The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) 1

โครงสร้างกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

รายวิชาพ้ืนฐาน

1. วทิ ยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 นก.
60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
2. วทิ ยาศาสตร์ 2 รหัสวชิ า ว21103
60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
3. วิทยาศาสตร์ 3 รหัสวิชา ว22101 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 นก.

4. วทิ ยาศาสตร์ 4 รหสั วชิ า ว22103 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 นก.
60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 นก.
5. วิทยาศาสตร์ 5 รหสั วชิ า ว23101 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 นก.

6. วทิ ยาศาสตร์ 6 รหสั วิชา ว23102 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.
20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.
7. วิทยาการคำนวณ 1 รหัสวชิ า ว21102
20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 นก.
8. การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหสั วิชา ว21104 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 นก.
20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.
9. วิทยาการคำนวณ 2 รหัสวชิ า ว22102

10. การออกแบบและเทคโนโลยี 2 รหัสวิชา ว22104

7. วิทยาการคำนวณ 3 รหัสวชิ า ว23102

8. การออกแบบและเทคโนโลยี 3 รหัสวิชา ว23104

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560) 2

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 ภาคเรียนที่ 1
จำนวน 60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น รหสั วิชา ว21101
จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศกึ ษา วเิ คราะห์ การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โครงสร้างหนา้ ทีข่ องเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ การใช้

กลอ้ งจลุ ทรรศน์ กระบวนการแพร่ ออสโมซสิ การสังเคราะห์ด้วยแสง การลำเลียงอาหารของพืช การ
สบื พนั ธแุ์ บบอาศยั เพศและไมอ่ าศยั เพศ โครงสรา้ งของดอก การดำรงชีวิตของพชื การขยายพนั ธ์ขุ อง
พชื เทคโนโลยีการเพาะเลีย้ งเนื้อเยือ่ สมบตั ิทางกายภาพผลการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ จุด

เดอื ดจุดหลอมเหลวความหนาแนน่ เคร่อื งมอื วดั มวลปริมาตรของสารบริสุทธ์ิ สารผสม ความสมั พันธ์
ระหวา่ งอะตอมธาตุ และสารประกอบ โครงสรา้ งอะตอมท่ปี ระกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และ

อิเล็กตรอน
โดยใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์และ

ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 การสบื คน้ ขอ้ มลู และการอภิปราย เพอ่ื เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ

สามารถสือ่ สารสิง่ ท่ีเรยี นรู้ มีความสามรถในการตดั สนิ ใจ การแก้ปัญหา การนำความรูไ้ ปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม

ตวั ชี้วัด
ว 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.

1/11
ม.1/12 ม.1/13 ม.1/14 ม.1/15 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18

ว 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8

รวมท้งั หมด 26 ตัวชี้วัด

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) 3

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 2 ภาคเรยี นที่ 2
จำนวน 60 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น รหสั วิชา ว21102
จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา วเิ คราะห์ ความรอ้ นกับการเปลี่ยนแปลงของสถานะสสาร ความดันอากาศ การถา่ ย
โอนพลังงาน การใช้เทอรม์ อมเิ ตอร์ การเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ ชัน้ บรรยากาศ การเกิดพายุ
ฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตรอ้ นและการพยากรณ์อากาศ

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทักษะกระบวนการวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภปิ ราย เพ่ือเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
สามารถสอื่ สารสง่ิ ท่ีเรยี นรู้ มีความสามรถในการตดั สนิ ใจ การแก้ปญั หา การนำความรู้ไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม

ตวั ช้วี ัด
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10
ว 2.2 ม.1/1

ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7

รวมทั้งหมด 17 ตัวชวี้ ัด

กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560) 4

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 3 ภาคเรียนท่ี 1
จำนวน 60 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น รหัสวชิ า ว22101
จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา วเิ คราะห์ ระบบหายใจ ระบบขับถา่ ย ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบประสาทสว่ นกลาง
ระบบสบื พนั ธ์ุ การแยกสารโดยการตกผลกึ โครมาโทกราฟี การกลั่นอย่างงา่ ย การสกัดดว้ ยตัวทำ
ละลาย ความเข้มข้นของสารละลาย และหนว่ ยความเข้มข้นของสารละลาย

โดยใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์และ
ทักษะในศตวรรษที่ 21 การสบื คน้ ขอ้ มูลและการอภิปราย เพื่อเกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
สามารถสอ่ื สารสงิ่ ที่เรยี นรู้ มีความสามรถในการตดั สนิ ใจ การแกป้ ัญหา การนำความรู้ไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม

ตวั ช้ีวัด
ว 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.
2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14 ม.2/15 ม.2/16 ม.2/17
ว 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6

รวมท้ังหมด 23 ตัวชวี้ ดั

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 5

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 4 ภาคเรียนท่ี 2
จำนวน 60 ช่วั โมง/ภาคเรียน รหสั วชิ า ว23102
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศกึ ษา วิเคราะห์ แรงและการเคล่ือนท่ี แรงเสยี ดทาน แรงพยงุ โมเมนตข์ องแรง
สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า สนามโนม้ ถว่ ง อตั ราเรว็ ความเรว็ การกระจดั งาน พลงั งานจลน์ พลังงาน
ศกั ยโ์ น้มถ่วง การถ่ายโอนพลงั งาน กฎอนรุ ักษพ์ ลงั งาน เชื้อเพลงิ ซากดึกดำบรรพ์ โครงสรา้ งภายในโลก

ดนิ แหล่งนำ้ ผวิ ดนิ และแหลง่ นำ้ ใตด้ นิ ผลกระทบของน้ำท่วม การกดั เซาะชายฝั่ง ดินถล่ม หลุมยุบและ
แผ่นดนิ ทรดุ

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์และ
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพ่ือเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามรถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้ใน

ชวี ิตประจำวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

ตวั ชวี้ ัด
ว 2.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.
2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14 ม.2/15

ว 2.3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ว 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10

รวมทั้งหมด 31 ตวั ชว้ี ัด

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) 6

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 5 ภาคเรียนที่ 1
จำนวน 60 ช่วั โมง/ภาคเรียน รหสั วิชา ว23101
จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ ระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ของส่งิ มีชวี ิต การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

ลักษณะทางพันธ์ุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์
กระบวนการแบ่งเซลล์ของส่ิงมีชวี ิต โรคทางพันธุกรรม การดัดแปลงพันธุกรรม ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ พอลเิ มอร์ เซรามิกส์ การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี กฎทรงมวล การเกดิ สนิม กรดเบส

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์และ
ทักษะในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ

สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามรถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

ตวั ชวี้ ดั
ว 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6

ว 1.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.
3/11
ว 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8

รวมทงั้ หมด 25 ตัวช้ีวัด

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560) 7

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 6 ภาคเรียนที่ 2
จำนวน 60 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น รหสั วิชา ว23102
จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ ความต่างศกั ย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน วงจรไฟฟ้า การต่อตวั ต้านทาน

แบบอนกุ รมและขนาน คำนวณค่าไฟฟ้า คลนื่ คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และสเปกตรัม แสง ตัวกลางของแสง
การเคล่ือนที่ของแสง การเกิดภาพของทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา ความสว่างของแสง การโคจรของ
ดาวเคราะห์ การเกิดฤดู การเกิดขา้ งข้ึนข้างแรม การเกิดน้ำขนึ้ น้ำลง เทคโนโลยีอวกาศ

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์และ
ทักษะในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ

สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามรถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนำความรู้ไป ใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ตวั ช้ีวัด
ว 2.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.

3/11 ม.3/12 ม.3/13 ม.3/14 ม.3/15 ม.3/16 ม.3/17 ม.3/18 ม.3/19 ม.3/20
ม.3/21

ว 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4

รวมทงั้ หมด 25 ตัวช้ีวดั

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรียนวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 8

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1
รายวิชา วิทยาการคำนวณ 1 ภาคเรยี นท่ี 1
จำนวน 20 ชว่ั โมง/ภาคเรียน รหัสวิชา ว21102
จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศกึ ษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลอื กคุณลักษณะท่จี าเปน็ ต่อการแกป้ ัญหา ขั้นตอนการ

แกป้ ญั หาการเขียนรหัสลำลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ยท่ีมกี ารใช้
งานตวั แปร เง่ือนไขและการวนซ้ำเพือ่ แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์หรอื วิทยาศาสตร์การรวบรวมขอ้ มูล
ปฐมภมู ิ การประมวลผลข้อมูลการสร้างทางเลือกและประเมนิ ผลเพอ่ื ตดั สินใจ ซอฟตแ์ วร์และบรกิ าร

บนอินเทอรเ์ นต็ ทใ่ี ชใ้ นการจัดการข้อมลู แนวทางการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภยั การ
จดั การอัตลกั ษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเนอื้ หา ข้อตกลงและขอ้ กำหนดการใช้สอ่ื และ

แหลง่ ขอ้ มูล
นำแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแกป้ ัญหาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการเขียนโปรแกรม หรอื

การแก้ปญั หาในชวี ติ จรงิ รวบรวมข้อมลู และสร้างทางเลือกในการตัดสนิ ใจไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และ

ตระหนกั ถงึ การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชนต์ อ่ การเรียนรู้ และไมส่ ร้าง
ความเสียหายใหแ้ ก่ผอู้ นื่

ตวั ชวี้ ัด
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)

1. ออกแบบอลั กอริทึมที่ใช้แนวคิดเชงิ นามธรรมเพ่ือแก้ปัญหาหรืออธบิ ายการทำงานทพี่ บในชีวติ จรงิ
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย เพ่ือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตรห์ รือวิทยาศาสตร์

3. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์
โดยใช้ซอฟตแ์ วรห์ รอื บริการบนอนิ เทอรเ์ น็ตที่หลากหลาย
4. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้สื่อและแหล่งข้อมูลตามขอ้ กำหนดและขอ้ ตกลง

รวมทั้งหมด 4 ตัวชีว้ ัด

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) 9

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหัสวชิ า ว21104 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
ภาคเรยี นที่ 2
จำนวน 20 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศึกษา อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปจั จัยท่ีส่งผลต่อการ

เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี การทำงานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกตใ์ ช้ความรู้ ทกั ษะ และ
ทรพั ยากร โดยวเิ คราะห์

เปรียบเทียบและเลอื กขอ้ มูลท่ีจำเป็นเพือ่ ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาในชีวิตประจำวนั ในด้าน

การเกษตรและอาหาร และสรา้ งชิน้ งานหรือพัฒนาวิธีการโดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม
รวมทั้งเลือกใชว้ สั ดุอุปกรณ์ เครอ่ื งมือในการแกป้ ัญหาได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั

ตัวช้วี ัด
ว. 4.1 เทคโนโลย(ี การออกแบบและเทคโนโลยี)

1. อธิบายแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะหส์ าเหตหุ รอื ปจั จยั ทส่ี ่งผล
ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

2. ระบุปญั หาหรอื ความต้องการในชีวติ ประจำวนั รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู และแนวคดิ ที่
เกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา

3. ออกแบบวิธีการแก้ปญั หา โดยวิเคราะห์เปรยี บเทยี บ และตัดสนิ ใจเลอื กข้อมูลท่ีจำเปน็

นำเสนอแนวทางการแก้ปญั หาใหผ้ อู้ ืน่ เข้าใจ วางแผนและดำเนินการแกป้ ญั หา
4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบุขอ้ บกพรอ่ งทีเ่ กิดขนึ้ พรอ้ มท้งั หาแนวทางการปรับปรงุ แก้ไข

และนำเสนอผลการแก้ปัญหา
5. ใช้ความรู้และทักษะเก่ยี วกบั วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟา้ หรอื อิเลก็ ทรอนกิ สเ์ พอ่ื

แกป้ ัญหาได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั

รวมท้งั หมด 5 ตัวชีว้ ัด

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรียนวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 10

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ 1 ภาคเรียนท่ี 1
จำนวน 20 ช่วั โมง/ภาคเรยี น รหสั วิชา ว22102
จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศกึ ษาแนวคิดเชิงคำนวณ การแก้ปัญหาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ การเขียนโปรแกรมทมี่ ี

การใชต้ รรกะและฟงั ก์ชนั องค์ประกอบและหลกั การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสือ่ สาร
แนวทางการปฏิบตั ิเมอื่ พบเนอ้ื หาท่ไี ม่เหมาะสม การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
วธิ กี ารสรา้ งและกำหนดสิทธิความเป็นเจา้ ของผลงาน

นำแนวคิดเชงิ คำนวณไปประยกุ ต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรอื การแก้ปญั หาในชีวติ จริง
สรา้ งและกำหนดสทิ ธ์ิการใชข้ อ้ มลู ตระหนักถงึ ผลกระทบในการเผยแพรข่ ้อมูล

ตัวช้ีวัด
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)
1. ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหา หรอื การท างานท่ีพบในชวี ติ จรงิ
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ใี ช้ตรรกะและฟงั ก์ชนั ในการ แก้ปญั หา
3. อภปิ รายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสอ่ื สาร
เพอื่ ประยุกต์ใช้งานหรอื แก้ปัญหาเบอื้ งต้น
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มคี วามรบั ผิดชอบ สร้างและแสดงสทิ ธิ์ในการเผยแพร่
ผลงาน

รวมท้ังหมด 4 ตัวชว้ี ัด

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) 11

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ว22104 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2
ภาคเรยี นท่ี 2
จำนวน 20 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาสาเหตหุ รอื ปัจจัยที่ทeใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณแ์ นวโน้ม

เทคโนโลยีในอนาคต เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนตอ่ ชวี ิต สังคม และสิง่ แวดล้อม
ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้

ทกั ษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บและเลือกขอ้ มูลทจี่ ำเปน็ เพ่ือออกแบบ

วิธกี ารแกป้ ญั หาในชุมชนหรอื ทอ้ งถิ่นในด้านพลงั งาน สงิ่ แวดลอ้ ม การเกษตรและอาหาร และสรา้ ง
ชิ้นงานหรือพฒั นาวธิ ีการโดย

ใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทัง้ เลอื กใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื ในการแก้ปัญหา
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม และปลอดภัย

ตวั ชวี้ ัด
ว 4.1 เทคโนโลย(ี การออกแบบและเทคโนโลย)ี

1. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยที ี่จะเกิดข้ึนโดยพจิ ารณาจากสาเหตหุ รือปัจจัยที่ส่งผลตอ่ การ
เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห์ เปรยี บเทียบ ตัดสนิ ใจเลือกใชเ้ ทคโนโลยี
โดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้นต่อชีวติ สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม

2. ระบปุ ัญหาหรือความตอ้ งการในชมุ ชนหรือท้องถิน่ สรปุ กรอบของปัญหา รวบรวม
วิเคราะหข์ อ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ปัญหา

3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทยี บ และตดั สนิ ใจเลือกข้อมูลท่ีจ าเปน็
ภายใตเ้ งอ่ื นไขและทรพั ยากรทม่ี ีอยู่ นำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาให้ผูอ้ ื่นเข้าใจ วางแผนขนั้ ตอนการ
ทำงานและดำเนนิ การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน

4. ทดสอบ ประเมินผล และอธบิ ายปัญหาหรือข้อบกพรอ่ งที่เกิดขน้ึ ภายใต้กรอบเง่ือนไข
พรอ้ มทง้ั หาแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข และน าเสนอผลการแก้ปัญหา

5. ใชค้ วามรแู้ ละทักษะเกีย่ วกบั วัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื กลไก ไฟฟ้า และอเิ ลก็ ทรอนิกส์เพ่ือ
แกป้ ัญหาหรือพฒั นางานได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย

รวมทัง้ หมด 5 ตัวชว้ี ัด

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวังโปง่ พทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 12

กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
รายวิชา วิทยาการคำนวณ 1 ภาคเรยี นที่ 1
จำนวน 20 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น รหสั วชิ า ว23102
จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาขน้ั ตอนการพฒั นาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขยี นโปรแกรมเพอ่ื

พัฒนาแอปพลเิ คชนั ข้อมลู ปฐมภูมิและทุตยิ ภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและ
ประเมินผล ซอฟตแ์ วรห์ รือบรกิ ารบนอนิ เทอรเ์ น็ตทีใ่ ช้ในการจัดการข้อมลู การประเมินการความ
น่าเชือ่ ถือของขอ้ มูล การสบื ค้นหาแหล่งต้นตอของข้อมูลเหตผุ ลววิ ตั ิ ผลกระทบจากขา่ วสารที่ผิดพลาด

การรเู้ ท่าทันส่ือ กฎหมายทเ่ี กี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ การใชล้ ิขสทิ ธ์ขิ องผอู้ ืน่ โดยชอบธรรม
รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภมู หิ รือทตุ ยิ ภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก และนำเสนอการตดั สนิ ใจได้

อยา่ งมปี ระสิทธิภาพออกแบบและเขียนโปรแกรม เพอ่ื พัฒนาแอปพลเิ คชนั ทมี่ กี ารบรู ณาการกับ
วชิ าอื่นอย่างสรา้ งสรรค์ ใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งรู้เทา่ ทัน และมคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม

ตัวชว้ี ัด
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
1. พฒั นาแอปพลิเคชันท่มี ีการบรู ณาการกบั วิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์
2. รวบรวมขอ้ มูล ประมวลผล ประเมนิ ผล นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์โดยใช้
ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอนิ เทอรเ์ นต็ ท่ีหลากหลาย
3. ประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู วเิ คราะหส์ ่ือและผลกระทบจากการให้ข่าวสารท่ีผดิ เพ่ือการใช้
งานอยา่ งรู้เทา่ ทัน
4. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั และมคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม ปฏิบตั ิตามกฎหมาย
เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลขิ สิทธข์ิ องผู้อืน่ โดยชอบธรรม

รวมท้ังหมด 4 ตัวช้ีวัด

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรียนวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 13

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหสั วิชา ว23104 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3

จำนวน 20 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จำนวน 0.5 หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ 2

ศกึ ษาและวิเคราะห์การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี รวมถงึ ศกึ ษาปัญหาและความต้องการ

ของชุมชนหรอื ท้องถ่ิน เพ่ือพัฒนางานอาชีพ สรปุ กรอบของปญั หา รวบรวม วเิ คราะห์ขอ้ มูลและ

แนวคดิ ที่เกี่ยวข้องกบั ปัญหา โดยคำนึงถึงความถกู ตอ้ ง

ดา้ นทรพั ยส์ ินทางปญั ญา

ทกั ษะออกแบบวิธีการแก้ปญั หา โดยวเิ คราะห์เปรียบเทยี บ และตดั สินใจเลอื กข้อมูลท่จี ำเปน็

ภายใต้เงือ่ นไขและทรพั ยากรที่มอี ยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปญั หาใหผ้ อู้ ่ืนเข้าใจด้วยเทคนคิ

หรอื วิธกี ารท่ีหลากหลาย วางแผนขน้ั ตอนการทำงานและดำเนนิ การแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน

การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีเพ่อื แก้ปญั หาหรือพฒั นางานอาชีพ และให้เหตุผลของปัญหาหรอื

ข้อบกพรอ่ งท่เี กิดขึน้ ภายใต้กรอบเง่ือนไข หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ขและนำเสนอผลการแกป้ ญั หา

พร้อมทงั้ เสนอแนวทางการพฒั นาต่อยอด

ตวั ชวี้ ัด
ว. 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
๑. วเิ คราะห์สาเหตุ หรือปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสมั พันธ์
ของเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ ่นื โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณติ ศาสตร์ เพอื่ เป็นแนวทาง
การแก้ปญั หาหรอื พัฒนางาน
๒. ระบปุ ัญหาหรือความตอ้ งการของชุมชนหรอื ทอ้ งถ่นิ เพ่อื พัฒนางานอาชพี สรุปกรอบของ
ปญั หา รวบรวม วเิ คราะห์ขอ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี กี่ยวข้องกับปัญหา โดยคำนึงถึงความถกู ตอ้ ง
ด้านทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา
3. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หา โดยวิเคราะห์เปรยี บเทยี บ และตัดสนิ ใจเลอื กข้อมลู ท่ีจำเปน็
ภายใตเ้ งื่อนไขและทรัพยากรท่ีมอี ยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปญั หาให้ผู้อ่นื เข้าใจด้วยเทคนิค
หรอื วธิ ีการท่หี ลากหลาย วางแผนขนั้ ตอนการทำงานและดำเนินการแกป้ ัญหาอยา่ งเปน็
ขั้นตอน
4. ทดสอบ ประเมนิ ผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปญั หาหรือข้อบกพร่องท่เี กดิ ขน้ึ ภายใต้
กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและนำเสนอผลการแกป้ ัญหา พรอ้ มทั้งเสนอ
แนวทางการพัฒนาต่อยอด

รวมท้ังหมด 4 ตัวชี้วัด

กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 14

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) 1

โครงสร้างกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

รายวิชาพ้ืนฐาน

1. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1 รหัสวชิ า ว31101 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.

2. วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ 2 รหัสวิชา ว31103 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.

3. วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 1 รหัสวิชา ว32101 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.

4. วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 รหสั วิชา ว32103 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 นก.

5. วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ รหัสวชิ า ว33101 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 นก.

6. วิทยาการคำนวณ 1 รหัสวชิ า ว31102 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.

7. การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหสั วิชา ว31104 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.

8. วิทยาการคำนวณ 2 รหสั วิชา ว32102 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.

9. การออกแบบและเทคโนโลยี 2 รหัสวิชา ว32104 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 นก.

10. วทิ ยาการคำนวณ 3 รหสั วิชา ว33102 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 นก.

รายวชิ าเพ่ิมเติม รหัสวชิ า ว30201 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 นก.

1.ฟิสิกส์ 1 รหสั วิชา ว30202 80 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 นก.
รหสั วิชา ว30203 80 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 นก.
๒.ฟสิ ิกส์ 2
3.ฟสิ กิ ส์ 3 รหสั วชิ า ว30204 80 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 นก.
รหัสวิชา ว30205 80 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 นก.
4.ฟสิ กิ ส์ 4 รหสั วิชา ว30206 80 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 นก.
5.ฟิสิกส์ 5
6.ฟสิ กิ ส์ 6 รหัสวชิ า ว30221 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 นก.
รหัสวิชา ว30222 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 นก.
7. เคมี 1
8. เคมี 2 รหสั วิชา ว30223 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 นก.
รหสั วิชา ว30224 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
9. เคมี 3 รหัสวชิ า ว30225 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
10. เคมี 4
11. เคมี 5 รหสั วชิ า ว30226 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
รหัสวชิ า ว30241 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 นก.
12. เคมี 6
13. ชีววทิ ยา 1 รหสั วชิ า ว30242 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
รหสั วชิ า ว30243 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
14. ชวี วทิ ยา 2 รหสั วชิ า ว30244 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 นก.
15. ชีววิทยา 3
16. ชีววิทยา 4 รหสั วิชา ว30245 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
รหัสวชิ า ว30246 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 นก.
17. ชวี วทิ ยา 5
18. ชวี วิทยา 6 รหัสวชิ า ว30261 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 นก.
รหัสวิชา ว30261 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 นก.
19. โลกดาราศาสตร์ฯ 1 รหัสวชิ า ว30261 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 นก.
20. โลกดาราศาสตร์ฯ 2
21. โลกดาราศาสตร์ฯ 3 รหัสวิชา ว30261 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 นก.

22. โลกดาราศาสตร์ฯ 4

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวังโปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) 2

23. สารและสมบัตขิ องสาร รหัสวิชา ว30227 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 นก.
24. โครงงานวิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว30228 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 นก.

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560) 3

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4
รายวิชา วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ 1 ภาคเรียนท่ี 1
จำนวน 20 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น รหสั วชิ า ว31101
จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาเซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การ
รักษาดุลยภาพของน้ำในพืช การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในสัตว์ต่างๆ รวมท้ังในคน การ
รักษาดุลยภาพของกรด-เบส อุณหภูมิในร่างกายคน การป้องกันและกำจัดเช้ือโรคของร่างกาย การ
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับร่างกาย ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอธิบาย
การอภิปรายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ เฝ้าระวังและ
พฒั นาสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านยิ มท่เี หมาะสม

ตวั ชว้ี ดั
๑. อธิบายโครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ท่ีสัมพันธ์กับการลำเลียงสาร และเปรียบเทียบการ
ลำเลยี งสารผา่ นเย่ือหมุ้ เซลล์แบบต่างๆ
๒. อธิบายการควบคมุ ดุลยภาพของน้ำและสารในเลือดโดยการทำงานของไต
๓. อธบิ ายการควบคมุ ดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทำงานของไตและปอด
๔. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด ผิวหนัง และ
กลา้ มเนือ้ โครงรา่ ง
๕. อธิบายและเขียนแผนผังเกี่ยวกับการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จำเพาะและแบบจำเพาะตอ่ ส่ิง
แปลกปลอมของรา่ งกาย
๖. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบายและยกตัวอยา่ งโรค หรอื อาการทเี่ กดิ จากความผดิ ปกติของระบบภูมคิ ้มุ กนั
๗. อธบิ ายภาวะภูมคิ มุ้ กันบกพรอ่ งทีม่ ีสาเหตุมาจากการตดิ เชือ้ HIV
๘. ทดสอบและบอกชนดิ ของสารอาหารทีพ่ ืชสังเคราะหไ์ ด้
๙. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยก ตัวอยา่ งเก่ียวกบั การใช้ประโยชน์จากสารตา่ งๆ ที่พชื บางชนิดสรา้ ง
ขึน้
๑๐. ออกแบบการทดลอง และอธบิ ายเกย่ี วกบั ปจั จัยภายนอกท่มี ผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื
๑๑. สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น และยกตัวอย่าง
การนำมาประยกุ ตใ์ ชท้ างด้านการเกษตรของพชื
๑๒. สังเกตและอธบิ ายการตอบสนองของ พชื ตอ่ ส่ิงเร้าใน รูปแบบต่าง ๆ ท่มี ีผลต่อการดำรงชวี ิต
รวมทง้ั หมด ๑๒ ตวั ชว้ี ัด

กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) 4

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ 2 ภาคเรียนท่ี 2
จำนวน 20 ช่วั โมง/ภาคเรียน รหสั วชิ า ว31103
จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาลักษณะพันธุกรรม โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม การถ่ายทอด
ลักษณะพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม การคัดเลือกตามธรรมชาติ การปรับปรุงพันธุ์
โดยมนุษย์เทคโนโลยีชีวภาพ ระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในระบบนิเวศ วัฏจักรของ
สารในระบบนิเวศการเปลี่ยนแปลงแทนที่ มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความ
หลากหลายของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายของสปีชีส์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอธิบาย การอภิปราย
และสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้
และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษา สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
อย่างย่ังยนื มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม

ตวั ช้ีวดั
๑. อธบิ ายความ สมั พนั ธ์ระหว่างยนี การสังเคราะห์โปรตนี และลกั ษณะทางพันธกุ รรม
๒. อธิบายหลกั การถ่ายทอดลักษณะทถ่ี ูกควบคมุ ด้วยยีนทอ่ี ยบู่ นโครโมโซมเพศและมลั ติเปิลแอลลีล
๓. อธิบายผลที่เกดิ จากการเปล่ียนแปลง ลาดับนิวคลีโอไทดใ์ นดีเอ็นเอต่อการแสดงลกั ษณะของ
สิง่ มชี วี ิต
๔. สบื ค้นข้อมูลและยกตัวอยา่ งการนำมวิ เทชันไปใช้ประโยชน์
๕. สบื คน้ ขอ้ มูลและอภปิ รายผลของเทคโนโลยที างดเี อ็นเอทม่ี ตี ่อมนษุ ย์ และส่งิ แวดลอ้ ม
๖. สบื ค้นข้อมูล อธิบาย และยกตวั อยา่ งความหลากหลายของส่งิ มชี ีวิตซึง่ เป็นผลมาจากวิวฒั นาการ
๗. สบื คน้ ขอ้ มูลและ อธบิ ายความสมั พันธ์ ของสภาพทาง ภมู ศิ าสตรบ์ นโลก กับความหลากหลาย
ของไบโอมและยกตวั อยา่ งไบโอมชนิดต่างๆ
๘. สบื คน้ ข้อมูล อภปิ รายสาเหตุ และยกตวั อยา่ ง การเปลยี่ นแปลง แทนท่ีของระบบนเิ วศ
๙. สืบค้นข้อมูลอธิบายและยกตัวอย่าง เก่ียวกับการเปลีย่ นแปลงขององคป์ ระกอบทางกายภาพและ
ทางชีวภาพทม่ี ีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิตในระบบนเิ วศ
๑๐. สบื คน้ ข้อมูลและ อภิปรายเก่ียวกับ ปญั หาและผลกระทบท่ีมีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติ และ
สง่ิ แวดลอ้ ม พร้อมท้งั นาเสนอ แนวทางในการ อนุรกั ษท์ รพั ยากร- ธรรมชาตแิ ละการ แกไ้ ขปัญหา
ส่ิงแวดลอ้ ม
รวมท้งั หมด ๑๐ ตัวช้ีวัด

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560) 5

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5
รายวิชา วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 1 ภาคเรยี นท่ี 1
จำนวน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน รหัสวิชา ว32101
จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศกึ ษาข้อมูล และอธิบายระบุวา่ สารเป็นธาตุหรอื สารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล

หรือไอออนจากสูตรเคมี และศึกษาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลอง
อะตอมของโบร์กับแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก เข้าใจวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอมของ
ธาตุ อนุภาคมูลฐานของอะตอม เลขอะตอม เลขมวลและไอโซโทป สัญลักษณ์นิวเคลียร์ การจัดเรียง

อิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุบางชนิด การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ระบุหมู่และคาบของธาตุ และ
ระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรนซิชัน จากตาราง

ธาตุ เปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ
และสบื คน้ ข้อมลู และนำเสนอตัวอย่างประโยชนแ์ ละอันตรายท่ีเกดิ จากธาตเุ รพรีเซนเททีฟ

ศึกษาข้อมลและอธิบาย พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเด่ียว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุ

จำนวนคู่อิเล็กตรอนระหว่างอะตอมคู่ร่วมพันธะ จากสูตรโครงสร้าง ระบุสภาพขั้วของสารท่ีโมเลกุล
ประกอบด้วย ๒ อะตอม ระบุสารท่ีเกิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้าง อธิบายความสัมพันธ์

ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพข้ัวหรือการเกิดพันธะ
ไฮโดรเจน เขียนสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนกิ ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัว
หรือไมแ่ ตกตวั พร้อมให้เหตุผลและระบวุ ่าสารละลายที่ได้เป็นสารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์ หรือนอนอิเล็ก

โทรไลต์ ระบุสารประกอบอินทรียป์ ระเภทไฮโดรคารบ์ อนวา่ อิม่ ตวั หรือไม่อ่ิมตวั จากสตู รโครงสร้าง
ศึกษาข้อมลู และเปรียบเทยี บสมบตั ทิ างกายภาพระหวา่ งพอลเิ มอร์และมอนอเมอร์ของพอลิเม

อร์ชนิดนั้น ระบุสมบัติความเป็นกรด-เบสจากโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ อธิบายสมบัติการ
ละลายในตวั ทำละลายชนิดต่าง ๆ ของสาร วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งโครงสร้างกับ
สมบัตเิ ทอร์มอพลาสติกและ เทอร์มอเซตของพอลิเมอร์ และการนำพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ สืบค้น

ข้อมูลและนำเสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม พร้อม
แนวทางป้องกนั หรอื แก้ไข

อธิบายสูตรเคมีของสารต้ังต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมี
ของปฏิกิริยาเคมี ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้นพื้นท่ีผวิ อุณหภูมิ และตัวเรง่ ปฏิกริ ยิ าที่มีผล
ตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้

ประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั หรือในอตุ สาหกรรม อธิบายความหมายของปฏิกิรยิ ารดี อกซ์
อธิบายสมบัติของสารกัมมันตรังสี และคำนวณคร่ึงชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสี

สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์ของสารกัมมันตรังสีและการป้องกันอันตรายท่ีเกิดจาก
กมั มันตภาพรังสี

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) 6

ตวั ชวี้ ัด
๑. ระบุวา่ สารเปน็ ธาตหุ รือสารประกอบ และอยใู่ นรูปอะตอม โมเลกุล หรอื ไอออนจากสูตร

เคมี
๒. เปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบร์กบั

แบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก
๓. ระบจุ ำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนทเ่ี กิดจากอะตอม

เดยี ว
๔. เขยี นสัญลักษณน์ ิวเคลียรข์ องธาตแุ ละระบุการเปน็ ไอโซโทป
๕. ระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบวุ ่าธาตุเปน็ โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเท

ทฟี หรือกลุ่มธาตุแทรนซชิ ัน จากตารางธาตุ
๖. เปรยี บเทียบสมบัติการนำไฟฟ้า การให้และรับอเิ ลก็ ตรอนระหว่างธาตใุ นกลุ่มโลหะกบั

อโลหะ
๗. สบื ค้นข้อมูลและนำเสนอตวั อยา่ งประโยชน์และอันตรายที่เกดิ จากธาตุเรพรเี ซนเททีฟและ

ธาตแุ ทรนซชิ ัน
๘. ระบุวา่ พันธะโคเวเลนตเ์ ปน็ พนั ธะเดย่ี ว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบจุ ำนวนคู่

อเิ ลก็ ตรอนระหว่างอะตอมค่รู ว่ มพนั ธะ จากสูตรโครงสร้าง
๙. ระบุสภาพขว้ั ของสารทโี่ มเลกลุ ประกอบดว้ ย ๒ อะตอม
๑๐. ระบสุ ารทีเ่ กิดพนั ธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสรา้ ง
๑๑. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตาม

สภาพขัว้ หรอื การเกิดพันธะไฮโดรเจน
๑๒. เขียนสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนกิ
๑๓. ระบุวา่ สารเกดิ การละลายแบบแตกตัวหรอื ไมแ่ ตกตัว พรอ้ มใหเ้ หตุผลและระบวุ า่

สารละลายท่ไี ดเ้ ป็นสารละลายอเิ ล็กโทรไลต์ หรือนอนอเิ ล็กโทรไลต์
๑๔. ระบสุ ารประกอบอินทรียป์ ระเภทไฮโดรคารบ์ อนว่าอิม่ ตวั หรือไมอ่ มิ่ ตวั จากสูตร

โครงสร้าง
๑๕. สบื ค้นข้อมูลและเปรียบเทยี บสมบตั ิทางกายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอเมอรข์ องพอลิเมอรช์

นิดนั้น
๑๖. ระบสุ มบัตคิ วามเป็นกรด-เบสจากโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรยี ์
๑๗. อธิบายสมบตั กิ ารละลายในตัวทำละลายชนดิ ตา่ ง ๆ ของสาร
๑๘. วิเคราะหแ์ ละอธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งโครงสรา้ งกับสมบตั ิเทอร์มอพลาสติกและ

เทอร์มอเซตของพอลเิ มอร์ และการนำพอลิเมอรไ์ ปใชป้ ระโยชน์
๑๙. สืบคน้ ข้อมูลและนำเสนอผลกระทบของการใชผ้ ลิตภณั ฑ์พอลเิ มอร์ที่มีตอ่ ส่งิ มชี วี ิตและ

ส่งิ แวดลอ้ ม พร้อมแนวทางปอ้ งกันหรือแกไ้ ข
๒๐. ระบุสตู รเคมขี องสารตง้ั ต้น ผลติ ภัณฑ์ และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมี

ของปฏิกิรยิ าเคมี
๒๑. ทดลองและอธบิ ายผลของความเขม้ ขน้ พน้ื ทผ่ี ิว อุณหภมู ิ และตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าท่ีมผี ลต่อ

อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรียนวังโปง่ พิทยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) 7

๒๒. สืบค้นขอ้ มูลและอธบิ ายปัจจัยทม่ี ีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีทีใ่ ช้ประโยชนใ์ น

ชวี ิตประจำวนั หรือในอตุ สาหกรรม
๒๓. อธิบายความหมายของปฏกิ ริ ิยารดี อกซ์
๒๔. อธบิ ายสมบตั ิของสารกัมมันตรังสี และคำนวณครงึ่ ชวี ิตและปริมาณของสารกมั มนั ตรงั สี

๒๕. สืบคน้ ข้อมูลและนำเสนอตวั อย่างประโยชน์ของสารกมั มนั ตรังสีและการป้องกันอนั ตราย
ท่เี กิดจากกัมมนั ตภาพรังสี

กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560) 8

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5
รายวิชา วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 ภาคเรียนที่ 2
จำนวน 20 ช่วั โมง/ภาคเรยี น รหสั วชิ า ว32103
จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาหลักการพ้ืนฐานของแรงและการเคลื่อนท่ีในเรื่อง ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว

ความเร็วความเรง่ การเคลอื่ นที่แนวตรง การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ การเคล่อื นที่แบบวงกลมและ
การเคลื่อนท่ีแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แรงที่กระทำต่อวัตถใุ นสนามโน้มถว่ งและการเคล่ือนท่ีของวัตถุ
ในสนามโนม้ ถ่วงแรงท่ีกระทำต่ออนุภาคที่มปี ระจไุ ฟฟ้าในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก รวมท้งั แรง

นิวเคลยี ร์ในนิวเคลียสและการใช้ประโยชน์จากแรงและการเคลื่อนทีแ่ บบต่างๆ ศึกษาหลักการพื้นฐาน
ของพลงั งานในเร่ืององค์ประกอบของคลื่น สมบัติของคล่ืน เสยี งและการได้ยนิ ความเข้มเสยี ง มลพิษ

ทางเสียง สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี รังสีในชีวิตประจำวัน ปฏิกิริยานิวเคลียร์
พลังงานนวิ เคลียร์ และการใช้ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ ผลกระทบต่อสงิ่ มีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โดย
ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์การสบื ค้นข้อมูล การสำรวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ

ความคิด มคี วามสามารถในการส่ือสารส่ิงท่เี รยี นรู้ การตดั สินใจ การนำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มี
จิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม

รหัสตวั ช้วี ดั
ว ๒.๒ ม.๕/๑, ม.๕/๒, ม.๕/๓, ม.๕/๔, ม.๕/๕, ม.๕/๖, ม.๕/๗, ม.๕/๘, ม.๕/๙, ม.๕/๑๐

ว ๒.๓ ม.๕/๑, ม.๕/๒, ม.๕/๓, ม.๕/๔, ม.๕/๕, ม.๕/๖, ม.๕/๗, ม.๕/๘, ม.๕/๙, ม.๕/๑๐, ม.๕/๑๑,
ม.๕/๑๒

รวมท้งั หมด ๒๒ ตวั ช้วี ัด

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 9

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

รายวิชา วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ รหัสวิชา ว32103 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
ภาคเรยี นที่ 1
จำนวน 20 ชัว่ โมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาโครงสร้างโลก การแบ่งโครงสร้างโลก หลักฐานและสมมติฐานการเคลื่อนท่ีของทวีป

หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนตัวของทวีป กระบวนการที่ทำให้เกิดการ
เคล่ือนที่ของแผ่นธรณี ลักษณะการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี การเปล่ียนลักษณะของเปลือกโลก
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อายุทางธรณีวิทยา ซากดึกดำบรรพ์ การลำดับช้ันหิน กำเนิดเอกภพ

กาแล็กซี วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ กำเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์ ความส่องสว่างและโชติ
มาตรของดาวฤกษ์ สีและอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ์ ระยะห่างของดาวฤกษ์ เนบิวลา แหล่งกำเนิดดาว

ฤกษ์ ระบบดาวฤกษ์ มวลของดาวฤกษ์ การกำเนดิ ระบบสุริยะ ดวงอาทติ ย์ เขตของบริวารดวงอาทิตย์
กล้องโทรทรรศน์ การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม ระบบขนส่งอวกาศ การใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้น

ขอ้ มูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอภิปรายการอธิบายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความ
เข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแล

รักษาสิ่งมีชีวติ อ่ืน เฝ้าระวงั และพัฒนาส่ิงแวดล้อมอย่างย่ังยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านิยมที่ถูกต้องเหมาะสม โดยมุ่งเนน้ ความเปน็ ไทยควบคูก่ บั ความเป็นสากล

รหัสตวั ชีว้ ดั
ว ๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗, ม.๖/๘, ม.๖/๙, ม.๖/๑๐
ว ๓.๒ ม.๖/๑, ว ๓.๒ ม.๖/๒, ว ๓.๒ ม.๖/๓, ว ๓.๒ ม.๖/๔, ว ๓.๒ ม.๖/๕, ว ๓.๒ ม.๖/๖

รวมท้ังหมด ๑๖ ตวั ชว้ี ดั

กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) 10

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
รายวิชา วิทยาการคำนวณ 1 ภาคเรียนที่ 1
จำนวน 20 ช่วั โมง/ภาคเรียน รหัสวิชา ว31102
จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศกึ ษาหลกั การของแนวคิดเชงิ คำนวณ การแยกส่วนประกอบและการยอ่ ยปัญหา การหา

รูปแบบ การคิดเชิงนามธรรม ตัวอยา่ งและประโยชน์ของแนวคิดเชิงคำนวณเพื่อแกป้ ัญหาใน
ชีวิตประจำวัน ประยกุ ตใ์ ช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการออกแบบข้ันตอนวิธีสำหรบั แก้ปัญหา การ
แกป้ ญั หาด้วยคอมพิวเตอร์ การระบุข้อมูลเข้า ข้อมลู ออก และเงอ่ื นไขของปัญหา การออกแบบ

ข้ันตอนวธิ ี การทำซำ้ การจัดเรียงและค้นหาขอ้ มูลตัวอยา่ งการออกแบบข้นั ตอนวธิ เี พือ่ แก้ปญั หาด้วย
คอมพิวเตอร์ การศึกษาตวั อย่างโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การก าหนดปญั หา ศึกษา

วางแผน ดำเนินงาน สรปุ ผลและเผยแพร่ ในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบรู ณาการร่วมกบั วิชาอน่ื และ
เชอ่ื มโยงกับชวี ิตจริง

ตวั ช้วี ัด
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานท่มี กี ารบูรณาการกบั วชิ าอนื่ อย่าง สร้างสรรค์
และเชอื่ มโยงกบั ชวี ิตจรงิ

รวมทงั้ หมด 1 ตัวช้วี ัด

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) 11

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหัสวชิ า ว31104 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
ภาคเรียนที่ 2
จำนวน 20 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศกึ ษา วเิ คราะห์แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยที ี่

เกิดขึ้นและความสมั พันธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื ออกแบบ สรา้ ง หรอื พัฒนาผลงานสำหรับ
แก้ปัญหาทค่ี ำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ สงั คมในประเด็นที่เกยี่ วข้องกับสขุ ภาพและการบริการ โดยใช้
กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมซง่ึ ใชค้ วามร้ทู ักษะ และเลอื กใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื กลไก

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภัย คำนงึ ถึงทรัพย์สนิ ทาง
ปญั ญา มีการใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและน าเสนอผลงาน

ตัวช้ีวัด
ว. 4.1 เทคโนโลย(ี การออกแบบและเทคโนโลยี)

1. วเิ คราะหแ์ นวคิดหลกั ของเทคโนโลยี ความสัมพนั ธก์ บั ศาสตรอ์ ่ืนโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื
คณติ ศาสตร์ รวมทั้งประเมนิ ผลกระทบท่ีจะเกดิ ขึ้นตอ่ มนษุ ย์ สงั คม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อม เพ่อื

เป็นแนวทางในการพฒั นาเทคโนโลยี
2. ระบุปญั หาหรือความต้องการท่ีมีผลกระทบตอ่ สังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมลู และแนวคดิ ที่
เกย่ี วขอ้ ง

กบั ปญั หาทีม่ คี วามซับซอ้ นเพ่ือสงั เคราะหว์ ธิ ีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคำนงึ ถงึ ความถกู ตอ้ ง
ด้านทรพั ย์สินทางปัญญา

3. ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา โดยวิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บ และตดั สินใจเลือกขอ้ มลู ท่ีจำเปน็ ภายใต้
เงื่อนไขและทรัพยากรทีม่ อี ยู่ นำเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาให้ผู้อ่นื เข้าใจดว้ ยเทคนิคหรือวธิ กี ารที่
หลากหลาย โดยใชซ้ อฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขนั้ ตอนการท างานและดำเนนิ การ

แกป้ ัญหา
4. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์และให้เหตุผลของปญั หาหรือขอ้ บกพรอ่ งทเ่ี กดิ ขึน้ ภายใตก้ รอบ

เงือ่ นไข หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข และน าเสนอผลการแก้ปัญหา พร้อมทงั้ เสนอแนวทางการ
พฒั นาต่อยอด
5. ใช้ความรู้และทกั ษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ และ

เทคโนโลยที ี่ซับซ้อนในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย

รวมทั้งหมด 5 ตัวชวี้ ัด

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 12

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5
รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ 2 ภาคเรยี นท่ี 1
จำนวน 20 ช่วั โมง/ภาคเรยี น รหสั วชิ า ว32102
จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศกึ ษาหลักการของวิทยาการขอ้ มูล และหลักการคิดเชงิ ออกแบบเพอ่ื เพ่ิมมลู ค่าให้บริการหรอื

ผลติ ภัณฑ์ วธิ ีการเกบ็ ข้อมลู และเตรียมข้อมูล การวเิ คราะหข์ อ้ มูล การประมวลผลข้อมูล เครื่องมือทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีใช้ในการประมวลผลขอ้ มูล การจัดเก็บขอ้ มูล การนำเสนอขอ้ มูล การแปลง
ข้อมลู ใหเ้ ป็นภาพ การเลอื กใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวอย่าง
กรณีศึกษา

ตัวชี้วดั
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)
รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มลู และใช้ความรูด้ ้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศใน

การแก้ปัญหาหรือเพมิ่ มูลค่าให้กับบริการหรือผลิตภัณฑ์ท่ใี ช้ในชีวติ จริงอยา่ งสรา้ งสรรค์

รวมท้ังหมด 1 ตัวชี้วัด

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรียนวงั โปง่ พิทยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) 13

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี 2 รหัสวชิ า ว32104 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5
ภาคเรยี นที่ 2
จำนวน 20 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาและวเิ คราะห์สถานการณ์หรอื ความต้องการทค่ี ำนงึ ถงึ ผู้ใช้ดว้ ยการคดิ เชงิ ออกแบบ และ
ความรูท้ างด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ ื่น ๆ เพอ่ื ทำความเขา้ ใจปัญหาอย่างลกึ ซึ้ง และ
รอบด้าน เพ่ือพัฒนาวิธีการแกป้ ัญหาท่ีตรงความต้องการ พฒั นาโครงงานเพื่อแกป้ ัญหาจาก
สถานการณท์ ี่ตนเองสนใจโดยใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ศึกษาการพัฒนาผลงาน
การสร้างประโยชนจ์ ากผลงาน และการคุ้มครองทรพั ยส์ ินทางปญั ญาเพอ่ื นำความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ใน
การพฒั นาหรอื สร้างประโยชน์จากผลงานของตนเอง และเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธผ์ ลงานของตนเองให้
เปน็ ท่รี ูจ้ กั และกอ่ ให้เกิดประโยชน์

ตัวชว้ี ัด
ว 4.1 เทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลย)ี
1. ประยุกตใ์ ชค้ วามรแู้ ละทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากร ในการทำโครงงานเพ่อื แก้
แกป้ ัญหาหรอื พฒั นางาน

รวมทง้ั หมด 1 ตัวชีว้ ัด

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) 14

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ 3 ภาคเรยี นที่ 2
จำนวน 40 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น รหสั วิชา ว33102
จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอและแบง่ ปนั ขอ้ มูลอยา่ งปลอดภยั และมีจริยธรรม การ

สรา้ งช้ินงานและเผยแพรผ่ า่ นส่อื ตา่ ง ๆ ทีค่ ำนึงถงึ จริยธรรม ลิขสิทธิ์ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา และกฎหมาย
หลกั การของปัญญาประดษิ ฐแ์ ละเทคโนโลยีในอนาคต กรณีศกึ ษาเก่ยี วกับนวตั กรรมหรือเทคโนโลยีท่ี
เกีย่ วข้องกบั ชวี ิตประจำวนั อาชีพทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั งานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอยา่ งผลกระทบ
ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวชีว้ ัด
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการน าเสนอและแบ่งปนั ข้อมูลอยา่ งปลอดภยั มีจริยธรรม และวเิ คราะห์

การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยสี ารสนเทศทม่ี ีผลตอ่ การด าเนนิ ชีวติ อาชีพ สงั คม และวฒั นธรรม

รวมทงั้ หมด 1 ตัวช้ีวัด

กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) 15

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เตมิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 1 ภาคเรียนที่ 1
จำนวน 80 ชวั่ โมง/ภาคเรียน รหัสวชิ า วว30201
จำนวน 2.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาธรรมชาติของวชิ าฟิสิกส์ ปริมาณกายภาพและหน่วย การวดั ความคลาดเคล่อื นในการ

วดั และการทดลองในวชิ าฟิสกิ ส์ การบอกตำแหน่งของวัตถุ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่างๆ ที่
เก่ียวขอ้ งกับการเคล่อื นที่แนวตรงด้วยความเรง่ คงตวั แรงและผลของแรงทมี่ ีต่อสภาพการเคลอื่ นท่ีของ
วัตถุ กฎการเคล่ือนท่ขี องนวิ ตัน กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล และแรงเสียดทาน การเคลือ่ นที่แบบ

โพรเจกไทล์การเคลอ่ื นท่ีแบบวงกลม โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบคน้ ขอ้ มูล การสำรวจ
ตรวจสอบ เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิด มคี วามสามารถในการสือ่ สารสิง่ ท่ีเรียนรู้ การ

ตดั สนิ ใจ การนำความร้ไู ปใช้ในชวี ติ ประจำวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคณุ ธรรมและค่านิยมท่ี
เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑. สบื ค้น และอธิบายการคน้ หาความรู้ทางฟิสกิ ส์ประวัติความเป็นมา รวมท้ังพฒั นาการของหลกั การ

และแนวคิดทางฟิสกิ ส์ทีม่ ผี ลตอ่ การแสวงหาความรใู้ หมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยี
๒. วัด และรายงานผลการวัดปริมาณทางฟสิ ิกสไ์ ด้ถกู ต้องเหมาะสม โดยนําความคลาดเคลื่อนในการ
วัดมาพจิ ารณาในการนําเสนอผล รวมทัง้ แสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟ วเิ คราะหแ์ ละแปล

ความหมายจากกราฟเส้นตรง
๓. ทดลอง และอธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งตําแหนง่ การกระจดั ความเร็ว และความเร่งของการ

เคลื่อนทขี่ องวตั ถุในแนวตรงที่มีความเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ รวมท้งั ทดลองหาค่าความเรง่ โนม้
ถ่วงของโลก และคํานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้อง
๔. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงท่ีทาํ มมุ ต่อกนั

๕. เขยี นแผนภาพของแรงท่ีกระทําตอ่ วัตถอุ สิ ระทดลอง และอธิบายกฎการเคล่ือนทข่ี องนิวตันและ
การใช้กฎการเคล่อื นท่ขี องนิวตันกบั สภาพการเคลื่อนทข่ี องวตั ถุรวมทัง้ คํานวณปริมาณต่าง ๆที่

เกย่ี วข้อง
๖. อธิบายกฎความโนม้ ถว่ งสากลและผลของสนามโนม้ ถว่ งท่ที าํ ใหว้ ัตถุมนี ้ําหนกั รวมทัง้ คํานวณ
ปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

๗. วเิ คราะหอ์ ธิบาย และคํานวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผสั ของวตั ถคุ หู่ นง่ึ ๆ ในกรณที ว่ี ัตถุหยุด
นง่ิ และวัตถเุ คล่ือนท่ี รวมทั้งทดลองหาสมั ประสิทธ์ิความเสยี ดทานระหวา่ งผวิ สัมผสั ของวตั ถุคู่หน่งึ ๆ

และนาํ ความร้เู ร่ืองแรงเสยี ดทานไปใชใ้ นชีวิตประจําวนั
๘. อธบิ าย วเิ คราะหแ์ ละคาํ นวณปริมาณตา่ ง ๆท่ีเกี่ยวข้องกบั การเคลื่อนทแี่ บบโพรเจกไทล์และ
ทดลองการเคล่อื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์

รวมทง้ั หมด ๘ ผลการเรียนรู้

กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) 16

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 2 รหัสวิชา วว30202 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4

จำนวน 80 ช่วั โมง/ภาคเรียน จำนวน 2.0 หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ 2

ศึกษาหลักการของกลศาสตร์ในเร่ือง งาน พลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน

จลน์ กฎการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน กำลัง เครือ่ งกลอย่างงา่ ยและประสทิ ธิภาพของเครื่องกล โมเมนตมั การ

ชนกันของวัตถุและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนที่แบบหมุน ทอร์กและผลของทอร์กท่ีมีต่อ

สภาพการหมุน สภาพสมดุลและเงื่อนไขที่ทำให้เกิดสมดุล สภาพยืดหยุ่นของวัตถุและมอดุลัส แรงสู่

ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนที่อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุในการเคลื่อนท่ี

แบบวงกลมในระนาบระดับ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การสำรวจ

ตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด มีความสามารถในการส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ การ

ตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรมและค่านิยมที่

เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. อธิบายสมดุลกลของวตั ถุโมเมนต์และผลรวมของโมเมนต์ที่มีต่อการหมุน แรงค่คู วบและผลของแรง

คู่ควบท่ีมตี ่อสมดลุ ของวัตถุ เขยี นแผนภาพของแรงท่ีกระทาํ ตอ่ วัตถุอิสระเม่ือวตั ถุอย่ใู นสมดุลกล และ

คาํ นวณปริมาณตา่ ง ๆทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รวมท้ังทดลองและอธบิ ายสมดลุ ของแรงสามแรง

๒. สังเกต และอธบิ ายสภาพการเคลื่อนทข่ี องวัตถเุ มื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุผา่ นศูนย์กลางมวลของวัตถุ

และผลของศนู ย์ถว่ งทม่ี ีต่อเสถยี รภาพของวตั ถุ

๓. วเิ คราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตวั จากสมการและพน้ื ท่ีใต้กราฟความสัมพันธฺระหว่างแรงกับ

ตำแหน่ง รวมทั้งอธิบาย และคำนวณกำลังเฉลยี่

๔. อธิบาย และคำนวณพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธร์ ะหว่างงาน

กับพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลงั งานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของ

แรงที่ใช้ดึงสปรงิ กบั ระยะทส่ี ปริงยืดออกและความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกับพลงั งานศักย์ยดื หยุ่น รวมทั้ง

อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างงานของแรงลัพธแ์ ละพลังงานจลน์ และคำนวณงานท่เี กดิ ขึ้นจากแรงลัพธ์

๕. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์และคํานวณปริมาณต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการ

เคลอื่ นทข่ี องวตั ถุในสถานการณ์ตา่ ง ๆโดยใชก้ ฎการอนรุ ักษพ์ ลงั งานกล

๖. อธิบายการทํางาน ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเคร่ืองกลอย่างง่ายบางชนิดโดยใช้

ความรูเ้ รื่องงานและสมดุลกล รวมท้งั คํานวณประสทิ ธิภาพและการไดเ้ ปรียบเชิงกล

๗. อธิบาย และคํานวณโมเมนตัมของวัตถุและการดลจากสมการและพ้ืนที่ใต้กราฟความสัมพันธ์

ระหวา่ งแรงลัพธ์กับเวลา รวมทั้งอธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างแรงดลกับโมเมนตัม

๘. ทดลอง อธบิ าย และคํานวณปริมาณตา่ ง ๆทเ่ี กย่ี วกับการชนของวัตถุในหน่ึงมิติทั้งแบบยดื หยุ่น ไม่

ยดื หยนุ่ และการดดี ตัวแยกจากกันในหนึ่งมติ ิซึ่งเป็นไปตามกฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตมั

๙. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคล่ือนที่อัตราเร็วเชิงเส้น

อตั ราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ รวมท้ังคํานวณปริมาณ

ต่างๆ ท่ีเก่ยี วข้องและประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้การเคลอื่ นทีแ่ บบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทยี ม

รวมทงั้ หมด ๙ ผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) 17

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

รายวชิ า ฟิสิกส์ 3 รหัสวิชา วว30203 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5

จำนวน 80 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จำนวน 2.0 หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี 1

ศึกษาหลักการของคลื่นในเร่ือง การเคล่ือนท่ีแบบฮารม์ อนิกอย่างง่าย องค์ประกอบและการ

เคลื่อนท่ีของคลืน่ สมบัติของคล่ืน ธรรมชาติของเสียง สมบตั ิของคล่นื เสยี ง การอธิบายปรากฏการณ์ท่ี

เก่ยี วกบั คลื่นเสียง การสน่ั พอ้ งของเสียง บีตส์ปรากฏการณด์ อปเพลอรแ์ ละคล่ืนกระแทก หูและการได้

ยิน ความเข้มของเสียงและมลพิษทางเสียงธรรมชาติของแสง แสงเชิงเรขาคณิต กระจกเงาโค้ง เลนส์

บางและหลักการของทัศนอุปกรณ์บางชนิดการรับรู้สีของนัยน์ตาคน แสงเชิงฟิสิกส์และการอธิบาย

ปรากฏการณ์ที่เก่ียวกับคล่ืนแสง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การสำรวจ

ตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิดมีความสามารถในการสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ การ

ตัดสินใจ การนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำ วันมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่

เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑. ทดลอง และอธบิ ายการเคลื่อนที่แบบฮารม์ อนิกอยา่ งง่ายของวตั ถตุ ดิ ปลายสปริงและลูกตุ้ม
๒. อธบิ ายความถธ่ี รรมชาตขิ องวัตถแุ ละการเกดิ การสั่นพอ้ ง
๓. อธิบายปรากฏการณ์คล่ืน ชนิดของคลื่นส่วนประกอบของคล่ืน การแผ่ของหน้าคลื่นด้วยหลักการ
ของฮอยเกนส์และการรวมกันของคลื่นตามหลักการซ้อนทับ พร้อมท้ังคํานวณอัตราเร็ว ความถี่และ
ความยาวคลนื่
๔. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเหการแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคล่ืนผิวน้ํารวมท้ัง
คํานวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
๕. อธิบายการเกิดเสียง การเคล่ือนที่ของเสียงความสัมพันธ์ระหว่างคลื่น การกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ข้ึนกับอุณหภูมิในหน่วยอ งศา
เซลเซยี สสมบัตขิ องคลนื่ เสียง ไดแ้ กก่ ารสะทอ้ น การหักเห การแทรกสอดการเล้ียวเบน รวมทั้งคาํ นวณ
ปริมาณตา่ ง ๆทเี่ กย่ี วข้อง
๖. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสยี ง และมลพิษทางเสียง
รวมทง้ั คาํ นวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี กยี่ วข้อง
๗. ทดลอง และอธิบายการเกิดการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหน่ึงด้าน รวมท้ังสังเกตและ
อธิบายการเกดิ บีต คลน่ื น่ิง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์คล่ืนกระแทกของเสียง คํานวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เกยี่ วขอ้ ง และนําความรเู้ รอ่ื งเสียงไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวัน
๘. ทดลอง และอธิบายการแทรกสอดของแสงผา่ นสลิตคู่และเกรตติง การเลย้ี วเบนและการแทรกสอด
ของแสงผา่ นสลิตเด่ียวรวมทง้ั คาํ นวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง
๙. ทดลอง และอธบิ ายการสะท้อนของแสงทีผ่ ิววัตถุตามกฎการสะท้อน เขยี นรังสขี องแสงและคํานวณ
ตําแหน่งและขนาดภาพ ของวัตถุเม่ือแสงตกกระทบกระจกเงาราบและ กระจกเงาทรงกลมรวมทั้ง
อธิบายการนําความรู้เรื่องการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบ และกระจกเงาทรงกลมไปใช้
ประโยชน์ในชวี ติ ประจําวนั

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรียนวงั โปง่ พิทยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 18

๑๐. ทดลอง และอธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดรรชนหี ักเห มุมตกกระทบ และมุมหกั เหรวมทงั้ อธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง
และคาํ นวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง
๑๑. ทดลอง และเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หาตําแหน่ง ขนาด ชนิดของ
ภาพ และความสัมพันธร์ ะหว่างระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกสั รวมทงั้ คํานวณปริมาณต่าง ๆ
ที่เก่ียวข้อง และอธิบายการนําความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์บางไปใช้ประโยชน์ใน
ชวี ติ ประจําวัน
๑๒. อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีเกี่ยวกับแสงเช่น รุ้ง การทรงกลด มิราจ และการเหน็ ท้องฟา้ เป็น
สีต่าง ๆ ในชว่ งเวลาต่างกัน
๑๓. สังเกต และอธิบายการมองเห็นแสงสีสีของวัตถุการผสมสารสีและการผสมแสงสีรวมทั้งอธิบาย
สาเหตขุ องการบอดสี

รวมท้ังหมด ๑๓ ผลการเรยี นรู้

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 19

คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เติม

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 4 รหสั วชิ า วว30204 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5

จำนวน 80 ช่วั โมง/ภาคเรียน จำนวน 2.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

ศกึ ษาหลักการของไฟฟา้ และแม่เหล็กในเรื่อง กฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศกั ย์ไฟฟ้า ความจุ

และตวั เกบ็ ประจุ กฎของโอหม์ สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า การวิเคราะหว์ งจรไฟฟ้ากระแสตรง

อย่างง่ายการหาพลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ในเคร่ืองใช้ไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้น

ข้อมูล การสำรวจตรวจสอบ เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิดมีความสามารถในการสื่อสารสง่ิ ท่ี

เรยี นรู้ การตัดสินใจ การนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำ วันมีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและ

คา่ นิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. ทดลอง และอธิบายการทําวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและการ

เหน่ียวนําไฟฟา้ สถิต

๒. อธบิ าย และคํานวณแรงไฟฟา้ ตามกฎของคลู อมบ์

๓. อธิบาย และคํานวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าท่ีกระทํากับอนุภาคท่ีมีประจุ ไฟฟ้าท่ีอยู่ใน

สนามไฟฟ้า รวมทงั้ หาสนามไฟฟ้าลัพธเ์ นื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอร์

๔. อธบิ ายและคาํ นวณพลังงานศกั ยไ์ ฟฟ้าศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์ระหว่างสองตําแหน่งใดๆ

๕. อธิบายส่วนประกอบของตัวเกบ็ ประจคุ วามสัมพันธ์ระหว่างประจไุ ฟฟ้า ความต่างศักย์และความจุ

ของตัวเก็บประจุและอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุและความจุสมมูลรวมท้ังคํานวณปริมาณ

ต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง

๖. นําความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทํางานของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าบางชนิด และปรากฏการณ์

ในชวี ติ ประจําวัน

๗. อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนํา ความสัมพันธ์ระหว่าง

กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนํากับความเรว็ ลอยเลอื่ นของอเิ ลก็ ตรอนอิสระ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอน

ในลวดตัวนําและพ้นื ที่หนา้ ตัดของลวดตัวนํา และคํานวณปรมิ าณตา่ ง ๆท่เี กี่ยวขอ้ ง

๘. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาว

พื้นท่ีหน้าตัด และสภาพต้านทานของตัวนําโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคํานวณปริมาณต่าง ๆท่ี

เกี่ยวข้อง รวมทั้งอธิบายและคํานวณความต้านทานสมมูล เม่ือนําตัวต้านทานมาต่อกันแบบอนุกรม

และแบบขนาน

๙. ทดลอง อธิบาย และคํานวณอเี อม็ เอฟของแหล่งกําเนิดไฟฟา้ กระแสตรง รวมทัง้ อธบิ ายและคํานวณ

พลงั งานไฟฟา้ และกาํ ลังไฟฟา้

๑๐. ทดลอง และคํานวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอร่ีแบบอนุกรมและแบบขนานรวมท้ั ง

คาํ นวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซึง่ ประกอบดว้ ยแบตเตอรีแ่ ละตวั ต้านทาน

๑๑. อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมท้ังสืบค้นและอภิปรายเก่ียวกับ

เทคโนโลยีท่ีนํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า โดยเน้นด้าน

ประสทิ ธิภาพและความคุ้มคา่ ด้านคา่ ใช้จ่าย

รวมทัง้ หมด ๑๑ ผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรยี นวังโปง่ พทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 20

คำอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เติม

กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

รายวชิ า ฟิสิกส์ 5 รหสั วชิ า วว30205 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5

จำนวน 80 ชว่ั โมง/ภาคเรียน จำนวน 2.0 หนว่ ยกติ ภาคเรยี นที่ 1

ศึกษาหลักการแม่เหล็กในเร่ือง สนามแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างแม่เหล็กและไฟฟ้า

หลักการของมอเตอร์ กฎการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์และกฎของเลนซ์ หลักการของ

เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลบั การแปลงไฟฟ้ากระแสสลบั เป็นไฟฟ้ากระแสตรง แนวคิดทฤษฎี

แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นขอ้ มูล การสำรวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ

ความคิดมคี วามสามารถในการส่อื สารส่ิงท่เี รียนรู้ การตัดสนิ ใจ การนำ ความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ วันมี

จติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. สงั เกต และอธิบายเส้นสนามแมเ่ หล็ก อธบิ ายและคํานวณฟลกั ซ์แม่เหลก็ ในบรเิ วณทีก่ ําหนดรวมทั้ง

สังเกต และอธบิ ายสนามแม่เหลก็ ทีเ่ กดิ จากกระแสไฟฟา้ ในลวดตัวนาํ เส้นตรงและโซเลนอยด์
๒. อธิบาย และคาํ นวณแรงแม่เหล็กที่กระทําต่ออนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าเคล่ือนที่ในสนามแม่เหลก็ แรง

แม่เหล็กท่ีกระทําต่อเส้นลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของการ
เคลอื่ นทีเ่ มื่อประจุเคล่ือนที่ตง้ั ฉากกับสนามแม่เหลก็ รวมท้ังอธบิ ายแรงระหว่างเสน้ ลวดตัวนําคู่ขนานท่ี
มีกระแสไฟฟา้ ผา่ น

๓. อธิบายหลักการทํางานของแกลแวนอมเิ ตอรแ์ ละมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง รวมท้ังคํานวณปริมาณ
ตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

๔. สังเกต และอธบิ ายการเกิดอเี อ็มเอฟเหนี่ยวนํากฎการเหน่ียวนําของฟาราเดยแ์ ละคาํ นวณปริมาณ
ตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง รวมทั้งนาํ ความร้เู รื่องอเี อ็มเอฟเหน่ยี วนําไปอธิบายการทาํ งานของเครื่องใชไ้ ฟฟา้
๕. อธิบาย และคาํ นวณความตา่ งศกั ย์อารเ์ อ็มเอสและกระแสไฟฟา้ อารเ์ อม็ เอส

๖. อธบิ ายหลักการทาํ งานและประโยชน์ของเครื่องกําเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ ๓ เฟสการแปลงอีเอ็มเอฟ
ของหมอ้ แปลง และคํานวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

๗. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์แสงโพลาไรส์เชิงเส้น
และแผ่นโพลารอยด์รวมทั้งอธิบายการนําคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และ
หลักการทํางานของอปุ กรณ์ทีเ่ กย่ี วข้อง

๘. สืบค้น และอธิบายการส่ือสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารส นเทศและ
เปรยี บเทยี บการสอ่ื สารดว้ ยสัญญาณแอนะล็อกกบั สัญญาณดจิ ิทัล

รวมทัง้ หมด ๘ ผลการเรยี นรู้

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรียนวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 21

คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เตมิ

กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

รายวิชา ฟิสกิ ส์ 6 รหสั วิชา วว30206 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

จำนวน 80 ช่วั โมง/ภาคเรยี น จำนวน 2.0 หนว่ ยกติ ภาคเรยี นที่ 2

ศึกษาหลักการของสสารและฟิสิกส์แผนใหม่ในเรื่อง ความร้อน การเปล่ียนสถานะของสาร

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส กฎของแก๊สและพลงั งานภายในระบบของแก๊ส ความดันในของไหลและกฎพาส

คัล แรงพยุงและหลักอาร์คิมีดีส ความตึงผิว การเคล่ือนที่ในของไหล และหลักแบร์นูลลี การค้นพบ

อเิ ล็กตรอน แนวคดิ เกยี่ วกบั แบบจำลองอะตอม สมมติฐานของพลังค์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทรกิ ทวิ

ภาวะของคล่ืนและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี การสลายกัมมันตรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงาน

นิวเคลียร์ รังสีในธรรมชาติ การป้องกันอันตรายและการใช้ประโยชน์จากกัมมันตภาพรังสี และ

พลงั งานนิวเคลียร์ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบค้นขอ้ มูล การสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้

เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิด มีความสามารถในการสื่อสารส่งิ ที่เรยี นรู้ การตัดสนิ ใจ การนำความรู้

ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู้

๑. อธิบาย และคํานวณความร้อนที่ทําให้สสารเปล่ียนอุณหภูมิความร้อนที่ทําให้สสารเปลี่ยนสถานะ

และความร้อนทเ่ี กิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนุรักษ์พลงั งาน

๒. อธิบายสภาพยืดหยุ่นและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุที่เป็นแท่ง เม่ือถูกกระทําด้วยแรงค่า

ตา่ ง ๆ รวมท้ังทดลอง อธิบายและคํานวณความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาวและมอดุลัสของยัง

และนําความรเู้ รื่องสภาพยดื หยนุ่ ไปใช้ในชวี ติ ประจําวนั

๓. อธิบาย และคํานวณความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์และความดันบรรยากาศ รวมทั้งอธิบาย

หลักการทํางานของแมนอมิเตอร์บารอมเิ ตอร์และเคร่ืองอดั ไฮดรอลิก

๔. ทดลอง อธบิ าย และคาํ นวณขนาดแรงพยุงจากของไหล

๕. ทดลอง อธิบาย และคํานวณความตึงผิวของของเหลว รวมท้ังสังเกตและอธิบายแรงหนืดของ

ของเหลว

๖. อธิบายสมบตั ขิ องของไหลอุดมคติสมการความต่อเนอื่ ง และสมการแบรน์ ูลลรี วมทัง้ คํานวณปริมาณ

ตา่ งๆ ท่เี กยี่ วข้อง และนําความรู้เกี่ยวกับสมการความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลีไปอธบิ ายหลักการ

ทาํ งานของอุปกรณต์ า่ ง ๆ

๗. อธบิ ายกฎของแก๊สอุดมคติและคํานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

๘. อธิบายแบบจําลองของแก๊สอุดมคติทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอัตราเร็วอารเ์ อม็ เอสของโมเลกุลของ

แก๊สรวมทั้งคํานวณปรมิ าณตา่ งๆ ที่เก่ียวข้อง

๙. อธิบายและคํานวณงานที่ทําโดยแก๊สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ์

ระหว่างความร้อน พลังงานภายในระบบ และงานรวมทั้งคํานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องและนํา

ความรู้เร่อื งพลงั งานภายในระบบไปอธบิ ายหลกั การทาํ งานของเครอื่ งใช้ในชวี ติ ประจาํ วัน

๑๐. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ทฤษฎีอะตอมของโบร์และการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอม

ไฮโดรเจน รวมท้งั คํานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง

๑๑. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและคํานวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโต

อเิ ล็กตรอนและฟังกช์ ันงานของโลหะ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรียนวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 22

๑๒. อธิบายทวิภาวะของคล่นื และอนุภาค รวมทั้งอธิบายและคํานวณความยาวคล่ืนเดอบรอยล์
๑๓. อธบิ ายกัมมนั ตภาพรังสแี ละความแตกตา่ งของรังสีแอลฟา บตี า และแกมมา
๑๔. อธิบาย และคํานวณกัมมันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสีรวมทั้งทดลอง อธิบายและคํานวณ
จํานวนนวิ เคลยี สกัมมันตภาพรงั สที เ่ี หลอื จากการสลาย และครึง่ ชวี ติ
๑๕. อธิบายแรงนิวเคลยี รเ์ สถียรภาพของนิวเคลียสและพลังงานยดึ เหนี่ยว รวมทั้งคํานวณปริมาณต่าง
ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง
๑๖. อธิบายปฏิกิรยิ านวิ เคลยี รฟ์ ิชชนั และฟวิ ชันรวมท้ังคํานวณพลังงานนวิ เคลยี ร์
๑๗. อธิบายประโยชนข์ องพลังงานนวิ เคลยี ร์และรังสีรวมทง้ั อันตรายและการป้องกันรงั สีในด้านตา่ ง ๆ
๑๘. อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาคแบบจําลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์จากการ
ค้นควา้ วจิ ัยด้านฟิสกิ สอ์ นภุ าคในด้านตา่ ง ๆ

รวมทั้งหมด ๑๘ ผลการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 23

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่มิ เติม ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
รายวชิ า เคมี 1 ภาคเรียนที่ 1
จำนวน 60 ช่ัวโมง/ภาคเรียน รหสั วชิ า ว30221
จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล ผลการทดลองท่เี ปน็ ประจกั ษ์พยานในการเสนอแบบจำลองอะตอมของ

นักวทิ ยาศาสตร์ และอธบิ ายววิ ัฒนาการของแบบจำลองอะตอมเปรยี บเทยี บแบบจำลองอะตอมขอ
งดอลตนั ทอมสัน รัทเทอร์ฟอรด์ โบร์และแบบกลุ่มหมอก เขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์
นิวเคลยี ร์ของธาตุ ศึกษาอนุภาคมลู ฐานของอะตอมเลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป ศึกษา ทดลอง

เก่ยี วกบั สีของเปลวไฟจากสารประกอบและเส้นสเปกตรัมของธาตบุ างชนิด ศึกษาและเขียนการ
จัดเรยี งอิเลก็ ตรอนในอะตอม ศึกษาความหมายของระดบั พลงั งานของอิเล็กตรอน ออรบ์ ิทลั เวเลนซ์

อิเลก็ ตรอน ศึกษาวิเคราะห์การจดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุของนักวิทยาศาสตร์ แนวโนม้ สมบัติบาง
ประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู่และตามคาบ ศึกษาคำนวณและเปรยี บเทียบเลขออกซเิ ดชันของ
ธาตุในสารประกอบและไอออน

ศึกษาวเิ คราะหแ์ รงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนุภาคหรือพนั ธะเคมีของสาร กฎออกเตต การเกดิ พนั ธะและ
ชนดิ ของพนั ธะโคเวเลนต์ สูตร การเรยี กช่อื และโครงสร้างสารประกอบโคเวเลนต์ ความยาวพนั ธะ

พลังงานพันธะ การคำนวณหาพลงั งานพันธะและพลังงานทเ่ี ปล่ียนแปลงของปฏิกริ ิยา แนวคดิ
เก่ียวกับเรโซแนนซ์ รูปร่างของโมเลกลุ และสภาพขว้ั ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ แรงยดึ เหนี่ยวระหว่าง
โมเลกลุ โคเวเลนต์ สารโครงผลกึ ร่างตาข่าย สมบตั ิบางประการของสารโคเวเลนต์ การเกดิ พันธะไอ

ออนกิ โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก สูตรและการเรยี กชือ่ สารประกอบไอออนิก ศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกดิ สารประกอบไอออนกิ ทดลองเพ่อื ศกึ ษาสมบัตบิ างประการของ

สารประกอบไอออนกิ ปฏกิ ิรยิ าของสารประกอบไอออนกิ ศกึ ษาเกี่ยวกบั พนั ธะโลหะ
ศกึ ษาวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบสมบัตขิ องสารประกอบของธาตตุ ามหม่แู ละตามคาบเก่ียวกบั จุด-
หลอมเหลว จุดเดอื ด ความเปน็ กรด-เบสของสารประกอบคลอไรด์และออกไซด์ การละลายน้ำและเลข

ออกซิเดชัน ศกึ ษาและทดลองเก่ียวกับปฏิกริ ยิ าของธาตุ และการละลายนำ้ ของสารประกอบบางชนิด
ของธาตุหมู่ IA และ IIA ศึกษาตำแหนง่ ของธาตไุ ฮโดรเจนในตารางธาตุ ทดลองเพอ่ื ศึกษาสมบตั ิของ

ธาตแุ ทรนซชิ นั และฝึกคำนวณหาเลขออกซเิ ดชัน ทดลองเตรียมสารประกอบเชิงซอ้ นของธาตุแทรนซิ
ชันเพ่อื ศกึ ษาการเปล่ยี นสีของสารประกอบเชงิ ซอ้ นของธาตแุ ทรนซชิ ัน ศึกษาสมบัตขิ องธาตุกึ่งโลหะ
ธาตุกมั มนั ตรงั สี การเกดิ กมั มันตภาพรงั สี การสลายตวั ของธาตุกมั มนั ตรงั สี ศกึ ษาและคำนวณครง่ึ ชีวิต

ของธาตุกมั มันตรังสี ศกึ ษาปฏิกิริยานิวเคลยี ร์ การตรวจสอบสารกมั มันตรังสี และเทคโนโลยีท่ี
เก่ยี วข้องกบั การใช้สารกัมมันตรงั สี ธาตแุ ละสารประกอบบางชนิดในสง่ิ มีชวี ิตละสิง่ แวดล้อม

เพอ่ื ให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับสมบัติและความสมั พันธ์ระหว่างสมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ
และพนั ธะเคมี โดยใช้การเรียนร้ดู ้วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้การสำรวจ
ตรวจสอบ สามารถนำความรู ้และหลกั การไปใช้ประโยชน์ เชอ่ื มโยง อธิบายปรากฏการณห์ รือ

แก้ปญั หาในชวี ิตประจำวนั สามารถจดั กระทำและวเิ คราะหข์ ้อมลู สอ่ื สารสง่ิ ทเ่ี รยี นรู้ มีความสามารถ
ในการตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หา มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ มีจรยิ ธรรม คุณธรรมและ

คา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หลกั สตู รโรงเรียนวังโปง่ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) 24

ผลการเรียนรู้
๑. สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรอื ผลการทดลองทเ่ี ป็นประจกั ษพ์ ยานในการเสนอ
แบบจำลองอะตอมของนักวทิ ยาศาสตร์ และอธิบายววิ ัฒนาการของแบบจำลองอะตอม
๒. เขยี นสัญลักษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุ และระบุจำนวนโปรตอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอนของอะตอม
จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ รวมทงั้ บอกความหมายของไอโซโทป
๓. อธิบาย และเขยี นการจัดเรยี งอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลกั และระดับพลังงานย่อยเมือ่ ทราบ
เลขอะตอมของธาตุ
๔. ระบุหมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททฟี และธาตแุ ทรนซิชันใน
ตารางธาตุ

๕. วิเคราะห์ และบอกแนวโน้มสมบัติของธาตเุ รพรีเซนเททฟี ตามหม่แู ละตามคาบ
๖. บอกสมบตั ิของธาตุโลหะแทรนซชิ นั และเปรียบเทยี บสมบัตกิ บั ธาตโุ ลหะในกลุ่มธาตุเรพรี
เซนเททฟี
๗. อธบิ ายสมบัติ และคำนวณครึง่ ชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี
๘. สบื คน้ ข้อมูล และยกตวั อย่างการนำธาตมุ าใชป้ ระโยชน์ รวมทัง้ ผลกระทบต่อส่ิงมีชวี ิตและ
ส่ิงแวดล้อม
๙. อธบิ ายการเกดิ ไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก โดยใชแ้ ผนภาพหรอื สญั ลกั ษณ์แบบจดุ
ของลวิ อสิ
๑๐. เขยี นสูตร และเรียกช่อื สารประกอบไอออนิก
๑๑. คำนวณพลงั งานท่เี กี่ยวขอ้ งกับปฏิกิรยิ าการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวฏั จกั รบอร์น-
ฮาเบอร์
๑๒. อธิบายสมบตั ิของสารประกอบไอออนกิ
๑๓. เขียนสมการไอออนกิ และสมการไอออนกิ สุทธขิ องปฏกิ ิรยิ าของสารประกอบไอออนกิ
๑๔. อธิบายการเกิดพันธะโคเวเลนตแ์ บบพันธะเด่ยี ว พันธะคู่ และพันธะสาม ดว้ ยโครงสร้าง
ลิวอสิ
๑๕.เขยี นสตู ร และเรียกชือ่ สารโคเวเลนต์
๑๖. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ รวมทัง้
คำนวณพลงั งานท่ีเก่ยี วข้องกบั ปฏกิ ริ ิยาของสารโคเวเลนต์จากพลงั งานพันธะ
๑๗. คาดคะเนรปู รา่ งโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยใชท้ ฤษฎีการผลกั ระหว่างคอู่ ิเล็กตรอนในวง
เวเลนซ์ และระบสุ ภาพข้วั ของโมเลกุลโคเวเลนต์
๑๘. ระบชุ นดิ ของแรงยึดเหนยี่ วระหวา่ งโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรยี บเทยี บจุดหลอมเหลว
จดุ เดอื ด และการละลายน้ำของสารโคเวเลนต์
๑๙. สบื ค้นข้อมูล และอธิบายสมบัติของสารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาข่ายชนิดต่าง ๆ
๒๐. อธบิ ายการเกิดพันธะโลหะและสมบัตขิ องโลหะ
๒๑. เปรยี บเทยี บสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ สบื คน้ ข้อมลู
และนำเสนอตัวอยา่ งการใช้ประโยชนข์ อง สารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต์ และโลหะ ได้อย่าง
เหมาะสม

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 25

กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
รายวิชา เคมี 2 ภาคเรียนที่ 2
จำนวน 60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น รหสั วิชา ว30222
จำนวน 1.5 หน่วยกติ

อธบิ ายความหมายสัญลักษณ์ในสมการเคมีเขียนและดุลสมการเคมีของปฏกิ ิรยิ าเคมีบางชนิด

และเข้าใจการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นการเปล่ียนแปลงท่ีมีสารใหม่เกิดข้ึนจากการจัดเรียงตัวใหม่ของ
อะตอมธาตุ โดยจำนวนและชนิดของอะตอมธาตุไม่เปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาเคมีเขียนแสดงได้ด้วย
สมการเคมีซึ่งประกอบด้วยสูตรเคมีของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ ลูกศรแสดงทิศทางของการ

เกิดปฏิกิริยา และเลขสัมประสิทธ์ิของสารต้ังต้นและผลิตภัณฑ์ท่ีดุลแล้ว นอกจากน้ีอาจมีสัญลักษณ์
แสดงสถานะของสาร หรือปัจจัยอื่นท่ีเก่ียวข้องในการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถดุลสมการเคมีทำได้

โดยการเติมเลขสัมประสิทธิ์หน้าสารต้ังต้นและผลิตภัณฑ์ เพ่ือให้อะตอมของธาตุในสารต้ังต้นและ
ผลิตภัณฑ์เทา่ กนั และคำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกิรยิ าเคมที ่ีเก่ยี วข้องกับมวลสาร คำนวณปริมาณ
ของสารในปฏิกิริยาเคมีท่ีเก่ียวขอ้ งกับความเข้มข้นของสารละลายคำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกิรยิ า

เคมที ีเ่ ก่ียวข้องกบั ปริมาตรแก๊สคำนวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ิยาเคมหี ลายขน้ั ตอนระบสุ าร
กำหนดปริมาณ และคำนวณปริมาณสารต่าง ๆ ในปฏิกิริยาเคมีคำนวณผลได้ร้อยละของ

ผลิตภัณฑ์ใน ปฏิกิริยาเคมีการเปล่ียนแปลงปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมีมี ความสัมพัน ธ์กันตามเลข
สัมประสิทธ์ิในสมการเคมี ซ่ึงบอกถึงอัตราส่วนโดยโมลของสารในปฏิกิริยา สามารถนำมาใช้ในการ
คำนวณปรมิ าณของสารท่เี ก่ียวขอ้ งกับมวล ความเขม้ ข้นของสารละลาย และปริมาตรของแกส๊ ได้

บอกความสัมพันธ์ของโมลสารตั้งตน้ และผลิตภณั ฑใ์ นปฏิกิรยิ าเคมีหลายขั้นตอน พจิ ารณาได้
จากเลขสัมประสทิ ธิ์ของสมการเคมีรวม ปฏิกิรยิ าเคมีที่สารต้ังต้นทำปฏิกิริยาไม่พอดีกัน สารตั้งต้นที่

ทำปฏิกิริยาหมดก่อน เรียกว่า สารกำหนดปริมาณ ซ่ึงเป็นสารท่ีกำหนดปริมาณผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดข้ึน
และปริมาณสารต้ังตน้ อื่นที่ทำปฏิกริ ิยาไปเมอื่ ส้นิ สดุ ปฏิกิริยา • ผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดขนึ้ จริงในปฏกิ ิริยาเคมี
สว่ นใหญ่มีปริมาณนอ้ ยกว่าท่ีคำนวณได้ตามทฤษฎีซ่งึ คา่ เปรยี บเทยี บผลไดจ้ ริงกบั ผลได้ตามทฤษฎี เป็น

รอ้ ยละ เรยี กว่า ผลได้รอ้ ยละ

ผลการเรยี นรู้
๑. แปลความหมายสญั ลกั ษณ์ในสมการเคมเี ขียนและดุลสมการเคมีของปฏิกริ ิยาเคมีบางชนิด
๒. คำนวณปริมาณของสารในปฏกิ ิริยาเคมีทเี่ กี่ยวขอ้ งกับมวลสาร
๓. คำนวณปริมาณของสารในปฏกิ ิรยิ าเคมีทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับความเข้มขน้ ของสารละลาย
๔. คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เก่ยี วข้องกับปรมิ าตรแก๊ส
๕. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมีหลายข้ันตอน
๖. ระบุสารกำหนดปริมาณ และคำนวณปริมาณสารต่าง ๆ ในปฏิกิรยิ าเคมี
๗. คำนวณผลได้ร้อยละของผลิตภัณฑใ์ นปฏิกิรยิ าเคมี
8. บอก และอธบิ ายขอ้ ปฏิบัติเบอื้ งต้น และปฏิบตั ิตนที่แสดงถงึ ความตระหนกั ในการทำ

ปฏบิ ตั ิการเคมีเพ่ือให้มคี วามปลอดภัยทัง้ ตอ่ ตนเอง ผูอ้ ื่นและส่ิงแวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเมอ่ื
เกิดอบุ ตั ิเหตุ

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) 26

9. เลอื ก และใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมอื ในการทำปฏบิ ตั กิ าร และวดั ปริมาณตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสม
10. นำเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงานการทดลอง
11. ระบหุ นว่ ยวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหนว่ ยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอ

ดว้ ยการใช้แฟกเตอรเ์ ปล่ยี นหนว่ ย
12. อธบิ าย และคำนวณปริมาณใดปริมาณหนึ่งจากความสัมพนั ธ์ของโมล จำนวนอนภุ าค

มวล และปริมาตรของแกส๊ ท่ี STP
13. คำนวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองคป์ ระกอบของสารประกอบตามกฎสัดส่วนคงที่
14. คำนวณสูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุลของสาร

15. คำนวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยต่าง ๆ
16. อธบิ ายวิธีการ และเตรยี มสารละลายให้มี

17. ความเข้มขน้ ในหน่วยโมลาริตี และปริมาตรสารละลายตามทกี่ ำหนด
๑8. เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดเยอื กแขง็ ของสารละลายกบั สารบริสุทธ์ิ รวมทงั้ คำนวณ จดุ
เดือดและจุดเยอื กแขง็ ของสารละลาย

19. อธบิ ายความสัมพันธ์และคำนวณปรมิ าตรความดัน หรอื อณุ หภูมิของแกส๊ ที่ภาวะตา่ ง ๆ
ตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์–ลสู แซก

๒0. คำนวณปรมิ าตร ความดัน หรอื อุณหภูมิของแก๊สทภ่ี าวะตา่ ง ๆ ตามกฎรวมแก๊ส
21. คำนวณปริมาตร ความดัน อณุ หภมู ิ จำนวนโมล หรือมวลของแกส๊ จากความสมั พนั ธ์
ตามกฎของอาโวกาโดร และกฎแกส๊ อุดมคติ

22. คำนวณความดันยอ่ ยหรอื จำนวนโมลของแกส๊ ในแกส๊ ผสม โดยใช้กฎความดันย่อยขอ
งดอลตัน

23. อธบิ ายการแพรข่ องแก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ คำนวณและเปรยี บเทยี บอัตราการ
แพรข่ องแก๊ส โดยใชก้ ฎการแพรผ่ า่ นของ เกรแฮม

24. สบื คน้ ข้อมูล นำเสนอตวั อย่าง และอธิบายการประยกุ ต์ใช้ความรู้เก่ยี วกับสมบัตแิ ละกฎ

ตา่ ง ๆ ของแกส๊ ในการอธบิ ายปรากฏการณ์ หรือแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันและในอุตสาหกรรม

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นวังโปง่ พทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) 27

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5
รายวชิ า เคมี 3 ภาคเรียนที่ 1
จำนวน 60 ชว่ั โมง/ภาคเรียน รหัสวชิ า ว30223
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศกึ ษาความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ทดลองเพื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

การคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารจากกราฟ ศึกษาและวิเคราะห์แนวคิดเก่ียวกับการ
เกิดปฏกิ ิริยาเคมีโดยใชท้ ฤษฎจี ลน์และการชนกันของอนภุ าค การเกิดสารเชิงซ้อนกัมมนั ต์ พลังงานกับ
การดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับผลของความเข้มข้น พ้ืนที่ผิว อุณหภูมิ

ตวั เรง่ ปฏิกริ ิยาและตัวหนว่ งปฏิกริ ิยาตอ่ อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี สมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยา และการ
ใช้ทฤษฎจี ลน์อธิบายผลของปัจจัยตา่ งๆ ทีม่ ตี ่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

ศึกษาปฏกิ ริ ยิ าเคมีที่เกดิ ขน้ึ อยา่ งสมบรู ณ์ การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าไปข้างหน้า ปฏกิ ริ ิยายอ้ นกลบั และ
ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ทดลองเกี่ยวกับปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ศึกษาการเปล่ียนแปลงที่ทำให้เกิดภาวะ
สมดุลระหว่างสถานะ สมดุลในสารละลายอ่ิมตัว สมดุลไดนามิก ศึกษาและทดลองสมดุลเคมีใน

ปฏิกิริยาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล ค่าคงท่ีสมดุลกับ
สมการเคมีคำนวณหาค่าคงที่ของสมดุลและหาความเข้มข้นของสารในปฏิกิริยา ณ ภาวะสมดุล

ทดลองเพ่ือศึกษาผลของความเข้มข้น ความดัน อุณหภูมิต่อภาวะสมดุลและค่าคงที่สมดุล หลักของ
เลอชาเตอลิเอและการนำหลักของเลอชาเตอลิเอไปใช้ในกระบวนการอุตสาหกรรม กระบวนการต่างๆ
ของสง่ิ มีชีวติ และสงิ่ แวดล้อม

ศึกษาและทดลองสมบัติบางประการของสารละลายอิเล็กโทรไลต์และสารละลายนอนอิเล็ก
โทรไลต์ ประเภทของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ศึกษาไอออนในสารละลาย กรด และเบส ทฤษฎีกรด-

เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด–ลาวรี และลิวอิส ศึกษาและทดลองเกย่ี วกับการถ่ายโอนโปรตอนของ
สารละลายกรด-เบส ศึกษาคูก่ รด–เบส การคำนวณและการเขยี นสมการการแตกตัวของกรด-เบส การ
คำนวณค่าคงที่การแตกตัวเป็นไอออนของกรดอ่อนและเบสอ่อน ศึกษาและทดลองการแตกตัวเป็น

ไอออนของน้ำ การคำนวณค่าคงท่ีการแตกตัวของน้ำ pH ของสารละลาย และการคำนวณค่า pH
อินดิเคเตอร์สำหรบั กรด-เบสสารละลายกรด-เบสในชวี ิตประจำวันและในสิ่งมีชวี ิต ศึกษาและทดลอง

เร่อื งปฏิกิริยาสะเทินและปฏิกิริยาการเกิดเกลือจากปฏิกริ ิยาระหวา่ งสารละลายกรดกับสารละลายเบส
ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ ศกึ ษาเก่ียวกบั การไทเทรตสารละลายกรด-เบส การเขียนกราฟและการ
หาจุดสมมูลจากกราฟของการไทเทรต และคำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายกรด-เบส ศึกษา

หลักการเลือกใช้อินดิเคเตอร์สำหรับไทเทรตกรด-เบส การประยุกต์ความรู้เรื่องการไทเทรตไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน ศึกษาและทดลองสมบัติความเป็นบฟั เฟอรข์ องสารละลาย

เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและ
สงิ่ แวดลอ้ ม และสารละลายกรด-เบส โดยใช้การเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ สามารถนำความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบาย

ปรากฏการณ์หรอื แกป้ ญั หาในชีวิตประจำวัน สามารถจดั กระทำและวิเคราะห์ขอ้ มลู สือ่ สารส่ิงท่เี รยี นรู้
มคี วามสามารถในการตัดสินใจ แก้ปัญหา มีจิตวิทยาศาสตร์ เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม

คุณธรรมและคา่ นิยมทเี่ หมาะสม

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรียนวงั โปง่ พิทยาคม พุทธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 28

ผลการเรยี นรู้
๑. ทดลอง และเขียนกราฟการเพิ่มขึ้นหรอื ลดลงของสารทีท่ ำการวัดในปฏิกริ ิยา
๒. คำนวณอตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และเขยี นกราฟการลดลงหรอื เพม่ิ ขน้ึ ของสารท่ไี ม่ไดว้ ดั
ในปฏิกิรยิ า
๓. เขียนแผนภาพ และอธิบายทศิ ทางการชนกันของอนภุ าคและพลังงานท่สี ่งผลต่ออตั ราการ
เกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
๔. ทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้น พ้ืนที่ผิวของสารตั้งต้น อุณหภูมิ และตัวเร่ง
ปฏิกริ ยิ าท่ีมตี อ่ อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
๕. เปรยี บเทยี บอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเมอ่ื มีการเปลีย่ นแปลงความเข้มข้น พ้ืนที่ผิวของสารต้ัง
ตน้ อณุ หภูมิ และตัวเร่งปฏกิ ริ ิยา
๖. ยกตัวอย่าง และอธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันหรือ
อุตสาหกรรม
๗. ทดสอบ และอธบิ ายความหมายของปฏิกิริยาผนั กลับไดแ้ ละภาวะสมดลุ
๘. อธิบายการเปลยี่ นแปลงความเข้มขน้ ของสาร อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าไปขา้ งหน้า และอัตรา
การเกดิ ปฏิกริ ยิ ายอ้ นกลบั เมอ่ื เรม่ิ ปฏิกริ ิยาจนกระท่ังระบบอยใู่ นภาวะสมดุล
๙. คำนวณค่าคงทีส่ มดลุ ของปฏิกิริยา
๑๐. คำนวณความเขม้ ข้นของสารทีภ่ าวะสมดลุ
๑๑. คำนวณคา่ คงท่ีสมดลุ หรอื ความเขม้ ขน้ ของปฏกิ ริ ยิ าหลายขนั้ ตอน
๑๒. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลและค่าคงท่ีสมดุลของระบบ รวมท้ังคาดคะเนการ
เปล่ียนแปลงทเี่ กิดขน้ึ เมอ่ื ภาวะสมดุลของระบบถกู รบกวน โดยใช้หลักของเลอชาเตอลิเอ
๑๓. ยกตัวอย่าง และอธิบายสมดลุ เคมีของกระบวนการที่เกดิ ข้ึนในสิง่ มีชีวิต ปรากฏการณใ์ น
ธรรมชาติและกระบวนการในอุตสาหกรรม
๑๔. ระบุ และอธิบายว่าสารเป็นกรดหรือเบสโดยใช้ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียส เบรินส
เตด–ลาวรี และลิวอสิ
๑๕. ระบคุ ูก่ รด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี
๑๖. คำนวณ และเปรียบเทยี บความสามารถในการแตกตัวหรอื ความแรงของกรดและเบส
๑๗. คำนวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของ
สารละลายกรดและเบส
๑๘. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลัง
การสะเทิน
๑๙. เขยี นปฏกิ ิริยาไฮโดรลิซสิ ของเกลือ และระบคุ วามเป็นกรด-เบสของสารละลายเกลือ
๒๐. ทดลอง และอธิบายหลักการการไทเทรตและเลือกใช้อินดิเคเตอร์ท่ีเหมาะสมสำหรับ
การไทเทรตกรด-เบส
๒๑. คำนวณปริมาณสารหรอื ความเขม้ ขน้ ของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต
๒๒. อธบิ ายสมบตั ิ องคป์ ระกอบ และประโยชน์ของสารละลายบฟั เฟอร์
๒๓. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับกรด–เบส

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560) 29

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5
รายวิชา เคมี 4 ภาคเรียนท่ี 2
จำนวน 60 ช่ัวโมง/ภาคเรียน รหัสวิชา ว30224
จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศกึ ษาทดลองการถ่ายโอนอเิ ลก็ ตรอนในปฏกิ ริ ยิ าระหว่างโลหะกบั สารละลายของโลหะไอออน

ศึกษาปฏิกิรยิ าออกซิเดชนั ปฏิกริ ยิ ารีดักชนั ปฏกิ ิริยารีดอกซ์ ตวั รีดวิ ซ์ ตัวออกซไิ ดซ์ การเขยี นและดลุ
สมการรีดอกซ์โดยใชเ้ ลขออกซิเดชนั และครึง่ ปฏกิ ริ ิยา ศึกษาเซลลไ์ ฟฟ้าเคมี ศึกษาและทดลองเกย่ี วกบั
หลักการของเซลลก์ ัลวานกิ ศกึ ษาการเขียนแผนภาพของเซลลก์ ัลวานกิ การหาคา่ ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์

และศักย์ไฟฟา้ มาตรฐานของคร่งึ เซลล์ ปฏกิ ริ ยิ าในเซลล์กัลวานิกประเภทเซลลป์ ฐมภมู ิและเซลล์ทตุ ยิ
ภูมบิ างชนดิ ทดลองเพอ่ื ศกึ ษาหลักการสรา้ งและการทำงานของเซลลส์ ะสมไฟฟา้ แบบตะกว่ั ศึกษา

หลักการของเซลลอ์ ิเล็กโทรไลต์และทดลองการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้าตามหลกั การของเซลล์อเิ ล็ก
โทรไลต์ ศกึ ษาการแยกสารท่หี ลอมเหลวดว้ ยไฟฟา้ ศึกษาและทดลองชบุ โลหะด้วยกระแสไฟฟา้ ศกึ ษา
วธิ ีการทำให้โลหะบรสิ ุทธ์ิ การถลุงแร่ ศกึ ษาและทดลองเก่ยี วกบั การผุกรอ่ นและการปอ้ งกนั การผุ

กร่อนของโลหะ ศกึ ษาความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั เซลล์ไฟฟ้าเคมี
เพอื่ ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเซลล์ไฟฟ้าเคมีและปฏกิ ิรยิ าในเซลล์ไฟฟา้ เคมี ธาตุและ

สารประกอบ อนินทรีย์ที่สำคญั ในอุตสาหกรรม โดยใช้การเรียนรูด้ ้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ สามารถนำความร้แู ละหลกั การไปใช้ประโยชน์ในการ
อธบิ ายปรากฏการณ์หรือแกป้ ญั หาในชีวติ ประจำวนั มคี วามสามารถในการจดั กระทำและวิเคราะห์

ขอ้ มูล ตัดสนิ ใจแก้ปญั หา สื่อสารสง่ิ ทเี่ รียนรู้ รวมท้ังมีจิตวิทยาศาสตร์ เห็นคณุ ค่าของวิทยาศาสตร์ มี
จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา่ นิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรียนรู้

1. คำนวณเลขออกซิเดชัน และระบุปฏกิ ิริยาที่เป็นปฏิกิรยิ ารดี อกซ์

2. วเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงเลขออกซเิ ดชันและระบุตัวรีดวิ ซ์และตวั ออกซไิ ดส์ รวมทง้ั เขยี นคร่ึง

ปฏกิ ิริยาออกซเิ ดชันและครึ่งปฏกิ ิรยิ ารีดกั ชนั ของปฏิกิรยิ ารีดอกซ์

3. ทดลอง และเปรียบเทียบความสามารถในการเปน็ ตัวรดี วิ ซห์ รือตวั ออกซไิ ดส์ และเขียนแสดง

ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์

4. ดุลสมการรดี อกซด์ ้วยการใชเ้ ลขออกซิเดชนั และวิธคี ร่งึ ปฏิกริ ยิ า

5. ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมไี ฟฟา้ และเขียนสมการเคมขี องปฏกิ ริ ิยาทแี่ อโนดและแคโทด

ปฏกิ ริ ิยารวม และแผนภาพเซลล์

6. คำนวณค่าศกั ยไ์ ฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์และระบปุ ระเภทของเซลลเ์ คมีไฟฟา้ ขัว้ ไฟฟ้า และ

ปฏกิ ริ ิยาเคมที ่เี กิดข้ึน

7. อธิบายหลกั การทำงาน และเขยี นสมการแสดงปฏิกริ ยิ าของเซลล์ปฐมภมู ิและเซลล์ทุตยิ ภมู ิ

8. ทดลองชบุ โลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟา้ และอธิบายหลกั การทางเคมไี ฟฟา้ ที่ใช้ในการชุบ

โลหะ การแยกสารเคมดี ้วยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะให้บรสิ ทุ ธ์ิ และการป้องกันการกัดกรอ่ นของลหะ

9. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอยา่ งความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีที่เก่ยี วข้องกบั เซลล์เคมีไฟฟ้า

ในชวี ิตประจำวัน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นวังโปง่ พทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2562 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) 30

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
รายวิชา เคมี 5 ภาคเรยี นท่ี 1
จำนวน 60 ชัว่ โมง/ภาคเรียน รหสั วชิ า ว30225
จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาความหมายของสารประกอบอนิ ทรีย์และเคมอี ินทรีย์สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่าง

สารประกอบอินทรีย์ท่ีมีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม ที่พบในชีวิตประจำวัน การเขียนสูตร
โครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบอินทรีย์ และ
วิเคราะห์โครงสร้าง และระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน เขียนสูตรโครงสร้าง

และเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1 หมู่ ตามระบบ IUPAC
และเขียนไอโซเมอรโ์ ครงสรา้ งของสารประกอบอินทรยี ์ประเภทตา่ ง ๆ วเิ คราะห์ และเปรียบเทียบจุด

เดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้าง
ต่างกัน และระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและเขียนผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาการเผา
ไหม้ ปฏกิ ิริยากับโบรมีน หรือปฏิกิรยิ ากับโพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต เขยี นสมการเคมีและอธิบาย

การเกิดปฏิกริ ิยาเอสเทอริฟเิ คชัน ปฏิกิรยิ าการสังเคราะห์เอไมด์ปฏิกริ ิยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะ
ปอนนิฟิเคชัน ทดสอบปฏิกริ ิยาเอสเทอรฟิ ิเคชัน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน

สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและ
อุตสาหกรรม

ศกึ ษาข้อมูล และระบุประเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอรจ์ ากโครงสร้างของมอนอเมอร์

หรือพอลิเมอร์ วเิ คราะห์ และอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ รวมทั้ง
การนำไปใชป้ ระโยชน์ ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสติกและผลติ ภณั ฑย์ าง รวมทั้งการนำไปใช้

ประโยชน์ อธิบายผลของการปรับเปล่ยี นโครงสรา้ ง และการสังเคราะหพ์ อลิเมอรท์ ม่ี ีต่อสมบัติของพอ
ลิเมอร์ พร้อมทงั้ สืบคน้ ขอ้ มลู และนำเสนอตัวอยา่ งผลกระทบจากการใช้และการกำจัดผลิตภัณฑ์พอ
ลเิ มอร์และแนวทางแก้ไข

กำหนดปัญหา และนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่
เกิดข้ึนในชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ หรืออุตสาหกรรม แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการ

ความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการ
ออกแบบเชิงวศิ วกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือแก้ปัญหา
ในสถานการณ์หรือประเด็นท่ีสนใจ นำเสนอผลงานหรือชิ้นงานท่ีได้จากการแก้ปัญหาในสถานการณ์

หรือประเด็นท่ีสนใจโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แสดงหลักฐานการเขา้ ร่วมการสัมมนา การเข้าร่วม
ประชมุ วิชาการ หรือการแสดงผลงานสง่ิ ประดิษฐใ์ นงานนทิ รรศการ

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

หลกั สูตรโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) 31

ผลการเรยี นรู้

๑. สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตวั อย่างสารประกอบอนิ ทรียท์ ี่มีพันธะเด่ียว พันธะคู่ หรือพันธะ
สาม ท่ีพบในชวี ติ ประจำวนั

๒. เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นของ

สารประกอบอนิ ทรยี ์
๓. วิเคราะหโ์ ครงสร้าง และระบปุ ระเภทของสารประกอบอนิ ทรยี จ์ ากหมฟู่ งั กช์ นั

๔. เขยี นสูตรโครงสร้างและเรยี กชอื่ สารประกอบอนิ ทรยี ์ประเภทต่าง ๆ ที่มหี มูฟ่ ังก์ชนั ไมเ่ กิน
5 หมู่ ตามระบบ IUPAC
6. เขียนไอโซเมอรโ์ ครงสรา้ งของสารประกอบอินทรยี ป์ ระเภทต่าง ๆ

7. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรียท์ ี่มหี มู่
ฟังก์ชนั ขนาดโมเลกุล หรอื โครงสร้างต่างกนั

8. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขียนผลติ ภัณฑ์จากปฏิกิรยิ าการเผาไหม้
ปฏิกิรยิ ากบั โบรมนี หรอื ปฏิกิรยิ ากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต

9. เขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอ

ไมด์ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลิซิส และปฏิกริ ิยาสะปอนนิฟิเคชัน
10. ทดสอบปฏิกริ ิยาเอสเทอรฟิ เิ คชัน ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลซิ สิ และปฏกิ ริ ยิ าสะปอนนิฟเิ คชนั

๑1. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ใน
ชวี ิตประจำวนั และอตุ สาหกรรม

๑2. ระบปุ ระเภทของปฏิกิรยิ าการเกดิ พอลเิ มอรจ์ ากโครงสรา้ งของมอนอเมอร์หรือพอลิเมอร์

๑3. วิเคราะห์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ รวมท้ัง
การนำไปใช้ประโยชน์

๑4. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสติกและผลติ ภณั ฑ์ยาง รวมทั้งการนำไปใชป้ ระโยชน์
๑5. อธิบายผลของการปรับเปล่ียนโครงสร้าง และการสงั เคราะห์พอลิเมอร์ที่มีต่อสมบัตขิ อง
พอลิเมอร์

๑6. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และการกำจัดผลิตภัณฑ์พอลิ
เมอร์และแนวทางแก้ไข

๑7. กำหนดปัญหา และนำเสนอแนวทางการแก้ปญั หาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์
ที่เกดิ ข้นึ ในชีวิตประจำวัน การประกอบอาชพี หรืออตุ สาหกรรม

18. แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอ่ืน รวมท้ังทักษะ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรอื กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ การ
แก้ปัญหาและความคดิ สรา้ งสรรค์ เพอ่ื แกป้ ญั หาในสถานการณ์หรือประเดน็ ทสี่ นใจ

19. นำเสนอผลงานหรือชน้ิ งานที่ได้จากการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรอื ประเด็นท่สี นใจโดย
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

20. แสดงหลกั ฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเขา้ รว่ มประชุมวชิ าการ หรือการแสดงผลงาน

สงิ่ ประดิษฐใ์ นงานนทิ รรศการ

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560) 32

กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เติม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
รายวิชา เคมี 6 ภาคเรยี นที่ 2
จำนวน 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน รหัสวิชา ว30226
จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาวเิ คราะห์ สมบตั แิ ละปฏิกิริยาของสารชวี โมเลกุล ไขมันและนำ้ มนั กรดไขมนั โปรตีน

กรดอะมโิ น พนั ธะเปปไทด์ โปรตนี ในสัตวแ์ ละพืช เอนไซม์ ฮอรโ์ มน กรดนวิ คลีอิก คาร์โบไฮเดรต
มอนอแซกคารไ์ รด์ ไดแซกคารไ์ รด์ และพอลิแซกคารไ์ รด์

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการสบื คน้

ข้อมูลและการอภิปราย เพ่อื ให้ผู้เรียนเกดิ ความรู้ มีความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สามารถเชอ่ื มโยงองคป์ ระกอบทง้ั หมดแบบองคร์ วม สร้างความรู้เป็นของตนเอง

เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลรับฟังความคิดของผูอ้ ื่น สร้างสรรค์ส่งิ
ตา่ งๆ เห็นคุณคา่ ของการนำความรูไ้ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันมคี วามใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน มุง่ มั่นในการ
ทำงาน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

1. ทดลองและอธิบายองคป์ ระกอบ ประโยชน์ และปฏกิ ริ ิยาบางชนิดของ คารโ์ บไฮเดรต
2. ทดลองและอธบิ ายองคป์ ระกอบ ประโยชน์ และปฏิกริ ิยาบางชนิดของไขมนั และนำ้ มนั
3. ทดลองและอธบิ ายองค์ประกอบ ประโยชน์ และปฏิกิรยิ าบางชนิดของโปรตนี และกรด

นวิ คลีอกิ
4. อธิบาย สมบัติและปฏิกริ ิยาของสารชีวโมเลกุล คาร์โบไฮเดรต ไขมันและนำ้ มัน โปรตนี

และกรดนิวคลีอกิ
5. มที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการ

สืบคน้ ขอ้ มลู และการอภปิ ราย

6. มคี วามเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สามารถเชอื่ มโยงองค์ประกอบ
ท้งั หมดแบบองคร์ วม สร้างความร้เู ปน็ ของตนเอง

7. เหน็ คุณค่าของการนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั มคี วามใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มงุ่ ม่นั ใน
การทำงาน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทเี่ หมาะสม

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) 33

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

รายวชิ า ชวี วิทยา 1 รหัสวิชา ว30241 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

จำนวน 60 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ 1

ศกึ ษาเกย่ี วกับลักษณะที่สำคัญของสิ่งมชี ีวติ การใชค้ วามรู้และกระบวนการทางชีววิทยาท่ีเป็น

ประโยชน์ต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม การศึกษาชีววิทยาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และการนำ

ความรู้เกี่ยวกับชีววิทยามาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน ศึกษาโครงสร้างและหน้าท่ีของสารเคมีที่เป็น

องค์ประกอบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าท่ีของส่วนท่ีห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และ

นวิ เคลียสที่ศกึ ษาดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ การสื่อสารระหวา่ งเซลล์ การเปลย่ี นแปลงสภาพของเซลล์ และ

การชราภาพของเซลล์โครงสร้างและการทำงานของระบบย่อยอาหารในร่างกายของสัตว์และมนุษย์

การสลายสารอาหารระดับเซลล์เพ่ือใหไ้ ด้พลังงานในรูปของ ATP โครงสรา้ งและการทำงานของระบบ

สืบพันธ์ุและการเจริญเติบโตของสัตว์และมนุษย์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการ

สืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลการสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย

และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้

และนำความร้ไู ปใช้ในชีวิตของตนเองมีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม

ผลการเรียนรู้
๑. อธิบาย และสรุปสมบตั ทิ ่ีสำคัญของส่งิ มีชวี ิต และความสมั พันธ์ของการจัดระบบในส่ิงมีชวี ิตทีท่ ำให้
สงิ่ มีชวี ติ ดำรงชวี ิตอยู่ได้
๒. อภิปราย และบอกความสำคัญของการระบุปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐาน และ
วิธีการตรวจสอบสมมตฐิ าน รวมทง้ั ออกแบบการทดลองเพ่อื ตรวจสอบสมมตฐิ าน
๓. สืบค้นข้อมูล อธิบายเก่ียวกับสมบัติของน้ำและบอกความสำคัญของน้ำที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ
ยกตัวอย่างธาตุชนดิ ตา่ ง ๆ ทมี่ ีความสำคัญต่อร่างกายสงิ่ มีชวี ิต
๔. สบื ค้นข้อมูล อธบิ ายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มของคาร์โบไฮเดรต รวมท้ังความสำคัญ
ของคาร์โบไฮเดรตทม่ี ีตอ่ สงิ่ มชี ีวติ
๕. สืบค้นขอ้ มลู อธิบายโครงสร้างของโปรตนี และความสำคัญของโปรตนี ท่ีมตี อ่ สิง่ มีชีวติ
๖. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายโครงสร้างของลิพิด และความสำคัญของลิพิดท่ีมตี อ่ สงิ่ มีชวี ิต
๗. อธิบายโครงสร้างของกรดนวิ คลอิ กิ และระบชุ นดิ ของกรดนิวคลิอกิ และความสำคญั ของ
กรดนวิ คลอิ ิกท่มี ีตอ่ ส่งิ มีชวี ติ
๘. สืบคน้ ข้อมูล และอธบิ ายปฏกิ ิรยิ าเคมีท่ีเกิดขนึ้ ในส่งิ มชี วี ติ
๙. อธิบายการทำงานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิกิริยาเคมีในส่ิงมีชีวิต และระบุปัจจัยท่ีมีผลต่อการ
ทำงานของเอนไซม์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสูตรโรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 34

๑๐. บอกวิธีการ และเตรียมตัวอย่างส่ิงมีชีวิตเพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง วัดขนาด
โดยประมาณ และวาดภาพที่ปรากฏภายใตก้ ล้อง บอกวิธีการใช้ และการดูแลรักษากล้องจุลทรรศนใ์ ช้
แสงที่ถูกตอ้ ง
๑๑. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของสว่ นท่ีหอ่ หมุ้ เซลลข์ องเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์
๑๒. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และระบชุ นิดและหน้าท่ีของออรแ์ กเนลล์
๑๓. อธิบายโครงสร้างและหนา้ ท่ีของนวิ เคลยี ส
๑๔. อธบิ าย และเปรียบเทยี บการแพร่ ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซลิ ิเทต และแอกทีฟทรานสปอรต์
๑๕. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนภาพ การลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ ด้วย
กระบวน การเอกโซไซโทซิสและการลำเลียงสารโมเลกุลใหญเ่ ข้าสูเ่ ซลล์ด้วยกระบวนการ เอนโดไซโท
ซสิ
๑๖. สงั เกตการแบ่งนวิ เคลยี สแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตัวอยา่ งภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พรอ้ ม
ทง้ั อธิบายและเปรียบเทียบการแบ่งนวิ เคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซสิ
๑๗. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปข้ันตอนการหายใจระดับเซลล์ในภาวะท่ีมอี อกซิเจนเพียงพอ และ
ภาวะทม่ี อี อกซิเจนไมเ่ พียงพอ

รวมทง้ั หมด ๑๗ ผลการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หลักสตู รโรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคม พทุ ธศกั ราช 2562 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 35

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เติม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
รายวิชา ชวี วทิ ยา 2 ภาคเรียนท่ี 2
จำนวน 60 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น รหัสวชิ า ว30242
จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาเกีย่ วกบั ดลุ ยภาพของชีวิตและการดำรงชีวติ การรักษาดลุ ยภาพในร่างกายของสัตวแ์ ละ
มนุษย์ศึกษาโครงสร้างและการทำงานของระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ
น้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกนั การนำความรู้ท่ีเปน็ ประโยชน์มาใช้ในการดแู ลรักษาสขุ ภาพของรา่ งกาย
ศึกษาโครงสร้างและอวัยวะท่ีใช้ในการเคล่ือนท่ีของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียว ของสัตว์และมนุษย์ ศึกษา
ระบบประสาทและอวยั วะรบั ความรู้สึก การรับรแู้ ละตอบสนองของส่ิงมีชีวติ เซลล์เดียว ของสัตว์และ
มนุษย์ เซลล์ประสาทและการทำงานของเซลลป์ ระสาท สมองและไขสันหลังที่เป็นศูนยค์ วบคุมระบบ
ประสาทการทำงานของระบบประสาทโซมาติกและระบบประสาทอัตโนวตั ิ โครงสร้างและการทำงาน
ของอวัยวะรับความรู้สึกท่ีเกี่ยวกับนัยน์ตากับการมองเห็น หูกับการได้ยิน จมูกกับการดมกลนิ่ ล้ินกับ
การรับรส และผิวหนังกับการรับความรู้สึก ศึกษาระบบต่อมไร้ทอ่ โครงสรา้ งและการทำงานของต่อม
ไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ทอ่ และอวัยวะที่สำคัญ การรักษาดุลยภาพของร่างกายดว้ ยฮอรโ์ มนและฟีโร
โมนในสัตว์ ศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ พฤติกรรมเป็นมาแต่กำเนิด
และพฤติกรรมเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับพัฒนาการของระบบประสาท การสื่อสาร
ระหว่างสัตว์โดยการใช้เสียงท่าทาง และสารเคมี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการ
สบื เสาะหาความรู้ การสบื ค้นข้อมูล การสงั เกต การวิเคราะห์ การทดลอง อภิปราย การอธิบาย และ
สรปุ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิดความเข้าใจ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ สือ่ สารสิ่งทเ่ี รียนรูแ้ ละนำ
ความรู้ไปใช้ในชวี ติ ของตนเองมจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยม

ผลการเรยี นรู้
๑. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ าย และเปรียบเทียบโครงสร้างและกระบวนการยอ่ ยอาหารของสัตวท์ ไ่ี มม่ ี
ทางเดินอาหาร สัตวท์ ่ีมที างเดินอาหารแบบไมส่ มบรู ณ์ และสัตว์ทีม่ ีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
๒. สงั เกต อธิบาย การกินอาหารของไฮดราและพลานาเรีย
๓. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ และกระบวนการยอ่ ยอาหาร และการดดู ซึมสารอาหารภายใน
ระบบย่อยอาหารของมนุษย์
๔. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทยี บโครงสร้างทที่ ำหน้าทีแ่ ลกเปลีย่ นแกส๊ ของฟองนำ้ ไฮดรา
พลานาเรยี ไส้เดือนดนิ แมลง ปลา กบ และนก
๕. สงั เกต และอธิบายโครงสรา้ งของปอดในสตั ว์เล้ียงลกู ด้วยนำ้ นม

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์


Click to View FlipBook Version