The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภูมิปัญญาน่าสนใจ ไทสารคาม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akkarawat2542, 2021-03-23 22:06:12

ภูมิปัญญาน่าสนใจ ไทสารคาม

ภูมิปัญญาน่าสนใจ ไทสารคาม

97

ข้อควรปฏิบัติในการพดู รายงาน

1. พูดเสนอเนื้อหาสาระทเี ป็นประโยชน์ เป็นข้อ ๆ ชัดเจน
ตรงประเด็น
2. อาจมีอปุ กรณ์ในการประกอบการพูดรายงาน เช่น เอกสาร
รปู ภาพ แผนผงั แผนภูมิ
3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเรื่องทง้ั หมดเป็นอย่างดี
4. มที ่าทางประกอบการพดู ทเ่ี ป็นธรรมชาตเิ พื่อใหผ้ ฟู้ งั รู้สึก
ผอ่ นคลาย

98

ใบความรู้ท่ี 2
เร่อื ง การพดู แสดงความคดิ เหน็

การพดู แสดงความคดิ เหน็ คอื การพดู แสดงความรสู้ ึก ความเห็นของตน
ตอ่ ส่งิ ใดส่งิ หนง่ึ หรอื เรอ่ื งใดเรื่องหนึ่ง จากการอ่าน การดู การฟงั เปน็ การ
พูดทผ่ี พู้ ูดต้องพูดอย่างมเี หตมุ ีผล

ข้อควรปฏิบตั ิในการพดู แสดงความคิดเห็น
- ฟัง อา่ น หรือดูเร่อื งทต่ี ้องพูดแสดงความคิดเหน็ อย่างตงั้ ใจ
- ทาความเข้าใจกับเนื้อเรือ่ ง
- หาขอ้ มูลเพมิ่ เติม
- ใชค้ วามคิดพิจารณาหาเหตุผลเพอ่ื ประกอบการแสดงความคิดเหน็
- มคี วามยุตธิ รรม ไม่เขา้ ข้างฝา่ ยใดฝา่ ยหน่งึ
- ไมน่ าอารมณช์ อบหรือไมช่ อบส่วนตัวมาเก่ียวข้อง
- พดู อยา่ งมีมารยาทใช้คาทสี่ ุภาพ
- เรยี งลาดบั เร่อื งทจ่ี ะพูดใหด้ ไี มเ่ กิดการสับสน
- ไมพ่ ูดใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ กนั
- พูดให้ตรงประเด็น

99

ดูภาพและอา่ นเร่อื งงานนมัสการพระธาตุนาดนู แล้วเขียนสรุปความรู้

พระธาตุนาดูน หรือพทุ ธมณฑลอสี าน เปน็ สถานที่ท่ีค้นพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์
โบราณคดที แี่ สดงว่าบริเวณแหง่ น้ีเคยเป็นศนู ยก์ ลางความเจรญิ รุ่งเรืองของนครจาปาศรี
เมืองโบราณในอดตี อกี ทั้งได้ขดุ พบสถปู บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตบุ รรจใุ นตลบั ทองคา เงนิ
และสาริด ซ่ึงสนั นิษฐานวา่ มีอายอุ ยู่ในพทุ ธศตวรรษที่ 13 -15 สมัยทวารวดี จึงไดส้ รา้ ง
พระธาตุตามแบบสถปู ทไ่ี ดค้ น้ พบ และทุกปีจะมกี ารจัดงานนมัสการพระธาตนุ าดนู จัดงาน
ในช่วงวนั ข้ึน 15 คา่ เดือน 3 หรอื วันมาบบูชา ของทุกปี โดยจดั ทบ่ี รเิ วณพุทธมณฑลอสี าน
พระธาตนุ าดนู รวม 9 วนั 9 คนื มีการรว่ มกจิ กรรมทางพทุ ธศาสนา และกิจกรรมในงาน
ประกอบด้วยขบวนแหป่ ระเพณี 12 เดือน การทาบญุ ตักบาตร การเวยี นเทยี นวนั มาบบูชา
การปฎิบัตธิ รรมวปิ ัสสนา การออกนิทรรศการของหน่วยงานต่าง ๆ การแสดง แสง สี เสยี ง
ประวตั ิความเปน็ มานครจมั ปาศรี และการจดั รา้ นสนิ คา้ ชมุ ชน
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.

103

หลกั สตู รทอ้ งถ่ิน “ภมู ปิ ัญญานา่ สนใจ ไทสารคาม”

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 กะหรี่ปั๊บไส้มนั แกว

ช่วงชนั้ ที่ 3 เวลาเรยี น 3 ชัว่ โมง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชี้วดั

ท 1.1 ม.3/4 อ่านเร่อื งตา่ ง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคดิ ผังความคดิ บันทกึ ย่อความ และรายงาน

ท 2.1 ม.3/1 คัดลายมอื ตวั บรรจงครงึ่ บรรทัด

ท 2.1 ม.3/2 เขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถกู ตอ้ งตามระดับภาษา

ท 2.1 ม. 3/4 เขียนย่อความ

ท 3.1 ม.3/4 พดู ในโอกาสต่าง ๆ ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์

ท 4.1 ม.3/6 แตง่ บทรอ้ ยกรอง

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

เรียนนักเรยี นจะไดฝ้ ึกทักษะการอ่านจากการอ่านแล้วสรปุ องคค์ วามรทู้ ่ีเกดิ ข้ึนใ นรูปแบบของผัง
ความคิด หลังจากนนั้ จึงรว่ มกันการอภิปรายและแสดงความคิดเห็นระหวา่ งผูเ้ รียนและผู้สอนในหวั ข้อท่ีให้ทำ
ผงั ความคดิ หลงั จากนนั้ ให้นกั เรยี นทำงานกล่มุ แต่งบทร้อยกรอง แล้วให้ผูเ้ รยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมานำเสนอบท
รอ้ ยกรองของกลุ่มตวั เองหนา้ ชั้นเรยี น และบนั ทึก บทร้อยกรองลงในสมดุ รายวิชาภาษาไทยของแต่ละคนโดย
คดั ลายมอื ตัวบรรจงครงึ่ บรรทดั

3. สาระการเรยี นรู้

1. การอา่ นจับใจความสำคัญเพ่ือสรุปเป็นองค์ความรู้ในรูปแบบของผังความคดิ
2. การคัดลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทัด
3. การเขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องตามระดบั ภาษา
4. การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ได้ตามวัตถปุ ระสงค์
5. การแตง่ บทรอ้ ยกรอง

104

4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

1. ความสามารถในการสอื่ สาร

2. ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์

5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มีวินยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
6. ช้นิ งาน /ภาระงาน

1. ผงั ความคดิ สรปุ องคค์ วามรูเ้ รอ่ื งกะหรีป่ ับ๊ ไสม้ ันแกว

2. กระดาษปรฟู๊ นำเสนอบทรอ้ ยกรองโฆษณากะหรีป่ บ๊ั ไสม้ นั แกว

3. การคัดลายมือคร่งึ บรรทดั ลงสมุดเรยี น

7. การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวดั และประเมินผล เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์การประเมนิ
การอา่ นจบั ใจความสำคญั
เพอ่ื สรปุ เป็นองค์ความรู้ สรุปความรู้ในรูปแบบ แบบประเมนิ ผลงาน ชนดิ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70

การคดั ลายมอื ตัวบรรจง แผนผงั ความคดิ Scoring Rubrics 5 ระดับ
ครง่ึ บรรทดั
คุณภาพ 4 รายการ
การแตง่ บทร้อยกรองโดย
ใช้ถอ้ ยคำไดถ้ กู ต้องตาม ประเมนิ รวม 20 คะแนน
ระดับภาษา
ประเมนิ การคัดลายมอื แบบประเมนิ การคดั ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70

ลายมือ ชนิด Scoring

Rubrics 5 ระดบั คุณภาพ

3 รายการประเมนิ รวม

15 คะแนน

ประเมินการแต่งบทร้อง แบบประเมนิ การคัด ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 70

กรอง ลายมอื ชนิด Scoring

Rubrics 5 ระดับคณุ ภาพ

3 รายการประเมิน รวม

15 คะแนน

105

การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ ประเมินการพดู นำเสนอ แบบประเมนิ การคัด ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 70
ลายมอื ชนิด Scoring ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 70
ตามวตั ถปุ ระสงค์ งาน Rubrics 5 ระดับคุณภาพ
3 รายการประเมนิ รวม
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ 15 คะแนน
ประสงค์ แบบประเมินการคัด
ลายมือ ชนิด Scoring
Rubrics 5 ระดบั คุณภาพ
3 รายการประเมนิ รวม
15 คะแนน

8. กิจกรรมการเรียนรู้

ผสู้ อนให้นักเรยี นศกึ ษาบทความเก่ยี วกับความเป็นมาของกะหรี่ปับ๊ ไส้มันแกวโดยวธิ ีการอ่านในใจ
แลว้ สรุปองค์ความรทู้ ี่เกดิ ข้นึ ในรปู แบบของผงั ความคิดเป็นรายบุคคล หลังจากน้นั จงึ รว่ มกันก ารอภิปราย
และแสดงความคดิ เห็นระหวา่ งผู้เรยี นและผู้สอนในหวั ข้อทใี่ ห้ทำผงั ความคดิ หลังจากนัน้ ให้นักเรียนจับกลุ่ม
3 คน ช่วยกันแตง่ บทร้อยกรองชนดิ ใดกไ็ ด้อย่างนอ้ ย 2 บท ในหัวขอ้ การโปรโมทกะหรีป่ ับ๊ ไส้มันแกวลงบน
กระดาษบรฟู๊ แล้วให้ผเู้ รียนแต่ละกล่มุ ออกมานำเสนอบทรอ้ ยกรองของกลมุ่ ตวั เองหน้าช้ันเรยี น และบันทึก
บทรอ้ ยกรองทท่ี ัง้ 3 คนได้ช่วยกนั แต่งลงในสมุดรายวชิ าภาษาไทยของแตล่ ะคนโดยคัดล ายมือ ตัวบ รรจง
ครึง่ บรรทัด

ผูส้ อนมีความต้ังใจว่าจะนำแนวทางขา้ งตน้ มาจดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ
Brain-based learning (BBL) เพราะเหมาะกับกิจกรรมท่ีส่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์แก่นกั เรียน และมี
กระบวนการฝึกฝน ทบทวน และทดสอบความร้ทู ่ีนักเรียนควรไดร้ ับในช้ันเรยี นเปน็ อยา่ งดี

9. เวลาเรียน

3 ชม.

106

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ “กะหรป่ี ๊บั ไสม้ ันแกว” โดยบูรณาการการจดั การเรียนรู้แบบ BBL

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ชิ าภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

เรอ่ื ง การเขียนย่อความ เวลา 1 ช่วั โมง

ครผู สู้ อน........................................ วันทีส่ อน ……/…../……

________________________________________________________________________________

1. สาระสำคัญ
เขา้ ใจหลักการเขยี นยอ่ ความเพื่อการนำไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวัน ฝึกทกั ษะการเขียนตวั บรรจงคร่ึง

บรรทัดตามหลักการ และเรียนรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ประจำจังหวดั มหาสารคาม

2. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิดเพื่อนำไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปญั หา

ในการดำเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน
ท 1.1 ม.3/4 อา่ นเร่ืองต่าง ๆ แลว้ เขยี นกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ บันทกึ ยอ่ ความ และรายงาน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราว
ในรปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ตัวช้ีวดั การเรยี นรู้
ท 2.1 ม. 3/1 คัดลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทัด
ท 2.1 ม. 3/4 เขียนยอ่ ความ

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ความรู้ (K)
1. ผู้เรียนรมู้ ีความรแู้ ละเขา้ ใจในเรื่องของการเขียนยอ่ ความ
ทักษะ (P)

2. ผู้เรียนมีทักษะในการเขียนยอ่ ความ
เจตคติ (A)

3. ผู้เรยี นตระหนักถงึ ความสำคัญของภมู ิปัญญาท้องถิ่น

4. สาระการเรียนรู้
- หลักการเขยี นย่อความ
- หลักการคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั

107

5. คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์
1. ซือ่ สตั ย์
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

6. ผลงานท่ตี ้องการ
1. ผังความคิดรวบยอดเรือ่ งการเขียนย่อความ (งานเดย่ี ว)

2. เขยี นยอ่ ความจากบทความเรือ่ งกะหรปี่ ับ๊ ไสม้ นั แกว (งานเด่ียว)

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรมู้ ี 5 ขั้นตอนดังน้ี
1) ขั้นเตรียมความพร้อม (10 นาที)
1.1) ทำการทกั ทายและตรวจสอบรายชอื่ นกั เรียนว่าขาด ลา มา หรอื มาสาย
1.2) ทำข้อตกลงในการเรียนการสอนร่วมกันระหวา่ งผูเ้ รยี นผสู้ อน พรอ้ มบอกกิจกรรมทจี่ ะทำการ

เรียนรู้ในคาบนี้
1.3) ครพู านักเรยี นเตรยี มความพร้อมก่อนเข้าส่เู น้ือหาโดยการพา Brain Gym ด้วยท่าเต้นง่าย ๆ

ประกอบเพลงที่กำลงั เป็นท่ีนิยมในแอพพลเิ คชัน Tiktok
1.4) นำเขา้ ส่บู ทเรยี นด้วยการสอบถามพูดคยุ ถงึ ความรคู้ วามเข้าใจเร่ืองการเขยี นย่อคว าม ของ

นักเรยี น
1.5) ทดสอบความรู้ความเข้าใจเรื่องการเขยี นย่อความของนักเรยี นด้วยแบบทดสอบป รนัยกา

ถกู ผดิ 10 ขอ้ 10 คะแนน เมือ่ หมดเวลาทดสอบ ใหค้ ณุ ครูเก็บรวบรวมแบบทดสอบสำหรับนำไปป ระเมิน
ความรู้ของนักเรียนต่อไป

2) ขนั้ นำเสนอความรู้ (15 นาที)
2.1) ครูแจกเอกสารความรู้เร่ืองการเขยี นยอ่ ความและการคัดลายมอื ใหแ้ กน่ กั เรียน
2.2) ครูอธบิ ายและใหค้ วามรู้ในรปู แบบของการบรรยาย ร่วมกบั การอภิปรายและยกตัวอยา่ งการ

สรุปใจความเรื่องท่ีอยใู่ นชวี ิตประจำวันของนักเรยี นหรอื เร่อื งราวทน่ี กั เรยี นสนใจมาอธิบายเป็นตัวอย่าง
2.3) ครอู ธิบายหลักการคดั ลายมือตามแบบอักษรของกระทรวงศึกษาธกิ าร
2.4) ในขณะทที่ ำการเรยี นการสอน ครคู อยสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นเพ่อื บันทึกผลลง ใน

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
3) ขน้ั ลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ (25 นาที)
3.1) ครแู จกบทความเรอ่ื งกะหรีป่ ๊บั ไสม้ นั แกว ให้นกั เรียนฝึกทำภายในเวลาที่กำหนด

108

3.2) เม่อื หมดเวลา ครูยกตัวอยา่ งแนวทางการเขียนยอ่ ความทีถ่ กู ตอ้ งให้นักเรยี นฟัง พร้อมทั้ง
ให้นักเรยี นอา่ นบทยอ่ ความของตนให้เพอื่ น ๆ ในหอ้ งฟัง จากนน้ั จึงเก็บรวบรวมบทยอ่ ความของ นัก เรีย น
เพื่อนำไปทำการประเมนิ ตอ่ ไป

3.3) พานกั เรยี นเล่นเกม “สรปุ ความ สามสองหน่ึง!” โดยจะตอ้ งทำการแบง่ นักเรียนออกเป็นกลุม่
ละเทา่ ๆ กันโดยจะต้องคละเดก็ เก่ง กลาง อ่อน ให้อยู่ในแต่ละกล่มุ ซ่งึ เกมนเ้ี ปน็ เกมทีต่ อ้ งใช้ความรู้คว าม
เข้าใจเก่ียวกบั การสรปุ ความซ่งึ เป็นทักษะทต่ี อ้ งใชใ้ นการเขยี นย่อความ โดยจะเป็นการแข่งขันตอบคำถาม
ปรนยั แบบ Multiple Choice นอกจากจะตอ้ งเลอื กคำตอบที่ถกู ต้องแลว้ ความรวดเร็วของการตอบก็มีสว่ นใน
การให้คะแนนด้วยเชน่ กัน ผเู้ ล่นจะต้องมีสตแิ ละคอบคุมสมาธิเป็นอยา่ งดี ซง่ึ สามารถแบ่งการเล่นเกมออกเป็น
2 ช่วง ดงั นี้

ชว่ งที่ 1 ทำความเข้าใจ
ให้นักเรยี นทำความเขา้ ใจกตกิ าการเล่นร่วมกัน แลว้ ให้แต่ละกลุ่มเตรียมพร้อม

(สอนและทบทวนความรูร้ ะหวา่ งสมาชกิ ภายในกลมุ่ ) และวางแผนในการชว่ งชิงคะแนนให้แก่กลมุ่ ตนเองได้มาก
ทสี่ ุด ซ่ึงกตกิ าการเล่นมดี งั ตอ่ ไปน้ี

กตกิ าและวธิ กี ารเลน่
(กรณใี ช้โทรศัพท์ในการทำกิจกรรม)
- ครูผูส้ อนใหร้ หัสเข้าห้องเกมที่สร้างไว้กอ่ นหนา้ แลว้ แกน่ กั เรยี น
- ผ้แู ข่งขันแตล่ ะกลุม่ เขา้ รหัสของหอ้ งเกมสท์ ค่ี รูสร้างและตัง้ ชอื่ กลุ่มของตนเอง จากนั้นรอเกมเร่ิม
- เมอ่ื นักเรียนทุกกล่มุ เขา้ สหู่ ้องเกมกันพรอ้ มหน้า ให้คุณครเู ริม่ เกมได้ ซ่งึ ข้อคำถามแต่ละข้อจะมเี วลา
ในการคดิ จำกัด ใหผ้ เู้ ล่นแต่ละกล่มุ ช่วยกันคิดหาคำตอบทถ่ี กู ต้องที่สดุ ในเวลาอันรวดเร็วท่ีสดุ เท่าที่จะทำได้
จากนนั้ ทำการกดเลอื กคำตอบจากนั้นแล้วใหร้ อในการตอบคำถามของขอ้ น้ัน ๆ หมดลง
- เมอื่ หมดเวลา Kahoot จะทำการเฉลยและแสดงจำนวนกลุ่มทเี่ ลอื กในแตล่ ะตวั เลอื ก และจะแสดง
ชือ่ กล่มุ ท่ีไดค้ ะแนนมากท่ีสดุ 5 อันดับแรกในลำดบั ตอ่ ไป
- ครเู ปน็ ผู้กดเร่ิมข้อตอ่ ไปเรื่อย ๆ จนครบทุกข้อ จากน้นั แอพพลเิ คชนั จะทำการแสดงอันดับกลุ่มที่มี
คะแนนมากท่สี ุด 3 ลำดับ
ช่วงท่ี 2 ระหวา่ งการแขง่ ขัน
- จดั โซนและที่นงั่ ตามกลุม่ ให้เหมาะสมทกุ กอ่ นเริม่ การเกม ให้นักเรียนเข้าห้องเกมและให้ครตู รวจสอบ
วา่ ผเู้ ลน่ แต่ละกลุม่ เรียบร้อยดหี รือมปี ญั หาในการเขา้ ร่วมหรือไม่ก่อนเรมิ่ เกม
- เริ่มเกมการแขง่ ขันตามรูปแบบการดำเนินการของแอพพลิเคชัน Kahoot คุณครูมีหน้าที่ในก าร
ควบคมุ สถานการณ์ โดยครูสามารถช่วยนักเรยี นอ่านคำถามในแตล่ ะข้อเพื่อความรวดเรว็ แต่ไม่ควรอ่าน
ตวั เลือกเพราะเทคนิคการหาคำตอบของแต่ละคนนนั้ ตา่ งกัน อาจทำใหน้ ักเรยี นเกิดความสับสนได้
- เมื่อ Kahoot ทำการเฉลย ครมู หี นา้ ทีใ่ นการอธิบายวา่ เหตุใดจึงเฉลยข้อนี้ เพือ่ เป็นการสร้าง ความ
กระจา่ งให้นกั เรยี นและเพอ่ื เป็นการทบทวนและเพิม่ พนู ความรูใ้ ห้กบั นักเรียนไปในตัว
- เมื่อแข่งขันเสร็จแลว้ ควรมขี องรางวลั ใหแ้ กน่ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ โดยมปี รมิ าณลดหลนั่ กันตามลำดับ

109

3.3) ใหน้ กั เรียนสรุปหลักการเขยี นยอ่ ความในรูปแบบของผังความคิดรวบยอดลงกระดาษเอสท่ี ี่ครู
เตรยี มไว้ให้ และสามารถตกแตง่ ผลงานไดต้ ามเหมาะสม

4) ข้ันสรุป (5 นาที)
4.1) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายประโยชนแ์ ละความรู้ที่ได้จากการทำแบบฝึกทกั ษะการเขียน

ยอ่ ความและกิจกรรมเกมสรปุ ความ สามสองหนง่ึ !
4.3) ครพู านักเรียนทบทวนความรู้ท้งั หมดทไี่ ด้รำ่ เรียนมาในชัว่ โมงน้ี

5) ข้นั นำความรูไ้ ปใช้ (5 นาที)
5.1) คณุ ครูแจกแบบทดสอบหลังเรียนแบบปรนยั กาถกู ผิด 10 ขอ้ 10 คะแนน เพือ่ ทดสอบความรู้

หลังเรยี น
5.2) เม่ือทำแบบทดสอบครบทกุ คนแลว้ ใหค้ ุณครเู ก็บรวบรวมเพอ่ื นำไปตรวจและบอกคะแนนแก่

นักเรียนในคาบตอ่ ไป
5.3) ครูพูดคยุ ถึงการเตรยี มตวั สำหรบั การเรยี นในคาบหน้าและฝากให้นักเรยี นกลับไปทบทว น

ความรูท้ ่ีไดร้ บั ในวนั นซ้ี ้ำอกี ครัง้ ท่ีบา้ น

8. ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้
ส่อื การเรียนรู้
- เอกสารความรเู้ รื่องการเขยี นยอ่ ความ
- กจิ กรรมเกมสรปุ ความ สามสองหน่ึง!
แหลง่ การเรยี นรู้
- ครู
- เวบ็ ไซต์ YouTube

110

9. การวัดผลและประเมินผล

จดุ ประสงค์ วธิ ีการวดั และประเมินผล เครื่องมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์การประเมนิ
ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ
ผเู้ รยี นมีความรแู้ ละเข้าใจ ทดสอบความรู้ความเขา้ ใจ แบบทดสอบปรนัย
70 ข้ึนไป
เรอื่ งการเขยี นยอ่ ความ เรอ่ื งการเขียนย่อความ แบบกาถูกผิด 10 ขอ้
ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ
10 คะแนน 70 ขึ้นไป

ผู้เรยี นมีทักษะในการเขยี น วดั ทักษะการเขียนยอ่ แบบบนั ทึกคะแนน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
70 ขน้ึ ไป
ย่อความ ความดว้ ยแบบฝกึ ทกั ษะ และประเมินทักษะการ

การเขียนยอ่ ความ เขยี นยอ่ ความ

ผเู้ รียนตระหนกั ถึง สงั เกตพฤติกรรมการให้ แบบประเมนิ พฤติกรรม

ความสำคัญของภูมิปญั ญา ความร่วมมือในการเรียน การปฏิบัตงิ านของ

ทอ้ งถน่ิ ผู้เรยี น

คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ สงั เกตพฤตกิ รรมของ แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ
ผู้เรียนที่เป็นคณุ ลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ 70 ขน้ึ ไป
อนั พึงประสงค์ 3 คณุ ลักษณะ
แล้วบนั ทึกผล 4 ระดบั คณุ ภาพ

ความคดิ เหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา / หรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย

........................................................................................................................................................................................................................................
........................ ............................................................................................................................. ...................................................................................
............................................................................................................................................................................. ...........................................................
..................................................................................................................................................................................................... ...................................
................................................................................................ ............................................................................................................................. ...........

ลงช่ือ...........................................ผู้ตรวจ

(.................................................. ............)

ตำแหน่ง.................................................

วันท่.ี .......เดอื น.....................พ.ศ............

111

บนั ทึกผลหลงั การสอน

ผลการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
ปัญหาทพ่ี บระหว่างเรยี น
............................................................................................................................. .............................................. ...
.......................... ................................................................................................................................................. ...
..............................................................................................................................................................................
วธิ แี ก้ปัญหา
............................................................................................................................. .............................................. ...
........................................................................................................................................................................... ...
..............................................................................................................................................................................
ผลของการแก้ปัญหา
............................................................................................................................. .............................................. ...
............................................................................................................................. .............................................. ...
..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ................................................ ครผู สู้ อน
(นางสาวมานิตา มุมทอง)
........... /............ /..........

112

10. ผลการจดั การเรียนรู้

พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของนกั เรียน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สมรรถนะของนกั เรยี น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................. ............................................................................

จุดเดน่ - จดุ ทคี่ วรพัฒนาของการจดั กิจกรรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะในการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ................................................ ครูผสู้ อน
(นางสาวมานติ า มุมทอง)
........... /............ /..........

113

แบบทดสอบกอ่ น- หลังเรียน
คำช้ีแจง : แบบทดสอบฉบบั น้เี ปน็ แบบทดสอบปรนัยชนิดกาถูกผดิ 10 ขอ้ 10 คะแนน ใหน้ ักเรยี นทำ
เครอ่ื งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ท่มี เี นื้อความถูกต้อง และทำเครื่องหมาย  หน้าข้อทมี่ เี นื้อความไม่ถกู ตอ้ ง

_______ 1. หลกั การยอ่ ความจะตอ้ งใชส้ รรพนามบุรุษท่ี 2 เทา่ นั้น
_______ 2. การย่อความ คอื การเก็บใจความเรอื่ งทีอ่ ่านหรอื ฟังอยา่ งย่อ ๆ โดยใหม้ ีเนื้อหาครอบคลมุ
สาระสำคัญของเรื่องครบถ้วน
_______ 3. ในการยอ่ ความจะต้องเปล่ียนคำราชาศพั ทเ์ ปน็ คำทัว่ ไปเสมอ
_______ 4. หากเรื่องที่นำมาเขยี นยอ่ ความไมม่ ีชอ่ื เรอื่ ง ให้เขยี นช่อื เรือ่ งเอง
_______ 5. ควรย่อความให้สน้ั ที่สุด โดยเกบ็ ประโยคใจความสำคญั และประโยคประกอบทเ่ี ด่น ๆ ไว้
_______ 6. การยอ่ ความนำประโยคใจความสำคญั และประโยคประกอบมาเรยี งให้สละสลวยได้ใจความ
_______ 7. อา่ นเนื้อความครา่ ว ๆ เพอื่ หาประโยคใจความสำคญั และประโยคประกอบกอ่ นลงมือยอ่ ความ
_______ 8. ในการย่อความ จะทำการข้ึนย่อหน้าใหมเ่ ฉพาะเนอ้ื ความทีแ่ ยกไวห้ รอื ไมเ่ กี่ยวขอ้ งกนั
_______ 9. ในการย่อความจะต้องคงสำนวนของผูเ้ ขยี นบทความท่เี รานำมายอ่ ความเสมอ
_______ 10. หากบทความทนี่ ำมายอ่ เป็นรอ้ ยกรอง ให้คงบทรอ้ ยกรองเอาไว้

ช่ือ...............................................................................................................ชนั้ ...............................เลขท.ี่ ............

114

เฉลยแบบทดสอบกอ่ น- หลังเรยี น
คำชี้แจง : แบบทดสอบฉบบั น้ีเป็นแบบทดสอบปรนยั ชนิดกาถกู ผดิ 10 ขอ้ 10 คะแนน ให้นกั เรยี นทำ
เครอื่ งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ทม่ี ีเนือ้ ความถกู ต้อง และทำเครอื่ งหมาย  หนา้ ข้อที่มีเนื้อความไม่ถูกต้อง

_______ 1. หลกั การย่อความจะต้องใชส้ รรพนามบุรุษท่ี 2 เท่านน้ั
___✓____ 2. การย่อความ คือ การเก็บใจความเรอ่ื งที่อา่ นหรอื ฟงั อย่างย่อ ๆ โดยใหม้ เี นอ้ื หาครอบคลมุ
สาระสำคัญของเรอื่ งครบถว้ น
_______ 3. ในการยอ่ ความจะต้องเปลีย่ นคำราชาศพั ทเ์ ปน็ คำท่วั ไปเสมอ
___✓____ 4. หากเรือ่ งทนี่ ำมาเขยี นยอ่ ความไม่มีชอ่ื เรื่อง ใหเ้ ขียนชื่อเร่อื งเอง
___✓____ 5. ควรย่อความใหส้ ้ันทสี่ ุด โดยเก็บประโยคใจความสำคญั และประโยคประกอบทเ่ี ดน่ ๆ ไว้
___✓____ 6. การย่อความนำประโยคใจความสำคญั และประโยคประกอบมาเรยี งให้สละสลวยไดใ้ จความ
_______ 7. อ่านเนื้อความครา่ ว ๆ เพื่อหาประโยคใจความสำคัญและประโยคประกอบกอ่ นลงมอื ยอ่ ความ
___✓____ 8. ในการยอ่ ความ จะทำการขน้ึ ย่อหนา้ ใหม่เฉพาะเนอื้ ความทแี่ ยกไว้หรือไมเ่ ก่ียวขอ้ งกนั
_______ 9. ในการย่อความจะต้องคงสำนวนของผู้เขียนบทความทเี่ รานำมาย่อความเสมอ
_______ 10. หากบทความทน่ี ำมาย่อเปน็ รอ้ ยกรอง ให้คงบทรอ้ ยกรองเอาไว้

ชอื่ ...............................................................................................................ชน้ั ...............................เลขที่.............

115

แบบประเมินคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ (รายบคุ คล)
ช่อื -สกุล.........................................................................................ห้อง............................เลขท่ี..................

คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องท่ีตรง

กับพฤติกรรมของผู้เรยี น

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อันพงึ ประสงค์ 3210

1.1 ไม่ลอกเพอ่ื นขณะทำแบบทดสอบทง้ั กอ่ นเรียนอก

1. ซอื่ สัตย์สุจรติ และหลังเรียน
1.2 ประพฤตติ นตรงตามความเป็นจริงตอ่ ตนเอง

1.3 ประพฤติตนตรงตามความเปน็ จรงิ ต่อผ้อู ื่น

2.1 แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ท่ีครูช้แี นะ

2. ใฝ่เรียนรู้ 2.2 มีการจดบนั ทกึ ความรู้ทไี่ ดจ้ ากการเรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ

2.3 สรปุ ความร้ทู ไี่ ดจ้ ากการเรียนอย่างมีเหตผุ ลและถกู ต้อง

3. มงุ่ มั่นในการทำงาน 3.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงาน
3.2 มีความอดทนและไม่ย่อทอ้ ตอ่ อุปสรรคเพือ่ ให้งานสำเรจ็

รวม

ลงช่ือ..............................................................ผูป้ ระเมิน
(นางสาวมานิตา มมุ ทอง)

........... /.............................. /.............

เกณฑ์การให้คะแนน
-พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
-พฤติกรรมท่ปี ฏิบัตชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน
-พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตบิ างครง้ั ให้ 1 คะแนน
-พฤติกรรมที่ไม่ไดป้ ฏบิ ัติ ให้ 0 คะแนน

สรปุ ผลการประเมิน (ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 ขน้ึ ไป)
 ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
หมายเหตุ ผ้ผู า่ นเกณฑ์ประเมินตอ้ งได้ 20 คะแนนข้นึ ไปคดิ เป็นร้อยละ 80

116

แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านของผู้เรยี น
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท.ี่ ...... ปีการศกึ ษา.............

คำชแ้ี จง สงั เกตพฤติกรรมการการปฏิบัตงิ านของผู้เรียนในการเรียนการสอน แลว้ บนั ทึกผลเปน็ รายบคุ คล

แบบรายงานการสงั เกต สรปุ

กระตือ มีสว่ นร่วม มคี วาม ชว่ ย รบั ฟงั รวม ผา่ น /

ช่ือ-สกลุ รือร้นใน ในการทำ ซื่อสัตยใ์ น เหลือและ ความ (15) ไม่ผ่าน

1. การทำ กิจกรรม การ แนะนำ คดิ เหน็ เกณฑ์
2.
3. กิจกรรม (3) แข่งขัน เพ่อื นคน ของ การ
4.
5. (3) (3) อืน่ ผ้อู ่นื ประเมนิ
1.
2. (3) (3) รอ้ ยละ
3.
4. 70
5.

ลงชอื่ ..................................................... ผ้ปู ระเมนิ
(นางสาวมานติ า มุมทอง)

วนั ท่ี....... เดือน....................... พ.ศ...............
เกณฑ์การให้คะแนน

-พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตชิ ดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
-พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
-พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบตั บิ างครัง้ ให้ 1 คะแนน
-พฤติกรรมทไ่ี มไ่ ด้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน
หมายเหตุ
- ผ้ผู า่ นเกณฑ์ประเมินตอ้ งได้ 12 คะแนนขึน้ ไปคิดเปน็ รอ้ ยละ 80

117

เอกสารประกอบการเรียนรเู้ ร่อื ง การเขียนย่อความ

การเขียนย่อความ
ย่อความ คือ การเกบ็ ใจความเร่อื งทีอ่ า่ นหรือฟงั อย่างย่อ ๆ โดยให้มีเนอ้ื หาครอบคลุมสาระสำคญั ของเรื่อง

ครบถว้ น มีหลกั การเขียนดังนี้
๑. ใช้คำนำใหถ้ ูกต้องตามประเภทของเรอื่ ง
๒. ใชส้ รรพนามบุรุษที่ ๓
๓. ใช้สำนวนผู้ย่อ ถา้ เป็นร้อยกรองกต็ อ้ งเปล่ียนเป็นร้อยแกว้ ยกเวน้ คำราชาศพั ทใ์ ห้คงไวต้ ามเดมิ
๔. หากใจความที่ย่อไมม่ ีชื่อเรื่อง ต้องคิดช่ือเร่ือง
๕. เขียนเรือ่ งทยี่ ่อติดกนั ข้นึ ย่อหน้าใหมเ่ ฉพาะเนือ้ ความทแ่ี ยกไวห้ รอื ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกนั
๖. อา่ นเน้อื ความให้ละเอยี ด เพ่อื หาประโยคใจความสำคัญและประโยคประกอบกอ่ นลงมือยอ่ ความ
๗. นำประโยคใจความสำคญั และประโยคประกอบมาเรยี งใหส้ ละสลวยได้ใจความ
๘. ควรย่อความใหส้ ั้นท่ีสดุ โดยเก็บประโยคใจความสำคญั และประโยคประกอบที่เดน่ ๆ ไว้

รปู แบบการขน้ึ คำนำย่อความ
๑. แบบของบทความ สารคดี ตำนาน นิทาน นยิ าย เรอื่ งสนั้ ฯลฯ
ย่อ_______________เรื่อง_________________ของ_________________
จาก_________________ความว่า

๒. แบบของจดหมาย สาสน์ หนังสอื ราชการ
ย่อ______________ฉบบั ท่ี_________________ของ_________________
ลงวนั ท่ี______________ความวา่

118

๓. แบบของประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ ระเบยี บคำสง่ั ฯลฯ
ยอ่ _______________เรอ่ื ง_________________ของ_________________
ลงวนั ที่______________ความว่า

๔. แบบของขา่ ว
ย่อขา่ วเรอื่ ง_____________________ของ_____________________
ลงวันท่ี__________________ความวา่

๕. แบบของโอวาท คำปราศรยั สนุ ทรพจน์
ย่อ____________เร่อื ง_________________แก่_________________
เนือ่ งใน__________________ที่_________________ณ วนั ที่_________________ความว่า

๖. แบบของปาฐกถา คำสอน คำบรรยาย ถ้อยแถลง
ย่อ____________ของ__________________เร่ือง__________________
แก่___________________ที่____________________ ณ วนั ที่____________________
เวลา____________________ความวา่

๗. แบบพระบรมราโชวาท เทศนา
ยอ่ (พระบรมราโชวาท เทศนา) ใน__________________พระราชทานแก่___________________
ใน__________________ท่ี_________________ณ วันท่ี_________________ความวา่

119

๘. แบบของจดหมายเหตุ จดหมายเหตรุ ายวัน บนั ทึกความจำ
ยอ่ _____________ของ_________________เน่อื งใน_________________
ลงวันที่______________เรื่อง_________________ความว่า

๙. แบบคำประพันธท์ เี่ ป็นบทรอ้ ยกรอง
ยอ่ คำประพนั ธ์ประเภท_______________เร่ือง___________________
ของ___________________ตอน_________________ ความว่า

๑๐. ความเรียงทต่ี ัดตอนมา
ย่อเรือ่ ง_____________________ของ_____________________
คดั จากเรื่อง__________________จากหนังสอื __________________ความว่า

120

ตัวอย่าง

ไกช่ นไทย

กีฬาไก่ชนหรอื กฬี าตไี ก่ ปจั จุบนั ยงั เป็นกฬี าพ้ืนบา้ นทีพ่ บเห็นได้ทว่ั ไป และหากได้สบื สาวถงึ ทม่ี าของกฬี า
นแ้ี ล้วจะเห็นวา่ ท้ังกฬี าชนไก่และสายพนั ธข์ุ องไก่ชนไทยเปน็ ภมู ปิ ญั ญาไทยแขนงหนง่ึ และอยคู่ ู่กบั วฒั นธรรม
ไทยมานานแลว้

ไก่ชนพัฒนามาจากไก่บ้านหรอื ไกเ่ ล้ียงท่มี อี ยทู่ วั่ ไปในโลกนี้ ซงึ่ ก่อนหนา้ นไ้ี กบ่ ้านก็ลว้ นพฒั นามาจากไก่
ปา่ ซ่ึงแม้จะเปน็ ไก่บา้ นแต่มนั กม็ ีสญั ชาตญาณของสตั วป์ า่ ตามกฎเกณฑข์ องธรรมชาตทิ ่ตี อ้ งมีการตอ่ สเู้ พือ่
ความอยู่รอด ท้ังสู้กบั สัตวอ์ ่ืนและสตั ว์ประเภทเดียวกนั กฬี าไก่ชนจงึ มคี วามสำคญั ท่ีการคัดเลอื กสายพันธ์ไุ กท่ ี่
เป็นหัวหนา้ ฝูงหรือพ่อพนั ธจ์ุ ึงถูกคัดเลอื กโดยธรรมชาติตามหลกั ทวี่ า่ “ตัวท่แี ข็งแรงจงึ จะอยรู่ อด” และตัวท่จี ะ
เป็นผนู้ ำก็คือตวั ท่ีเขม้ แข็งหรอื เก่งกวา่ เท่าน้ัน

เมือ่ มนุษย์นำไกป่ ่ามาเล้ียงเพ่ือเป็นอาหารท่ไี ด้ทั้งไข่และตวั ไกน่ ัน้ ไกบ่ างพันธุ์ยงั คงสญั ชาตญาณการตอ่ สู้
ไว้ เมือ่ เจอไก่แปลกหน้าเป็นตอ้ งสกู้ ันเพอ่ื ปอ้ งกนั ตัวเอง ตวั เมีย แหลง่ พำนกั อาหาร ฯลฯ คนโบราณจึงคดั เลือก
ไกท่ ่ชี อบการตอ่ สมู้ าเล้ยี งและนำมาสู้กันหรือท่ีเรยี กวา่ “ชนไก”่

พันธไุ์ ก่ชนของไทยท่ีถือเป็น “มรดกไทย” แต่คร้งั สมัยสุโขทยั มาจนปจั จบุ นั มีหลายสายพนั ธ์ุ พันธทุ์ ่เี ดน่
มาแตอ่ ดตี ได้แก่ พันธป์ุ ระดหู่ างดำและพันธเ์ุ หลอื งหางขาว ในสมัยสุโขทยั ไกช่ นประดหู่ างดำ พนั ธุแ์ สมดำ ได้
ชอ่ื ว่าเป็น “ไกพ่ อ่ ขุน” ดว้ ยเปน็ ไก่ท่พี ่อขนุ รามคำแหงมหาราชทรงโปรด

สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยามกี ารเลา่ ขานถงึ ความเก่งของไกช่ นไทยสายพนั ธุเ์ หลืองหางขาว ซง่ึ เป็นไก่ชนลกั ษณะ
พิเศษ มีความเฉลียวฉลาดในการต่อสจู้ งึ ชนะ จนได้ชอ่ื ว่า “เหลืองหางขาวไก่เจา้ เล้ยี ง” เพราะเป็นไก่ที่สมเดจ็
พระนเรศวรมหาราชทรงนำไปจากบ้านกร่าง เมอื งพิษณโุ ลก และตชี นะไก่ของนดั จินหน่อง มหาอุปราชกะยอ
ชวาที่กรงุ หงสาวดีแหง่ พม่า

พนั ธ์ไุ กช่ นของไทยมกี ารพฒั นามาโดยภูมิปญั ญาไทยทก่ี ระจายอยูท่ ว่ั ทกุ ภมู ิภาค การเลีย้ งไก่ชนนัน้ ไม่
เหมอื นการเลย้ี งไก่ธรรมดา คนเลย้ี งจะต้องเลย้ี งอาหารแบบพ้นื บ้านคือเลยี้ งดว้ ยขา้ วเปลอื กเพราะจะทำให้
ลำคอแข็งแรง ไมล่ ม้ ง่ายเวลาถกู ตจี ากไก่ตัวอื่น เวลาเล้ียงต้องใหล้ กู ไกเ่ รยี นรู้สัญชาตญาณจากแม่เสียกอ่ น สว่ น
ไก่ทโ่ี ตแล้วก็เล้ียงในบริเวณพ้ืนทีจ่ ำกดั และปลอ่ ยใหค้ ลายเครยี ดในเวลาตอนเย็น การดูแลไก่ชนประเภทนีต้ ้องมี
การฝึกซ้อม เชน่ การใช้กล้วยลอ่ ให้วิง่ ตามเพ่อื ฝกึ พละกำลงั ขา ต้องใชผ้ ้าเชด็ ปากหลงั จากกนิ อาหารเพื่อป้องกัน
การตดิ เชือ้ โรค ใชผ้ า้ ชบุ นำ้ เชด็ ตัวและแข้งให้สะอาดเงางาม ในฤดหู นาวให้ใช้ผา้ ชุบนำ้ อ่นุ เช็ดตวั เพอ่ื ป้องกันการ
ตดิ หวดั และซอ้ มการออกอาวุธให้มาก เมื่อไก่แข็งแรงพร้อมที่จะเปน็ ยอดนักสู้ได้แล้วจงึ นำสู่สนามไก่ชน

121

(อรุณี ตันศิริ ของ วฒั นธรรมถนิ่ วฒั นธรรมไทย)
ย่อบทความเรอ่ื ง ไกช่ นไทย ของ อรณุ ี ตันศิริ จากหนังสือ วัฒนธรรมถิ่น วฒั นธรรมไทยความว่า

กฬี าไกช่ นเปน็ กีฬาพ้นื บา้ นทอ่ี ยคู่ กู่ บั วฒั นธรรมไทยมายาวนาน ไกช่ นพัฒนามาจากไกบ่ า้ นซง่ึ ยังคงหลงเหลือ
สัญชาตญาณของไกป่ ่าทตี่ ้องมกี ารต่อสู้เพ่อื ความอยูร่ อด กฬี าไกช่ นจงึ มคี วามสำคัญท่กี ารคัดเลือกสายพันธุ์ตาม
หลกั ธรรมชาตทิ ่ีวา่ “ตัวท่แี ขง็ แรงจงึ จะอยู่รอด” และตัวทีจ่ ะเป็นผู้นำกค็ ือตัวทเี่ ข้มแขง็ หรอื เกง่ กวา่ เท่านัน้ ใน
สมยั สโุ ขทยั ไกช่ นประดหู่ างดำ พนั ธ์ุแสมดำ ซง่ึ เป็นสายพันธเ์ุ ด่นในสมัยนน้ั ไดช้ อ่ื วา่ เป็น “ไก่พ่อขนุ ” เหตุ
เพราะพ่อขนุ รามคำแหงมหาราชทรงโปรดสว่ นในสมยั กรุงศรอี ยุธยาไก่ชนไทยสายพันธเุ์ หลืองหางขาว ได้ชือ่ วา่
“เหลืองหางขาวไกเ่ จ้าเลยี้ ง” เพราะเปน็ ไก่ทีส่ มเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงนำไปตีชนะไก่ทกี่ รงุ หงสาวดแี หง่
พมา่ จากอดีตถงึ ปจั จุบนั พันธไุ์ กช่ นของไทยจงึ มกี ารพัฒนามาโดยภมู ิปญั ญาไทยและมีวิธีการเล้ียงดแู บบ
พน้ื บา้ นอยา่ งเอาใจใสแ่ ละหมน่ั ฝึกซ้อม เมอ่ื ไกแ่ ข็งแรงพรอ้ มท่ีจะเป็นยอดนักสจู้ ึงนำลงสสู่ นามไก่ชน

ท่มี า
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31730-044307

122

บทความเร่อื ง

โครงการ We Gen We Shared มันแกวบรบอื

กรุงเทพฯ--5 ก.ย.--ดีซี คอนซัลแทนส์ แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง คอมมูนิเคชั่นส์ “มัน สร้าง สุข” มัน
แกวบรบอื ของดมี หาสารคาม “มันแกวมากเหลือเกลอื ใตด้ ินมากมี ผ้าไหมดมี ากคา่ งามสงา่ สวนหนองบ่อ
ศกั ดส์ิ ทิ ธ์พิ ่อปู่จูมคำ หวานล้ำแตงโม” จากคำขวัญประจำอำเภอบรบอื จงั หวัดมหาสารคาม จะเหน็ ไดว้ ่าอำเภอ
นเ้ี ป็นแหล่งผลิตมนั แกวชัน้ นำของประเทศไทยเลยทีเดยี ว หลายคนคงทราบดีวา่ “มนั แกว” เปน็ พชื เศรษฐกจิ ท่ี
ขึ้นชอื่ ของอำเภอบรบอื จงั หวัดมหาสารคามสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ชาวบ้านหลายพันครัวเรือน เนอ่ื งจากเป็นพืช
เศรษฐกิจที่เพาะปลูกง่ายปลกู ได้ตลอดทั้งปมี นั แกวบรบือจงึ ที่รู้จักแพร่หลายแถมยังมีรสชาติหอม หวาน มัน
กรอบ สามารถนำมาแปรรปู เปน็ ผลติ ภัณฑไ์ ด้หลากหลายและน่ารับประทานอยา่ งยงิ่ ที่ขายดีในท้องตลาดก็มี
กะหรี่ปบั๊ ไส้มันแกว พายมันแกว และโมจิไสม้ นั แกว เป็นต้นซง่ึ ผลติ ภัณฑ์เหลา่ นีส้ ามารถสร้างรายได้ให้กับ
ชาวบา้ นเพิ่มเติมจากการขายมันแกวสดเพียงอยา่ งเดียว แตท่ ่ีผ่านมาการทำตลาดผลติ ภณั ฑ์เหลา่ น้ยี ังไม่ค่อยดี
นัก สนิ คา้ จงึ ยังไม่เป็นทีร่ ูจ้ ักแพรห่ ลาย ทั้งน้ีก็เพราะชาวบา้ นไม่ได้ทำการสอ่ื สารการตลาด เพ่ือใหเ้ กิดการรับรู้
ต่อผลิตภณั ฑเ์ ท่าท่คี วร ดงั นั้นจงึ เกิดการรวมตวั กนั ขึน้ ของนิสติ จากรว้ั มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม คณะวทิ ยาการ
สารสนเทศ สาขานเิ ทศศาสตร์ เอกการประชาสมั พันธ์ เพื่อจัดตั้งโครงการ WE GEN WE SHARED ขึ้นเพ่ือ
รณรงค์และใหค้ วามรดู้ ้านการวางแผนการส่ือสารการตลาดเชงิ บูรณาการ การผลิตสื่อเพือ่ ประชาสัมพั นธ์
ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนปลกุ พลงั จิตอาสาใหก้ ับเยาวชนคนรุน่ ใหม่ในอำเภอบรบอื ไดต้ ระหนักถงึ ความสำคัญของ
มันแกวในฐานะ “พชื เศรษฐกิจทม่ี ีคุณคา่ ย่ิงตอ่ ชุมชน” น้องๆ นิสิตกลุ่มน้ีไดส้ ง่ โครงการเข้าประกวดภายใต้
โครงการทูตความดแี หง่ ประเทศไทย GEN A (Generation Active)จติ อาสาเปลยี่ นประเทศ และได้รับการ
คัดเลอื กให้ผ่านเข้ารอบเป็น 1 ใน 33 โครงการจากทว่ั ประเทศที่ถอื ว่ามคี วามน่าสนใจมากทเี ดียว นายนพรัตน์
มาลาลำ้ หรือน้องอน๋ั ประธานโครงการเลา่ วา่ โครงการน้ีเรม่ิ ตน้ จากการรวมตวั ของกล่มุ เพอ่ื นๆน้องๆในสาขา
ประชาสัมพนั ธ์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม โดยการนำความรจู้ ากหอ้ งเรียนในเรื่อง
การวางแผนการสือ่ สารการตลาดเชิงบรู ณาการและการผลติ ส่ือเพ่อื การประชาสัมพนั ธ์ มาปรบั ใชใ้ นการทำการ
สือ่ สารประชาสัมพันธใ์ ห้กับมนั แกวพืชเศรษฐกิจประจำอำเภอบรบือใหม้ มี ลู คา่ เพมิ่ และสรา้ งรายได้ใหก้ ับชมุ ชน
ดว้ ยผลติ ภณั ฑท์ ี่ผา่ นการแปรรูปจากมันแกวของชมุ ชน ในการปฏิบตั ภิ ารกจิ จติ อาสาของทมี WE GEN WE
SHARED ครง้ั นเ้ี ร่มิ จากการจัดประชุมเชงิ ปฏิบัติการ หรือเวิรค์ ชอปในหัวข้อ“มันหลากหลาย” ซ่ึงเปน็ การให้
ความรแู้ ก่เยาวชน นักเรยี นโรงเรียนบรบือวทิ ยาคารและสมาชิกในชมุ ชนเก่ยี วกับเรอื่ งมันแกวบรบอื เร่ิมต้ังแต่
เร่อื งสายพนั ธขุ์ องมันแกวบรบือ ประโยชนจ์ ากมนั แกวบรบอื การเพาะปลูกมนั แกวบรบอื ตลอดจนการพฒั นา
และแปรรปู มันแกวบรบอื ให้เปน็ ผลติ ภณั ฑต์ ่างๆอยา่ งหลากหลาย เพื่อใหเ้ ยาวชนได้เห็นวา่ มนั แกวคอื ส่งิ ท่มี คี า่
มากที่สดุ ในชมุ ชน หลงั จากทีเ่ ยาวชนและสมาชิกในชมุ ชนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมไดร้ บั ความร้เู ก่ียวกบั มนั แกวบรบือ
แลว้ กน็ ำมาสู่การพฒั นาและแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากมันแกวใหม้ ีความหลากหลาย มีการสาธิตวิธกี ารทำขนม

123

หวานทับทมิ กรอบจากมนั แกวโดยเยาวชนทมี WE GEN WE SHARED ซ่ึงในกระบวนการทำขนมทับทมิ กรอบ
นน้ั ไม่มีการใชส้ ีผสมอาหารแต่จะใชส้ ีที่สกดั จากธรรมชาตเิ ชน่ สนี ้ำเงินจากดอกอญั ชญั สีแดงจากดอกกระเจ๊ยี บ
สีส้มจากแครอท และสีเขียวจากใบเตย เพือ่ ให้เปน็ ผลิตภัณฑต์ วั ใหม่ทีม่ คี ุณคา่ ทางโภชนาการเหมาะสำหรบั ทกุ
เพศทุกวยั โดยเฉพาะเยาวชน และเปิดโอกาสให้เยาวชนทเ่ี ข้าร่วมโครงการได้ฝกึ การวางแผ นก ารสื่อสาร
การตลาดเชิงบูรณาการและการผลิตสือ่ เพ่อื การประชาสัมพันธใ์ หก้ บั ผลิตภัณฑท์ แ่ี ปรรูปจากมันแกวไปในตัว
นางสาวนันทาศริ ิ สมใจ หรือ น้องนัน สมาชกิ โครงการ บอกว่านอกจากขนมหวานทบั ทมิ กรอบผลติ ภณั ฑ์ตัว
ใหม่ท่ีแปรรปู จากมนั แกวของเยาวชนทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการแล้ว ยงั มกี จิ กรรมอาสาพานอ้ งทำส่อื เพอ่ื ร่วมกันระดม
ความคิดระหว่างสมาชกิ ทมี WE GEN WE SHARED และกล่มุ เยาวชนเพอื่ ฝกึ การวางแผนการสือ่ สารการตลาด
และการผลิตส่อื เพ่ือการประชาสมั พนั ธใ์ หก้ บั ขนมหวานทับทมิ กรอบ ภายใตแ้ นวคิด “มันสร้างสขุ ” อกี ดว้ ย ใน
ส่วนนี้จะสอนน้องๆเยาวชนให้รู้จักวางแผนการสื่อสารการตลาดเชิงบรู ณาการและการทำสื่ อเพ่ือการ
ประชาสมั พนั ธป์ ระกอบไปด้วย สอ่ื ส่ิงพิมพไ์ ดแ้ ก่ การทำแบนเนอรแ์ ละออกแบบโลโก้สต๊ิกเกอร์ให้กับบรรจุ
ภัณฑ์ สื่อเสียงได้แก่ การทำสปอตวิทยเุ พือ่ โฆษณาขนมหวานทับทิมกรอบ ขณะที่สื่อเครอื ข่ายสังคม
ออนไลน์Social Network จะใช้สอื่ อินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการประชาสัมพันธ์ และสุดท้ายกับการจัด
กจิ กรรมพเิ ศษ special event เผยแพรส่ อื่ ต่างๆทง้ั หมดของขนมหวานทบั ทมิ กรอบของกล่มุ เยาวชนรวมไปถงึ
การนำขนมหวานทับทิมกรอบออกจำหน่ายสตู่ ลาดภายในอำเภอบรบือ ปดิ ท้ายด้วยกิจกรรม EVENT “มัน
สรา้ งสขุ ”เป็นการทดลองจัดจำหน่ายขนมหวานทบั ทิมกรอบ “มันสร้างสขุ ” ของกล่มุ นอ้ งๆเยาวชน ออกสู่
ตลาดโดยเรม่ิ ต้นจากการจำหน่ายโดยการต้งั บธู เล็กๆ ทห่ี น้าโรงเรียนบรบือวิทยาคารในชว่ งหลังโรงเรียนเลิก
และจดั จำหน่ายในวนั จันทรช์ ่วงเยน็ ท่ตี ลาดนัดคลองถม ประจำอำเภอบรบอื กิจกรรมทงั้ หมดของโครงการน้ี
มงุ่ เน้นใหเ้ ยาวชนและชาวอำเภอบรบือไดต้ ระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของมันแกวทเี่ ป็นพืชเศ รษฐกิจ
ประจำอำเภอ นอกจากนี้ยังสามารถต่อยอดเพ่ือพัฒนาและแปรรูปมันแกวเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆได้อย่าง
หลากหลายไม่ซ้ำซอ้ นรวมถึงสามารถขบั เคลื่อนขยายเครือขา่ ยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ของชุมชนได้อยา่ ง
กวา้ งขวาง และทำการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งทัว่ ถึงให้สมกับท่เี ปน็ พชื เศรษฐกจิ ทข่ี ้นึ ช่ือของอำเภอบรบอื ไม่แน่ เรา
อาจจะมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่ถูกปากผู้บรโิ ภคชาวไทยและเป็นที่นิยมไปท่ัวโลกก็เปน็ ได้ อย่าได้ดูถูกพลงั
สรา้ งสรรคข์ องเยาวชนไทยกัน เพราะคนไทยเราเกง่ ไมแ่ พช้ าตใิ ดในโลกอย่แู ลว้

124

ชือ่ ........................................................................................................ชั้น...................................เลขท่.ี ...............

การเขยี นยอ่ ความ

คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนเขยี นยอ่ ความจากบทความเร่ืองกะหรปี่ ๊บั ไสม้ นั แกว

.......................................................................

......................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................... ...................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

125

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7
หนว่ ยการเรยี นรู้ “กะหร่ปี ั๊บไส้มนั แกว” โดยบรู ณาการการจดั การเรียนรู้แบบประสบการณ์

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิชาภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3

เรื่อง ระดับภาษา เวลา 2 ชว่ั โมง

ครผู ูส้ อน........................................ วนั ที่สอน ……/…../……

________________________________________________________________________________

1. สาระสำคัญ
เรียนรู้การทำกะหร่ีป๊ับไส้มันแกวเป็นกลุ่ม เพื่อใหท้ ราบถึงข้ันตอนละเทคนิคการทำ เข้าใจและ

ตระหนักถงึ ความสำคัญของภมู ิปัญญาท้องถิน่ สามารถนำไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ เรียนรู้ในเรื่องระดับ
ของภาษาแลว้ นำมาประยกุ ต์ใช้ในการแต่งบทรอ้ ยกรองโฆษณากะหรป่ี ๊บั ของกลมุ่ ตนเอง

2. มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราว

ในรูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ตวั ชี้วดั การเรียนรู้
ท 2.1 ม.3/2 เขียนขอ้ ความโดยใช้ถอ้ ยคำไดถ้ กู ตอ้ งตามระดับภาษา
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด

และความรสู้ ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวช้ีวดั การเรียนรู้
ท 3.1 ม.3/4 พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตามวัตถุประสงค์
มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา

และพลังของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ
ตวั ชว้ี ดั การเรียนรู้
ท 4.1 ม.3/6 แต่งบทร้อยกรอง

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ความรู้ (K)
1. ผู้เรยี นเขา้ ใจเรือ่ งของระดับภาษา
ทกั ษะ (P)
2. ผูเ้ รียนสามารถแตง่ บทร้อยกรองตามทีก่ ำหนดได้

126

เจตคติ (A)
3. ผเู้ รียนตระหนกั ถึงความสำคัญของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน

4. สาระการเรยี นรู้
1. ขนั้ ตอนการทำกะหรีป่ บั๊ ไส้มันแกว
2. หลักการแตง่ บทร้อยกรอง
3. ระดบั ภาษา

5. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
1. ซ่อื สัตย์
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

6. ผลงานทต่ี อ้ งการ
1. กะหรป่ี บั๊ ไส้มันแกว

2. บทรอ้ ยกรองโฆษณากะหรป่ี ๊ับไสม้ ันแกว

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ี 5 ข้นั ตอนดงั น้ี
1) ขน้ั เตรยี มความพร้อม (20 นาที)
1.1) ทำการทักทายและตรวจสอบรายชื่อนกั เรยี นว่าขาด ลา มา หรอื มาสาย
1.2) ทำข้อตกลงในการเรยี นการสอนรว่ มกนั ระหวา่ งผูเ้ รียนผู้สอน พร้อมบอกกจิ กรรมทจี่ ะทำการ

เรยี นรู้ในคาบน้ี
1.3) ครูพานักเรยี นเตรียมความพร้อมก่อนเข้าส่เู นอื้ หาโดยการพา Brain Gym ด้วยท่าบริหาร

‘โปง้ – ก้อย’ ประกอบจงั หวะ
วิธีปฏบิ ตั ิ

1. ยกมือท้ังสองข้างใหม้ อื ขวาทำท่าโป้งโดยกำมอื และยกหวั แมม่ อื ขึน้ มา สว่ นมอื ซา้ ยให้ทำทา่

กอ้ ย โดยกำมือและเหยียดนวิ้ กอ้ ยชอี้ อกมา
2. เปลี่ยนมาเปน็ โป้งด้วยมือซา้ ยและก้อยดว้ ยมือขวา
3. ให้ทำสลับกันไปมาตามจังหวะเพลง (ควรเป็นเพลงทม่ี จี ังหวะไม่เร็วจนเกนิ ไป)

1.4) นำเข้าสู่บทเรียนดว้ ยการสอบถามพดู คยุ ถงึ ความรู้ความเขา้ ใจเร่อื ง ระดบั ภาษาและการแต่ง
บทร้อยกรอง

127

1.5) ทดสอบความรู้ความเขา้ ใจเรือ่ งระดับภาษาและการแต่งบทรอ้ ยกรองของนักเรียนดว้ ย
แบบทดสอบปรนัยกาถูกผดิ 10 ข้อ 10 คะแนน เมอื่ หมดเวลาทดสอบ ให้คุณครูเกบ็ รวบรวมแบบทดสอบ
สำหรับนำไปประเมินความรู้ของนักเรียนต่อไป

2) ขน้ั นำเสนอความรู้ (15 นาที)
2.1) ครแู จกเอกสารความรูเ้ รอื่ งระดับภาษาและการแต่งกลอนสภุ าพใหแ้ กน่ กั เรียน
2.2) ครอู ธบิ ายและใหค้ วามร้ใู นรูปแบบของการบรรยาย รว่ มกบั การอภปิ รายและยกตัวอยา่ งระดบั

ภาษาท่ีนักเรียนรู้จกั หรือเปน็ ที่รู้จักมาอธบิ ายเปน็ ตวั อย่าง
2.3) ครอู ธบิ ายประเภทและหลักการแต่งกลอนสภุ าพเพอ่ื นำความรู้ไปใช้ในกิจกรรมตอ่ ไป
2.4) ในขณะทท่ี ำการเรียนการสอน ครคู อยสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นเพ่อื บันทึกผลล งใ น

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
3) ขั้นลงมอื ปฏิบัตจิ ริง (40 นาที)
3.1) ครพู านกั เรียนทำกจิ กรรมทำกะหร่ีปบ๊ั ไส้มนั แกว โดยการสาธติ วธิ ีการใส่ไสก้ ะหรป่ี ๊บั การพับ

แป้ง และขนึ้ รปู กะหรีป่ บ๊ั โดยทีค่ รูอาจจะสาธิตการผสมแปง้ และผสมไสม้ าเรียบรอ้ ยแล้ว และใหน้ กั เรยี นทำการ
ใส่ไสแ้ ละพบั แป้งเอง โดยแบ่งทำเปน็ กลมุ่ ๆ เมอื่ ทำเสร็จแล้วนำมาส่งครูเพ่อื นำไปทำให้สกุ ตอ่ ไป และให้
นกั เรียนทำความสะอาดมอื และบริเวณท่ที ำกะหรป่ี บั๊ เม่ือสกั ครู่ เพ่อื ทำกจิ กรรมลำดับถัดไป

3.2) ก่อนที่คณุ ครูจะทำกะหรป่ี บ๊ั ใหส้ ุก ให้คณุ ครูมอบหมายงานนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ แตง่ กลอนสุภาพ
ในหัวขอ้ การโฆษณากะหร่ีป๊บั ของกลุ่มตวั เองลงในกระดาษปรฟู๊ และตกแต่งใหส้ วยงามในเวลาที่กำหนด

3.3) เมอ่ื หมดเวลา ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมาอ่านบทกลอนของกลุ่มตนเอง จากนั้นจึงเก็บ
รวบรวมแบบฝกึ ทักษะของนกั เรียนเพอ่ื ไปทำการประเมินต่อไป

4) ขน้ั สรปุ (15 นาที)
4.1) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายประโยชนแ์ ละความรู้ทีไ่ ด้จากการทำกจิ กรรมการทำกะหรป่ี บั๊

และการแต่งกลอนสุภาพ
4.3) ครพู านักเรยี นทบทวนความรทู้ ั้งหมดท่ีได้รำ่ เรียนมาในชวั่ โมงน้ี

5) ขัน้ นำความรไู้ ปใช้ (20 นาที)
5.1) คุณครแู จกแบบทดสอบหลงั เรยี นใหน้ กั เรียนทำในเวลาท่กี ำหนด
5.2) เมื่อหมดเวลา ให้นกั เรยี นแลกกนั ตรวจกับเพอื่ น แล้วแจ้งคะแนนให้คุณครูกรอกคะแนน
5.3) ครูพดู คยุ ถงึ การเตรียมตัวสำหรับการเรียนในคาบหน้า และฝากใหน้ ักเรียนกลับไปทบทวน

ความรูท้ ่ไี ดร้ ับในวนั นี้ซำ้ แกครงั้ ท่บี า้ น รวมถึงการแจกกะหร่ปี บ๊ั ไส้มันแกวที่ทอดแล้วใหน้ ัดเรียนแตล่ ะกลุ่มไป
รับประทานฝีมอื ของตนเอง

128

8. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
- เอกสารความรู้เรื่องระดับภาษา
- เอกสารความรเู้ ร่อื งกลอนสภุ าพ
- การทำกะหรีป่ ั๊บไส้มันแกว
แหล่งการเรียนรู้
- ครู
- เวบ็ ไซต์ YouTube

129

9. การวดั ผลและประเมนิ ผล

การวัดผลประเมินผล วิธีการวดั และประเมินผล เคร่อื งมือท่ีใช้ เกณฑ์การประเมนิ

ผเู้ รยี นเขา้ ใจเร่ืองของ ทดสอบความรู้ความเขา้ ใจ แบบทดสอบปรนัย ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ

ระดับภาษา เร่อื งการเขียนยอ่ ความ แบบกาถูกผิด 10 ข้อ 70 ข้นึ ไป

10 คะแนน

ผเู้ รียนสามารถแต่งบทรอ้ ย วัดทกั ษะการแตง่ กลอน แบบบนั ทกึ คะแนน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ

กรองตามที่กำหนดได้ สุภาพตามทีก่ ำหนด และประเมินทักษะการ 70 ขนึ้ ไป

แต่งกลอนสุภาพ

ผเู้ รยี นตระหนักถึง สังเกตพฤติกรรมการให้ แบบประเมินพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ

ความสำคัญของภูมปิ ญั ญา ความร่วมมือในการเรยี น การปฏิบัตงิ านของ 70 ขน้ึ ไป

ทอ้ งถ่นิ ผเู้ รียน

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ สงั เกตพฤติกรรมของ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ

ผู้เรยี นทเ่ี ปน็ คณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงค์ 70 ขึ้นไป

อันพงึ ประสงค์ 3 คณุ ลกั ษณะ

แล้วบนั ทึกผล 4 ระดับคณุ ภาพ

ความคิดเห็นของผูบ้ ริหารสถานศึกษา / หรอื ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ...........................................ผู้ตรวจ
(..............................................................)
ตำแหน่ง.................................................
วันท.ี่ .......เดือน.....................พ.ศ............

130

บนั ทกึ ผลหลังการสอน

ผลการจดั การเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................... ........................................................................
..............................................................................................................................................................................
...
ปัญหาที่พบระหว่างเรยี น
............................................................................................................................. .............................................. ...
........................................................... ................................................................................................................ ...
..............................................................................................................................................................................
วธิ ีแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. .............................................. ...
................................... ........................................................................................................................................ ...
..............................................................................................................................................................................
ผลของการแกป้ ัญหา
............................................................................................................................. .............................................. ...
........................................................................................................................................................................... ...
...................... ..... .... .... .... .... .... ..... .... .... .... .... .... ..... .... .... .... .... ..... .... .... .... .... .... ..... .... .... .... .... .... ..... .... .... .... .... .... ..... .

ลงชือ่ ...........................................ผสู้ อน
(...........................................................)
วันท่ี........เดอื น.....................พ.ศ..........

131

10. ผลการจดั การเรยี นรู้

พฤติกรรมการเรยี นรู้ของนกั เรยี น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สมรรถนะของนักเรียน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

จุดเดน่ -จดุ ที่ควรพัฒนาของการจัดกิจกรรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะในการจดั การเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................ครูผู้สอน
(นางสาวมานติ า มมุ ทอง)
........... /............ /..........

132

แบบทดสอบกอ่ น- หลงั เรียน
คำช้แี จง : แบบทดสอบฉบบั น้ีเป็นแบบทดสอบปรนัยชนดิ กาถูกผดิ 10 ขอ้ 10 คะแนน ใหน้ กั เรยี นทำ
เครอ่ื งหมาย ✓ หนา้ ข้อท่มี เี นื้อความถูกต้อง และทำเครอ่ื งหมาย  หน้าขอ้ ทมี่ ีเนื้อความไมถ่ ูกต้อง

_______ 1. ระดบั ภาษาแบง่ ออกเปน็ 4 ระดบั เท่าน้ัน
_______ 2. การใชภ้ าษาขึน้ อยกู่ บั กาลเทศะ สถานการณ์ สภาวะแวดล้อม และสมั พนั ธภาพระหวา่ งบุคคล
_______ 3. ภาษาระดับกนั เองมักใช้สถานทที่ ่ีเป็นสาธารณะ
_______ 4. ภาษาระดับพธิ กี ารใชส้ อ่ื สารกนั ในที่ประชุมทจ่ี ัดขึน้ อยา่ งเป็นทางการ
_______ 5. ภาษาระดับทางการใช้บรรยายหรืออภปิ รายอย่างเป็นทางการในทปี่ ระชุมหรือใชใ้ นการเขียน
ขอ้ ความที่ปรากฏตอ่ สาธารณชนอย่างเป็นทางการ
_______ 6. กลอนสภุ าพเป็นกลอนหลักของกลอนทัง้ หมด เพราะเป็นพน้ื ฐานของกลอนหลายชนิด
_______ 7. กลอนสภุ าพนิยมเลน่ กนั มากตงั้ แต่สมยั สโุ ขทัย จวบจนถงึ ปัจจบุ นั
_______ 8. ในต้นรตั นโกสนิ ทร์น้นั งานกลอนสภุ าพเด่นชัดในรัชกาลที่ ๒ ซ่งึ เฟ่อื งฟูถึงขนาดมกี ารแข่งขนั ตอ่
กลอนสด กลอนกระทู้
_______ 9. การเรยี กชือ่ กลอน ๖ น้ันมาจากจำนวนคำใน 1 บท
_______ 10. กลอน ๘ เป็นกลอนที่หนึง่ บทมี ๔

ชอ่ื ...............................................................................................................ช้นั ...............................เลขท่.ี ...........

133

เฉลยแบบทดสอบกอ่ น- หลังเรยี น
คำช้ีแจง : แบบทดสอบฉบบั นเ้ี ป็นแบบทดสอบปรนัยชนดิ กาถกู ผดิ 10 ข้อ 10 คะแนน ให้นกั เรียนทำ
เครือ่ งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ท่ีมเี นอ้ื ความถกู ตอ้ ง และทำเครื่องหมาย  หนา้ ข้อท่มี เี นอื้ ความไม่ถกู ต้อง

_______ 1. ระดับภาษาแบง่ ออกเป็น 4 ระดับเท่านน้ั
___✓____ 2. การใชภ้ าษาขนึ้ อยู่กบั กาลเทศะ สถานการณ์ สภาวะแวดลอ้ ม และสมั พันธภาพระหวา่ งบคุ คล
_______ 3. ภาษาระดบั กนั เองมกั ใช้สถานที่ท่ีเป็นสาธารณะ
___✓____ 4. ภาษาระดบั พิธีการใช้สือ่ สารกันในท่ปี ระชมุ ทจี่ ดั ขึ้นอยา่ งเปน็ ทางการ
___✓____ 5. ภาษาระดบั ทางการใชบ้ รรยายหรืออภปิ รายอยา่ งเป็นทางการในท่ปี ระชมุ หรอื ใช้ในการเขียน
ขอ้ ความท่ปี รากฏต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ
___✓____ 6. กลอนสภุ าพเป็นกลอนหลกั ของกลอนทั้งหมด เพราะเป็นพ้ืนฐานของกลอนหลายชนิด
_______ 7. กลอนสภุ าพนิยมเลน่ กนั มากตัง้ แตส่ มัยสโุ ขทยั จวบจนถึงปัจจบุ นั
___✓____ 8. ในตน้ รัตนโกสินทร์นั้นงานกลอนสภุ าพเดน่ ชดั ในรชั กาลท่ี ๒ ซ่ึงเฟอื่ งฟถู งึ ขนาดมกี ารแขง่ ขนั
ตอ่ กลอนสด กลอนกระทู้
_______ 9. การเรยี กช่ือกลอน ๖ นั้นมาจากจำนวนคำใน 1 บท
_______ 10. กลอน ๘ เป็นกลอนท่หี นึง่ บทมี ๔ คำกลอน หนงึ่ คำกลอนมี ๒ วรรค ทุกวรรคมี ๘ คำ

ช่อื ...............................................................................................................ชั้น...............................เลขท.ี่ ............

134

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ (รายบคุ คล)
ชือ่ -สกลุ .........................................................................................ห้อง............................เลขที่..................

คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องท่ีตรง

กับพฤตกิ รรมของผเู้ รียน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อันพงึ ประสงค์ 3210

1.1 ไม่ลอกเพื่อนขณะทำแบบทดสอบทงั้ กอ่ นเรยี นอก

1. ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ และหลังเรยี น
1.2 ประพฤตติ นตรงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ ตนเอง

1.3 ประพฤตติ นตรงตามความเปน็ จรงิ ต่อผูอ้ น่ื

2.1 แสวงหาความรจู้ ากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ ท่คี รูชแ้ี นะ

2. ใฝ่เรียนรู้ 2.2 มกี ารจดบนั ทึกความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการเรยี นอย่างเป็นระบบ

2.3 สรปุ ความรู้ที่ไดจ้ ากการเรยี นอยา่ งมีเหตผุ ลและถกู ต้อง

3. มุ่งม่ันในการทำงาน 3.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงาน
3.2 มคี วามอดทนและไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ อปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเรจ็

รวม

ลงช่ือ..............................................................ผูป้ ระเมิน
(นางสาวมานิตา มมุ ทอง)

........... /.............................. /.............

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
-พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
-พฤตกิ รรมท่ีปฏบิ ตั ิชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
-พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
-พฤตกิ รรมทไ่ี มไ่ ด้ปฏบิ ตั ิ ให้ 0 คะแนน

สรุปผลการประเมนิ (ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป)
 ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน
 ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน
หมายเหตุ ผ้ผู ่านเกณฑป์ ระเมนิ ตอ้ งได้ 20 คะแนนขน้ึ ไปคดิ เป็นรอ้ ยละ 80

135

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏิบตั งิ านของผู้เรียน
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที.่ ...... ปีการศึกษา.............

คำชีแ้ จง สังเกตพฤตกิ รรมการการปฏิบตั ิงานของผู้เรียนในการเรยี นการสอน แล้วบันทึกผลเปน็ รายบคุ คล

แบบรายงานการสงั เกต สรุป

กระตอื มีส่วนร่วม มีความ ชว่ ย รับฟัง รวม ผา่ น /

ช่ือ-สกลุ รอื รน้ ใน ในการทำ ซือ่ สัตย์ใน เหลือและ ความ (15) ไมผ่ ่าน

1. การทำ กจิ กรรม การ แนะนำ คดิ เห็น เกณฑ์
2.
3. กิจกรรม (3) แข่งขัน เพอื่ นคน ของ การ
4.
5. (3) (3) อ่ืน ผู้อื่น ประเมนิ
1.
2. (3) (3) ร้อยละ
3.
4. 70
5.

ลงชอื่ ..................................................... ผ้ปู ระเมิน
(นางสาวมานิตา มุมทอง)

วนั ที่....... เดอื น....................... พ.ศ...............
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

-พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
-พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ิชัดเจนและบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน
-พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตบิ างคร้ัง ให้ 1 คะแนน
-พฤติกรรมทไ่ี ม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน
หมายเหตุ ผผู้ ่านเกณฑป์ ระเมินตอ้ งได้ 12 คะแนนข้ึนไปคิดเป็นรอ้ ยละ 80

136

เอกสารประกอบการเรยี นรู้เร่ือง ระดับภาษาและการแตง่ กลอนสภุ าพ

ระดับภาษา

การใชภ้ าษาข้นึ อยู่กบั กาลเทศะ สถานการณ์ สภาวะแวดล้อม และสัมพนั ธภาพระหวา่ งบุคคล ซงึ่ อาจ
แบง่ ภาษาเป็นระดบั ต่างๆได้หลายลักษณะ เชน่ ภาษาระดับท่ีเปน็ แบบแผนและไมเ่ ปน็ แบบแผน ภาษาระดับ
พธิ ีการ ระดับกึง่ พิธกี าร ระดบั ไม่เป็นทางการ ในช้นั เรียนน้ี เราจะชล้ี ักษณะสำคัญของภาษาเป็น ๕ ระดับ ดงั น้ี

๑.ภาษาระดับพิธกี าร ใชส้ อ่ื สารกันในทป่ี ระชมุ ท่จี ดั ข้ึนอย่างเปน็ ทางการ ไดแ้ ก่ การประชมุ รัฐสภา
การกลา่ วอวยพร การกล่าวตอ้ นรับ การกล่าวรายงานในพธิ มี อบปรญิ ญาบตั ร ประกาศนียบัตร การกล่าวสดุดี
หรือการกลา่ วเพ่อื จรรโลงใจให้ประจกั ษใ์ นคุณความดี การกล่าวปิดพิธี เปน็ ต้น ผู้สง่ สารระดบั นี้มักเป็นคน
สำคัญสำคญั หรือมตี ำแหนง่ สูง ผรู้ บั สารมกั อยูใ่ นวงการเดียวกันหรือเปน็ กลุ่มคนสว่ นใหญ่ สมั พนั ธภาพระหวา่ ง
ผสู้ ง่ สารกบั ผู้รบั สารมีต่อกนั อยา่ งเป็นทางการ สว่ นใหญ่ผู้สง่ สารเป็นผูก้ ลา่ วฝ่ายเดยี ว ไมม่ ีการโต้ตอบ ผ้กู ล่าว
มกั ตอ้ งเตรยี มบทหรือวาทนพิ นธม์ าล่วงหนา้ และมกั นำเสนอด้วยการอ่านต่อหนา้ ทป่ี ระชมุ

๒.ภาษาระดบั ทางการ ใชบ้ รรยายหรืออภิปรายอยา่ งเปน็ ทางการในท่ปี ระชมุ หรือใชใ้ นการเขียน
ข้อความที่ปรากฏต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ หนงั สอื ท่ีใช้ตดิ ตอ่ กบั ทางราชการหรอื ในวงธุรกจิ ผ้สู ่งสาร
และผู้รบั สารมักเปน็ บคุ คลในวงอาชพี เดยี วกัน ภาษาระดับนเ้ี ปน็ การส่อื สารใหไ้ ดผ้ ลตามจุดประสงค์โดยยดึ หลกั
ประหยดั คำและเวลาให้มากทส่ี ุด

๓.ภาษาระดับกึ่งทางการ คลา้ ยกับภาษาระดับทางการ แตล่ ดความเป็นงานเป็นการลงบ้าง เพ่ือให้
เกดิ สมั พันธภาพระหว่างผ้สู ง่ สารและผู้รบั สารซงึ่ เป็นบคุ คลในกลมุ่ เดียวกัน มกี ารโตแ้ ยง้ หรอื แลกเปลย่ี นความ
คดิ เหน็ กนั เป็นระยะๆ มักใช้ในการประชุมกลมุ่ หรือการอภิปรายกลุ่ม การบรรยายในชนั้ เรยี น ข่าว บทความใน
หนังสอื พิมพ์ เน้อื หามักเปน็ ความร้ทู วั่ ไป ในการดำเนินชวี ติ ประจำวนั กิจธรุ ะต่างๆ รวมถึงการปรกึ ษาหารือ
ร่วมกัน

๔.ภาษาระดบั ไมเ่ ปน็ ทางการ ภาษาระดบั น้ีมักใช้ในการสนทนาโตต้ อบระหว่างบุคคลหรอื กลุ่มบคุ คล
ไม่เกิน ๔-๕ คนในสถานทีแ่ ละกาละทไ่ี มใ่ ชส่ ่วนตวั อาจจะเปน็ บุคคลที่คุน้ เคยกัน การเขยี นจดหมายระหว่าง
เพือ่ น การรายงานข่าวและการเสนอบทความในหนงั สอื พมิ พ์ โดยทว่ั ไปจะใชถ้ ้อยคำสำนวนทท่ี ำให้รสู้ ึกคนุ้ เคย
กนั มากกวา่ ภาษาระดบั ทางการหรอื ภาษาที่ใชก้ ันเฉพาะกลุ่ม เนือ้ หาเปน็ เรือ่ งทัว่ ๆไป ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวนั กจิ ธุระต่างๆรวมถงึ การปรกึ ษาหารอื หรอื ร่วมกัน

137

๕.ภาษาระดบั กันเอง ภาษาระดับน้มี ักใช้กนั ในครอบครัวหรือระหว่างเพ่ือนสนทิ สถานท่ีใช้มกั เป็น
พ้ืนท่สี ่วนตวั เน้ือหาของสารไม่มขี อบเขตจำกัด มักใช้ในการพูดจากนั ไมน่ ยิ มบนั ทกึ เปน็ ลายลักษณ์อักษร
ยกเว้นนวนยิ ายหรือเร่ืองสั้นบางตอนท่ีต้องการความเป็นจรงิ (การแบง่ ภาษาดังทก่ี ลา่ วมาแล้วมไิ ด้หมายความ
ว่าแบง่ กันอย่างเด็ดขาด ภาษาระดบั หนึง่ อาจเหลอ่ื มล้ำกบั อกี ระดบั หน่ึงกไ็ ด)้

ขอ้ ควรสังเกตเกย่ี วกบั ความลดหล่นั ตามระดับภาษา

๑.ภาษาท่ใี ช้ในระดบั พิธกี าร ระดบั ทางการและระดบั ก่งึ ทางการ คำสรรพนามท่ีใช้แทนตนเอง (สรรพ
นามบุรุษท่ี ๑) มักใช้ กระผม ผม ดฉิ นั ขา้ พเจ้า คำสรรพนามที่ใชแ้ ทนผู้รับสาร(สรรพนามบุรุษที่ ๒) มักจะใช้
ท่าน ท่านทั้งหลาย สว่ นภาษาระดับที่ไม่เป็นทางการและระดบั กนั เอง ผู้สง่ สารจะใช้สรรพนาม ผม ฉัน ดิฉนั
กนั เรา หนู ฯลฯ หรอื อาจใช้คำนามแทน เช่น นดิ ครู หมอ แม่ พ่อ พ่ี ป้า ฯลฯ

๒.คำนาม คำนามหลายคำเราใช้เฉพาะในภาษาระดบั กึง่ ทางการ ระดบั ไม่เปน็ ทางการและระดับ
กันเองเทา่ น้นั หากนำไปใช้เป็นภาษาระดับทางการจะตา่ งกันออกไป เชน่ โรงจำนำ>สถานธนานุเคราะห์
โรงพกั >สถานีตำรวจ หมู>สุกร ควาย>กระบือ รถเมล์>รถประจำทาง หมา>สุนัข เปน็ ต้น

๓.คำกริยา คำกริยาที่แสดงระดับภาษาต่างๆอยา่ งเห็นได้ชัด เช่น ตาย อาจใช้ ถงึ แกก่ รรม เสีย ลม้ กิน
อาจใช้ รบั ประทาน บริโภค

๔.คำวเิ ศษณ์ บางคำใช้คำขยายกริยา มักใชใ้ นระดับภาษาไม่เปน็ ทางการและระดบั กนั เองหรอื อาจใช้
ในภาระดับกงึ่ ราชการกไ็ ด้ คำวเิ ศษณเ์ หล่านมี้ ักเปน็ มกั เปน็ คำบอกลักษณะหรือแสดงความรูส้ กึ เชน่ เปร้ียวจีด๊
เยน็ เจี๊ยบ ว่งิ เตม็ เหยียด ฟาดเตม็ เหนีย่ ว เยอะแยะ ภาษาระดบั ทางการขน้ึ มีใช้บา้ ง เช่น เปน็ อันมาก มาก

**************************************************************************************************

การแต่งกลอนสภุ าพ

การแต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพ

กลอนสุภาพ เป็นกลอนประเภทหนง่ึ ซงึ่ ลักษณะคำประพันธ์ของภาษาไทย ทเี่ รยี บเรยี งเข้าเป็นคณะ
ใชถ้ อ้ ยคำและทำนองเรียบ ๆ ซ่ึงนบั ได้วา่ กลอนสุภาพเปน็ กลอนหลกั ของกลอนทั้งหมด เพราะเป็นพืน้ ฐานของ
กลอนหลายชนิด หากเขา้ ใจกลอนสภุ าพ ก็สามารถเข้าใจกลอนอ่ืนๆ ไดง้ า่ ยข้ึนคำประพันธ์ ท่ีต่อท้ายว่า
"สภุ าพ" นับวา่ เปน็ คำประพนั ธท์ แ่ี สดงลักษณะเป็นไทยแท้ ด้วยมขี อ้ บังคับในเรอ่ื ง "รูปวรรณยุกต์" ในกลอน
สุภาพนอกจากมบี งั คบั เสียงสระเป็นแบบแผนเช่นกลอนปกติแลว้ ยังบงั คับรูปวรรณยุกตเ์ พมิ่ จงึ มขี ้อจำกัดท้ัง
รูปและเสียงวรรณยุกต์ เปน็ การแสดงไหวพรบิ ปฏิภาณและความแตกฉานในการใช้ภาษาไทยของ ผู้แต่งให้
เดน่ ชัดย่งิ ข้นึ คำประพนั ธ์กลอนสภุ าพนยิ มเล่นกันมากตง้ั แตส่ มยั อยุธยา จวบจนถงึ ปัจจบุ นั ในตน้ รตั นโกสินทร์

138

นน้ั งานกลอนสุภาพเดน่ ชัดในรชั กาลที่ ๒ ซ่งึ เฟอ่ื งฟถู ึงขนาดมกี ารแข่งขนั ต่อกลอนสด กลอนกระทู้ ตลอดรัช
สมยั มีผลงานออกมามากมาย เชน่ กลอนโขน กลอนนทิ าน กลอนละคร กลอนตำราวดั โพธิ์ เปน็ ตน้ บทพระ
ราชนิพนธเ์ ร่ือง เงาะปา่ ก็เกดิ ข้นึ ในยคุ น้ี ยังมีกวที ่านอ่นื ทมี่ ชี ื่อเสียง เช่น สนุ ทรภู่ เปน็ ตน้ และในสมยั รชั กาล
ท่ี ๖ ก็มปี ราชญก์ วที างกลอนสุภาพท่ีสำคญั หลายทา่ นเชน่ กัน กลอนสภุ าพ คอื กลอนทีใ่ ช้ถ้อยคำและทำนอง
เรยี บ ๆ แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด ดงั นี้

กลอนสภุ าพแบง่ เปน็ ๔ ชนิด คอื
๑.กลอน ๖ เปน็ กลอนทีใ่ นหนึ่งบทมี ๒ คำกลอน หน่งึ คำกลอนมี ๒ วรรค ทุกวรรคมี ๖ คำ (การ

เรยี กช่อื กลอน ๖ จงึ มาจากจำนวนคำในวรรค) ในหนึ่งบทมี ๔ วรรค คือ วรรคสดบั วรรครบั วรรครอง วรรค
ส่ง

๒.กลอน ๗ เปน็ กลอนทใี่ นหน่ึงบทมี ๒ คำกลอน หนง่ึ คำกลอนมี ๒ วรรค ทุกวรรคมี ๗ คำเรยี กชื่อ
กลอน ๗ ตามจำนวนคำในแต่ละวรรค ลกั ษณะสมั ผัสก็จะคล้ายกบั กลอน ๖

๓.กลอน ๘ เป็นกลอนที่ในหน่ึงบทมี ๒ คำกลอน หนึ่งคำกลอนมี ๒ วรรค ทุกวรรคมี ๘ คำ
ลกั ษณะสมั ผัสเหมือนกลอน ๖และ ๗

๔.กลอน ๙ เป็นกลอนที่ในหน่ึงบทมี ๒ คำกลอน หนึ่งคำกลอนมี ๒วรรค ทุกวรรคมี ๙ ค า
ลกั ษณะสมั ผัสเหมอื นกลอน ๖,๗ และ ๘

แผนผงั กลอนสุภาพ

139

กฎสมั ผัส
พยางค์สุดทา้ ยของวรรคที่ ๑ สมั ผสั กบั พยางค์ที่ ๓ หรือ ๕ ในวรรคท่ี ๒พยางค์สุดท้ายของวรรคท่ี

๒ สมั ผัสกับพยางค์สุดท้ายของวรรคท่ี ๓ และสัมผสั กบั พยางค์ที่ ๓ หรือ ๕ ในวรรคท่ี ๔ สมั ผสั ระหวา่ งบท
พยางคส์ ดุ ท้ายของบทต้น สัมผสั กบั พยางค์สดุ ทา้ ยของวรรคที่ ๒ของบทถดั ไป

สมั ผสั ในกลอนสภุ าพจะมีความไพเราะยิ่งขึ้นไป นอกเหนอื จากการสัมผสั ตามสมั ผสั บงั คับแลว้
ยังตอ้ งมีสัมผัสในท่ีเปน็ สมั ผสั สระและสมั ผัสอักษร อกี ดว้ ยจงึ จะเปน็ บทกลอนทไ่ี พเราะ เสียงวรรณยุกต์ คอื
การบังคับเสยี งท้ายวรรคของบทรอ้ ยกรองโดยเฉพาะบทรอ้ ยกรองประเภทกลอน อันทีจ่ รงิ ไมถ่ งึ กบั เป็นการ
บังคบั ที่เครง่ ครัดแต่ก็เปน็ ความนิยมโดยทวั่ ไปทางการแตง่ บทรอ้ ยกรองเสยี งทา้ ยวรรคของกลอน

วรรคสดบั นยิ มใชเ้ สียงวรรณยุกตท์ ุกเสยี ง
วรรครับ นิยมใชเ้ สียงวรรณยกุ ต์เอก โท และจตั วา
วรรครอง นิยมใช้เสียงวรรณยกุ ต์สามญั และ ตรี
วรรคสง่ นยิ มใชเ้ สียงวรรณยุกต์สามัญ และตรี




Click to View FlipBook Version