วกับสินคา้ หรือบรกิ ารทอ่ี าจ
กอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หาย หรือเส่อื มเสยี แก่สทิ ธขิ องผู้บริโภคใน
กรณีน้อี าจระบชุ ือ่ สินค้า หรือบรกิ าร
หรือชอื่ ของผ้ปู ระกอบธรุ กิจด้วยก็ได้
กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
4. ให้คาปรึกษาและแนะนาแก่คณะกรรมการเฉพาะเร่อื งและ
พิจารณาวนิ ิจฉยั การอุทธรณค์ าสง่ั ของคณะกรรมการเฉพาะเรอ่ื ง
5. วางระเบียบเก่ียวกบั การปฏิบัตหิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ
เฉพาะเรื่องและคณะอนกุ รรมการ
6. สอดส่องเร่งรดั พนกั งานเจ้าหนา้ ที่ ส่วนราชการ หรอื น่วยงาน
อ่นื ของรัฐใหป้ ฏบิ ตั ติ ามอานาจหนา้ ที่ทก่ี ฎหมายกาหนด ลอด
จนเรง่ รดั พนักงานเจา้ หนา้ ที่ให้ดาเนนิ คดใี นความผิดเก่ียวกับ
การละเมดิ สทิ ธิของผู้บริโภค
7. ไกล่เกลยี่ หรอื ประนีประนอมขอ้ พพิ าทเกี่ยวกับการละเมิด
สิทธขิ องผู้บรโิ ภคตามท่ผี ู้บริโภคและผูป้ ระกอบธรุ กจิ ตกลงกนั
ก่อนมกี ารฟ้องคดีต่อศาล
กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
8. สง่ เสริม พัฒนา และสนบั สนุนงานคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
9. ดาเนินคดเี กี่ยวกับการละเมดิ สทิ ธิผบู้ ริโภคที่คณะกรรมการ
เหน็ สมควรหรือมผี ้รู ้องขอ
10. รับรองสมาคมและมูลนธิ ิท่มี ีวัตถุประสงค์ในการคุม้ ครอง
ผู้บริโภคหรอื การต่อตา้ น
การแขง่ ขนั อนั ไมเ่ ป็นธรรมทางการค้า โดยต้องเป็นไปตามเง่อื นไขท่ี
กาหนดในกฎกระทรวง
11. เสนอความเหน็ ต่อคณะรัฐมนตรีเกีย่ วกับนโยบายและมาตรการ
ในการคุ้มครองผู้บรโิ ภคและพิจารณาให้ ความเห็น ในเร่อื งใด ๆ ท่ี
เกีย่ วกบั การคมุ้ ครองผู้บริโภคตามท่คี ณะรฐั มนตรีหรือรฐั มนตรี
มอบหมาย