The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภูมิปัญญาน่าสนใจ ไทสารคาม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akkarawat2542, 2021-03-23 22:06:12

ภูมิปัญญาน่าสนใจ ไทสารคาม

ภูมิปัญญาน่าสนใจ ไทสารคาม

47

3. ขัน้ ลงมือปฏิบัตจิ ริ (เวลา 15 นาท)ี
1. ครแู จกใบความรู้เรือ่ ง ประวัติพระธาตนุ าดูน ใหน้ ักเรียนอา่ นแลว้ ใหน้ ักเรียนจบั ใจความสาคญั ของ

เร่ือง
2. ครูแจกใบงานสรุปแผนผังความคิด แลว้ ให้นกั เรยี นนาใจความสาคัญท่ีได้ไปเขยี นผังความคิด ลงในใบ

งานสรปุ แผนผงั ความคิด
4. ขน้ั สรุป (เวลา 15 นาท)ี
1. ครูสุ่มเลขทน่ี กั เรียนออกมานาเสนอแผนผังความคดิ สรุปความรู้ 3-5 คน
2. ครูอธิบายเพม่ิ เตมิ ในส่วนที่ยังไมค่ รบถ้วนสมบรู ณ์
5. ข้ันนาความรู้ไปใช้ (เวลา 5 นาท)ี
1. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิดถกู ผิดตอบ 10 ขอ้ (10 คะแนน)

8. สอ่ื /นวตั กรรม/แหล่งการเรยี นรู้
ส่อื และนวตั กรรม
1. เกมบิงโกคาศัพทภ์ าไทย คากริยา
2. ใบความรู้ท่ี 1 เรื่อง การอ่านจบั ใจความการเขยี นผงั ความคิด
3. ใบความรู้ท่ี 2 เรอื่ ง การเขียนผังความคิด
4. ใบความรู้ท่ี 3 เร่ือง ประวัติพระธาตนุ าดูน
แหลง่ การเรยี นรู้
ครู

9. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมินผล วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ
ผ่านเกณฑ์การ
การจับใจความและเขยี น ใบงานสรุปแผนผังความคดิ แบประเมินการตรวจ ประเมนิ ระดับ 2 ขึ้น
ผลงาน ชนิดมาตราสว่ น ไป
ผงั ความคดิ ประวตั พิ ระธาตุดูน ประมาณค่า 4 รายการ 3
ระดบั คุณภาพ ผ่านเกณฑ์การ
การมคี วามรบั ผดิ ชอบใน สังเกตพฤติกรรมนกั เรยี น ประเมินระดบั 2 ข้ึน
การทางาน แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ไป
นกั เรียน ชนดิ มาตราส่วน
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สังเกตพฤตกิ รรมในช้นั เรียน ประมาณค่า 5 รายการ 3 ผ่านเกณฑ์การ
ของนักเรียน ระดับคุณภาพ ประเมนิ ระดับ 2 ขน้ึ
ไป
แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ
อันพงึ ประสงค์ ชนดิ
มาตราส่วนประมาณคา่ 3
รายการ 3 ระดับคณุ ภาพ

48

ความคดิ เหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................ ....................................
............................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. ...............................

ลงชื่อ...................................................ผู้ตรวจ
(.........................................................)

วันท่ี........เดอื น............................พ.ศ.............

49

บนั ทึกหลังการสอน
ผลการประเมนิ พฤตกิ รรมระหว่างเรียน
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................ ............
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
ปญั หาและอุปสรรคระหวา่ งการจัดการเรียนการสอน
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................. ......
......................................................................................................................................................
การปรับปรงุ แกไ้ ข
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................................... .....................
.............................................................................................................. ......................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................... ...................
ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................... .....
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................ผสู้ อน
(.........................................................)
................./................../...............

50

แบบทดสอบ
คำสัง่ จงเขยี นเครื่องหมาย / หนา้ ขอ้ ความท่ถี ูกต้อง เขียนเครื่องหมาย x หนา้ ขอ้ ความท่ผี ิด

1. ใจความสาคญั มีเนอ้ื หาครอบคลมุ
2. การจบั ใจความสาคัญควรนาสงิ่ ท่ีสรุปได้มาเรยี บเรยี งใหม่ดว้ ยสานวนของตนเอง
3. การจับใจความสาคญั ควรตั้งจุดมงุ่ หมายในการอ่านให้ชดั เจน
4. การเขยี นแผนภาพความคดิ คือ การจดย่อทเ่ี ป็นบรรทัด ๆ เรียงจากบน ลงลา่ ง
5. กิ่งแกว้ คือ ประเด็นสาคัญท่ีเป็นหวั ข้อรองลงมาจากประเดน็ หลกั
6. กง่ิ ก้อย คอื ความคิดย่อยท่ีแตกแขนงออกมาจากแก่นแกน
7. แกน่ แกน คือ หวั ข้อหลักหรือภาพหัวเร่อื ง
8. หนึ่งยอ่ หน้าหรอื หน่ึงตอนจะมใี จความสาคัญหลาย ๆ ใจความกไ็ ด้
9. หนง่ึ ยอ่ หน้าหรือหนึ่งตอนจะมีใจความรองเพยี งหน่ึงเดียว
10. แผนภาพความคิดเป็นการวเิ คราะห์และเช่อื มโยงทางความคิด

51

เฉลย แบบทดสอบ
คำสงั่ จงเขียนเครือ่ งหมาย / หน้าข้อความทีถ่ ูกตอ้ ง เขียนเคร่อื งหมาย x หนา้ ข้อความที่ผิด

/ 1. ใจความสาคัญมีเนื้อหาครอบคลมุ
/ 2. การจับใจความสาคัญควรนาสิ่งทส่ี รุปได้มาเรียบเรียงใหมด่ ว้ ยสานวนของตนเอง
/ 3. การจับใจความสาคญั ควรตงั้ จดุ มุ่งหมายในการอา่ นให้ชดั เจน
x 4. การเขยี นแผนภาพความคิด คอื การจดย่อที่เป็นบรรทัด ๆ เรยี งจากบน ลงลา่ ง
/ 5. กิ่งแก้ว คือ ประเด็นสาคัญทเ่ี ปน็ หัวขอ้ รองลงมาจากประเด็นหลัก
x 6. ก่ิงก้อย คือ ความคดิ ยอ่ ยทแี่ ตกแขนงออกมาจากแกน่ แกน
/ 7. แกน่ แกน คอื หวั ข้อหลกั หรือภาพหัวเรือ่ ง
x 8. หนึง่ ยอ่ หนา้ หรือหนงึ่ ตอนจะมใี จความสาคัญหลาย ๆ ใจความกไ็ ด้
x 9. หนงึ่ ยอ่ หน้าหรือหนง่ึ ตอนจะมใี จความรองเพียงหนึ่งเดยี ว
/ 10. แผนภาพความคิดเป็นการวิเคราะห์และเช่ือมโยงทางความคิด

เลขท่ี 52
เ ีขยนแผนผังความคิด
สามารถ ัจบใจความสาคัญแบบประเมินการจบั ใจความและเขยี นผงั ความคิด
ของเร่ืองได้ทุกประเด็น............................................................................................................................. .................................................
สามารถเ ้ขาใจ ุจด ุ่มงหมายคาช้แี จง : ให้ครูผสู้ อนทาเคร่ืองหมาย (/) ลงในช่องคะแนนตามเกณฑ์การประเมิน
สาคัญของเรื่องได้
เ ้ขาใจประเ ็ดนสาคัญเกณฑ์การประเมิน
หรือเน้ือหาของเร่ือง
ชื่อ-นามสกุล
คะแนน (12)
ผลการประเ ิมน (ผ/มผ)321321321321
1
หมายเหตุ2
3
4
5
6
7
8
9
10

ลงชอ่ื ...............................................ผู้ประเมิน
(.................................................)

.................../.................../.....................

53

รายการประเมิน เกณฑ์การประเมินการอ่านจับใจความสาคญั
คาอธิบายระดบั คุณภาพ

3 (ดมี าก) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ )

เขยี นแผนผังความคิดได้ เขียนแผนผงั ความคิด เขยี นแผนผัง
ความคิดไมส่ มั พนั ธ์
สัมพนั ธ์กนั มีหัวเรอื่ งหลัก ได้สมั พันธ์กัน มีหวั กัน มีหัวเรื่องหลกั
และหวั ข้อย่อยไม่
เขียนแผนผงั ความคิด และหวั ข้อย่อยครบ พร้อม เรอ่ื งหลักและหวั ข้อ ครบ และไม่ตกแตง่

ตกแตง่ สวยงาม ย่อยครบไมค่ รบ และ

ไมต่ กแต่ง

สามารถจบั ใจความ จับใจความสาคญั ของเร่ือง จับใจความสาคัญของ จบั ใจความสาคญั
ของเร่ืองได้ทกุ ประเดน็ ของเร่ืองที่อา่ นไม่ได้
ทอ่ี า่ นได้ครบทุกประเดน็ เร่อื งที่อ่านไดเ้ ป็นบาง เลย
สามารถเขา้ ใจ ไมเ่ ข้าใจจุดมุ่งหมาย
จุดมงุ่ หมาย ตง้ั แต่ต้นจนจบเรอ่ื ง ประเดน็ สาคัญของเรอื่ งได้
สาคญั ของเร่ืองได้
เข้าใจจุดมงุ่ หมาย เข้าใจจุดมงุ่ หมาย ไมเ่ ขา้ ใจประเด็น
เขา้ ใจประเดน็ สาคัญ สาคญั หรือเน้ือหา
หรอื เนือ้ หาของเร่ือง สาคญั ของเรือ่ งได้ถูกต้อง สาคญั ของเร่อื งได้ ของเรื่อง

ได้ทุกประเด็น ทั้งหมด ถูกต้องบ้าง

เข้าใจประเด็นสาคัญ เข้าใจประเดน็ สาคญั

หรือเนือ้ หาของเร่ือง หรอื เนื้อหาของเร่ือง

ได้ทกุ ประเด็น ไดบ้ างประเด็น

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมนิ การอา่ นจับใจความสาคัญ กาหนดไว้ดังน้ี
3 หมายถงึ ดมี าก
2 หมายถึง ดี
1 หมายถงึ ปรับปรุง

คะแนน 9-12 คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน 5-8 คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน 1-4 คะแนน หมายถงึ ปรับปรุง

54

แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน
............................................................................................................................. .................................................
คาชีแ้ จง ให้ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี / ลงในช่องท่ีตรง
กับระดบั คะแนน

พฤตกิ รรม สรุป

ความ ความ การ การ การมี

ตั้งใจ สนใจ ตอบ ทางาน ส่วนรว่ ม

ที่ ช่อื -สกลุ ในการ และ คาถาม ทนั ตาม ใน รวม ผ/

เรียน การ (3) กาหนด กจิ กรรม (15) มผ

(3) ซักถาม เวลา (3) (3)

(3)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ลงช่อื ...............................................ผปู้ ระเมนิ
(.................................................)

.................../.................../.....................

55

เกณฑ์การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

รายการประเมนิ ดมี าก (3) เกณฑ์การใหค้ ะแนน พอใช้ (1)
ปานกลาง (2)
ตัง้ ในเรยี นตามเกณฑ์
1. ความตง้ั ใจในการเรียน 1 ขอ้

1.1 มสี มาธิจดจ่อ ตง้ั ในเรยี นตามเกณฑ์ ตง้ั ในเรยี นตามเกณฑ์ ความสนใจในการ
1.2 ไมค่ ยุ และเลน่ กัน 3 ขอ้ 2 ขอ้ ซกั ถามตามเกณฑ์
1.3 เตรียมหนังสอื และอปุ กรณก์ าร
1 ข้อ
เรียนพรอ้ มท่ีจะเรยี น
การตอบคาถาม
2. ความสนใจในการซักถาม ความสนใจในการ ความสนใจในการ ตามเกณฑ์ 1 ขอ้
2.1 ถามในหวั ข้อที่ไม่เข้าใจ ซกั ถามตามเกณฑ์ ซกั ถามตามเกณฑ์
2.2 บันทกึ คาถามและคาตอบ การทางานทันตาม
2.3 กล้าแสดงออก 3 ข้อ 2 ขอ้ กาหนดเวลา

3. การตอบคาถาม ตามเกณฑ์ 1 ข้อ

3.1 รว่ มตอบคาถามผ้สู อน การตอบคาถาม การตอบคาถาม การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมตามเกณฑ์
3.2 ตอบตรงตามประเด็น ตามเกณฑ์ 3 ขอ้ ตามเกณฑ์ 2 ข้อ
1 ขอ้
3.3 ตอบอย่างมัน่ ใจเสียงดังฟังชัด

4. การทางานทันตามกาหนดเวลา การทางานทันตาม การทางานทนั ตาม
4.1 ทางานเสรจ็ ตามเวลา กาหนดเวลาตามเกณฑ์ กาหนดเวลา
4.2 ทางานถูกต้องและชดั เจน
4.3 ทางานเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย 3 ขอ้ ตามเกณฑ์ 2 ขอ้

5. การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การมีส่วนร่วมใน การมสี ว่ นร่วมใน
5.1 ให้ความร่วมมือ กิจกรรมตามเกณฑ์ กิจกรรมตามเกณฑ์
5.2 มคี วามเสียสละ
5.3 มคี วามกระตือรอื ร้น 3 ขอ้ 2 ขอ้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรูข้ องนักเรียน กาหนดไวด้ ังน้ี
3 หมายถงึ ดมี าก
2 หมายถงึ ดี
1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ

คะแนน 13-15 คะแนน หมายถงึ ดมี าก
คะแนน 10-12 คะแนน หมายถึง ดี
ตา่ กวา่ 1-4 คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ

56

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

............................................................................................................................. .................................................
ชอ่ื -สกุลนกั เรียน.....................................................................ห้อง..............................เลขท่ี…….

คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด / ลงในชอ่ งท่ตี รง
กบั ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
ประสงค์ 3210

1. ตรงต่อเวลา 1.1 เข้าเรยี นตรงเวลา

1.2 ส่งงานตรงเวลา

1.3 ทางานตรงตามเวลาท่กี าหนด

2. มุ่งมน่ั ในการทางาน 2.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รบั มอบหมาย

2.2 มคี วามอดทนและไมย่ ่อท้อตอ่ อปุ สรรค

2.3 ทางานเสรจ็ สนิ้ ตามกาหนด

3. ใฝ่เรยี นรู้ 3.1 รจู้ ักแสวงหาขอ้ มลู เพ่ิมเติมจากแหลง่ เรยี นร้ตู ่าง ๆ

3.2 มีการจดบนั ทึกความรู้

3.3 สรุปความรไู้ ดอยา่ งมเี หตุผล

ลงชอื่ ...............................................ผู้ประเมนิ

(.................................................)

.................../.................../.....................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

- พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบัตชิ ดั เจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

- พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน

- พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน

- พฤติกรรมทไ่ี มไ่ ด้ปฏบิ ตั ิ ให้ 0 คะแนน

สรุปผลการประเมนิ ผ่าน ร้อยละ 50 - 66 ระดบั คุณภาพ ดีเย่ยี ม (3)
ระดบั ดเี ยี่ยม ดี รอ้ ยละ 40 - 49 ระดบั คุณภาพ ดีเยี่ยม (2)
รอ้ ยละ 20 - 39 ระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม (2)
ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 0 - 19 ระดบั คุณภาพ ดเี ยี่ยม (0)
ไมผ่ ่านระดบั ปรับปรุง

57

ใบความรู้ที่ 1
เร่ือง อา่ นจับใจความสาคัญ

การอ่านจบั ใจความสาคญั

การอ่านจับใจความ คือ การอ่านเพ่ือมุ่งหาสาระสาคัญหรือใจความสาคัญ
ของเรื่องน้นั ๆ

ใจความสาคญั คือ สว่ นทส่ี าคัญที่สุดของเน้ือเร่ือง มีเนื้อหาครอบคลุม ทาให้
ทราบว่าเรื่องนั้นมีใครทาอะไร ที่ไหน อย่างไร หน่ึงย่อหน้าหรือหนึ่งตอนจะมีใจความ
สาคัญเพยี งหน่งึ เดียวเทา่ น้ัน

ใจความรอง คือ สว่ นของประโยคต่าง ๆ ที่ช่วยขยายหรือส่งเสริมเน้ือหาของ
ใจความสาคัญให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น ในหน่ึงย่อหน้าหรือหน่ึงตอนอาจมีใจความรอง
หลาย ๆ ใจความหรือหลายประโยคกไ็ ด้

หลักการจบั ใจความสาคัญ

1. ตง้ั จุดมงุ่ หมายในการอ่านใหช้ ดั เจน
2. อ่านเรื่องราวอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ
และเก็บใจความสาคัญของแต่ละยอ่ หน้า
3. เม่ืออ่านจบให้ตั้งคาถามตนเองว่า
เรื่องทีอ่ ่าน มีใคร ทาอะไร ท่ีไหน เม่ือไหร่ อยา่ งไร
4. นาสง่ิ ที่สรปุ ได้มาเรียบเรียงใจความ

สาคัญใหม่ดว้ ยสานวนของตนเองเพ่อื ให้เกดิ ความ

สละสลวย

ใบความรู้ท่ี 2 58
เร่ือง การเขียนแผนภาพความคิด

การเขียนแผนภาพความคิด คือ การถ่ายทอดความคิด
หรือข้อมูลต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น
และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมท่ีเป็นบรรทัด ๆ เรียงจากบน
ลงล่าง

แก่นแกน คอื หัวข้อหลกั หรือภาพหัวเรอ่ื ง ควรมขี นาดพอเหมาะไม่ใหญ่หรือเลก็ เกินไป
ก่งิ แก้ว คอื ประเดน็ สาคญั ทเี่ ปน็ หัวข้อรองหรอื สว่ นทีย่ ่อยลงมาจากประเดน็ หลกั
ก่ิงกอ้ ย คอื ความคดิ ยอ่ ยทแ่ี ตกแขนงออกมาจากก่ิงแก้ว

ความสาคญั ของแผนภาพความคดิ ขัน้ ตอนการเขียนแผนภาพความคดิ
1. เป็นการวิเคราะห์และเชื่อมโยงทาง 1. เขียนแผนภาพความคดิ หัวขอ้ หลกั ใหญ่
ความคดิ 2ไว.้ เขยี นหวั ขอ้ ยอ่ ยรองลงมาเปน็ ลาดับ
2. เปน็ การส่อื สารอยา่ งชัดเจนและดขี ึ้น
3. การจัดการกับปัญหาได้อย่างเป็น ข้นั จากใหญไ่ ปยอ่ ย
ระบบ 3. เชื่อมแผนภาพความคิดโดยใช้เสน้
4. การเห็นความคิดของตนเองและ
พร้อมท่ีจะแสดงความคิดเห็น เชอ่ื มโยงให้เห็นถึงความสมั พันธ์
4. เขียนคาเช่ือมทแี่ สดงถึงความสมั พันธ์
5. คาทีน่ ามาเขียนควรเป็นคาสาคัญ

59

ตวั อย่างรูปแบบการเขยี นแผนภาพความคิด

แผนภาพความคดิ แบบใยแมงมมุ แตงโม

ทุเรียน สม้
มะมว่ ง
ผลไม้

กล้วย

องุน่
แผนภาพความคดิ แบบโครงสรา้ ง

ประเทศไทย

เชยี งใหม่ ร้อยเอ็ด อา่ งทอง ระยอง กาญจนบรุ ี สงขลา

ลาปาง ขอนแกน่ พิจติ ร ชลบรุ ี ตาก ตรงั

ใบความรู้ท่ี 3 60
เร่อื ง ประวตั ิพระธาตุนาดนู

คาสง่ั ใหน้ ักเรยี นอา่ นเร่อื งประวัตพิ ระธาตนุ าดูน แลว้ บอกใจความสาคญั

ประวตั ิพระธาตุนาดูน

(ตอนท่ี 1)
พระธาตุนาดูน ต้ังอยู่ที่บ้านนาดูน เขตอาเภอนาดูน จ.มหาสารคาม พระธาตุแห่งนี้ถูก

สร้างข้ึนสืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2522 ได้มีการขุดพบหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์โบราณคดีท่ีแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีตของนครจาปาศรี ซึ่งหน่ึงในส่ิง
สาคัญท่สี ดุ ทีข่ ุดพบคอื สถปู บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตบุ รรจุในผอบสามชน้ั โดยช้นั นอกสดุ เปน็
สาริด ช้ันกลางเป็นเงนิ และชั้นในสุดเปน็ ทองคา
(ตอนที่ 2)

ภายในชน้ั ในสดุ มพี ระบรมสารรี ิกธาตบุ รรจุอยู่ 1 องค์ มีลักษณะเป็นเกล็ดสขี าวขุน่ ขนาด
เท่าเมล็ดข้าวสารหักครึ่ง หล่อเลี้ยงไว้ด้วยน้ามันจันทน์เมื่อเปิดออกมาจะมีกลิ่นหอมมาก
สันนิษฐานว่าสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ค้นพบน้ีมีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 13 - 15
สมัยทวาราวดี หรอื ระหวา่ ง พ.ศ. 1000-1200
(ตอนที่ 3)

จากการค้นพบ ชาวจังหวัดมหาสารคามจึงได้พร้อมใจกันสร้างพระธาตุนาดูนข้ึนเพ่ือ
บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ถาวร โดยพระบรมสารีริกธาตุท้ังหมดถูกบรรจุอยู่ในสถูปจาลอง
ทาจากโลหะทรงกลม สงู 24.4 ซม. พระธาตุนาดูนสร้างแล้วเสร็จเม่ือวันท่ี 24 มกราคม พ.ศ.
2530 และมีสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร (ในขณะนั้น) เสด็จพระราช
ดาเนนิ มาประกอบพิธีอญั เชญิ พระบรมสารรี กิ ธาตุขึน้ ประดษิ ฐานไว้ในองค์พระธาตุนาดูน เมื่อ
วนั ท่ี 12 พฤศจิกายน พ.ศ.2530
(ตอนท่ี 4)

บริเวณรอบๆ พระธาตุมีศูนย์พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมจาปาศรีท่ีเก็บรักษาโบราณวัตถุ
ศิลปวัตถุ และเป็นแหล่งข้อมลู เกีย่ วกบั อานาจักรจมั ปาศรี สวนรุกขชาติ และสวนสมุนไพรท่ีมี
บรรยากาศร่มร่นื สวยงาม โดยได้รับการตกแต่งให้เป็นสถานท่ีสาคัญทางพุทธศาสนาบนเน้ือที่
ราว 902 ไร่

มต ข สอ่ื ประกอบการสอน 61
ฆษ ท บงิ โกพยัญชนะไทย
พร ซ พภ ค
ภข ฐ ผอ ช
ฟศ ข ถฤณ หป ง
ทฐฆ ผดฬ
พค ฦ ชปค
ฎด ฐ ผตล
ผต ข ณฌ ภ หภฒ
ฆฮ ท ผขญ
พร ห กภค
รข ฐ ผฟ ช
ภฑณ หป ย
ผด ฝ

กฆ ฉ ฌฏฒ 62
ขงช ญฐณ
คจ ซ ฎฑ ด ตธป
ถน ผ
พม ล ษข ฬ ทบ ฝ
ฟย ว สอ ค
ภร ศ หฮ ก กภค
ผช ช
หป จ

ใบงาน 63
เร่ือง การเขยี นแผนภาพความคดิ

คาสงั่ ให้นักเรียนอา่ นเรือ่ งประวัติพระธาตนุ าดูน แล้วเขียนบอกใจความสาคัญ
ลงในกระดาษ

จบั ใจความ

ตอนท่ี 1 ...............................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ตอนที่ 2.................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ตอนท่ี 3..................................................................................................................................

...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ตอนท่ี 4.................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

ใบงาน 64
เร่ือง การเขียนแผนภาพความคิด

คาส่ัง ให้นักเรยี นเขียนแผนภาพความคิดการอา่ นจับใจความประวตั พิ ระธาตนุ าดูน
พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม

65

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 4
หน่วยการเรียนรู้ “พระธาตุนาดูน” โดยบูรณาการการจดั การเรยี นร้แู บบบรรยาย

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิชาภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3

เรื่อง ความเช่ือเก่ียวกับพระธาตุนาดูน เวลา 1 ช่วั โมง

ครูผสู้ อน .................................... วนั ทีส่ อน…………………

________________________________________________________________________________

1. สาระสาคญั
การยืมคาภาษาตา่ งประเทศมาใช้ในภาษาไทย (เขมร) ทาให้เราสามารถเลือกใชค้ าได้หลากหลาย แตก่ ารใช้

คายืมต้องมีความรแู้ ละความเข้าใจเป็นพ้นื ฐานเพ่ือให้ใช้ได้อยา่ งถกู ต้อง
2. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของ

ภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ
ตวั ชี้วัด
ม.3/1 จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศท่ใี ชใ้ นภาษาไทย

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นักเรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับคาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย (K)
2. นักเรียนสามารถจาแนกคาภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทยได้ (P)
3. นักเรยี นมสี ว่ นร่วมในการทากจิ กรรม (A)

4. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ตรงต่อเวลา
2. มงุ่ ม่ันในการทางาน
3. ใฝเ่ รียนรู้

5. สาระการเรยี นรู้/เนื้อหา
คาท่มี าจากภาษาต่างประเทศ

6. ผลงาน/การปฏิบัติ
แบบฝึกหดั การจาแนกภาษาต่างประเทศ

7. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้/กระบวนการเรยี นรู้
1. ขั้นนาเข้าส่บู ทเรียน (เวลา 10 นาท)ี
1. ครูกล่าวทักทายนักเรยี นด้วยใบหน้ายม้ิ แยม้ พรอ้ มแนะนาตนเอง และทาความรู้จกั กับนกั เรยี นทกุ ๆ

คน เพื่อสร้างความคนุ้ เคย และสร้างบรรยากาศทีด่ ีก่อนการเรียนการสอน

66

2. ครวู ัดความรพู้ ืน้ ฐานของนักเรียนเก่ยี วกบั การจาแนกคาภาษาตา่ งประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทยจากการ
อ่านเร่อื ง ความเชื่อเกยี่ วกบั พระธาตนุ าดูน เช่น นักเรียนเคยอา่ นเร่อื งเกย่ี วกับพระธาตุนาดนู หรือไม่ และถา้ เคย
อ่านเปน็ เรอื่ งเก่ียวกบั อะไร นักเรียนเคยได้ยนิ หรอื รู้จกั ตานาน เรื่องเล่าเกยี่ วกับพระธาตุนาดูนหรือไม่

2. ขัน้ สอน (เวลา 35 นาที)
1. ครูแจกใบความรเู้ รอ่ื ง คาภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย ให้กับนกั เรยี นเพื่อให้นกั เรียนไดศ้ ึกษา

ความรู้เพิ่มเติมระหว่างทีค่ รูกาลงั สอน
2. ครูแจกใบความรู้เร่อื ง ความเชอ่ื เกีย่ วกับพระธาตนุ าดนู ใหน้ ักเรยี นอา่ นแลว้ ใหน้ ักเรยี นจับคแู่ ล้ว

ช่วยกันค้นคว้าหาคาภาษาต่างประเทศที่อ่านเจอในใบความรู้ เม่ือพบแลว้ ให้ขดี เส้นใตไ้ ว้
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝกึ หัดการจาแนกภาษาต่างประเทศจากเร่ือง ความเช่อื เกย่ี วกับพระธาตุนาดนู

เพื่อทบทวนความรู้และวดั ความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับเร่อื งทเ่ี รยี นมา
3. ขน้ั สรปุ ความรู้ (เวลา 15 นาที)
1. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ องค์ความรเู้ กย่ี วกับการจาแนกภาษาตา่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย
2. ครูแจกแบบทดสอบหลงั เรียน เรื่อง การจาแนกภาษาต่างประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย แบบปรนยั ชนดิ

ถูกผิด 10 ข้อ (10 คะแนน)
8. สอื่ /นวตั กรรม/แหลง่ การเรียนรู้

สื่อและนวตั กรรม
1. ใบความที่ 1 รูเ้ รอื่ ง คาภาษาตา่ งประเทศทใ่ี ช้ในภาษาไทย
2. ใบความรู้ท่ี 2 เร่ือง ความเชอ่ื เกย่ี วกบั พระธาตุนาดูน

แหล่งการเรียนรู้
ครู

67

9. การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมินผล วิธกี ารวัดและ เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ

ประเมินผล

การจาแนก แบบฝกึ หดั การจาแนก แบประเมินการตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์การ
ชนดิ มาตราสว่ นประมาณคา่ 4 ประเมนิ ระดบั 2 ขึ้น
ภาษาต่างประเทศ ภาษาตา่ งประเทศ รายการ 3 ระดบั คณุ ภาพ ไป

การมสี ว่ นรว่ มในการทา การสงั เกตพฤติกรรม แบบประเมินพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การ
นกั เรียน ชนิดมาตราส่วน ประเมนิ ระดบั 2 ขนึ้
กจิ กรรม นักเรียน ประมาณคา่ 5 รายการ 3 ไป
ระดับคุณภาพ
คุณลกั ษณะอันพึง การสงั เกตพฤติกรรม
ประสงค์ นกั เรียน แบบประเมินคุณลักษณะอนั ผ่านเกณฑ์การ
พงึ ประสงค์ ชนดิ มาตราส่วน ประเมินระดับ 2 ขน้ึ
ประมาณคา่ 3 รายการ 3 ไป
ระดบั คุณภาพ

ความคดิ เหน็ ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา/หรือผทู้ ี่ได้รับมอบหมาย
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. ...............................

ลงช่อื ...................................................ผู้ตรวจ
(.........................................................)

วนั ที.่ .......เดือน............................พ.ศ.............

68

บนั ทึกหลังการสอน
ผลการประเมินพฤติกรรมระหวา่ งเรียน
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
ปญั หาและอปุ สรรคระหว่างการจัดการเรยี นการสอน
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
การปรับปรงุ แก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
......................................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................... ................................................
....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงช่ือ...................................................ผู้สอน
(.........................................................)
................./................../...............

69

แบบทดสอบ
คำสั่ง จงเขยี นเครื่องหมาย / หน้าข้อความท่ีถกู ตอ้ ง เขียนเครื่องหมาย x หนา้ ข้อความท่ีผดิ

1. อาณาเขตใกลก้ นั เป็นหน่ึงในหลายสาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กดิ การแลกเปลี่ยนภาษา
2. ดา้ นศาสนาและวฒั นธรรมไมใ่ ชส่ าเหตสุ าเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิดการยมื ภาษา
3. การยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยทาให้คาไทยเปน็ คาควบกล้ามากขนึ้
มีคาศัพทใ์ ชใ้ นภาษามากขึ้น
4. บญั ญตั ิศัพทข์ ึน้ มาใหม่ คือ การสร้างศัพท์ใหมท่ ี่มีความหมายใหม่
5. ไทยได้รบั อทิ ธิพลจากภาษาเขมรจากการสงครามอยา่ งเดียว
6. ภาษาไทยและภาษาเขมรมรี ูปแบบและการออกเสียงคล้ายคลึงกัน
7. ลักษณะคาเขมรทนี่ ามาใชใ้ นภาษาไทยจะใชต้ ัวสะกดไมต่ รงตามมาตรา
8. ประชุม ประมลู กาบงั บาบัด บาเพญ็ เป็นภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทยทุกคา
9. กระเพาะ ฉลอง สนมิ สาเนา จรวด ขจาย สาริด เปน็ ภาษาเขมรท่ีใช้ในภาษาไทยทุกคา
10. วิธีนาคาเขมรมาใชใ้ นภาษาไทยจะเลือกคาท่ีออกเสยี งได้สะดวก

70

เฉลย แบบทดสอบ
คำสง่ั จงเขียนเคร่ืองหมาย / หนา้ ข้อความที่ถกู ตอ้ ง เขียนเครอ่ื งหมาย x หน้าข้อความท่ผี ดิ

/ 1. อาณาเขตใกล้กนั เป็นหน่งึ ในหลายสาเหตุท่ีทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนภาษา
x 2. ด้านศาสนาและวฒั นธรรมไมใ่ ชส่ าเหตุสาเหตุท่ีทาใหเ้ กิดการยมื ภาษา
/ 3. การยมื คาภาษาตา่ งประเทศมาใช้ในภาษาไทยทาให้คาไทยเป็นคาควบกล้ามากขนึ้
มคี าศพั ท์ใช้ในภาษามากข้ึน
x 4. บญั ญัติศพั ทข์ น้ึ มาใหม่ คือ การสร้างศพั ท์ใหม่ทม่ี ีความหมายใหม่
/ 5. ไทยได้รบั อทิ ธิพลจากภาษาเขมรจากการสงครามอย่างเดียว
/ 6. ภาษาไทยและภาษาเขมรมีรปู แบบและการออกเสียงคลา้ ยคลงึ กนั
/ 7. ลกั ษณะคาเขมรทนี่ ามาใชใ้ นภาษาไทยจะใช้ตวั สะกดไม่ตรงตามมาตรา
/ 8. ประชุม ประมูล กาบงั บาบดั บาเพ็ญ เป็นภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทยทกุ คา
x 9. กระเพาะ ฉลอง สนิม สาเนา จรวด ขจาย สาริด เป็นภาษาเขมรที่ใชใ้ นภาษาไทยทุกคา
/ 10. วธิ นี าคาเขมรมาใชใ้ นภาษาไทยจะเลอื กคาทีอ่ อกเสียงได้สะดวก

เลขท่ี 71
เนื้อหา
ัอกขรวิ ีธแบบประเมนิ การจาแนกภาษาต่างประเทศ
การใ ้ชภาษา............................................................................................................................. .................................................
ความเป็นระเบียบคาช้แี จง : ใหค้ รูผสู้ อนทาเครื่องหมาย (/) ลงในช่องคะแนนตามเกณฑ์การประเมิน
คะแนน (12)
ผลการประเ ิมน (ผ/มผ)เกณฑ์การประเมิน
หมายเห ุต
ช่ือ-นามสกุล

321321321321
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ลงชอ่ื ...............................................ผปู้ ระเมิน
(.................................................)

.................../.................../.....................

72

รายการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ การจาแนกภาษาตา่ งประเทศ
คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ

3 (ดีมาก) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)

เนอ้ื หามีความสอดคล้อง เน้อื หามคี วาม เน้อื หาไมส่ อดคลอ้ ง

1. เนื้อหา กบั ชือ่ เรื่อง เสนอเนื้อหา สอดคล้องกับชือ่ เรื่อง กบั ชอื่ เรอ่ื ง
2. อักขรวิธี อยา่ งสร้างสรรค์ มีประเดน็ นา่ สนใจ
3. การใชภ้ าษา มปี ระเด็นน่าสนใจ และ และข้อมูลครบถว้ น
4. ความเปน็ ระเบียบ
ข้อมูลครบถว้ น

ใชค้ าทถ่ี ูกตอ้ ง สะกดคา ใชค้ าท่ีถูกตอ้ ง สะกด ใชค้ าทถ่ี ูกตอ้ ง สะกด

การนั ต์ คาชอื่ เฉพาะต่าง ๆ คา การันต์ คาช่ือ คา การนั ต์ คาช่ือ
เฉพาะตา่ ง ๆ ได้
ไดถ้ ูกต้อง เฉพาะตา่ ง ๆ ได้

ถูกต้อง ผิด 5 ตาแหน่ง ถกู ต้อง ผิด 7

ตาแหน่งขน้ึ ไป

ใช้ภาษาถูกต้อง สละสลวย ใชภ้ าษาถกู ต้อง ใช้ภาษาไม่ถกู ต้อง
หรอื ไม่เหมาะสม
ส่ือความหมายชัดเจน การ สละสลวย การลาดบั การลาดับความ
ความไม่วกวน วกวน
ลาดบั ความไม่วกวน

สะอาด เรียบร้อย ไม่มีรอย สะอาด เรยี บร้อย มี ไม่สะอาดเรยี บร้อย

ขดู ขีด ฆา่ ลบ แบง่ วรรค รอยขูด ขดี ฆ่า ลบ ไม่ มรี อยขูด ขดี ฆา่ ลบ
ตอนได้เหมาะสม อ่านง่าย เกนิ 3 ตาแหน่ง แบง่ 7 ตาแหนง่ ข้นึ ไป

วรรคตอนได้เหมาะสม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการประเมนิ การจาแนกภาษาตา่ งประเทศ กาหนดไวด้ ังนี้
3 หมายถงึ ดมี าก
2 หมายถึง ดี
1 หมายถงึ ปรบั ปรุง

คะแนน 9-12 คะแนน หมายถงึ ดมี าก
คะแนน 5-8 คะแนน หมายถงึ ดี
คะแนน 1-4 คะแนน หมายถงึ ปรับปรุง

73

แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน
............................................................................................................................. .................................................
คาชีแ้ จง ให้ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี / ลงในชอ่ งทต่ี รง
กับระดบั คะแนน

พฤตกิ รรม สรุป

ความ ความ การ การ การมี

ตั้งใจ สนใจ ตอบ ทางาน ส่วนร่วม

ที่ ช่อื -สกลุ ในการ และ คาถาม ทนั ตาม ใน รวม ผ/

เรียน การ (3) กาหนด กิจกรรม (15) มผ

(3) ซักถาม เวลา (3) (3)

(3)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ลงช่อื ...............................................ผูป้ ระเมิน
(.................................................)

.................../.................../.....................

74

เกณฑ์การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

รายการประเมนิ ดมี าก (3) เกณฑ์การใหค้ ะแนน พอใช้ (1)
ปานกลาง (2)
ตัง้ ในเรยี นตามเกณฑ์
1. ความตง้ั ใจในการเรียน 1 ขอ้

1.1 มสี มาธิจดจ่อ ตง้ั ในเรยี นตามเกณฑ์ ตง้ั ในเรยี นตามเกณฑ์ ความสนใจในการ
1.2 ไมค่ ยุ และเลน่ กัน 3 ขอ้ 2 ขอ้ ซกั ถามตามเกณฑ์
1.3 เตรียมหนังสอื และอปุ กรณก์ าร
1 ข้อ
เรียนพรอ้ มท่ีจะเรยี น
การตอบคาถาม
2. ความสนใจในการซักถาม ความสนใจในการ ความสนใจในการ ตามเกณฑ์ 1 ขอ้
2.1 ถามในหวั ข้อที่ไม่เข้าใจ ซกั ถามตามเกณฑ์ ซกั ถามตามเกณฑ์
2.2 บันทกึ คาถามและคาตอบ การทางานทันตาม
2.3 กล้าแสดงออก 3 ข้อ 2 ขอ้ กาหนดเวลา

3. การตอบคาถาม ตามเกณฑ์ 1 ข้อ

3.1 รว่ มตอบคาถามผ้สู อน การตอบคาถาม การตอบคาถาม การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมตามเกณฑ์
3.2 ตอบตรงตามประเด็น ตามเกณฑ์ 3 ขอ้ ตามเกณฑ์ 2 ข้อ
1 ขอ้
3.3 ตอบอย่างมัน่ ใจเสียงดังฟังชัด

4. การทางานทันตามกาหนดเวลา การทางานทันตาม การทางานทนั ตาม
4.1 ทางานเสรจ็ ตามเวลา กาหนดเวลาตามเกณฑ์ กาหนดเวลา
4.2 ทางานถูกต้องและชดั เจน
4.3 ทางานเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย 3 ขอ้ ตามเกณฑ์ 2 ขอ้

5. การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การมีส่วนร่วมใน การมสี ว่ นร่วมใน
5.1 ให้ความร่วมมือ กิจกรรมตามเกณฑ์ กิจกรรมตามเกณฑ์
5.2 มคี วามเสียสละ
5.3 มคี วามกระตือรอื ร้น 3 ขอ้ 2 ขอ้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรูข้ องนักเรียน กาหนดไวด้ ังน้ี
3 หมายถงึ ดมี าก
2 หมายถงึ ดี
1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ

คะแนน 13-15 คะแนน หมายถงึ ดมี าก
คะแนน 10-12 คะแนน หมายถึง ดี
ตา่ กวา่ 1-4 คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ

75

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

............................................................................................................................. .................................................
ชอ่ื -สกุลนกั เรียน.....................................................................ห้อง..............................เลขท่ี…….

คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด / ลงในชอ่ งท่ตี รง
กบั ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
ประสงค์ 3210

1. ตรงต่อเวลา 1.1 เข้าเรยี นตรงเวลา

1.2 ส่งงานตรงเวลา

1.3 ทางานตรงตามเวลาท่กี าหนด

2. มุ่งมน่ั ในการทางาน 2.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รบั มอบหมาย

2.2 มคี วามอดทนและไมย่ ่อท้อตอ่ อปุ สรรค

2.3 ทางานเสรจ็ สนิ้ ตามกาหนด

3. ใฝ่เรยี นรู้ 3.1 รจู้ ักแสวงหาขอ้ มลู เพ่ิมเติมจากแหลง่ เรยี นร้ตู ่าง ๆ

3.2 มีการจดบนั ทึกความรู้

3.3 สรุปความรไู้ ดอยา่ งมเี หตุผล

ลงชอื่ ...............................................ผู้ประเมนิ

(.................................................)

.................../.................../.....................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

- พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบัตชิ ดั เจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

- พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน

- พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน

- พฤติกรรมทไ่ี มไ่ ด้ปฏบิ ตั ิ ให้ 0 คะแนน

สรุปผลการประเมนิ ผ่าน ร้อยละ 50 - 66 ระดบั คุณภาพ ดีเย่ยี ม (3)
ระดบั ดเี ยี่ยม ดี รอ้ ยละ 40 - 49 ระดบั คุณภาพ ดีเยี่ยม (2)
รอ้ ยละ 20 - 39 ระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม (2)
ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 0 - 19 ระดบั คุณภาพ ดเี ยี่ยม (0)
ไมผ่ ่านระดบั ปรับปรุง

ใบความรู้ท่ี 1 76

เรือ่ ง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

ลกั ษณะของคาภาษาต่างประเทศทยี่ มื มาใช้ในภาษาไทย

1. สาเหตุทีท่ าใหเ้ กิดการยมื ภาษา
1. ด้านภูมศิ าสตร์ อาณาเขตใกลก้ ันทาให้เกิดการแลกเปลย่ี นภาษา
2. ดา้ นการค้า การติดตอ่ กนั เปน็ หน่งึ ในปัจจัยการรับภาษา
3. ด้านศาสนาและวัฒนธรรม การรับศาสนาและวัฒนธรรมจะแฝงคาศัพท์

จากส่ิงเหล่านนั้ มาดว้ ย
4. ด้านการศึกษา การเรียนในต่างแดน ความรู้ในแขนงต่าง ๆ ที่เพิ่มเติม

เป็นท่มี าของศพั ท์
5. ด้านเทคโนโลยี การรับความเจริญหรือส่ิงประดิษฐ์มาใช้เป็นการรับเอา

ภาษาของชาตินั้น ๆ มาดว้ ย
2. อิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศท่ีมีผลต่อภาษาไทย

1. คาไทยมหี ลายพยางค์ จากเดมิ ทเ่ี ป็นคาพยางค์เดยี วก็เพิ่มจานวนพยางค์
เพมิ่ ขึ้นโดยผสมกบั ภาษาอ่นื

2. คาไทยเป็นคาควบกล้ามากข้ึน ปัจจุบันมีคาควบกล้าที่มีเสียงควบต่าง
จากเดมิ เพมิ่ มากขึ้น

3. มีตัวสะกดหลายตัวท่ีไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด ทาให้มีการเขียนและ
การออกเสยี งท่หี ลากหลาย

4. มีคาศัพท์ใช้ในภาษามากขนึ้ ทาให้เลือกใชไ้ ด้เหมาะสมกบั โอกาส

ใบความรู้ 77

เรือ่ ง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

3. วิธีการนาคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย
1. ใช้ตามคาเดิมที่ยืมมา เช่น เมตร (อังกฤษ) หมายถึง หน่วยวัดความยาว

แข (เขมร) หมายถงึ ดวงเดอื น
2. เปล่ียนตัวสะกดให้ผิดไปจากเดิม เพื่อให้ออกเสียงได้สะดวก เช่น เผอิลฺ

(เขมร) เปล่ยี นเป็น เผอญิ
3. เปล่ียนรูปและเสียงให้ผิดไปจากเดิม เพ่ือให้เหมาะกับการออกเสียง

ภาษาไทย เชน่ ฮวงโลว้ (จนี ) เปน็ อ้ังโล่
4. ตัดคาให้มเี สียงส้นั ลง เช่น อโุ บสถ (บาลีสันสกฤต) เปน็ โบสถ์
5. แผลงสระและพยัญชนะให้ผดิ ไปจากเดิม เช่น กีรติ (บาลีสันสกฤต) ไทย

ใช้ เกยี รติ
6. เปล่ียนความหมายไปจากเดิมให้เข้ากับความหมายของภาษาไทย เช่น

โมโห (บาลีสนั สกฤต) หมายถึง ความล่มุ หลง ความโง่เขลา ไทยใช้ โกรธ
7. บัญญัติศัพท์ขึ้นมาใหม่ คือ การสร้างศัพท์ใหม่ที่มีความหมายตรงกับ

ภาษาเดิม เพื่อไม่ทาให้ภาษาไทยวิบัติ ซึ่งการบัญญัติศัพท์มักใช้กับคาภาษา
บาลีสนั สกฤตและภาษาองั กฤษ

ใบความรู้ท่ี 1 78

เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

คาท่มี าจากภาษาต่างประเทศ

ภาษาเขมร
ไทยได้รับอิทธิพลจากภาษาเขมรจากการค้า การสงคราม การเมือง
และวฒั นธรรม โดยมีสาเหตุการนามาใช้ ดังน้ี
1. รปู แบบและการออกเสยี งคล้ายคลึงกัน
2. อดีตเขมรมคี วามร่งุ เรอื งและมีสัมพนั ธไมตรตี อ่ กนั
3. ไทยและเขมรปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จึงรับคาเขมรมาใช้
เป็นราชาศัพท์
4. นักปราชญ์ราชบัณฑิตนาคาเขมรมาใช้ในวรรณกรรมด้านศาสนาและ
พิธีกรรม และยังใชใ้ นจารกึ ตา่ งๆ
5. คนไทยและคนเขมรต่างนับถอื และนยิ มใชภ้ าษาของกันและกนั

นอ้ ง ๆ รู้จกั คาภาษาเขมรไหมเอ่ย

ใบความรู้ท่ี 1 79

เร่ือง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

ลกั ษณะคาเขมรท่ีนามาใชใ้ นภาษาไทย

1. ใชต้ วั สะกดไม่ตรงตามมาตรา เชน่ แมก่ ด มักใช้ ด จ ส เป็นตัวสะกด
เช่น โปรด เผด็จ ตรัส และแม่กน มักใช้ น ญ ร ล เปน็ ตวั สะกด เช่น ผสาน เพ็ญ
ขจร ตาบล

2. พยัญชนะตน้ มักเปน็ คาควบกล้าและคาทใ่ี ช้อักษรนา คาควบกล้า เชน่
ขลาด กระบอื เพลาไพร คาที่มอี ักษรนา เช่น ขจดั โขนง พนม เสวย

3. นยิ มเติมคาหน้าหรอื อปุ สรรค ลงหนา้ คากริยาหรอื วเิ ศษณ์เพอ่ื ให้
ความหมายของคาเปลีย่ นไปบ้าง

3.1 ใช้ บงั บนั บา นาหน้าคาต่าง ๆ ซงึ่ ขน้ึ ตน้ ดว้ ยพยญั ชนะวรรค
บัง นาหน้าคาท่ีข้นึ ตน้ ด้วยพยัญชนะวรรค ก และเศษวรรค เช่น เกิด

เปน็ บงั เกดิ คม เป็น บังคม
บัน นาหน้าคาทีข่ น้ึ ต้นด้วยพยัญชนะวรรค ต และเศษวรรค เช่น เทิง

เป็น บนั เทิง ดาล เป็น บนั ดาล
บา (บ) นาหน้าคาทขี่ นึ้ ตน้ ด้วยพยัญชนะวรรค ป เชน่ บัด เปน็ บาบดั

เพญ็ เป็น บาเพ็ญ
3.2 ใช้พยัญชนะ ป ผ นาหน้าคา เช่น ราบ เป็น ปราบ จญ เป็น ผจญ,

ประจญ
3.3 ใช้ กา นาหนา้ คา เชน่ บัง เปน็ กาบงั
3.4 ใช้พยญั ชนะ ปร นาหน้าคา เชน่ ชมุ เป็น ประชุม มลู เปน็ ประมลู
4. ใชค้ าเตมิ กลาง ลงในคานาม คากริยา หรือคาวเิ ศษณ์ เพอ่ื ให้

ความหมายเปล่ียนไปบา้ ง

ใบความรู้ท่ี 1 80

เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

วิธนี าคาเขมรมาใชใ้ นภาษาไทย

1. เลอื กคาทอี่ อกเสียงไดส้ ะดวก สอดคล้องกบั ภาษาไทยโดยไมต่ อ้ งเปลยี่ น
รปู และเสียงของคา เช่น ฉบบั เขนย กราบ ปรุง ฉลอง ตรสั เกิด

2. เปลย่ี นแปลงเสยี งสระหรอื พยัญชนะ ท้ังในด้านการออกเสียงและการ
สะกดคา

– เปลีย่ นแปลงการออกเสียง เช่น ฏรา เขมรอา่ น ตอม-รา ไทยใช้ ตารา
– เปลยี่ นแปลงการสะกดคา เชน่ ถนฺ ล ไทยใช้ ถนน แขสฺ ไทยใช้ กระแส
(กระแสนา้ )
3. เปล่ยี นแปลงความหมาย เพอ่ื ความเหมาะสมในภาษาไทย เช่น ฉลฺ อง
เขมร หมายถึง ขา้ ม ไทย หมายถงึ พธิ ฉี ลอง กรอง เขมร หมายถงึ กาไล ไทย
หมายถงึ ถกั , ร้อย
4. กาหนดความหมายขึ้นใหม่ แตย่ ังใกล้เคียงความหมายเดิม เช่น ทบวง
ความหมายเดิมคอื หัว ความหมายใหมค่ อื หนว่ ยงานท่ีมีฐานะตา่ กวา่ กระทรวง
แต่สูงกว่ากรม
5. แผลงอกั ษรใหม้ ีรปู ร่างตา่ ง ๆ ทงั้ พยญั ชนะ สระ ตัวสะกด และให้อา่ น
ออกเสียงอยา่ งไทย เช่น โสฺวย แผลงเป็น เสวย ผฺทม แผลงเป็น ประทม, บรรทม
ขฺจก แผลงเป็น กระจอก

ตัวอย่างคายมื ภาษาเขมร
กระทรวง กระบอื ขนม เขนย เขม่า ปรุง เพลิง ควาญ
กระแส ทบวง เดิน โคม สาราญ สไบ เฉลยี ว ฉะเชงิ เทรา
กาเนดิ กระโปรง ทลาย ทหาร บาเรอ บรรทัด ผลาญ
กระเพาะ ฉลอง สนมิ สาเนา จรวด ขจาย

ใบความรู้ท่ี 2 81

เรอื่ ง ความเชอ่ื เก่ียวกับพระธาตนุ าดนู

ความเชอ่ื เก่ียวกบั พระธาตุนาดูน

พระธาตุนาดนู นักทอ่ งเท่ียวท่วั สารทศิ แห่กราบไหว้สรงนา้ พระขอพร
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเป็นสิรมิ งคลแก่ตนเองและครอบครวั พุทธมณฑลอีสาน
พระบรมธาตุนาดนู อาเภอนาดูน จงั หวัดมหาสารคาม พน่ี อ้ งประชาชนชาว
อีสานหลายพนั คน ไดเ้ ดินทางมานมัสการองคพ์ ระธาตุนาดูนเพือ่ ความเปน็ ศิริ
มงคลแกช่ ีวติ โดยทางมูลนิธพิ ระธาตนุ าดูนไดอ้ ัญเชิญน้าศกั ดส์ิ ทิ ธไิ์ ปประจาไว้
ท่ีดา้ นหนา้ องคพ์ ระธาตุ เพื่อใหเ้ หลา่ พทุ ธศาสนกิ ชนได้นาไปสรงและขอพรองค์
พระธาตุ ตามความเช่ือท่ียดึ ถือและปฏบิ ตั ิสบื ตอ่ กนั มาทกุ ปี นอกจากน้ี
นักทอ่ งเทยี่ วยังไดน้ าดอกไม้ น้าอบสรงน้าพระประจาวนั เกิด ตีฆอ้ งเคาะระฆัง
ทอ่ี ย่รู ายรอบองคพ์ ระธาตุให้ก้องกังวาล

สาหรับพระบรมธาตุนาดูน อาเภอนาดูน จงั หวัดมหาสารคาม นับเปน็ พุทธ
มณฑลแห่งอีสาน เป็นเขตที่ขดุ พบหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ โบราณคดที ่ีมีอายุ
มากกว่า 1,300 ปี แสดงถงึ ความเจรญิ รุง่ เรอื งในอดตี ซ่ึงเคยเปน็ ที่ตั้งของนคร
จาปาศรีมาก่อน ท่สี าคัญยง่ิ คือการขุดพบสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ บรรจุ
ในตลบั ทองคา เงนิ และสาริด สนั นิษฐานว่ามอี ายุอยูใ่ นพทุ ธศตวรรษที่ 13-15
สมยั ทวารวดี และนาไปบรรจุไวท้ ่ีพระบรมธาตุนาดูน ท้งั นใ้ี นวันสาคญั ทาง
พระพุทธศาสนาจึงมีเหล่าพุทธศาสนกิ ชนทวั่ สารทิศ ท้ังชาวไทยและชาวตา่ งชาติ
ต่างเดนิ ทางมาร่วมกันทาบุญและเวียนเทยี นขอพรกนั คึกคัก

แบบฝึกหัด 82
การจาแนกภาษาต่างประเทศ

ภาษาต่างประเทศ

คาส่งั ให้นกั เรียนอ่านเรอ่ื งความเชื่อเกี่ยวกับพรธุ าตุนาดูนจากใบงานที่ 2 แลว้ เขียน
คาภาษาตา่ งประเทศในประทศไทย (เขมร) ลงในแบบฝึกหดั 20 คา

คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย (เขมร)

…………………………………………………........………………………………………………….....................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................
…………………………………………………........……………………………………………….......................

83

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 5
หนว่ ยการเรียนรู้ “พระธาตนุ าดูน” โดยบรู ณาการการจดั การเรียนรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิชาภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3

เรอื่ ง งานนมัสการพระบรมธาตนุ าดูน เวลา 1 ชั่วโมง

ครผู ้สู อน .................................... วันทสี่ อน…………………

________________________________________________________________________________

1. สาระสาคญั
การพูดแสดงความคดิ เหน็ คือ การพดู เพื่อแสดงความรสู้ ึกหรอื แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั เรอ่ื งใดเร่ืองหน่งึ

อยา่ งมเี หตุผล มีความสอดคลอ้ งกบั เรื่องท่ีพดู
การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า คือ การบอกเล่า ช้ีแจง แสดงผลจากเร่ืองท่ไี ปศึกษาค้นควา้ การพูด

รายงานมคี วามสาคญั ในฐานะทเ่ี ป็นการเผยแพร่ความรู้ความคดิ เพื่อสร้างความเจริญงอกงามทางสตปิ ัญญา
2. มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ดั

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ

ความรสู้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์
ตัวชีว้ ดั
ม.3/1 แสดงความคดิ เหน็ และประเมนิ เรื่องจากการฟังและการดู
ม.3/3 พูดรายงานเรอื่ งหรือประเดน็ ท่ีศึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การพดู แสดงความคิดเหน็ และพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า (K)
2. นกั เรียนสามารถพดู รายงานการศึกษาค้นคว้างานนมสั การพระบรมธาตนุ าดูนได้ (P)
3. นักเรียนมีสว่ นร่วมในการทากจิ กรรม (A)

4. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ตรงตอ่ เวลา
2. ม่งุ มน่ั ในการทางาน
3. ใฝ่เรียนรู้

5. สาระการเรียนรู/้ เน้ือหา
1. พดู แสดงความคิดเหน็
2. พูดรายงานการศึกษาค้นคว้า

6. ผลงาน/การปฏบิ ตั ิ
ใบงานเขยี นสรุปองค์ความรู้

84

7. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู/้ กระบวนการเรียนรู้
1. สรา้ งความสนใจ (เวลา 5 นาที)
1. ครกู ลา่ วทกั ทายนักเรียนดว้ ยใบหนา้ ยม้ิ แยม้
2. ครเู รม่ิ นาเขา้ ส่บู ทเรียนดว้ ยการเชอ่ื มโยงความรู้เดมิ ของนักเรียน ดว้ ยการถามเรือ่ งราวท่วั ไปเก่ียวกับ

พระธาตุนาดูน เช่น นักเรียนเคยไปนมัสการพระธาตนุ าดูนหรอื ไม่ พระธาตนุ าดนู มีลักษณะอยา่ งไร
3. ครูถามนักเรยี นเกยี่ วกบั งานนมัสการพระธาตนุ าดูน ลกั ษณะการจดั งาน ชว่ งเวลาวนั ที่ทจี่ ดั งาน เพ่อื

เป็นการนาเขา้ สู่ขัน้ ตอ่ ไป
4. ครูให้นักเรียนแบง่ กลุม่ 5 กลุ่ม

2. สารวจและค้นหา (เวลา 20 นาท)ี
1. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ค้นหาความรเู้ กี่ยวกบั งานนมัสการพระบรมธาตนุ าดูน โดยสามารถใช้

โทรศัพท์คน้ ควา้ หาข้อมลู ในอินเทอร์เน็ตได้ตามความสนใจ
2. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ เขียนสรุปองค์ความร้เู กย่ี วกบั งานนมัสการพระบรมธาตนุ าดูนในกลุม่ ของตน

ใส่กะดาษที่ครูเตรียมไว้ให้ พร้อมตกแต่งใหส้ วยงาม
3. อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (เวลา 10 นาที)
ครอู ธบิ ายงานที่ใหน้ ักเรียนทาวา่ นกั เรียนตอ้ งออกมานาเสนอความรู้เกีย่ วกบั งานนมัสการพระบรมธาตุ

นาดูน โดยใช้กระบวนการพูดรายงาน ครแู จกใบความรู้ เรอ่ื ง การพดู รายงานการศกึ ษาค้นควา้ และอธิบายความรู้
เกี่ยวกับการพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า

4. การขยายความรู้ (เวลา 15 นาที)
ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทน จบั สลากลาดับการนาเสนอ กลุ่มท่ีไดห้ มายเลข 1 นาเสนอเปน็ กลุ่ม

แรก และกมายเลข 2 3 4 และ 5 นาเสนอตามลาดบั โดยมีเวลากาหนดเวลาใหเกลมุ่ ละ 2-3 นาที
5. ประเมินผล (เวลา 10 นาท)ี
ครแู จกแบบทดสอบหลงั เรยี น เรอื่ ง การพูดรายงานการศึกษาค้นควา้ แบบปรนัย ชนิด ถูกผดิ 10 ข้อ

(10 คะแนน)
8. ส่ือ/นวตั กรรม/แหลง่ การเรียนรู้

สื่อและนวัตกรรม
1. ใบความรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การพูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้
2. ใบความรู้ที่ 2 เรือ่ ง การพูดแสดงความคิดเหน็

แหล่งการเรยี นรู้
1. ครู
2. ข้อมลู ในอนิ เทอรเ์ นต็

85

9. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี ารวัดและ เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน
เขยี นสรุปองค์ความรู้ ประเมินผล
ใบงานเขียนสรปุ องค์ แบประเมนิ ผลงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
พดู รายงานการศึกษา ความรู้ ชนิดมาตราส่วนประมาณคา่ ระดบั 2 ข้ึนไป
คน้ ควา้ 4 รายการ 3 ระดบั คณุ ภาพ
พดู รายงานการศึกษา แบบประเมินการพดู รายงาน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
การมีความรับผดิ ชอบใน คน้ ควา้ การศึกษาคน้ ควา้ ชนิดมาตรา ระดับ 2 ขึ้นไป
การทางาน สว่ นประมาณค่า 4 รายการ 3
สงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมิน
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียน แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ระดับ 2 ขึน้ ไป
นกั เรยี น ชนิดมาตราส่วน
สงั เกตพฤติกรรมใน ประมาณคา่ 5 รายการ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ชั้นเรยี นของนักเรียน ระดบั คุณภาพ ระดบั 2 ขึ้นไป
แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ชนดิ มาตราสว่ น
ประมาณค่า 3 รายการ 3
ระดับคุณภาพ

ความคดิ เห็นของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา/หรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................

ลงชอ่ื ...................................................ผู้ตรวจ
(.........................................................)

วนั ที.่ .......เดอื น............................พ.ศ.............

86

บนั ทึกหลังการสอน
ผลการประเมนิ พฤตกิ รรมระหว่างเรียน
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................ ............
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
ปญั หาและอุปสรรคระหวา่ งการจัดการเรียนการสอน
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................. ......
......................................................................................................................................................
การปรับปรงุ แกไ้ ข
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................................... .....................
.............................................................................................................. ......................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................... ...................
ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................... .....
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................ผ้สู อน
(.........................................................)
................./................../...............

87

แบบทดสอบ
คำสั่ง จงเขียนเคร่อื งหมาย / หนา้ ข้อความทถี่ ูกต้อง เขยี นเครอ่ื งหมาย x หนา้ ข้อความทผ่ี ิด

1. การพดู รายงานมคี วามสาคญั ในฐานะท่ีเป็นการเผยแพร่ความรูค้ วามคดิ
2. การพูดรายงานผูพ้ ดู ควรมีความร้คู วามเขา้ ใจเร่อื งทง้ั หมดเปน็ อย่างดี
3. หลกั การพูดรายงาน ถา้ ผฟู้ งั มคี วามสนกุ สนาน ผ้พู ูดควรจะยดื เวลาในการพดู มากกวา่
ท่ีกาหนดกาหนด
4. พูดรายงานการศกึ ษาค้นคว้า คอื การบอกเล่า ชแี้ จง แสดงผลจากเรอ่ื งทีไ่ ปศึกษา
คน้ ควา้
5. การพูดแสดงความคดิ เห็น คือ การพูดแสดงความรูส้ ึก
6. การพูดแสดงความคิดเหน็ ไมค่ วรหาข้อมูลเพ่มิ เตมิ มาประกอบการพูด
7. การพูดแสดงความคดิ เหน็ ไมค่ วรหาข้อมูลเพ่มิ เตมิ มาประกอบการพูด
8. การพูดแสดงความคดิ เหน็ ตอ้ งมีความยุติธรรมในการแสดงความคิดเหน็
9. การพูดรายงานผู้พดู ไม่ควรออกท่าทางประกอบการพูด
10. การพดู แสดงความคิดเห็น คือ การพดู แสดงความรสู้ ึก ผู้พูดจงึ ต้องนาอารมณช์ อบ
หรือไม่ชอบสว่ นตัวมาเก่ียวขอ้ งด้วยในการพดู

88

เฉลย แบบทดสอบ
คำสัง่ จงเขยี นเครอื่ งหมาย / หน้าขอ้ ความทถ่ี ูกต้อง เขียนเคร่ืองหมาย x หน้าขอ้ ความทผี่ ดิ

/ 1. การพดู รายงานมีความสาคญั ในฐานะท่ีเป็นการเผยแพร่ความร้คู วามคดิ
/ 2. การพดู รายงานผู้พดู ควรมคี วามรู้ความเขา้ ใจเรอ่ื งทง้ั หมดเป็นอย่างดี
x 3. หลกั การพดู รายงาน ถา้ ผฟู้ ังมคี วามสนกุ สนาน ผ้พู ูดควรจะยืดเวลาในการพูดมากกวา่
ทกี่ าหนดกาหนด
/ 4. พดู รายงานการศึกษาคน้ ควา้ คอื การบอกเล่า ช้แี จง แสดงผลจากเร่ืองท่ไี ปศกึ ษา
ค้นควา้
/ 5. การพูดแสดงความคิดเหน็ คอื การพดู แสดงความรู้สกึ
x 6. การพูดแสดงความคดิ เห็นไมค่ วรหาขอ้ มูลเพม่ิ เติมมาประกอบการพูด
x 7. การพูดแสดงความคิดเห็นไม่ควรหาข้อมูลเพม่ิ เตมิ มาประกอบการพูด
/ 8. การพดู แสดงความคิดเหน็ ตอ้ งมีความยตุ ิธรรมในการแสดงความคดิ เห็น
x 9. การพดู รายงานผพู้ ดู ไม่ควรออกท่าทางประกอบการพูด
x 10. การพดู แสดงความคิดเห็น คอื การพดู แสดงความรู้สกึ ผพู้ ูดจึงตอ้ งนาอารมณช์ อบ
หรือไม่ชอบส่วนตวั มาเกี่ยวข้องด้วยในการพดู

เลขท่ี 89
เนื้อหา
ัอกขรวิ ีธแบบประเมนิ การเขียนสรุปองค์ความรู้
การใ ้ชภาษา............................................................................................................................. .................................................
ความเป็นระเบียบคาชแ้ี จง : ใหค้ รูผู้สอนทาเครื่องหมาย (/) ลงในช่องคะแนนตามเกณฑก์ ารประเมนิ
คะแนน (12)
ผลการประเ ิมน (ผ/มผ)เกณฑ์การประเมนิ
หมายเห ุต
ชอ่ื -นามสกลุ

321321321321
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ลงชอ่ื ...............................................ผปู้ ระเมิน
(.................................................)

.................../.................../.....................

90

รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ การเขยี นสรุปองค์ความรู้
คาอธิบายระดบั คุณภาพ

3 (ดีมาก) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)

เนื้อหามีความสอดคลอ้ ง เน้อื หามคี วาม เนอื้ หาไม่สอดคลอ้ ง

1. เนือ้ หา กบั ช่ือเร่ือง เสนอเนื้อหา สอดคล้องกับชอื่ เร่ือง กับชอ่ื เรอ่ื ง
2. อกั ขรวธิ ี อยา่ งสรา้ งสรรค์ มีประเด็นนา่ สนใจ
3. การใช้ภาษา มีประเด็นน่าสนใจ และ และข้อมูลครบถว้ น
5. ความเป็นระเบยี บ
ขอ้ มูลครบถว้ น

ใช้คาทีถ่ ูกต้อง สะกดคา ใช้คาท่ีถูกตอ้ ง สะกด ใชค้ าทีถ่ ูกต้อง สะกด

การันต์ คาช่อื เฉพาะตา่ ง ๆ คา การันต์ คาชื่อ คา การันต์ คาชื่อ
เฉพาะตา่ ง ๆ ได้
ได้ถูกตอ้ ง เฉพาะต่าง ๆ ได้

ถูกต้อง ผิด 5 ตาแหนง่ ถูกต้อง ผิด 7

ตาแหน่งขนึ้ ไป

ใชภ้ าษาถูกต้อง สละสลวย ใชภ้ าษาถกู ต้อง ใชภ้ าษาไม่ถกู ต้อง
หรือไมเ่ หมาะสม
ส่ือความหมายชัดเจน การ สละสลวย การลาดับ การลาดบั ความ
ความไมว่ กวน วกวน
ลาดบั ความไมว่ กวน

สะอาด เรยี บร้อย ไม่มีรอย สะอาด เรียบร้อย มี ไม่สะอาดเรยี บร้อย

ขดู ขดี ฆา่ ลบ แบง่ วรรค รอยขูด ขดี ฆ่า ลบ ไม่ มรี อยขดู ขดี ฆ่า ลบ
ตอนได้เหมาะสม อ่านง่าย เกนิ 3 ตาแหน่ง แบ่ง 7 ตาแหน่งขึ้นไป

วรรคตอนไดเ้ หมาะสม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการประเมินการเขียนสรปุ องค์ความรู้ กาหนดไว้ดังน้ี
3 หมายถงึ ดีมาก
2 หมายถงึ ดี
1 หมายถงึ ปรับปรงุ

คะแนน 9-12 คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน 5-8 คะแนน หมายถงึ ดี
คะแนน 1-4 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง

91

แบบประเมนิ การพูดรายงานการศกึ ษาค้นคว้า

............................................................................................................................. .................................................
คาช้ีแจง ใหผ้ ูส้ อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี / ลงในช่องที่ตรง
กบั ระดบั คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ สรปุ

เลขที่
เน้ือหา
รูปแบบการพูด
ภาษาท่ีใ ้ช
การ ูพดออกเ ีสยง
่ผาน
ไ ่มผ่าน
ช่อื -นามสกลุ

321321321123
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ลงช่อื ...............................................ผปู้ ระเมิน
(.................................................)

.................../.................../.....................

92

เกณฑ์การประเมินการพดู รายงานการศกึ ษาคน้ คว้า

รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
เนอื้ หา
3 (ดี) 2 (ผา่ น) 1 (ปรับปรงุ )
รปู แบบการพูด
ภาษาท่ใี ช้ เนอ้ื หาที่พดู มีความ เนือ้ หาท่ีพูดมีความครบถว้ น เนื้อหาท่ีพูดไมค่ รบถว้ น

การพูดออกเสยี ง ครบถ้วนตามที่กาหนด ตามทก่ี าหนด ตามท่ีกาหนด

และมีเน้ือหาเพ่ิมเติมจากที่

กาหนด

พูดได้ถูกต้องตามรปู แบบ พดู ได้ถูกต้องตามรูปแบบ พดู ได้ถกู ต้องตามรปู แบบ

และครบถว้ นมีการ และครบถว้ น (มีข้อบกพร่อง 1 จดุ )

นาเสนออยา่ งสร้างสรรค์

ภาษาท่ีใช้ส่ือความหมาย ภาษาที่ใช้สอื่ ความหมายได้ ภาษาที่ใช้ส่ือความหมายได้

ไดด้ ี และถูกต้อง ดีและถูกตอ้ ง ดี

มีวาทศิลป์ในการพูด

ออกเสยี งได้ถูกต้องชัดเจน ออกเสียงได้ถกู ต้องชดั เจน ออกเสยี งได้ถกู ต้องชดั เจน

มคี วามมั่นใจในตนเอง พูด มคี วามมัน่ ใจในตนเอง พูด มคี วามมน่ั ใจในตนเอง

ไม่ติดขัด สบตาผฟู้ ังและมี ไม่ติดขัด สบตาผฟู้ งั

ความเปน็ ธรรมชาติ

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมนิ การพูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้ กาหนดไวด้ งั นี้
3 หมายถึง ดีมาก
2 หมายถึง ดี
1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ

คะแนน 9-12 คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน 5-8 คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน 1-4 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรงุ

93

แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน
............................................................................................................................. .................................................
คาชีแ้ จง ให้ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี / ลงในช่องท่ีตรง
กับระดบั คะแนน

พฤตกิ รรม สรุป

ความ ความ การ การ การมี

ตั้งใจ สนใจ ตอบ ทางาน ส่วนรว่ ม

ที่ ช่อื -สกลุ ในการ และ คาถาม ทนั ตาม ใน รวม ผ/

เรียน การ (3) กาหนด กจิ กรรม (15) มผ

(3) ซักถาม เวลา (3) (3)

(3)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ลงช่อื ...............................................ผปู้ ระเมนิ
(.................................................)

.................../.................../.....................

94

เกณฑ์การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

รายการประเมนิ ดมี าก (3) เกณฑ์การใหค้ ะแนน พอใช้ (1)
ปานกลาง (2)
ตัง้ ในเรยี นตามเกณฑ์
1. ความตง้ั ใจในการเรียน 1 ขอ้

1.1 มสี มาธิจดจ่อ ตง้ั ในเรยี นตามเกณฑ์ ตง้ั ในเรยี นตามเกณฑ์ ความสนใจในการ
1.2 ไมค่ ยุ และเลน่ กัน 3 ขอ้ 2 ขอ้ ซกั ถามตามเกณฑ์
1.3 เตรียมหนังสอื และอปุ กรณก์ าร
1 ข้อ
เรียนพรอ้ มท่ีจะเรยี น
การตอบคาถาม
2. ความสนใจในการซักถาม ความสนใจในการ ความสนใจในการ ตามเกณฑ์ 1 ขอ้
2.1 ถามในหวั ข้อที่ไม่เข้าใจ ซกั ถามตามเกณฑ์ ซกั ถามตามเกณฑ์
2.2 บันทกึ คาถามและคาตอบ การทางานทันตาม
2.3 กล้าแสดงออก 3 ข้อ 2 ขอ้ กาหนดเวลา

3. การตอบคาถาม ตามเกณฑ์ 1 ข้อ

3.1 รว่ มตอบคาถามผ้สู อน การตอบคาถาม การตอบคาถาม การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมตามเกณฑ์
3.2 ตอบตรงตามประเด็น ตามเกณฑ์ 3 ขอ้ ตามเกณฑ์ 2 ข้อ
1 ขอ้
3.3 ตอบอย่างมัน่ ใจเสียงดังฟังชัด

4. การทางานทันตามกาหนดเวลา การทางานทันตาม การทางานทนั ตาม
4.1 ทางานเสรจ็ ตามเวลา กาหนดเวลาตามเกณฑ์ กาหนดเวลา
4.2 ทางานถูกต้องและชดั เจน
4.3 ทางานเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย 3 ขอ้ ตามเกณฑ์ 2 ขอ้

5. การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การมีส่วนร่วมใน การมสี ว่ นร่วมใน
5.1 ให้ความร่วมมือ กิจกรรมตามเกณฑ์ กิจกรรมตามเกณฑ์
5.2 มคี วามเสียสละ
5.3 มคี วามกระตือรอื ร้น 3 ขอ้ 2 ขอ้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรูข้ องนักเรียน กาหนดไวด้ ังน้ี
3 หมายถงึ ดมี าก
2 หมายถงึ ดี
1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ

คะแนน 13-15 คะแนน หมายถงึ ดมี าก
คะแนน 10-12 คะแนน หมายถึง ดี
ตา่ กวา่ 1-4 คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ

95

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

............................................................................................................................. .................................................
ชอ่ื -สกุลนกั เรียน.....................................................................ห้อง..............................เลขท่ี…….

คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด / ลงในชอ่ งท่ตี รง
กบั ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
ประสงค์ 3210

1. ตรงต่อเวลา 1.1 เข้าเรยี นตรงเวลา

1.2 ส่งงานตรงเวลา

1.3 ทางานตรงตามเวลาท่กี าหนด

2. มุ่งมน่ั ในการทางาน 2.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รบั มอบหมาย

2.2 มคี วามอดทนและไมย่ ่อท้อตอ่ อปุ สรรค

2.3 ทางานเสรจ็ สนิ้ ตามกาหนด

3. ใฝ่เรยี นรู้ 3.1 รจู้ ักแสวงหาขอ้ มลู เพ่ิมเติมจากแหลง่ เรยี นร้ตู ่าง ๆ

3.2 มีการจดบนั ทึกความรู้

3.3 สรุปความรไู้ ดอยา่ งมเี หตุผล

ลงชอื่ ...............................................ผู้ประเมนิ

(.................................................)

.................../.................../.....................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

- พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบัตชิ ดั เจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

- พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน

- พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน

- พฤติกรรมทไ่ี มไ่ ด้ปฏบิ ตั ิ ให้ 0 คะแนน

สรุปผลการประเมนิ ผ่าน ร้อยละ 50 - 66 ระดบั คุณภาพ ดีเย่ยี ม (3)
ระดบั ดเี ยี่ยม ดี รอ้ ยละ 40 - 49 ระดบั คุณภาพ ดีเยี่ยม (2)
รอ้ ยละ 20 - 39 ระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม (2)
ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 0 - 19 ระดบั คุณภาพ ดเี ยี่ยม (0)
ไมผ่ ่านระดบั ปรับปรุง

ใบความรทู้ ่ี 1 96
เรือ่ ง การพดู รายงานการศกึ ษาค้นคว้า

การพูดรายงานการศึกษาคน้ คว้า คอื การบอกเล่า ช้แี จง แสดงผลจาก
เรือ่ งทไ่ี ปศึกษาคน้ ควา้ การพดู รายงานมคี วามสาคัญในฐานะที่เปน็ การ
เผยแพรค่ วามรู้ความคดิ เพื่อสรา้ งความเจรญิ งอกงามทางสติปัญญา ดงั น้ัน
จึงถอื วา่ เป็นทกั ษะทคี่ วรศกึ ษาเรยี นรู้และฝึกฝนให้เกิดความชานาญ

1. เริ่มพดู รายงานดว้ ยการกลา่ วนา เชน่ ทกั ทายผูร้ ่วมงาน บอก
จดุ ประสงค์ของการพูดรายงาน บอกแหล่งขอ้ มูลที่จะมานาเสนอ
2. ในขณะเรม่ิ รายงานควรพดู ให้ชัดเจน ออกเสียงให้ถูกตอ้ ง เสยี งดัง
พอประมาณ น้าเสียงน่มุ นวลนา่ ฟงั
3. รายงานเรอ่ื งตามลาดับเนือ้ หา ลาดบั ขั้นตอน หรือลาดับเหตุการณ์
ให้ถูกต้องและต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ควรมีแหลง่ อ้างอิงเพือ่ ความน่าเช่อื ถือ
และควรทาความเข้าใจเนื้อหาใหถ้ ่องแท้ เพอื่ ประโยชน์ในการอธบิ าย
และตอบขอ้ ซกั ถาม
4. มีบคุ ลกิ ภาพท่ดี ี ยืน หรือนง่ั อย่างสารวม
5. รักษาเวลาในการพูดตามที่กาหนดไม่พูดยืดเยอ้ื วกวน
6. เม่ือพดู รายงานจบควรเปดิ โอกาสให้ผู้ฟังซกั ถามหรือแสดงความคิดเห็น
7. กลา่ วขอบคุณเม่ือไดร้ ับคาชมเชย หรอื ข้อคิดเห็นเรื่องตา่ งๆ


Click to View FlipBook Version