กฐนิ พระราชทาน
มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
ประจ�ำ ปี ๒๕๖๑
ณ วัดพระบาทมง่ิ เมืองวรวิหาร
อ�ำ เภอเมืองแพร่ จงั หวัดแพร่
๙-๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑
2 กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
คำ� นำ�
กฐินทานเป็นบุญกิริยาประการหนึ่ง ซึ่งชาวพุทธบริษัทจะพึงกระท�ำ
ด้วยการน�ำผ้ากฐินไปทอดถวายพระภิกษุ สามเณร ณ พระอารามต่าง ๆ
ท่ีจ�ำพรรษาครบ ๓ เดือน ตามพุทธานุญาตนับเป็นการอุปถัมภ์บ�ำรุงกุลบุตร
ท่ีประพฤติปฏิบัติธรรมตามสมณวิสัยให้ได้มีผ้านุ่งห่มใหม่ ซ่ึงก็คือการทอดหรือ
ถวายผา้ กฐนิ ใหแ้ ก่ภกิ ษุสามเณรในทา่ มกลางทป่ี ระชมุ สงฆน์ นั่ เอง
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้ก�ำหนดแนวนโยบายไว้เป็นท่ีแน่ชัด
ว่าจะท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของไทยและ
ถอื เปน็ ภารกจิ อนั พงึ กระทำ� สบื ไป อกี ทง้ั มหาวทิ ยาลยั จดั การศกึ ษาในระบบการสอน
ทางไกล จงึ ถือเปน็ โอกาสอนั ดใี นการใหน้ ักศึกษากบั คณาจารยข์ องมหาวทิ ยาลัย
ไดม้ โี อกาสพบปะกันมากย่งิ ขน้ึ
ใน พ.ศ. ๒๕๖๑ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ไดข้ อรบั พระราชทาน
ผา้ กฐนิ มาทอดถวาย ณ วดั พระบาทมง่ิ เมอื งวรวหิ าร อำ� เภอเมอื งแพร่ จงั หวดั แพร่
ซ่ึงวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหารน้ี นับว่าเป็นปูชนียสถานท่ีเก่าแก่ และส�ำคัญของ
จงั หวดั แพร่
ด้วยพลังแห่งศรัทธาของสาธุชน ขออานิสงส์ของการบ�ำเพ็ญกุศลใน
การทอดผ้าพระกฐินพระราชทานคร้ังนี้ จงเป็นพลังปัจจัยให้เกิดความไพบูลย์
งอกงามตามวิสัยแก่ผู้มีกุศลจิต อันได้แก่ ข้าราชการและบุคลากรทุกหน่วยงาน
นักศึกษา บัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช ตลอดจนประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะชาวจังหวัดแพร่ท่ีมีโอกาส
ร่วมบุญคร้งั น้ีโดยท่ัวกัน
วดั พระบาทมงิ่ เมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 3
สารบัญ หน้า
๒
๔
ค�ำน�ำ ๕
ก�ำหนดการพิธถี วายผา้ พระกฐนิ พระราชทาน ๕
สถานท่ตี งั้ ๖
อาณาเขต ๗
ประวตั วิ ัดพระบาท ๘
ประวตั ิวัดมิง่ เมือง ๙
การรวมวัดพระบาทกบั วัดม่ิงเมือง เป็นวัดพระบาทม่งิ เมือง ๙
การยกฐานะวัดราษฎร์ เปน็ พระอารามหลวง ๑๐
ส่ิงปลูกสร้าง และทรพั ย์สินทีส่ ำ� คญั ของวดั ๑๐
สถานศึกษา และหน่วยงานตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วข้องกบั วดั ๑๘
องคป์ ระกอบสำ� คัญของแหล่งมรดก/ปชู นียสถานที่ส�ำคญั ภายในวดั ๑๙
ลำ� ดบั เจ้าอาวาสจากอดีต–ปจั จุบนั ๒๓
ประวตั ิพระราชเขมากร (ผศ.ดร.ประยทุ ธ ภรู ทิ ตโฺ ต ป.ธ.๙)
ค�ำบชู าพระรตั นตรยั ๒๔
คำ� นมสั การพระรัตนตรัย ๒๕
มสธ. กับกฐนิ พระราชทาน ๓๑
ประวตั ิกฐินพระราชทานของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ๓๔
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช ๔๑
จังหวัดแพร ่ ๔๖
สถานทที่ อ่ งเท่ยี วจังหวดั แพร่
4 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
ก�ำหนดการ
พธิ ีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน
ประจ�ำ ปี ๒๕๖๑
ณ วัดพระบาทม่งิ เมืองวรวิหาร ต�ำ บลในเวยี ง อำ�เภอเมอื ง จังหวัดแพร่
ในวันศุกร์ท่ี ๙ และวนั เสารท์ ี่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑
วนั ศกุ รท์ ่ี ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑
เวลา ๑๗.๐๐ น. พธิ เี จริญพระพทุ ธมนต์
พระสงฆ์ ๑๐ รปู ณ พทุ ธสถาน วดั พระบาทมง่ิ เมอื งวรวหิ าร
เวลา ๑๗.๓๐ น. พธิ ีสมโภชองค์พระกฐนิ พระราชทาน
การแสดงศลิ ปวัฒนธรรม
รับประทานอาหารรว่ มกนั
วนั เสารท์ ี่ ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑
เวลา ๐๘.๐๐ น. ตง้ั ขบวนแห่องคพ์ ระกฐนิ ณ โรงเรียนพริ ยิ าลยั
เวลา ๐๘.๓๐ น. ขบวนแหเ่ ร่มิ ออกเดนิ จากโรงเรยี นพิริยาลยั
ไปวัดพระบาทม่ิงเมอื งวรวิหาร
เวลา ๑๐.๐๐ น. พธิ ีถวายผา้ พระกฐนิ พระราชทาน
เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพลแดพ่ ระสงฆ์ ณ พทุ ธสถาน
วัดพระบาทม่ิงเมอื งวรวิหาร
เวลา ๑๑.๑๕ น. อธิการบดีและผู้บริหารของมหาวิทยาลยั
พบนกั ศกึ ษา มสธ. ณ ห้องประชุมเมธีธรรมาลงั การ
เวลา ๑๒.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวนั
เสรจ็ พธิ ี
วัดพระบาทม่ิงเมอื งวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 5
วดั พระบาทมงิ่ เมืองวรวิหาร
ต�ำบลในเวยี ง อ�ำเภอเมือง จังหวดั แพร่
สถานที่ต้ัง
วดั พระบาทมงิ่ เมอื งวรวหิ าร ตงั้ อยเู่ ลขท่ี ๑๖ ถนนเจรญิ เมอื ง ตำ� บลในเวยี ง
อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของศาลากลางจังหวัด
เปน็ วดั ทเ่ี กดิ จากการรวม ๒ วดั คอื วดั พระบาท กบั วดั มงิ่ เมอื ง ตอ่ มารวมวดั เปน็
วัดพระบาทมิ่งเมอื ง
ตอ่ มาไดร้ บั พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้
ยกฐานะจากวดั ราษฎร์ ใหเ้ ปน็ พระอารามหลวง ชน้ั ตรี ชนดิ วรวหิ าร วดั พระบาท
ม่งิ เมอื งวรวหิ าร มีพ้นื ที่ ๖ ไร่ ๓๒ ตารางวา
อาณาเขต ติดถนนเจรญิ เมอื ง ความยาว ๑๔๘ เมตร
อยตู่ รงขา้ มสำ� นักงานท่ดี ินจังหวัดแพร่
ทศิ เหนอื ทีท่ ำ� การไปรษณยี จ์ ังหวัดแพร่ และส�ำนักงานพาณิชย์
จงั หวดั แพร่
6 กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
ทศิ ใต ้ ตดิ กบั ถนนพระบาทมง่ิ เมือง ความยาว ๑๕๖ เมตร
อยตู่ รงขา้ มกับโรงเรยี นนารรี ัตน์ จังหวดั แพร่
ทิศตะวันออก ติดถนนพระร่วงความยาว ๕๒ เมตร
อยูต่ รงขา้ มกบั ร้านคาพาณิชย์
ทิศตะวนั ตก ตดิ ถนนคุม้ เดิม ความยาว ๗๖ เมตร
อยตู่ รงข้ามสวนสุขภาพเฉลมิ พระเกยี รติ ร.๙
ประวตั ิวดั พระบาท
ตามต�ำนานกล่าวว่าสมัยครั้งพุทธกาลพระพุทธเจ้าได้เสด็จโปรดเวไนย
สัตว์แล้วได้เสด็จลงมายังเมืองพลนครหรือดอยโกสิยะ (พระธาตุช่อแฮ) ได้เสด็จ
มาประทับพักพระอิริยาบถ ณ ปากถ�้ำพญานาคซึ่งมีลมออกจากปากถ้�ำแรงมาก
จากนนั้ พระพทุ ธองคไ์ ดเ้ สดจ็ ประทบั รอยพระพทุ ธบาท ๔ รอยไว้ ณ ปากถำ�้ สถานท่ี
ดงั กลา่ วกค็ อื วดั พระพทุ ธบาท ตอ่ มาเจา้ มหาอปุ ราชไดส้ รา้ งพระวหิ ารครอบรอย
พระพุทธบาท ๔ รอย จากน้นั ปากถำ�้ ก็ถูกปดิ ทนั ที
ดา้ นประวตั ศิ าสตร์
พ.ศ. ๑๘๗๙ เมืองแพล หรือเมืองแพร่เปน็ ประเทศราชของกรุงสุโขทยั
สมเด็จพระมหาธรรมราชาลไิ ท เมือ่ ครงั้ เป็นพระมหาอปุ ราช ได้เสดจ็ ขึน้ มาสร้าง
และบูรณะศาสนสถานในอาณาจักรลานนา มีพระธาตุช่อแฮ พระธาตุจอมแจ้ง
วัดหลวงไชยวงศ์ วัดพระบาทแสงฟ้า วดั พระนอนจฑุ ามาศ
พ.ศ. ๒๔๓๔ เจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์ ได้รับพระราชทานสัญญาบัตร
เป็นพระยาพิริยวิไชย เป็นเจ้านครเมืองแพร่ และโปรดเกล้าฯ พระราชทานตรา
มงกุฎเครื่องราชอิสริยยศ พระยาพิริยวิไชย ได้ท�ำบุญตักบาตรถวายภัตตาหาร
แดพ่ ระสงฆ์ พระยาพิริยวิไชย พร้อมท้ังเจา้ นายบุตรหลาน ได้อัญเชิญพระบรมรูป
เข้าไปในพระอุโบสถวัดไชยอารามพระบาทแล้ว ได้รับน�้ำพระพิพัฒน์สัจจา
(พธิ ถี อื นำ�้ พระพพิ ฒั นส์ ตั ยา) จากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั แลว้ อญั เชญิ พระบรมรปู
ตัง้ ประดษิ ฐานในหอสงู วดั ไชยอารามพระบาทและไดโ้ ปรยเงนิ เปน็ ทานแก่ราษฎร
วัดพระบาทมิง่ เมืองวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 7
ชาย หญิง ๘๐๐ เฟ้อื ง (คดั จากบนั ทึกของเจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์ เจ้าผคู้ รองนคร
แพร่ ทกี่ ลา่ วถงึ วดั ไชยอารามพระบาท) วดั พระบาทในยคุ แรกชอ่ื วดั พระพทุ ธบาท
ตอ่ มาชอ่ื วดั พระบาทแสงฟา้ วดั ไชยอารามพระบาท และสดุ ทา้ ยชอื่ วดั พระบาท
ประวัติวดั มิง่ เมอื ง
ตามตำ� นานเล่าวา่ วัดมงิ่ เมือง เปน็ วดั ทเ่ี จ้าผู้ครองนครแพรเ่ ปน็ ผสู้ รา้ ง
ยุคแรก ๆ เจ้าผู้ครองนครจะมาร่วมท�ำบุญพร้อมกับราษฎรวัดพระบาท ต่อมา
มีราชกิจมากท�ำให้มาท�ำบุญตักบาตรร่วมกับราษฎรไม่ค่อยทันเวลาจึงได้ปรึกษา
กับเจ้านายบุตรหลาน ซึ่งมีมติให้สร้างวัดขึ้นใหม่ในสวนอุทยานของเจ้าผู้ครอง
นคร ตั้งชื่อวัดสวนม่ิง หรือวัดสมม่ิง หรือวัดมิ่งเมือง ต่อมาได้สร้างพระเจดีย์
มงิ่ เมอื งใหเ้ ปน็ สญั ลกั ษณว์ า่ เปน็ วดั ทอี่ ยใู่ จกลางเมอื ง ตอ่ มาไดม้ กี ารสรา้ งหอธรรม
และพระวหิ ารหลวงมง่ิ เมอื ง ซงึ่ ไดบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณพ์ ระเจดยี ม์ งิ่ เมอื ง หอธรรม และ
พระวิหารหลวงม่ิงเมืองจากเจ้านายบุตรหลานของเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ให้อยู่ใน
สภาพเดมิ ปจั จบุ นั พระวหิ ารหลวงมง่ิ เมอื ง ไดป้ รบั ปรงุ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ระวหิ ารมงิ่ เมอื ง
ดา้ นประวตั ศิ าสตร์
พ.ศ. ๒๓๘๓ สมัยครูบามณีวรรณ เป็นเจ้าอาวาสวัดม่ิงเมือง
ไดส้ รา้ งธรรมมหาเวสสนั ดร ฉบับท่าแป้นหลวงถวายไวก้ บั วดั ม่งิ เมอื ง (บันทึกใน
ไม้ปันจั๊กธรรมใบลาน) ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ท่ีพิพิธภัณฑ์พระวิหารหลวงม่ิงเมือง
พ.ศ. ๒๓๙๒ สมยั เจา้ หลวงพิมพสิ าร (เจา้ หลวงขาเค) เปน็ เจ้าผูค้ รอง
นครแพร่ ได้บรู ณปฏิสงั ขรณพ์ ระเจดียม์ ิง่ เมอื ง พระวหิ ารหลวงม่ิงเมือง หอธรรม
และได้สร้างธรรมในลานไว้หลายผูกถวาย วัดม่ิงเมือง (บันทึกในไม้ปันจ๊ักธรรม
ใบลาน) ปจั จบุ ันเก็บรักษาไวท้ พี่ พิ ธิ ภัณฑ์พระวิหารหลวงม่ิงเมือง
พ.ศ. ๒๔๑๖ สมยั เจา้ พริ ยิ เทพวงศ์ เปน็ เจา้ ผคู้ รองนครแพร่ มพี ระชายา
ช่ือ แม่เจา้ บัวไหล ได้สรา้ งคมั ภีรป์ กั ดว้ ยไหมดิน้ ทอง เปน็ ภาษาลา้ นนา (ปบั๊ กรรม
วาจาจารย์) ถวายวัดม่ิงเมือง ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ท่ีพิพิธภัณฑ์พระวิหารหลวง
มง่ิ เมือง
8 กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การรวมวัดพระบาท กบั วัดมงิ่ เมอื ง เป็นวัดพระบาทม่งิ เมือง
ช่วงปี ๒๔๙๐ สมยั พระปรยิ ัตวิ งศาจารย์ (ฟู อตตฺ สิโว) เป็นเจา้ อาวาส
วัดพระบาท และเป็นเจ้าคณะจังหวัดแพร่ (ต่อมาได้รับสถาปนาเป็น พระอุบาลี
คุณูปมาจารย)์ และพระมหาสจุ ี กตสาโรเป็นเจา้ อาวาสวดั มงิ่ เมอื ง (ต่อมาได้รับ
สถาปนาเป็น พระมหาโพธวิ งศาจารย์) วัดพระบาท กับ วัดมง่ิ เมอื ง อยู่หา่ งกนั
เพยี งมตี รอกคน่ั เจา้ อาวาสทง้ั ๒ วดั ไดป้ รกึ ษากบั เจา้ ตนุ่ วงั ซา้ ย ซง่ึ เปน็ ศรทั ธาตน้
(ศรัทธาเก๊า) ของวัดม่ิงเมือง ว่าจะจัดงานกิ๋นสลากที่วัดม่ิงเมือง แต่วัดม่ิงเมือง
คับแคบ จึงได้ตกลงที่จะทุบก�ำแพงรวมวัดทั้งสองเข้าด้วยกัน ซึ่งพระมหาสุจี
กตสาโร ไดท้ ำ� หนงั สอื ขอความเมตตาจาก อาจารยล์ อื ไชยประวตั ิ ครใู หญโ่ รงเรยี น
พิริยาลัย จังหวัดแพร่ ขอนักเรียนโรงเรียนพิริยาลัย จังหวัดแพร่ มาช่วย
ทุบก�ำแพง ต่อมาในปี ๒๔๙๑ พระปริยัติวงศาจารย์ เจ้าอาวาสวัดพระบาท
เจ้าคณะจังหวัดแพร่ ได้ท�ำหนังสือขออนุญาตสังฆมนตรี ให้รวมวัดพระบาทกับ
วดั มง่ิ เมอื ง เปน็ วดั เดยี วกนั เมอื่ วนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๔๙๒ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ได้ประกาศรวมวัดพระบาทกับวัดมิ่งเมืองเข้าด้วยกัน เป็นวัดพระบาทมิ่งเมือง
มีฐานะเป็นวดั ราษฎร์
วดั พระบาทมงิ่ เมอื งวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 9
การยกฐานะวดั ราษฎร์ เป็นพระอารามหลวง
เมื่อวนั ที่ ๑๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๔๙๘ กระทรวงวัฒนธรรม ได้ประกาศวา่
วดั พระบาทมง่ิ เมอื งไดร้ บั พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระบรมราชานญุ าต
ให้ยกฐานะจากวดั ราษฎร์ ให้เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวหิ าร จงึ ได้ชือ่
วดั พระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จนถึงปัจจบุ ันนี้
ส่ิงปลกู สรา้ ง และทรัพยส์ นิ ที่ส�ำคัญของวดั
๑. หอค�ำสงู เฉลมิ พระเกียรติ ร.๙
๒. หลวงพ่อพระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี พระคู่บ้านคู่เมืองแพร่
พระประธานในพระอโุ บสถ
๓. หลวงพ่อพระพทุ ธม่ิงขวัญเมอื ง พระประธานในพระวิหารม่ิงเมือง
๔. พระอุโบสถวัดพระบาทมง่ิ เมอื งวรวิหาร
๕. พพิ ิธภณั ฑ์พระวิหารมง่ิ เมอื ง
๖. พระธาตมุ ง่ิ เมือง หรอื พระเจดีย์มง่ิ เมือง
๗. รอยพระพทุ ธบาท 4 รอย
๘. พทุ ธสถานวดั พระบาทมิ่งเมอื งวรวหิ าร
๙. หอธรรม (หอพระไตรปิฎก)
๑๐. กุฏริ งั คสิริอนุสรณ์
๑๑. กฏุ ิมง่ิ ขวัญเมือง
๑๒. กุฏสิ งฆ์ ๕ ชน้ั
๑๓. หอสมดุ เฉลมิ พระเกียรติ ร.๙
๑๔. อาคารโรงเรียนพทุ ธโกศยั วิทยา
๑๕. อาคาร มจร. วิทยาเขตแพร ่ ปัจจบุ นั เปน็ ส�ำนกั งานเจา้ คณะจงั หวดั แพร่
๑๖. อาคารยาขอบอนุสรณ์
๑๗. หอระฆงั แสงส่องหลา้
10 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
สถานศึกษา และหนว่ ยงานต่าง ๆ ท่เี กยี่ วข้องกบั วดั
๑. โรงเรียนพุทธโกศยั วิทยา เปน็ โรงเรียนปรยิ ตั ธิ รรมสอนพระ
ภาพโรงเรียนพทุ ธโกศยั วทิ ยา เป็นโรงเรยี นปรยิ ัติธรรมสอนพระ
องค์ประกอบสำ� คญั ของแหล่งมรดก/ปชู นยี สถานทีส่ ำ� คญั ภายในวดั
ภาพหอค�ำสูงเฉลิมพระเกยี รติ ร.๙
วัดพระบาทม่งิ เมอื งวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 11
❂ ประวัตหิ อคำ� สงู เฉลมิ พระเกยี รติ ร.๙
หอค�ำสูงเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ จัดสร้างข้ึนเมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๔๒ เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช
มหาราช เน่ืองในวโรกาสทรงมีพระชนมายุครบ ๖ รอบ ๗๒ พระชันษา
๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒ เป็นอาคาร ๒ ช้ัน สร้างดว้ ยไม้สักทั้งหลัง กว้าง ๙ เมตร
ยาว ๙ เมตร หลังคาทรงไทยล้านนาปัจจุบัน เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรม
สารีริกธาตุ พระอรหันตธาตุ พระพุทธรูปโบราณ และเคร่ืองอัฏฐบริขารของ
หลวงปู่พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสารมหาเถร) อดีตเจ้าอาวาส
วดั พระบาทม่ิงเมอื งวรวหิ าร
❂ ประวตั พิ ระพุทธโกศัยศริ ิชัยมหาศากยมุนี พระคู่บ้านคู่เมอื งแพร่
เมอ่ื วันท่ี ๑๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ พระอุโบสถประสบอัคคีภัย ท�ำให้
พระประธานองค์เดิมซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองถูกไฟไหม้ ทางสมาชิกพุทธสมาคม
สาขาจงั หวดั แพร่ มนี ายชณุ ห์ นกแกว้ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั แพร่ เปน็ นายกสมาคม
และนายทอง กันทาธรรม เป็นอุปนายก ได้นัดประชุมสมาชิกเพื่อแถลงกิจการ
และผลงานทไี่ ดท้ ำ� มา และหารอื กจิ การตอ่ ไปเมอ่ื แถลงการณเ์ สรจ็ แลว้ นายชณุ ห์
นกแก้ว นายกสมาคม ได้เสนอในท่ีประชุมว่า พุทธสมาคมของเราควรจะได้จัด
ทำ� อะไรขึ้นเปน็ ลำ่� เป็นสนั สกั อย่างเพือ่ เป็นอนสุ รณข์ องสมาคม ประกอบกบั เวลานี้
ทางการก�ำลังขอยกฐานะวัดพระบาทม่ิงเมืองขึ้นเป็นพระอารามหลวง และพระ
ประธานองค์เดมิ ถูกไฟไหม้ สมาคมควรจะได้จดั การบอกบุญไปยงั พนี่ อ้ งชาวแพร่
ไดร้ ว่ มจติ รว่ มใจสละทรพั ยแ์ ละเศษทองสรา้ งพระพทุ ธรปู ทองหลอ่ ไวเ้ ปน็ พระพทุ ธ
รปู คู่บ้านคเู่ มืองแทนองค์เดมิ เป็นปูนปน้ั ที่ประชมุ เหน็ ชอบ
จงึ ตกลงหล่อพระพทุ ธโกศยั เน้ือทองสำ� รดิ กำ� หนดวนั ท่ี ๕-๗ เมษายน
๒๔๙๘ ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๓-๑๔-๑๕ คำ�่ เดอื น ๗ เหนอื เมอื่ ตกลงกนั เปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ย
แลว้ อยู่มาวันหน่งึ พระครธู รรมสารสจุ ติ ไดร้ บั อาราธนาจากผวู้ ่าราชการจังหวัด
ใหไ้ ปแสดงธรรมอบรมแก่คนอันธพาลทอ่ี ำ� เภอรอ้ งกวาง ในวนั ที่ ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์
อบรมเสร็จเดินทางกลับ เมื่อกลับมาถึงวัดแล้วพบหนังสือใบลานผูกหนึ่งเป็น
12 กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
หนังสือต�ำราสรา้ งพระพุทธรูป ถามพระเณรท่กี ุฏกิ ็ไมม่ ีใครทราบ และไม่รู้ว่าใคร
เอามาให้ “คงเป็นเทวดาบันดาล” เม่ืออ่านดูแล้วปรากฏว่าตามวันก�ำหนดการ
หล่อพระไว้นั้นตรงกับวันและฤกษ์ที่ไม่ดี ในหนังสือต�ำราน้ันกล่าวไว้ว่าถ้าใคร
ทำ� การก่อสรา้ งพระพุทธรปู ขึน้ ในเดอื น ๗ เหนอื ตรงกบั วันขน้ึ ๑๓-๑๔-๑๕ ค�่ำ
ถ้าท�ำการแล้วจะเกิดเหตุร้ายต่างๆ เช่น จะมีโจรเกิดขึ้นในบ้านเมือง เม่ือหล่อ
แลว้ ฟา้ จะผา่ ไฟจะไหม้ ผเู้ ปน็ ประธานจะตายหรอื จากทอี่ ยู่ วนั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์
เวลา ๐๙.๐๐ น. พระครธู รรมสารสจุ ติ นำ� หนงั สอื ไปหารอื กบั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั
และศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั จงึ ตอ้ งงดกำ� หนดการนนั้ แลว้ ใหน้ ัดประชมุ ดว่ น ทป่ี ระชมุ
จงึ ตกลงเลอ่ื นไป กำ� หนดเอาวนั ที่ ๒๒-๒๔ เมษายน ๒๔๙๘ ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑-๒-๓
ค่�ำ เดือน ๗ เหนือ (๕ ใต)้ ในต�ำราวา่ เปน็ อุดมฤกษ์อนั ประเสริฐ พระธรรมราชา
นุวัตร (ฟู อตฺตสโิ ว) อดีตเจา้ คณะตรวจการภาค ๕ อดตี เจา้ อาวาสวดั พระบาท
ม่ิงเมืองวรวิหาร (ต่อมาเล่ือนสมณศักดิ์เป็น พระอุบาลีคุณูปมาจารย์) ได้ถวาย
พระนามวา่ “พระพุทธโกศยั ศริ ิชัยมหาศากยมุนี”
ภาพพระพทุ ธโกศยั ศริ ิชยั มหาศากยมุนี พระคบู่ ้านคู่เมอื งแพร่
ในการหล่อน้ี คณะกรรมการได้อาราธนาพระมหาเถรานุเถระ
มาเจรญิ พทุ ธมนต์ จ�ำนวน ๑๐๘ รปู มเี จา้ พระคุณสมเดจ็ พระวันรัต สงั ฆนายก
วดั เบญจมบพติ ร มาเปน็ ประธานในพธิ แี ละนมิ นตเ์ จา้ คณะจงั หวดั และพระเถระใน
วดั พระบาทมิ่งเมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 13
จงั หวดั ภาค ๕ มารว่ มพธิ ที กุ จงั หวดั สว่ นพระอาจารยน์ น้ั มพี ระครศู รปี ญั ญา (แฉง่ )
วดั ศรรี ตั นาราม (บางพงั ) จงั หวดั นนทบรุ ี มาเปน็ ประธาน และไดอ้ าราธนาพระครู
ใบฎกี าประหยดั วดั สทุ ศั นเ์ ทพวราราม จงั หวดั พระนคร มาเปน็ ประธานจดั พธิ ี ได้
อาราธนาพระครพู รหมวิหาร วัดสุทศั นเ์ ทพวรารามและคณะมาสวดพทุ ธาภิเษก
วันที่ ๒๕ เมษายน เวลา ๑๐.๐๐ น. ร้ือเบา้ พิมพพ์ ระออกตรวจดูองค์
พระ ปรากฏว่าองค์พระมีสภาพดีเรียบร้อยเกือบทุกส่วน พระพักตร์ดีมากไม่มี
รว้ิ รอย สว่ นอนื่ เสยี บา้ งเปน็ สว่ นนอ้ ย พระพทุ ธรปู องคน์ ที้ า่ นเจา้ คณุ พระธรรมราชา
นุวตั ร เจา้ คณะตรวจการภาค ๕ และเจา้ คณะจังหวัดแพร่ ได้ถวายพระนามวา่
“พระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี” พวกช่างหล่อปรารภกันว่า หลวงพ่อองค์นี้
ส�ำคัญมากและวิเศษดีนัก พอลงมอื สุมทองฝนลงมาทำ� ทีจะตกหนัก ๆ แต่กเ็ พยี ง
ให้พวกเราเย็นสบายเท่านั้น เคยไปหล่อมามากแล้วโดยมากแห้งแล้งยังไม่เคยมี
ทไ่ี หนเหมอื นทน่ี เ่ี ลย ตลอดถงึ ผคู้ นกม็ จี ติ ใจศรทั ธาดี และมคี วามสามคั คกี นั ดมี าก
พระพทุ ธโกศัยศริ ชิ ยั มหาศากยมนุ ี มหี นา้ ตกั กว้าง ๑ วา ๕ นว้ิ สงู จรดพระโมลี
๑ วา ๑ ศอก ฐานสงู ๒ นิ้ว พระองค์วดั รอบ ๙๐ นว้ิ ปางมารวิชัย (สะดงุ้ มาร)
แบบสมยั เชียงแสนผสมกบั สโุ ขทัย
คาถาบูชาพระพทุ ธโกศยั ศริ ชิ ัยมหาศากยมนุ ี
สำ� หรับค�ำไหวพ้ ระพุทธโกศัย ว่า
“นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ” (กลา่ ว ๓ จบ)
“ อะยัมปิโข พทุ ธะโกเสยยะสิรชิ ะยะมะหาสักกะนะมุนี โกเสยยะนะตะวสั สะ
ธะชงั ภัตวา สมั ภาวิโต โกเสยยะนาคะรานงั สิรมิ ังคะละปาทาราเม
อโุ ปสะถาคาเร ปะตฏิ ฐิโต อิมะเนวาหงั สริ ะสา นะมามิ เอตัสสานุภาเวนะ
สะทา โสตถี ภะวันตุเต”
ค�ำแปล พระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี พระองค์แม้น้ีแล พุทธ
บริษัททั้งหลาย พากันยกย่องว่าเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองแพร่ ประดิษฐาน
อยู่ในพระอุโบสถวัดพระบาทม่ิงเมืองวรวิหาร ข้าพเจ้าขอนมัสการพระพุทธ
โกศยั ศริ ชิ ยั มหาศากยมนุ นี แี้ ล ดว้ ยเศยี รเกลา้ ดว้ ยอานภุ าพของพระพทุ ธโกศยั น้ี
ขอความสุขสวสั ดีปลอดภยั ท้งั หลาย จงบงั เกิดแก่ข้าพเจา้ ในกาลทุกเมือ่ เทอญ
14 กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
❂ ประวัติพระพทุ ธม่งิ ขวัญเมอื ง
พระพุทธมิ่งขวัญเมือง เป็นพระ
พทุ ธรปู โบราณเกา่ แกซ่ ง่ึ เจา้ หลวงเมอื งแพร่
ได้สร้างขึ้นเป็นพระประธานในพระวิหาร
หลวงม่ิงเมืองเป็นศิลปะพ้ืนเมืองแพร่ท่ี
ศกั ดสิ์ ทิ ธแ์ิ ละสวยสดงดงาม หาดไู ดย้ ากใน
เมอื งแพร่ปัจจบุ ัน
ภาพหลวงพ่อพระพทุ ธมิ่งขวญั เมือง พระประธานในพระวหิ ารมง่ิ เมือง
❂ พระอโุ บสถวดั พระบาทม่งิ เมืองวรวิหาร
ภาพพระอโุ บสถวัดพระบาทมิง่ เมืองวรวหิ าร
พระอุโบสถ เป็นพระอุโบสถที่เก่าแก่ ได้ท�ำการบูรณปฏิสังขรณ์มาโดย
ลำ� ดับตามยคุ ตามสมัย ปจั จุบนั เปน็ ทป่ี ระดิษฐานพระพุทธรปู ท่ีสำ� คญั คอื
วัดพระบาทม่ิงเมอื งวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 15
พ ระพุทธโกศยั พระค ู่บา้ นคู่เมือง พระสงิ หห์ นึ่งเวียงโกศยั พระพทุ ธสหิ ิงค์ (จ�ำลอง)
❂ พพิ ิธภณั ฑ์พระวหิ ารม่ิงเมอื ง
ภาพภายในพพิ ธิ ภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์พระวิหารม่ิงเมือง
พระวหิ ารมิ่งเมือง เ ป ็ น พ ร ะ วิ ห า ร ที่ เ จ ้ า ผู ้ ป ก ค ร อ ง น ค ร
เมืองแพร่ พร้อมด้วยเจ้านายบุตรพญา
แสนทา้ วเมอื งแพร่ เปน็ ผู้สร้างลักษณะพระ
วิหารเปน็ ศิลปะลานนาพื้นเมืองแพรโ่ ดยแท้
ท� ำ ด ้ ว ย ไ ม ้ สั ก แ ล ะ ฝ า ผ นั ง ก ่ อ ด ้ ว ย อิ ฐ
ฉาบปนู กวา้ ง ๑๐.๙๕ เมตร ยาว ๒๒.๒๕ เมตร
หลังคาแอ่น ลดหลั่น ๒ ช้ัน มุงด้วยแป้น
เกลด็ (ทำ� ด้วยไมส้ กั ) มีมขุ ด้านหน้าสองมุข
มีช่อฟ้า ๕ หวั มใี บระกา ๑๘ หวั สว่ นหน้า
บันพระวิหาร ท�ำด้วยไม้แกะสลักลวดลาย
ดอกเถาวัลย์ มีรูปเทวดา รูปราชสีห์
หนุมาน และรปู ราหูอมจันทร์ลงรักปดิ ทอง
16 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
สว่ นภายในพระวิหาร มสี ิ่งสำ� คัญคอื
๑. พระพุทธรปู พระประธานปนู ปั้นเปน็ พทุ ธศิลปแ์ บบลานนาพืน้ เมืองแพร่
(พระพทุ ธมิง่ ขวัญเมอื ง)
๒. ธรรมาสนบ์ ษุ บก เปน็ ศิลปะพืน้ เมอื งแพร่
๓. ตงุ กระด้าง ท�ำด้วยไม้สกั แกะสลกั เป็นรปู พญานาค
๔. ลวดลายบนเพดานมรี ปู ดอกไมแ้ ละรปู สตั วแ์ มลงตา่ ง ๆ และรปู ลวงเลน่ ฟา้
๕. เสาเปน็ ไมส้ กั ทง้ั ตน้ มจี ำ� นวน ๘ ตน้ มลี วดลายดอกเถาวลั ยล์ งรกั ปดิ
ทองทุกต้น
๖. บานประตหู นา้ ต่างมลี วดลายลงรักปิดทองทกุ บาน
พิพิธภัณฑ์พระวิหารม่ิงเมือง เป็นพระวิหารท่ีเก่าแก่ มีความสวยงาม
โดดเดน่ เปน็ เอกลกั ษณ์ สถาปตั ยกรรมของเมอื งแพรท่ ไี่ มม่ เี หมอื นวดั อนื่ ๆ นอกจาก
นน้ั เปน็ สถานท่จี ดั แสดงศลิ ปวตั ถุโบราณต่าง ๆ เป็นแหล่งทอ่ งเท่ยี วศกึ ษาเรยี นรู้
ในภูมิปัญญาท้องถิ่นของเมืองแพร่อีกแห่งหนึ่ง ปัจจุบันได้เปิดให้นักท่องเท่ียว
และผ้ทู ่ีสนใจเขา้ ชมได้ทกุ วันเวลา ๐๘.๓๐ น.-๑๗.๐๐ น.
ภาพภายนอกพิพธิ ภณั ฑพ์ ระวหิ ารมง่ิ เมือง
วัดพระบาทม่ิงเมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 17
❂ ประวัติพระธาตุมิ่งเมือง หรือพระเจดีย์มิ่งเมอื ง
พระธาตุม่ิงเมือง หรือพระเจดีย์มิ่งเมือง เป็นพระธาตุก่อด้วยปูนบุทอง
เหลอื งจงั โกแลว้ ปดิ ทอง เปน็ พระธาตโุ บราณสรา้ งมานานอายนุ บั พนั ปี เปน็ พระธาตุ
ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เป็นเจติยสถานตามคติ
มหาธาตุกลางเมือง ประดิษฐานพระเจดยี จ์ ฬุ ามณบี นสรวงสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ สใ์ ห้
ไดก้ ราบไหวบ้ ูชายังโลกมนษุ ย์ เปน็ ทเ่ี คารพสักการะของพทุ ธศาสนิกชน พระธาตุ
องคน์ ้ี เปน็ ศลิ ปะยอ่ มมุ ไมส้ บิ สอง ฐานยกพนื้ สงู ๓ ศอก ฐานองคพ์ ระธาตบุ นฐาน
ยกพ้นื ๒ ศอก เป็นฐานสีเ่ หล่ียม กว้างด้านละ ๓ วา ๒ ศอก องคพ์ ระธาตุ ๘
เหลยี่ ม ตง้ั บนฐานสงู ๗ วา ๒ ศอก นบั แตพ่ น้ื ดนิ ถงึ ยอดพระธาตสุ งู ๘ วา ๑ ศอก
ปจั จบุ นั ปดิ ทองดอกบวมเหลอื งอรา่ ม อยใู่ จกลางกำ� แพงชน้ั ในเมอื งแพร่ พระเจดยี ์
องค์นี้ถือว่าเป็นมิ่งขวัญของพุทธศาสนิกชนชาวจังหวัดแพร่ ดังนาม “พระธาตุม่ิง
เมอื ง หรือพระเจดยี ์มง่ิ เมือง”
ภาพพระธาตมุ งิ่ เมอื ง หรอื พระเจดีย์ม่ิงเมือง
❂ ประวัตริ อยพระพทุ ธบาท ๔ รอย
ตามตำ� นานกลา่ วไวว้ า่ สมยั ครงั้ พระพทุ ธกาลพระพทุ ธเจา้ ไดเ้ สดจ็ โปรด
เวไนยสตั วแ์ ลว้ ไดเ้ สดจ็ ลงมายงั เมอื งพลนครหรอื ดอยโกสยิ ะ (พระธาตชุ อ่ แฮ) และ
ได้มาประทับพักพระอิริยาบถ ณ ปากถ้�ำพญานาค ซ่ึงมีลมออกจากปากถ้�ำแรง
18 กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
จากน้ันพระพุทธองค์ได้เสด็จประทับรอยพระพุทธบาทปิดปากถ�้ำไว้ เพ่ือไม่ให้
เกิดอันตรายแก่พุทธศาสนิกชนที่มา ณ แห่งน้ี และถ�้ำแห่งนี้มีโพรงลึกเข้าไปถึง
พระธาตชุ อ่ แฮสถานทด่ี งั กลา่ วกค็ อื วดั พระพทุ ธบาท ตอ่ มาเจา้ มหาอปุ ราช ไดส้ รา้ ง
พระวหิ าร ครอบรอยพระพทุ ธบาท ๔ รอย จากนน้ั ปากถ�้ำก็ถูกปิดทนั ที
ต่อมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๘ พระยาบุรีรัตน์ (หนู มหายศปัญญา) หรือ
เจ้าบุรีรัตน์ได้สร้างวิหารพระบาท ต่อมาเน่ืองจากวิหารพระพุทธบาทหลังเดิม
ช�ำรุดตามธรรมชาติที่สร้างมานาน ทางวัดจึงรื้อแล้วสร้างเป็นรูปมณฑปหลังคา
เทคอนกรตี เสรมิ เหล็ก สร้างเมอื่ พ.ศ. ๒๔๘๕ สำ� เรจ็ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๖ ส้ินคา่
กอ่ สรา้ ง ๒,๗๒๔.๘๑ บาท ในการนเี้ จา้ กาบแกว้ ขตั ยิ ะวรา พร้อมดว้ ยลูกหลาน
เป็นเจา้ ศรทั ธาแลว้ บรจิ าคเงนิ ๒,๒๑๐.๐๐ บาท นอกจากนน้ั มีผศู้ รัทธาบรจิ าค
สมทบ
ภาพมณฑปรอยพระพทุ ธบาท 4 รอย
❂ ล�ำดบั เจ้าอาวาสจากอดตี –ปจั จบุ ัน ภาพหอระฆงั แสงส่องหลา้
เจา้ อาวาสวดั พระบาทมงิ่ เมอื งวรวหิ าร ตามทม่ี หี ลกั ฐานปรากฏและเปน็
เจ้าอาวาสประมาณ พ.ศ. ... ที่ลว่ งมาแล้ว ดังน้ี
๑. พระอุบาลคี ณุ ปู มาจารย์ (ฟู อตตฺ สโิ ว) พ.ศ. ๒๔๙๒-พ.ศ. ๒๕๑๘
๒. พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สจุ ี กตสาโร) พ.ศ. ๒๕๑๘-พ.ศ. ๒๕๕๔
๓. พระราชเขมากร (ผศ.ดร.ประยทุ ธ ภรู ทิ ตโฺ ต) พ.ศ. ๒๕๕๔–ปัจจุบนั
วัดพระบาทม่ิงเมืองวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 19
ประวตั ิ
พระราชเขมากร (ผศ.ดร.ประยุทธ ภรู ทิ ตโฺ ต ป.ธ.๙)
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พระราชเขมากร นามเดิม ประยทุ ธ วงศ์ยศ
เจ้าคณะจังหวดั แพร่ (รปู ที่ ๘)
เจ้าอาวาสวดั พระบาทมิง่ เมอื งวรวหิ าร และผ้จู ดั การโรงเรยี นพุทธโกศยั วิทยา
ชือ่ พระราชเขมากร (ผศ.ดร.ประยทุ ธ ภูรทิ ตโฺ ต ป.ธ.๙)
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พระราชเขมากร นามเดมิ ประยุทธ วงศ์ยศ
ประวัต ิ พระราชเขมากร มีนามเดมิ วา่ ประยทุ ธ วงศ์ยศ เกิดเม่ือวันพฤหัสบดีที่
๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ณ บา้ นเลขท่ี ๒๓ หมทู่ ่ี ๓ ตำ� บลหว้ ยออ้ อำ� เภอลอง
จังหวัดแพร่ โยมมารดาช่ือนางค�ำ วงศ์ยศ บรรพชาเป็นสามเณร เม่ือวันท ี่
๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๐ ณ พัทธสีมาวัดนาหลวง ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอ
ลอง จังหวัดแพร่ มีพระครูอดุลยธรรมรังสี (หลวงปู่สี) เจ้าอาวาสวัดนาหลวง
เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ จำ� พรรษาอยทู่ ว่ี ดั นาแก และศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมทแ่ี ผนกธรรม
ส�ำนักศาสนศึกษาวดั พระธาตุศรีดอนคำ� และสอบไดน้ ักธรรมชัน้ ตร-ี โท
20 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ นางค�ำ วงศ์ยศ มารดาได้เสียชีวิต จิตใจเร่ิมสับสน
วนุ่ วาย หลงั เทศกาลสงกรานต์ จงึ ขอลาสกิ ขากบั ครบู าสมจติ จติ ตฺ คตุ โฺ ต แตค่ รบู า
ทา่ นไมอ่ นญุ าต ทา่ นใหข้ อ้ คดิ วา่ สกึ ไปกช็ ว่ ยอะไรใครไมไ่ ด้ จงชว่ ยตวั เองเสยี กอ่ น
จากนั้นจึงตัดสินใจไม่ลาสิกขา ก่อนย้ายมาเรียนภาษาบาลี ท่ีส�ำนักวัดหนอง
ม่วงไข่ โดยมพี ระราชรัตนมนุ ี (รส คันธรโส) เจา้ คณะจังหวดั แพร่ และเจา้ สำ� นกั
ศาสนศึกษา หลงั จากสอบได้เปรียญธรรม ๔ ประโยค จึงลากลบั ไปเยีย่ มบา้ นท่ี
อ�ำเภอลอง และเข้าไปกราบพระครูวิจิตรนวการโกศล (ครูบาสมจิต จิตฺตคุตฺโต)
วัดสะแล่ง และอุปสมบทที่วัดสะแล่ง ได้รับฉายานามว่า ภูริทัตโต ต่อมาได้ไป
ศกึ ษาตอ่ ทวี่ ดั คลองโพธิ์ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ หลงั จากนน้ั ทา่ นไดร้ บั คำ� แนะนำ� จากพระ
เทพปริยตั เิ มธี (ร่นุ ) ใหไ้ ปสอบเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค ท่านจงึ ตดั สนิ ใจเดนิ ทาง
เขา้ กรงุ เทพมหานคร แตก่ ารจะหาวดั อยจู่ ำ� พรรษาในสมยั นน้ั หายากยง่ิ สดุ ทา้ ยได้
พำ� นกั ทว่ี ดั ใหม่พเิ รนทร์ ด้วยความเมตตาจากเจา้ อาวาส โดยมขี ้อแม้ว่า ภายใน
๓ ปี หากสอบไมไ่ ด้ต้องออกจากวัด พร้อมกนั น้ี พระมหาประยทุ ธ ยงั สมัครสอบ
เรียนท่ีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่วัดมหาธาตุ ใช้เวลา ๔ ปี
ไดป้ ริญญาตรี พุทธศาสตรบณั ฑิต (พธ.บ. เกียรตนิ ิยม) พรอ้ มกับสอบได้เปรียญ
ธรรม ๙ ประโยค เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ และได้ศึกษาต่อปริญญาโท M.A. (Psy.)
และ Ph.d (Psy.)
วิทยฐานะ
พ.ศ. ๒๕๒๖ สอบไดน้ ักธรรมชน้ั เอก
พ.ศ. ๒๕๒๗ สอบไดป้ ระโยค ๑-๒ สำ� นกั วัดหนองม่วงไข่
พ.ศ. ๒๕๒๘ สอบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๓ ประโยค สำ� นกั วดั หนองมว่ งไข่
พ.ศ. ๒๕๒๙ สอบได้เปรียญธรรม ๔ ประโยค ส�ำนักวัดคลองโพธ์ิ
จงั หวัดอตุ รดติ ถ์
พ.ศ. ๒๕๓๓ สอบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๗ ประโยค
พ.ศ. ๒๕๓๘ สอบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๙ ประโยค สำ� นกั วดั ใหมพ่ เิ รนทร์
วดั พระบาทมิง่ เมอื งวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 21
พ.ศ. ๒๕๓๙ ไดร้ บั ปรญิ ญาตรี พทุ ธศาสตรบณั ฑติ (พธ.บ. เกยี รตนิ ยิ ม)
และได้ศึกษาต่อจนจบปริญญาโท M.A. (Psy.) และ
Ph.d (Psy.)
การปกครองสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้รบั พระบญั ชาแต่งต้ังให้รบั ตำ� แหน่งผู้ชว่ ยเจา้ อาวาส
วดั พระบาทม่ิงเมอื งวรวิหาร
ด�ำรงตำ� แหนง่ เปน็ เลขานุการเจา้ คณะจงั หวดั แพร่
ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นรองเจา้ คณะจงั หวัดแพร่
ด�ำรงต�ำแหนง่ เปน็ พระอปุ ัชฌายว์ ิสามญั
เปน็ รกั ษาการเจา้ อาวาส วดั หนองม่วงไข่
พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะ
จงั หวดั แพร่
งานด้านการศึกษา
หลังจากสอบได้เปรยี ญธรรม ๙ ประโยค ไดร้ ับสนองงานของคณะสงฆ์
และมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตแพร่ ตามความประสงค์
ของพระธรรมรตั นากร รองเจ้าคณะภาค ๖
พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นครูสอนพระปรยิ ัตธิ รรมสำ� นกั วดั คลองโพธิ์
เป็นอาจารย์ใหญ่สำ� นักศาสนศกึ ษา วดั พระบาทมง่ิ เมืองวรวหิ าร
เปน็ พระปรยิ ัติ นเิ ทศกจ์ งั หวดั แพร่
เป็นเจา้ สำ� นักศาสนศึกษาวัดหนองม่วงไข่
เปน็ ประธานพระปรยิ ตั นิ ิเทศกห์ นเหนือ
เปน็ กรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน โรงเรียนแพรป่ ัญญานกุ ลุ
เปน็ กรรมการสถานศึกษาโรงเรยี นพทุ ธโกศัยวิทยา
เป็นคณะกรรมการเขตพืน้ ท่ีการศึกษาแพร่ เขต ๑
เป็นเจา้ ส�ำนกั เรียนจงั หวดั แพร่
22 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
เกียรตคิ ณุ ท่ไี ดร้ ับ
พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับรางวัลเสาเสมาธรรมจักรทองค�ำ ผู้ท�ำคุณ
ประโยชน์แก่พระพุทธศาสนา ประเภทส่งเสริมการ
เผยแผ่พระพุทธศาสนา สาขาการเผยแผ่พระพุทธ
ศาสนาในประเทศ
พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ ผู้สนองงานในสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการ
สนบั สนุนโรงเรยี นพทุ ธโกศยั วิทยา
พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รับรางวัลพัดยศสมณาคุณสภากาชาดชั้นที่ ๓
โลค่ นดศี รพี ทุ ธศาสน์ รางวลั และเงนิ รางวลั ๓๓,๐๐๐
บาท จากสำ� นักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ
สมณศักดิ์
พ.ศ. ๒๕๓๘ เปน็ เปรยี ญธรรม ๙ ประโยค
๑๒ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดร้ บั พระราชทานตง้ั สมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระราชา
คณะชนั้ สามัญที ่ พระเมธธี รรมาลงั การ
๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับพระราชทานเล่ือนสมณศักด์ิเป็น
พระราชาคณะช้ันราชที่ พระราชเขมากร
ตรปี ฎิ กบณั ฑติ มหาคณสิ สร บวรสงั ฆาราม
คามวาสี
วัดพระบาทมิ่งเมอื งวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 23
ค�ำบูชาพระรตั นตรยั
โย โส ภะคะวา อะระหงั สัมมาสมั พุทโธ
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นน้ั พระองคใ์ ด เปน็ พระอรหนั ต์ ดบั เพลงิ กเิ ลสเพลงิ ทกุ ข์
ส้ินเชงิ ตรสั รชู้ อบได้ด้วยพระองค์เอง
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรมเปน็ ธรรมอันพระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองค์ใด ตรัสไวด้ แี ล้ว
สปุ ะฏปิ ันโน ยสั สะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า พระองค์ใด ปฏิบัตดิ แี ล้ว
ตมั มะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมงั สะสงั ฆงั
อเิ มหิ สกั กาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปชู ะยามะ
ข้าพเจ้าทั้งหลายขอบูชาอย่างยิ่ง ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน
พร้อมท้ังพระธรรม และพระสงฆ์ ด้วยเคร่ืองสักการะท้ังหลายเหล่าน้ี อันยกข้ึน
ตามสมควรแล้วอย่างไร
สาธโุ น ภันเต ภะคะวา สจุ ิระปะรินิพพโุ ตปิ
ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ แมป้ รนิ พิ พานนานแลว้ ทรงสรา้ งคณุ
อันสำ� เร็จประโยชน์ไวแ้ กข่ า้ พเจา้ ทง้ั หลาย
ปจั ฉมิ าชะนะตานุกมั ปะมานะสา
ทรงมพี ระหฤทัยอนุเคราะห์แกพ่ วกขา้ พเจา้ อนั เป็นชนรนุ่ หลัง
อเิ ม สกั กาเร ทคุ คะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับเครื่องสักการะ อันเป็นบรรณาธิการของ
คนยากทง้ั หลายเหลา่ นี้
อมั หากงั ทฆี ะรตั ตงั หิตายะ สขุ ายะ
เพอ่ื ประโยชนแ์ ละความสขุ แกข่ า้ พเจา้ ทง้ั ลาย ตลอดกาลนานเทอญ
24 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
คำ�นมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สมั มาสมั พธุ โธ ภะคะวา
พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ส้ินเชิง ตรัสรู้
ชอบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง
พทุ ธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
ข้าพเจ้าอภิวาท พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ผูร้ ู้ ผ้ตู ่ืน ผเู้ บกิ บาน (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรม เป็นธรรมท่ีพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ตรสั ไว้ดแี ลว้
ธัมมัง นะมสั สามิ
ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม (กราบ)
สปุ ะฏปิ ันโณ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจา้ ปฏิบตั ดิ ีแลว้
สังฆัง นะมามิ
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ)
มาตาปิตคุ ุณัง อะหัง วันทามิ
ข้าพเจ้ากราบวนั ทา บิดามารดาผูม้ พี ระคุณโดยความเคารพ (กราบ)
ครุ ุอุปชั ฌายาจาริยะคณุ งั อะหงั วนั ทามิ
ขา้ พเจา้ กราบวนั ทา ครอู ปุ ชั ฌายอ์ าจารยผ์ มู้ พี ระคณุ โดยความเคารพ (กราบ)
วดั พระบาทมงิ่ เมอื งวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 25
มสธ. กบั กฐนิ พระราชทาน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้ขอรับพระราชทานผ้าพระกฐิน
อญั เชญิ ไปทอดถวาย ณ พระอารามหลวงตา่ งๆ ในสว่ นภมู ภิ าคทวั่ ราชอาณาจกั ร
เปน็ ปที ่ี ๓๗ แลว้ ทง้ั น้ี เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษากบั คณาจารยข์ องมหาวทิ ยาลยั ไดม้ โี อกาส
พบปะกนั มากยงิ่ ขน้ึ เนอื่ งจากมหาวทิ ยาลยั จดั การศกึ ษาในระบบการสอนทางไกล
และเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของไทย
ด้วย
ต้นเหตกุ ฐิน
คัมภีรพ์ ระวินัยปิฎก กฐนิ ขันธกะ เลา่ เรอ่ื งวา่ ภกิ ษุชาวเมืองปาฐาหรอื
ปาวา ประมาณ ๓๐ รปู ถอื ธดุ งควตั รอยา่ งอกุ ฤษฎป์ ระสงคจ์ ะเฝา้ พระพทุ ธเจา้ ซง่ึ
ประทบั อยู่ ณ พระนครสาวตั ถี แควน้ โกศล พอเดนิ ทางถงึ เมอื งสาเกตเหลอื อกี ๖
โยชน์ จะถงึ พระนครสาวตั ถกี พ็ อดถี งึ วนั เขา้ พรรษา จงึ ตอ้ งจำ� พรรษา กร็ บี เดนิ ทาง
ทนั ที ซงึ่ เวลานน้ั ฝนยงั ตกมากอยู่ ภมู ภิ าคยงั ชมุ่ ดว้ ยนำ�้ เดนิ ทางกเ็ ปน็ หลม่ เปน็ ตม
โคลนเปรอะเปื้อน เมื่อเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าทรงตรัสถามถึงการเดินทางและการ
อยู่จ�ำพรรษาว่ามีความสะดวกสบายเพียงไร ตามพุทธจริยาแล้ว ภิกษุเหล่าน้ัน
กราบทูลถึงความต้ังใจของตนและที่ได้รีบร้อนมาเฝ้าให้ทรงทราบทุกประการ
พระพุทธเจ้าทรงเห็นความล�ำบากของพระภิกษุเหล่าน้ัน จึงยกเป็นเหตุมีพระ
พุทธานุญาตให้กรานกฐินและโปรดให้ท�ำเป็นสังฆกรรมส�ำหรับภิกษุบริษัทต่อไป
ในระยะเวลาภายหลังวันออกพรรษาแล้วหน่ึงเดือน โดยมีก�ำหนดว่าภิกษุผู้กราน
กฐนิ นน้ั ตอ้ งเปน็ ผจู้ ำ� พรรษาแลว้ ถว้ นไตรมาสไมข่ าดเลยในวนั เดยี วมจี ำ� นวนตงั้ แต่
๕ รูปข้ึนไป กรานกฐินนั้น คือ เม่ือมีผ้าเกิดขึ้นแก่สงฆ์ในกาลเช่นน้ัน พอจะท�ำ
เป็นจีวรผืนใดผืนหน่ึงได้ สงฆ์พร้อมกันยกให้แก่ภิกษุรูปใดรูปหน่ึงเพ่ือประโยชน์
ในการน้ัน ภิกษุผู้นั้นจะเอาผ้าไปท�ำจีวรอย่างใดอย่างหน่ึงให้แล้วเสร็จในวันนั้น
แลว้ มาบอกผู้ยกผ้าให้นน้ั เพ่ืออนโุ มทนาแล้วนจ้ี ัดเปน็ กรานกฐนิ ของสงฆ์
26 กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
อานสิ งส์หรอื ผลดขี องการทอดกฐนิ
ผลดีฝ่ายผู้ทอดและคณะ อานิสงส์หรือผลดีของฝ่ายผู้ทอดและคณะ
มีดงั น้ี
๑. ชอ่ื วา่ ไดถ้ วายทานภายในกาลเวลากำ� หนดทเี่ รยี กวา่ กาลทาน คอื ใน
ปหี นง่ึ ถวายไดเ้ พยี งระยะเวลา ๑ เดอื น เทา่ นนั้ ในขอ้ ถวายกาลทานนี้ มพี ระพทุ ธ
ภาษิตวา่ ผใู้ ห้ทานตามกาล ความต้องการทีเ่ กิดขน้ึ ตามกาลของผู้นนั้ ย่อมส�ำเร็จ
ได้
๒. ช่ือว่าได้สงเคราะห์พระสงฆ์ผู้จ�ำพรรษาให้ได้ผลัดเปลี่ยนผ้านุ่งห่ม
ใหม่ แมผ้ า้ กฐนิ นนั้ จะตกแกภ่ กิ ษรุ ปู ใดรปู หนง่ึ กช็ อื่ วา่ ไดถ้ วายแกส่ งฆเ์ ปน็ สว่ นรวม
มพี ระพทุ ธภาษติ ว่าผ้ใู ห้ผ้าชอ่ื วา่ ใหผ้ วิ พรรณ
๓. ชอ่ื วา่ ไดท้ ำ� นบุ ำ� รงุ พระพทุ ธศาสนา สง่ เสรมิ ผปู้ ระพฤตดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบ
ให้เปน็ หลัก เปน็ ตวั อย่างแห่งคุณงามความดีของประชาชนสบื ไป
๔. จติ ใจของผทู้ อดกฐนิ ทงั้ ๓ กาล คอื กอ่ นทอด กำ� ลงั ทอด และทอด
แล้ว ทีเ่ ล่ือมใสศรทั ธาและปรารถนาดนี น้ั จดั เป็นกุศลจติ คนทมี่ ีจิตเปน็ กุศลยอ่ ม
ไดร้ ับความสุขความเจริญ
๕. การทอดกฐิน ทำ� ให้เกดิ สามัคคธี รรม คอื การรว่ มมอื กันท�ำคณุ งาม
ความดี และถ้าการถวายกฐินน้ันมีส่วนได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามด้วยก็
เป็นการรว่ มสามัคคี เพ่ือรกั ษาศาสนวัตถุ ศาสนสถานให้ยัง่ ยืนสถาพรสืบไป
ผลดฝี า่ ยพระสงฆผ์ รู้ บั และกรานกฐนิ อานสิ งสห์ รอื ผลดขี องฝา่ ยพระสงฆ์
ผรู้ บั และกรานกฐิน มีดังนี้
พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไว้ (ในวนิ ัยปฎิ กเลม่ ๕ หนา้ ๑๓๖) ว่า ภิกษผุ กู้ ราน
กฐินแล้วย่อมได้รับประโยชน์ ๕ ประการ
๑. รับนิมนต์ฉันไว้แล้วไปไหนไม่ต้องบอกลาภิกษุในวัด ตามความใน
สกิ ขาบทท่ี ๖ แหง่ อเจลกวรรค ปาจิตตยี ์
๒. ไปไหนไมต่ อ้ งนำ� ไตรจีวรไปครบสำ� รับ
๓. เก็บผ้าทีเ่ กิดข้ึนเปน็ พิเศษไวไ้ ดต้ ามปรารถนา
๔. จวี รอนั เกดิ ในท่นี นั้ เปน็ สทิ ธขิ องภกิ ษเุ หลา่ น้นั
๕. ขยายเขตแห่งการท�ำจีวรหรือการเก็บจีวรไว้ได้จนถึงส้ินฤดูหนาว
(คอื จนถึงวนั ข้นึ ๑๕ ค�ำ่ เดอื น ๔ เปน็ วันสดุ ท้าย)
วัดพระบาทมง่ิ เมอื งวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 27
กฐินพระราชทาน
ค�ำว่า “กฐิน” มีความหมายเก่ียวข้องกันถึง ๔ ประการ คือ
ชอ่ื ของกรอบไม้ อนั เปน็ แมแ่ บบสำ� หรบั ทำ� จีวร ซ่ึงอาจเรียกวา่ “สะดงึ ” กไ็ ด้
ชอ่ื ของ ผ้า ทถี่ วายแก่สงฆเ์ พอ่ื ท�ำจีวร ตามแบบหรอื กรอบไมน้ ัน้
ชอื่ ของ บุญกริ ยิ า คอื การท�ำบญุ ในการถวายผ้ากฐิน เพ่อื ใหส้ งฆท์ ำ� จวี ร
ชอื่ ของ สงั ฆกรรม คอื กจิ กรรมของสงฆท์ จ่ี ะตอ้ งมกี ารสวดประกาศ ขอรบั
ความเห็นชอบจากทีป่ ระชุมสงฆ์ในการมอบผา้ กฐนิ ใหแ้ ก่ภกิ ษุรูปใดรปู หน่งึ
กฐินเป็นพุทธานุญาตพิเศษท่ีโปรดให้ท�ำเป็นการสงฆ์เพ่ือขยายเขตจีวร
กาล คอื การทำ� จวี รของภกิ ษใุ หย้ าวออกไปอกี โดยปกตเิ ขตทำ� จวี รของภกิ ษมุ รี ะยะ
เวลาเพียงท้ายฤดูฝน ๒๙ วัน หรือ ๑ เดือน นับแต่วันออกพรรษา คือตั้งแต่
วนั แรม ๑ คำ�่ เดอื น ๑๑ ถงึ วนั ขนึ้ ๑๕ คำ่� เดอื น ๑๒ เทา่ นนั้ แตถ่ า้ ไดก้ รานกฐนิ
แล้วเขตนนั้ ขยายออกไปตลอดฤดหู นาว
เมื่อพระพุทธศาสนาได้แพร่หลายเข้ามาถึงเมืองไทยและประชาชนคน
ไทยก็ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจ�ำชาติ กฐินจึงเป็นประเพณี
ของบ้านเมือง พระราชามหากษัตริย์ผู้ครองบ้านเมืองก็ทรงรับเอาการนี้เป็น
พระราชพธิ อี ยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ทรงบำ� เพญ็ เปน็ การประจำ� เมอื่ ถงึ กาลนน้ั เลยถอื เอากริ ยิ าท่ี
พระเจ้าแผ่นดินทรงบ�ำเพ็ญเป็นพระราชพิธีน้ันเรียกว่า “กฐินหลวง” ไม่ว่าวัดนั้น
จะเปน็ วดั ราษฎรห์ รอื วดั หลวง เมอื่ พระเจา้ แผน่ ดนิ เสดจ็ พระราชทาน ณ วดั ใดๆ
ผา้ กฐนิ ทพี่ ระราชทานนน้ั เรยี กวา่ กฐนิ หลวง และถา้ วดั นน้ั เปน็ วดั หลวงกม็ นี ยิ ม
วา่ จะตอ้ งไดร้ บั กฐนิ หลวงใครจะจองมไิ ด้ ถา้ บงั เอญิ มเี หตใุ หเ้ สดจ็ ฯ ไมไ่ ด ้ เมอ่ื ได้
ทรงพระกรณุ าพระราชทานแกท่ า่ นผใู้ ด ผา้ กฐนิ นน้ั เรยี กกนั วา่ “กฐนิ พระราชทาน”
28 กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
หมายความว่า พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานผ้าพระกฐินซึ่งเป็นของหลวงแก่ท่าน
ผนู้ นั้ เพอ่ื ใหผ้ นู้ น้ั นำ� ไปถวายพระสงฆย์ งั วดั ทกี่ ำ� หนดไว้ ผไู้ ดร้ บั พระราชทานจะเพม่ิ
ไทยธรรมเป็นส่วนตนโดยเสด็จพระราชกุศลด้วยก็ได้ แต่บัดนี้ได้พระราชทาน
โอกาสใหร้ าษฎรทงั้ หลายขอพระราชทานเพอ่ื ทอดตามวดั หลวงตา่ งๆ ไดซ้ งึ่ มเี วน้ ไว้
ไม่พระราชทานกแ็ ต่วัดทีส่ �ำคญั เพียง ๑๖ วดั เทา่ น้นั คือ
๑. วดั มหาธาตยุ ุวราชรงั สฤษฎ์ ิ กรุงเทพมหานคร
๒. วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม กรงุ เทพมหานคร
๓. วดั สุทศั นเทพวราราม กรุงเทพมหานคร
๔. วดั บวรนเิ วศวิหาร กรงุ เทพมหานคร
๕. วัดเบญจมบพิตรดสุ ิตวนาราม กรงุ เทพมหานคร
๖. วดั ราชบพธิ สถิตมหาสมี าราม กรุงเทพมหานคร
๗. วัดราชประดิษฐสถิตมหาสมี าราม กรงุ เทพมหานคร
๘. วัดเทพศิรนิ ทราวาส กรุงเทพมหานคร
๙. วัดราชาธิวาส กรุงเทพมหานคร
๑๐. วดั มกุฎกษัตริยาราม กรงุ เทพมหานคร
๑๑. วัดอรณุ ราชวราราม กรุงเทพมหานคร
๑๒. วัดราชโอรสาราม กรงุ เทพมหานคร
๑๓. วดั พระปฐมเจดยี ์ นครปฐม
๑๔. วัดสวุ รรณดาราราม พระนครศรอี ยุธยา
๑๕. วัดนเิ วศธรรมประวตั ิ พระนครศรีอยธุ ยา
๑๖. วัดพระศรรี ัตนมหาธาต ุ พษิ ณุโลก
แนวปฏิบตั ิ
ข้ันตอนของกฐินพระราชทาน มดี ังนี้
๑. เมอื่ ไดร้ บั ผา้ พระกฐนิ พระราชทานจากกรมการศาสนาแลว้ ควรถวาย
ภายหลงั วนั แรม ๖ คำ่� เดอื น ๑๑ หรอื เมอ่ื สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ
ทอดพระกฐินวันแรกแล้ว
วัดพระบาทม่ิงเมอื งวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 29
๒. ให้ติดต่อกับทางวัดโดยตรง เพื่อแจ้งวัน เวลา และขอให้เจ้าอาวาส
สง่ั ไวยาวจั กรเตรยี มสถานทแ่ี ละสงิ่ จำ� เปน็ มที บ่ี ชู าพระรตั นตรยั มเี ครอื่ งบชู าพรอ้ ม
อาสน์สงฆ์ส�ำหรับพระสงฆ์อนุโมทนาพระกฐิน โต๊ะขนาดกว้างพอสมควรส�ำหรับ
วางพานแว่นฟ้า ผ้าไตรพระกฐินและพานเทียนปาติโมกข์ โต๊ะวางเคร่ืองบริขาร
พระกฐินและเครื่องไทยธรรม โต๊ะเก้าอี้ส�ำหรับผู้เป็นประธานและผู้ไปร่วมพิธี
ตามสมควร
๓. เม่ือถึงวันก�ำหนด ก่อนผู้เป็นประธานไปถึงหรือก่อนเร่ิมพิธีให้
เจ้าหน้าที่เชิญเคร่ืองพระกฐินจัดไว้บนโต๊ะ วางเทียนปาติโมกข์ไว้บนพานและ
ให้มีเจ้าหน้าที่แต่งเครื่องแบบหรือแต่งสากลนิยมคอยส่งให้ผู้เป็นประธานท่ี
เชงิ บนั ไดหรอื ประตูเขา้ สถานทีป่ ระกอบพธิ ี
๔. ป ร ะ ธ า น รั บ ผ ้ า พ ร ะ ก ฐิ น จ า ก เ จ ้ า ห น ้ า ท่ี ท่ี เ ชิ ง บั น ไ ด พ ร ะ อุ โ บ ส ถ
อุ้มประคองยืนตรงถวายเคารพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขณะดนตรีบรรเลงเพลง
สรรเสริญพระบารมี แล้วจึงเข้าสู่พระอุโบสถตรงไปวางไว้ท่ีพานแว่นฟ้าซ่ึงต้ังอยู่
หนา้ อาสน์สงฆ์
๕. เมอื่ วางผา้ พระกฐนิ พระราชทานแลว้ จดุ ธปู เทยี นเครอื่ งสกั การะบชู า
พระรัตนตรัยแลว้ กราบ ๓ หน
๖. เมื่อกราบพระรัตนตรัย ไปท่ีพานแว่นฟ้า หยิบผ้าห่มพระประธานส่ง
ให้เจ้าหน้าท่ีน�ำไปมอบแก่ไวยาวัจกร แล้วยกผ้าพระกฐินข้ึนประคอง พนมมือ
หันไปทางพระประธานว่า นโม ๓ จบ ต่อจากนั้นหันไปทางพระสงฆ์ ว่าค�ำ
ถวายพระกฐนิ ดงั น้ ี
“ผา้ พระกฐนิ ทานกบั ทง้ั ผา้ อานสิ งสบ์ รวิ ารทง้ั ปวงน้ี ของสมเดจ็
พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ผู้ทรงพระคุณ
อันประเสริฐ กอปรด้วยพระราชศรัทธา โปรดเกล้าฯ ให้ข้าพเจ้า
น้อมน�ำมาถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ ซึ่งจ�ำพรรษากาลถ้วนไตรมาสใน
อาวาสวิหารน้ี ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าพระกฐินทานน้ี กระท�ำ
กฐ ินัตถารกิจตามพระบรมพทุ ธานญุ าตนนั้ เทอญ”
30 กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
กล่าวถวายพระกฐินทานจบแล้วประเคนพร้อมด้วยเทียนพระปาติโมกข์
เสรจ็ แล้วเขา้ ที่นั่ง ณ ทซ่ี ึ่งจัดไว้ ในระหว่างทผ่ี ้เู ป็นประธานเข้าสู่สถานท่ปี ระกอบ
พิธี ผู้อยู่ในพิธีท้ังหมดยืนแสดงความเคารพจนกว่าประธานจะน่ังลงจึงนั่งลง
พรอ้ มกัน
ถ้ามีปี่พาทย์หรือเคร่ืองดนตรี ให้บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี
ข ณ ะ ผู ้ เ ป ็ น ป ร ะ ธ า น รั บ ผ ้ า ไ ต ร จ า ก เ จ ้ า ห น ้ า ที่ ห รื อ รั บ ท่ี โ ต ๊ ะ ห มู ่ ใ น ก ร ณี
ทจี่ ดั ไว้ ตอ่ จากนนั้ จงึ บรรเลงเพลงชา้ ขณะประธานเขา้ สสู่ ถานทป่ี ระกอบพธิ จี นถงึ
เวลาจุดธูปเทยี นบชู าพระรตั นตรยั แลว้ จงึ สง่ เทียนชนวนคืน ให้หยุดบรรเลงทนั ที
แม้จะยังไม่จบเพลงก็ตาม และควรมีเจ้าหน้าท่ีคอยให้สัญญาณเวลาให้เร่ิมเพลง
หรือใหห้ ยุดบรรเลง
๗. พระสงฆ์ท�ำพิธีกรรม
๘. เมอื่ พระสงฆท์ ำ� พธิ เี สรจ็ ออกไปครองผา้ (ปพ่ี าทยบ์ รรเลงเพลงสาธกุ าร
ถา้ ม)ี ครองผา้ เสรจ็ กลบั เขา้ ทน่ี ง่ั ยงั อาสนส์ งฆ์ (ปพ่ี าทยห์ ยดุ บรรเลง) ผเู้ ปน็ ประธาน
และผู้ไปร่วมพิธีถวายเคร่ืองพระกฐินแก่องค์ครอง เร่ิมตั้งแต่บาตรเป็นต้นไป
จนถึงเครื่องมือก่อสร้าง ถ้าจดั เครื่องไทยธรรมถวายเพิ่มเติม ควรถวายภายหลัง
เคร่ืองพระกฐินหลวง
๙. ถา้ มผี บู้ รจิ าครว่ มโดยเสดจ็ พระราชกศุ ล ควรประกาศใหท้ ป่ี ระชมุ ทราบ
๑๐. พอพระสงฆ์อนุโมทนา ผู้เป็นประธานกรวดน้�ำแล้วพระสงฆ์ถวาย
อดเิ รกจบ ประธานกราบพระรตั นตรยั เปน็ เสรจ็ พธิ ี (ปพ่ี าทยบ์ รรเลงเพลงกราวรำ�
ถ้ามี)
๑๑. กรมการศาสนาเป็นผู้จัดสรรและด�ำเนินการขอพระราชทาน จึงขอ
ใหร้ ายงานถวายผา้ พระกฐนิ พระราชทานและยอดเงนิ โดยเสดจ็ พระราชกศุ ลไปยงั
กรมการศาสนา หลงั จากถวายผา้ พระกฐนิ เสรจ็ แลว้ เพอื่ จะไดร้ วบรวมดำ� เนนิ การ
กราบบังคมทูลพระกรณุ า ขอพระราชทานถวายพระราชกุศลโดยพร้อมเพรียงกนั
วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 31
ประวัตกิ ฐนิ พระราชทานของ
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ไดข้ อรบั พระราชทานผา้ พระกฐนิ อญั เชญิ
ไปทอดถวาย ณ พระอารามหลวงต่างๆ ในส่วนภูมิภาคทั่วราชอาณาจักรเป็น
ปที ่ี ๓๗ แล้ว ดงั นี้
พ.ศ. ๒๕๒๔ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตรุ าชวรวหิ าร อ.ศรสี ชั นาลยั จ.สโุ ขทยั
วนั ที่ ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๔
พ.ศ. ๒๕๒๕ วัดพระธาตพุ นมวรมหาวหิ าร อ.ธาตพุ นม จ.นครพนม
วนั ท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๒๕
พ.ศ. ๒๕๒๖ วดั พระบรมธาตไุ ชยาราชวรวิหาร อ.ไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี
วนั ท่ี ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๖
พ.ศ. ๒๕๒๗ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร อ.เมือง จ.นนทบุรี
วนั ท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๗
พ.ศ. ๒๕๒๘ วัดพระธาตุหรภิ ุญชัยวรมหาวิหาร อ.เมอื ง จ.ล�ำพูน
วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๒๙ วัดพระธาตเุ ชงิ ชุมวรวหิ าร อ.เมือง จ.สกลนคร
วันที่ ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๐ วัดมงคลนิมิตร อ.เมอื ง จ.ภูเก็ต
วนั ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๑ วัดบรู พาพทิ ยาราม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
วันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๑
พ.ศ. ๒๕๓๒ วดั เจดียห์ ลวงวรวิหาร อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่
วันท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๒
พ.ศ. ๒๕๓๓ วัดโพธิ์ชัย อ.เมอื ง จ.หนองคาย
วนั ที่ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๓
พ.ศ. ๒๕๓๔ วัดท่าโพธิ์ อ.เมอื ง จ.นครศรีธรรมราช
วันท่ี ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๔
32 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
พ.ศ. ๒๕๓๕ วัดพระแทน่ ดงรงั วรวหิ าร อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี
วนั ที่ ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๖ วัดมหาธาตุ อ.เมอื ง จ.เพชรบูรณ์
วันที่ ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๗ วัดโพธสิ มภรณ์ อ.เมือง จ.อดุ รธานี
วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๘ วดั มัชฌมิ าวาส อ.เมอื ง จ.สงขลา
วนั ท่ี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๓๙ วดั เจด็ ยอด อ.เมือง จ.เชยี งราย
วนั ท่ี ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๙
พ.ศ. ๒๕๔๐ วดั ธรรมกิ ารามวรวหิ าร อ.เมือง จ.ประจวบครี ีขันธ์
วนั ท่ี ๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๑ วัดเขาบางทราย อ.เมือง จ.ชลบรุ ี
วนั ท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๔๑
พ.ศ. ๒๕๔๒ วดั มหาวนาราม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
วนั ท่ี ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๓ วัดตานีนรสโมสร อ.เมอื ง จ.ปัตตานี
วนั ท่ี ๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๓
พ.ศ. ๒๕๔๔ วดั มหาสมณาราม อ.เมอื ง จ.เพชรบุรี
วนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๔๔
พ.ศ. ๒๕๔๕ วัดวรนาถบรรพต อ.เมอื ง จ.นครสวรรค์
วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๕
พ.ศ. ๒๕๔๖ วัดมชั ฌิมาวาส อ.เมือง จ.อุดรธานี
วนั ที่ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗ วดั ตนั ตยาภริ ม อ.เมอื ง จ.ตรัง
วันที่ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘ วดั พระเจดียซ์ าวหลัง อ.เมอื ง จ.ล�ำปาง
วันท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๘
วัดพระบาทมงิ่ เมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 33
พ.ศ. ๒๕๔๙ วดั เทวสังฆาราม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
วนั ท่ี ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐ วัดกลางมง่ิ เมอื ง อ.เมอื ง จ.ร้อยเอด็
วันท่ี ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑ วัดแก้วโกรวราราม อ.เมอื ง จ.กระบ่ี
วนั ท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒ วัดพญาภู อ.เมือง จ.นา่ น
วันท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓ วดั โยธานิมติ ร อ.เมือง จ.ตราด
วนั ที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔ วัดส�ำราญนิเวศ อ.เมอื ง จ.อ�ำนาจเจริญ
วันท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕ วดั ชุมพรรังสรรค์ อ.เมือง จ.ชุมพร
วันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖ วัดจองคำ� อ.เมือง จ.แมฮ่ อ่ งสอน
วันท่ี ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗ วดั อุดมธานี อ.เมอื ง จ.นครนายก
วนั ท่ี ๓๑ ตุลาคม–๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘ วดั สระแก้ว อ.เมอื งสระแก้ว จ.สระแก้ว
วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙ วัดศรสี ุทธาวาส อ.เมอื งเลย จ.เลย
วนั ที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐ วดั ประชมุ โยธี อ�ำเภอเมืองพงั งา จงั หวดั พังงา
วนั ที่ ๒๐–๒๑ ตลุ าคม ๒๕๖๐
ใน พ.ศ. ๒๕๖๑ นี้ท่ีประชุมผู้บริหารของมหาวิทยาลัยได้พิจารณาโดย
รอบแล้ว มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ด�ำเนินการขอรับผ้าพระกฐินพระราชทานประจ�ำปี
๒๕๖๑ มาทอดถวายพระภกิ ษุสงฆอ์ ยู่จำ� พรรษา ณ วัดพระบาทม่งิ เมอื งวรวิหาร
อ�ำเภอเมอื งแพร่ จงั หวดั แพร่
34 กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
ความเป็นมาของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาท่ีเกิดขึ้นด้วย
แนวความคิดเรื่องการขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา
แก่ประชาชนให้กว้างขวางย่ิงขึ้น โดยใช้ทรัพยากรที่มีจ�ำกัดให้เกิดประโยชน์
สูงสุด รัฐบาลจึงได้ด�ำเนินการจัดต้ังมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชข้ึนอีก
แห่งหนึ่ง มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ด�ำเนินการสอนโดยใช้ระบบ
การสอนทางไกล
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ ๙)
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช”
ตามพระนามเดมิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๗ เมอ่ื ครง้ั ทรงดำ� รง
พระอิสริยยศเป็น “กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา” และทรงลงพระปรมาภิไธยใน
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เมื่อวันท่ี ๕ กันยายน ๒๕๒๑
นบั จากนน้ั เปน็ ต้นมา
มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราชจึงก�ำหนดให้วันที่ ๕ กนั ยายน ของทกุ ปี
เปน็ วนั สถาปนามหาวทิ ยาลยั และนบั วา่ เปน็ มหาวทิ ยาลยั เปดิ แหง่ แรกในภาคพนื้
เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ใ่ี ชร้ ะบบการเรยี นการสอนทางไกล และเปน็ มหาวทิ ยาลยั
ของรฐั แหง่ ท่ี ๑๑ สงั กดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั ดงั นน้ั มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
จึงมีอ�ำนาจให้ปริญญาท่ีมีศักด์ิและสิทธิ์เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยของรัฐแห่ง
อ่นื ๆ ทกุ ประการ
ตราสญั ลกั ษณ์ วดั พระบาทมง่ิ เมืองวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 35
มหาวิทยาลัยได้รับพระบรมราชานุญาตให้
ใช้พระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า
เจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ เรียงภายใต้
พระมหามงกุฎประกอบอยู่ในส่วนยอดของเจดีย์ทรง
พุ่มข้าวบิณฑ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของกรุงสุโขทัย เป็นตรา
ประจำ� มหาวิทยาลัย
สปี ระจ�ำมหาวิทยาลยั
สีเขยี ว และสีทอง
สีเขยี ว สปี ระจำ� วันพธุ ซ่งึ เปน็ วนั พระราชสมภพของพระบาทสมเด็จ
พระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ วั
สที อง สีแห่งความเปน็ สริ มิ งคล
ตน้ ไม้ประจ�ำมหาวิทยาลยั
ต้นปาริชาต หรือต้นทองหลางลาย ใบทองหลางลายมีสีเขียวและสีทอง
ตรงกับสปี ระจำ� มหาวทิ ยาลยั
วิสยั ทศั น์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นมหาวิทยาลัยเปิดชั้นน�ำของโลก
ท่ีใชร้ ะบบการศึกษาทางไกล ใหก้ ารศกึ ษาตลอดชีวติ สำ� หรับทกุ คน
36 กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
ปณิธาน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในฐานะท่ีเป็นมหาวิทยาลัยใน
ระบบเปิดยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต มุ่งพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั่วไป
เพ่ิมพูนวิทยฐานะแก่ผู้ประกอบอาชีพ และขยายโอกาสทางการศึกษาต่อ
สำ� หรบั ทกุ คน เพอ่ื สนองความตอ้ งการของบคุ คลและสงั คม ดว้ ยการจดั ระบบการ
เรียนการสอนทางไกล ซึ่งใช้สื่อการสอนทางไปรษณีย์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุ
โทรทัศน์ ส่ือออนไลน์ และวิธีการอ่ืนที่ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองโดย
ไม่ตอ้ งเขา้ ชัน้ เรยี นตามปกติ
คุณค่า (Value)
๑. มบี ทบาทโดดเดน่ ในสงั คม โดยเปน็ แหลง่ เรยี นรเู้ ปดิ ในระดบั อดุ มศกึ ษา
สำ� หรับทกุ คน (Open for all)
๒. เปน็ ผนู้ ำ� ทางการสรา้ งนวตั กรรมระบบการศกึ ษาทางไกล สำ� หรบั การ
เรียนรูต้ ลอดชีวติ
๓. บคุ ลากร “มสี ขุ ภาวะในการท�ำงาน”
๔. ส่งเสริมกิจกรรมทุกด้านเพ่ือความส�ำเร็จในการเรียนรู้ของนักศึกษา
ทุกคน
วฒั นธรรมองคก์ ร
(STOU Culture) “รว่ มแรงใจ ใฝค่ ุณธรรม น�ำสงิ่ ใหม่ เรยี นรไู้ ดท้ กุ ทที่ กุ เวลา”
S = Synergy หมายถึง ร่วมแรงใจ มีองค์ประกอบเชิงพฤติกรรม คือ
Organization First, Workforce Focus, Teamwork
T = Transparency หมายถึง ใฝ่คุณธรรม มีองค์ประกอบเชิงพฤติกรรม คือ
Social Responsibility, Management by Fact, Moral
& Ethics
O = Originality หมายถึง น�ำสิ่งใหม่ มีองค์ประกอบเชิงพฤติกรรม คือ
Customer Focus, Innovation Focus, Visionary
Leadership
วัดพระบาทมงิ่ เมอื งวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 37
U = Ubiquitous Learning หมายถึง เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มีองค์ประกอบ
เชิงพฤติกรรม คอื Customer Focus, System
Perspective, Life Long Learning
การบริการการศึกษา
ม ห า วิ ท ย า ลั ย สุ โ ข ทั ย
ธรรมาธริ าช ไดจ้ ดั บรกิ ารการศกึ ษา
เพื่อเสริมสร้างระบบการเรียน
การสอนให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน
และยังเป็นการบริการทางวิชาการ
แก่ประชาชนท่ีอยู่ห่างไกล โดย
มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งศูนย์วิทย
พัฒนา จ�ำนวน ๑๐ แห่งท่ัวทุก
ภมู ภิ าค ได้แก่
ศูนย์วิทยพฒั นา มสธ. จงั หวัดลำ� ปาง โทร. ๐ ๕๔๘๒ ๙๘๑๑-๔
ศูนยว์ ิทยพฒั นา มสธ. จังหวัดสโุ ขทยั โทร. ๐ ๕๕๖๕ ๑๐๙๗
ศนู ย์วทิ ยพฒั นา มสธ. จังหวัดนครสวรรค์ โทร. ๐ ๕๖๒๒ ๒๔๕๐
ศูนยว์ ิทยพัฒนา มสธ. จงั หวัดอุดรธาน ี โทร. ๐ ๔๒๓๔ ๐๐๓๓
ศนู ยว์ ิทยพัฒนา มสธ. จงั หวดั อบุ ลราชธานี โทร. ๐ ๔๕๒๘ ๑๘๙๑
ศนู ยว์ ทิ ยพฒั นา มสธ. จังหวัดนครนายก โทร. ๐ ๓๗๓๐ ๖๒๔๗-๙
ศนู ยว์ ทิ ยพฒั นา มสธ. จงั หวดั เพชรบรุ ี โทร. ๐ ๓๒๔๐ ๓๘๐๑-๕
ศนู ยว์ ิทยพัฒนา มสธ. จังหวัดจันทบุร ี โทร. ๐ ๓๙๓๘ ๙๔๓๐-๓
ศูนยว์ ิทยพัฒนา มสธ. จังหวัดนครศรธี รรมราช โทร. ๐ ๓๕๓๗ ๘๖๘๐-๓
ศนู ยว์ ทิ ยพฒั นา มสธ. จังหวดั ยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๖ ๔๐๑๖
นอกจากน้ีมหาวิทยาลัยได้จัดตั้งศูนย์บริการการศึกษา ณ โรงเรียน
ประจ�ำจังหวัดทุกจังหวัดเพื่อเป็นสถานท่ีด�ำเนินกิจกรรมทางวิชาการของ
มหาวิทยาลัย อาทิ การปฐมนิเทศนักศึกษา การสอนเสริม การสอบ และการ
38 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
แนะแนวการศึกษา รวมทั้งเป็นแหล่งบริการข่าวสารและหน่วยประชาสัมพันธ์ใน
ระดับท้องถิ่นของมหาวิทยาลัย และเป็นหน่วยประสานงานระหว่างนักศึกษากับ
มหาวิทยาลัย
นอกจากศนู ย์บริการการศกึ ษาแล้ว นกั ศกึ ษายงั สามารถรบั บรกิ ารขอ้ มูล
ขา่ วสาร การเรียนการสอนจากมหาวทิ ยาลัยอกี หลายช่องทาง ดังน้ี
๑. สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเพื่อการศึกษาของ
กรมประชาสัมพันธ์ ออกอากาศสถานีแม่ข่ายกรุงเทพมหานครคลื่นความถ่ี
๑,๔๖๗ KHz ระบบ A.M. และส่งไปยังเครือข่ายท่ัวประเทศ ตามตาราง
ออกอากาศท่มี หาวทิ ยาลยั จัดส่งให้กบั นกั ศกึ ษา
๒. สถานโี ทรทศั น์ของมหาวิทยาลัย STOU Channel
๓. สถานีวิทยุโทรทศั นแ์ ห่งประเทศไทย กรมประชาสมั พนั ธ์ (NBT)
๔. สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV 8
True vision)
๕. สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV) ตามตารางออกอากาศ
ท่มี หาวทิ ยาลัยจัดสง่ ให้กับนักศึกษา
สถานทสี่ �ำคญั ในมหาวทิ ยาลัย
หอพระ ประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำมหาวิทยาลัยปางมารวิชัย
ขนาดหน้าตัก ๖๐ น้ิว ตัวอาคารหอพระ ออกแบบโดย รองศาสตราจารย์
ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ โดยตัวอาคารมีเอกลักษณ์สะท้อน
วดั พระบาทมิ่งเมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 39
รูปลักษณะศิลปสุโขทัย อันเป็นชื่อของมหาวิทยาลัย ตัวอาคารสร้างเสร็จใน
พ.ศ. ๒๕๕๑ การจัดวางอาคารนั้นตั้งอยู่บริเวณมุมด้านเหนือของอุทยาน
การศึกษารัชมังคลาภิเษกใกล้กับถนนหลักภายในมหาวิทยาลัย ตัวอาคาร
ยกพ้ืนสงู จากระดบั ปกติ จึงท�ำใหม้ ีความโดดเด่นสะดดุ ตา
ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนาง
เจ้าร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลพระราชประวัติ
พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนาง
เจา้ รำ� ไพพรรณี พระบรมราชนิ ี ตงั้ อยู่ ณ อาคารบรรณสาร ชนั้ ๒ ออกแบบตกแตง่
ด้วยรูปลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ ๗ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และให้บริการข้อมูลทางประวัติศาสตร์ระหว่าง
พ.ศ. ๒๔๖๘–๒๔๗๗
อาคารทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นท่ีสุดในมหาวิทยาลัย
อาคารพุ่มข้าวบิณฑ์ เป็นอาคารสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ซ่ึงได้ประยุกต์สถาปัตยกรรมไทยสมัยสุโขทัยมาใช้ในการออกแบบก่อสร้าง
40 กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สวุ รรณคีรี ศลิ ปินแหง่ ชาติ เป็นผูอ้ อกแบบ
การจัดวางอาคารน้ันตงั้ อยู่ก่งึ กลางของอทุ ยานการศึกษารัชมังคลาภเิ ษก จดั เปน็
สถาปตั ยกรรมทโ่ี ดดเด่นทสี่ ดุ ในมหาวิทยาลัย
อาคารอเนกนิทัศน์ เป็นหอประชุมขนาดใหญ่ของมหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๙ ปัจจุบันใช้เป็นสถานท่ีพระราชทาน
ปริญญาบตั รของมหาวิทยาลยั
ตดิ ต่อมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
เลขท่ี ๙/๙ หมูท่ ี่ ๙ ถนนแจง้ วัฒนะ ตำ� บลบางพูด อ�ำเภอปากเกรด็
จังหวดั นนทบรุ ี ๑๑๑๒๐
Call Center : ๐ ๒๕๐๔ ๗๗๘๘
วนั จนั ทร–์ ศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐ น.–๑๙.๓๐ น.
วันเสาร–์ อาทติ ย์ เวลา ๐๘.๓๐ น.–๑๖.๓๐ น.
เวบ็ ไซต์ http://www.stou.ac.th
วัดพระบาทม่งิ เมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 41
จงั หวัดแพร่
❂ ความหมายของตราประจ�ำจังหวดั แพร่
มีต�ำนานเล่าสืบกันว่า เมืองแพร่และเมืองน่านมีเจ้าผู้ปกครองนคร
เป็นพี่น้องกัน ได้ปกครองเมืองท้ังสองนี้ร่วมกันโดยมิได้แบ่งอาณาเขตแน่นอน
ตอ่ มาพน่ี อ้ งทงั้ สองไดน้ ดั หมายมาพบกนั ตามทางเพอ่ื แบง่ ปนั อาณาเขตเมอื ง ครนั้
เมอื่ ถงึ กาํ หนดเจา้ ผปู้ กครองนครเมอื งแพรก่ ข็ ม่ี า้ ออกไป ฝา่ ยเจา้ ผปู้ กครองนครนา่ น
ก็ขีโ่ คมา ไดพ้ บกนั ทีย่ อดเขาแหง่ หน่งึ แล้วตกลงปันเขตแดนกัน ตรงนนั้ จึงให้ชอ่ื วา่
“เขาครึ่ง” ด้วยเหตุท่ีเจ้าผู้ครองนครแพร่ขี่ม้าไปจึงได้เขตแดนไว้มากกว่า
เจา้ ผคู้ รองนครนา่ นทขี่ โ่ี คมา ตอ่ มาเมอื งแพรจ่ งึ ใชม้ า้ เปน็ นามเมอื ง สว่ นทางเมอื ง
น่านก็ใช้โคเป็นนามเมืองเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุเช่นน้ีคณะกรรมการจังหวัดแพร่
จึงเสนอรูปม้ายืนเป็นดวงตราประจําจังหวัดแพร่ ให้กรมศิลปากรพิจารณา
ในราวปี พ.ศ. 2483 แตก่ รมศลิ ปากรมคี วามเหน็ วา่ ควรจะเอาภาพโบราณสถาน
ทสี่ าํ คญั ของจงั หวดั มาประกอบเขา้ ดว้ ยจงั หวดั แพรจ่ งึ ทำ� รปู มา้ ยนื มพี ระธาตชุ อ่ แฮ
อยู่บนหลังใช้เปน็ ดวงตราประจ�ำจังหวดั แพร่ สบื เรื่อยมาจนถึงปัจจบุ ัน
❂ ค�ำขวัญประจำ� จังหวดั แพร่
“หม้อห้อมไม้สัก ถ่ินรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี
คนแพรน่ ีใ้ จงาม”
42 กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
❂ วสิ ัยทศั น์จังหวัดแพร่
“เมอื งแพรน่ า่ อยู่ ประตสู ลู่ า้ นนา เศรษฐกจิ ก้าวหน้า ประชาเปน็ สขุ ”
❂ ต้นไมแ้ ละดอกไม้ประจ�ำจงั หวัดแพร่
ตน้ ไมป้ ระจำ� จงั หวดั ต้นยมหิน ดอกไมป้ ระจำ� จังหวัดแพร่ ดอกยมหิน
❂ ประวตั คิ วามเป็นมา
เมืองแพร่ เป็นเมืองเก่าเมืองหน่ึงในภาคเหนือของประเทศไทย
ประวตั ิการสร้างเมอื ง ไมม่ ีจารึกในท่ีใดทห่ี น่ึงโดยเฉพาะการศึกษาเร่ืองราวของ
เมืองแพร่จึงตอ้ งอาศยั หลักฐานของเมืองอน่ื เชน่ พงศาวดารโยนก ตำ� นานเมอื ง
เหนือ ต�ำนานการสร้างพระธาตุล�ำปางหลวง และศิลาจารึกพ่อขุนรามค�ำแหง
มหาราช เปน็ ตน้ ตำ� นานพระธาตชุ อ่ แฮกลา่ ววา่ เมอื งแพรม่ มี าตงั้ แตส่ มยั พทุ ธกาล
ตำ� นานวดั หลวงกลา่ วไวว้ า่ ประมาณ พ.ศ. ๑๓๗๑ พอ่ ขนุ หลวงพล ราชนดั ดาแหง่
กษัตริย์น่านเจ้าได้อพยพคนไทย (ไทยล้ือ ไทยเขิน) ส่วนหน่ึงจากเมืองเชียงแสน
ไชยบุรี และเวียงพางค�ำลงมาสร้างเมืองบนท่ีราบริมฝั่งแม่น�้ำยม ขนานนามว่า
เมอื งพลนคร (เมอื งแพร่ปจั จุบัน) ต�ำนานสิงหนวัติกลา่ ววา่ เมืองแพรเ่ ป็นเมอื งท่ี
ปกครองโดยพญายบี่ าแหง่ แควน้ หรภิ ญุ ไชยสนั นษิ ฐานวา่ เมอื งแพรแ่ ละเมอื งลำ� พนู
วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 43
เป็นเมืองท่ีสร้างข้ึนมาในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ซึ่งสอดคล้องกับหลักศิลาจารึก
พอ่ ขุนรามคำ� แหงมหาราช หลกั ที่ ๑ ด้านที่ ๔ บรรทดั ท่ี ๒๔-๒๕ ซง่ึ จารกึ ไว้วา่
“.. เบือ้ งตีนนอน รอดเมอื งแพล เมืองน่าน เมือง … เมอื งพลวั พ้นฝัง่ ของ เมอื ง
ชวาเปน็ ทแี่ ลว้ …” ในขอ้ ความนี้ เมอื งแพล คอื เมอื งแพร่ ศลิ าจารกึ นส้ี รา้ งขนึ้ ใน
พ.ศ. ๑๘๒๖ จงึ เปน็ สง่ิ ทยี่ นื ยนั ถงึ ความเกา่ แกข่ องเมอื งแพร่ วา่ ตงั้ ขนึ้ มากอ่ นเมอื ง
เชียงใหม่ และเชื่อวา่ เมอื งแพร่ไดก้ อ่ ตงั้ ขนึ้ แล้วกอ่ นการต้ังกรุงสุโขทัยเปน็ ราชธานี
ชอื่ เดมิ ของเมอื งแพร่ การกอ่ ตง้ั ชมุ ชนหรอื บา้ นเมอื งสว่ นใหญใ่ นภาคเหนอื มกั ปรากฏ
ช่ือบ้านเมืองน้ันในต�ำนาน เรื่องเล่า หรือจารึกตลอดจนหลักฐานเอกสาร
พ้ืนเมืองของเมืองนั้น ๆ แต่ส�ำหรับเมืองแพร่นั้นแตกต่างออกไปเนื่องจากไม่มี
หลักฐานที่เก่ียวข้องโดยตรงจึงมีที่มาของชื่อเมืองจากหลักฐานอ่ืนดังนี้ เมืองพล
นครพลหรอื พลรฐั นคร เปน็ ชือ่ เก่าแกด่ ้ังเดิมที่สุดที่พบ
ในต�ำนานเมืองเหนือ ฉบับใบลาน พ.ศ. ๑๘๒๔ กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า
เจา้ เมอื งลำ� ปางไดส้ ง่ คนมาตดิ ตอ่ เจา้ นครพลใหไ้ ปรว่ มงานนมสั การ และฉลองวดั
พระธาตุลำ� ปางหลวง และจากตำ� นานพระธาตลุ ำ� ปางหลวงตอนหนึ่งได้กล่าวถึง
เจ้าเมืองพลยกก�ำลังผู้คนไปขุดหาพระบรมสารีริกธาตุบรรจุไว้ในพระธาตุแต่
ไม่พบ เมื่อศึกษาต�ำแหน่งที่ต้ังของนครพลตามต�ำนานดังกล่าว พบว่าเมืองแพร่
ปจั จบุ นั ชอื่ พลนครปรากฎเปน็ ชอ่ื วหิ ารในวดั หลวง ตำ� บลในเวยี ง อำ� เภอเมอื งแพร่
โดยเช่ือว่าวัดน้ีเป็นวัดท่ีสร้างมาพร้อมกับการสร้างเมืองแพร่และเจ้าเมืองแพร่
ใหค้ วามอปุ ถมั ภม์ า ตลอดจนหมดยคุ การปกครองโดยเจา้ เมอื งเมอื งโกศยั เปน็ ชอ่ื
ทป่ี รากฏในพงศาวดารเมอื งเงนิ ยางเชยี งแสน ชอ่ื นใ้ี ชเ้ รยี กเมอื งแพร่ ในสมยั ขอม
เรืองอ�ำนาจท่ีชื่อเมืองในอาณาจักรล้านนาเปล่ียนเป็นภาษาบาลีตามความในยุค
นัน้ เช่น นา่ นเปน็ นนั ทบรุ ี ลำ� พูนเป็นหรภิ ุญไชย ล�ำปางเปน็ เขลาคน์ คร เป็นต้น
ช่ือ เวียงโกศัย น่าจะมาจากช่ือดอยท่ีเป็นที่ต้ังขององค์พระธาตุช่อแฮ
ซึง่ เปน็ พระธาตศุ กั ดิส์ ิทธ์ิ คู่บ้านคูเ่ มอื งแพร่ คอื ดอยโกสยิ ธชัคบรรพต หมายถงึ
ดอยแหง่ ผา้ แพร เมอื งแพล เปน็ ชอื่ ทป่ี รากฏในศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราช
หลักท่ี ๑ ด้านท่ี ๔ โดยค�ำว่า แพล น่าจะมาจากศรัทธาของชาวเมืองที่มีต่อ
พระธาตชุ ่อแพร หรอื ช่อแฮท่ีสรา้ งขึน้ ภายหลังการสรา้ งเมอื งต่อมาจึงได้เรียกช่ือ
เมอื งของตนว่า เมอื งแพล และไดก้ ลายเสยี งเปน็ เมอื งแพรป่ ัจจบุ ัน
44 กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
❂ ท่ีต้ังและอาณาเขต
ทตี่ งั้ จงั หวดั แพร่ (คำ� เมอื ง: Lanna-Phrae.png) เปน็ จงั หวดั ในภาคเหนอื
ตอนบนของประเทศไทย มลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ทรี่ าบระหวา่ งภเู ขา โดยมที วิ เขา
ล้อมรอบ และมีแม่น้ำ� สายส�ำคัญไหลผ่านคอื แมน่ ำ�้ ยม
ภูมิประเทศ จังหวัดแพร่เป็นจังหวัดที่มีภูเขาล้อมรอบท้ังสี่ทิศ มีภูเขาท่ี
สงู ทสี่ ดุ อยู่ที่ ดอยขุนสถาน (บางช่ือเรียกวา่ ดอยธง) สูง ๑,๖๓๐ เมตร จากระดบั
น�้ำทะเลปานกลาง โดยท่ัวไปพ้ืนที่ราบจะมีความสูงจากระดับน�้ำทะเลปานกลาง
ประมาณ ๑๒๐-๒๐๐ เมตร สำ� หรบั ตวั เมอื งแพรม่ คี วามสงู 161 เมตร จากระดบั นำ�้
ทะเลปานกลาง แม่น�้ำยมเป็นล�ำน้�ำท่ีส�ำคัญที่สุดของจังหวัดแพร่ ต้นก�ำเนิดจาก
เทือกเขาผีปันนำ้� อำ� เภอปง จังหวัดพะเยา
วดั พระบาทม่งิ เมอื งวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 45
อาณาเขต ทศิ เหนอื ติดกับจังหวัดพะเยาและนา่ น
ทิศตะวนั ออก ตดิ กบั จังหวัดน่าน
ทิศตะวนั ตก ติดกบั จงั หวัดลำ� ปาง
ทิศใต้ ติดกับจังหวัดอตุ รดติ ถ์และจังหวดั สุโขทยั
46 กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
สถานทท่ี อ่ งเที่ยวจงั หวดั แพร่
เท่ียวแพร่ สัมผัสมนตร์
เสน่ห์แห่งล้านนา เต็มไปด้วย
ร่องรอยทางประวัติศาสตร์
นา่ เรยี นรู้ ผคู้ นใชช้ วี ติ เรยี บงา่ ย
อีกทัง้ ยังเป็นเมืองทเี่ งยี บสงบ
จังหวัดแพร่ เป็นจังหวัด
ท่ีใครหลายคนมองข้าม เพราะ
เปน็ ทางผา่ นไปยงั จงั หวดั สดุ ฮติ
อน่ื ๆ ในภาคเหนอื แตน่ อ้ ยคนนกั ทจี่ ะรวู้ า่ เมอื งแพรน่ มี้ คี วามนา่ รกั ไมแ่ พเ้ มอื งอนื่ ๆ
ของภาคเหนือเลยทีเดียว เพราะแพร่เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีต�ำนานเล่าขานถึงความ
รุ่งเรืองมายาวนาน รวมถึงเป็นดินแดนท่ีเต็มไปด้วยร่องรอยทางประวัติศาสตร์
อีกท้ังยังมีแหล่งธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ให้ไปเยือนได้ตลอดทั้งปี แต่สิ่งท่ีดึงดูด
นักเดินทางให้ไปเยือนสักคร้ังก็คือความเรียบง่ายท่ีแฝงไปด้วยเสน่ห์หลากหลาย
รวมถึงสถานที่ท่องเท่ียวที่น่าสนใจมากมาย เอาเป็นว่าลองไปดู ๑๐ ท่ีเที่ยวแพร่
ทห่ี ยบิ มาฝากกันดกี ว่า เผื่อจะท�ำใหต้ ดั สินใจไปเที่ยวแพร่ไดง้ ่ายขึน้
❂ วัดพระธาตุช่อแฮ
วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง ตั้งอยู่บนถนนช่อแฮ ต�ำบลช่อแฮ
อ�ำเภอเมืองแพร่ ถือเป็นปูชนียสถานอันศักด์ิสิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองแพร่ และเป็นวัด
พระธาตุประจ�ำปีเกิดของผู้ท่ีเกิดปี
ขาลอีกด้วย ว่ากันว่าหากมาจังหวัด
แพร่แล้วไม่ได้มานมัสการพระธาตุ
ช่อแฮก็เหมือนไม่ได้มาจังหวัดแพร่
ทั้งนี้ในทุกปีจะมีการงานนมัสการ
พระธาตใุ นระหวา่ งวันขึน้ ๙ คำ่� -ข้นึ
วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 47
๑๕ คำ�่ เดอื น ๔ (ประมาณเดอื นมนี าคม) โดยใชช้ อื่ งานวา่ “งานประเพณไี หวพ้ ระ
ธาตชุ อ่ แฮ เมืองแพร่แห่ตุงหลวง”
❂ วดั พระธาตุจอมแจง้
ตั้งอยู่บ้านไคร้ ต�ำบลช่อแฮ อ�ำเภอเมืองแพร่ เลยพระธาตุช่อแฮไป
๑ กิโลเมตร เป็นวัดส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งของเมืองแพร่ที่ผู้คนนิยมเดินทางเข้า
มาสักการะพระธาตุจอมแจ้ง อันเป็นที่
บรรจพุ ระเกศาธาตแุ ละพระบรมสารกิ ธาตุ
พระหัตถ์เบื้องซ้ายของพระพุทธเจ้า องค์
พระธาตจุ อมแจง้ นส้ี รา้ งขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. ๑๓๓๑
ไม่ปรากฏช่ือผู้สร้าง พระธาตุสีทององค์น้ี
สูง ๒๙ เมตร ฐานกว้าง ๑๐ เมตร มรี ูป
ทรงคล้ายพระธาตุช่อแฮ โดยเป็นเจดีย์
ทรงพุ่มศิลปะผสมระหว่างสุโขทัยกับศิลปะเวียงโกศัยที่ยังอยู่ในลักษณะค่อนข้าง
สมบรู ณ์ ทง้ั นเ้ี ดมิ เรยี กกนั วา่ พระธาตจุ วนแจง้ เนอื่ งจากสมยั ทพ่ี ระพทุ ธองคเ์ สดจ็
มาถึงสถานทน่ี ีจ้ วนสว่างพอดี และต่อมาเพ้ียนเป็นจอมแจ้งจนถึงปจั จบุ นั
หลังจากสักการะองค์พระธาตุจอมแจ้งแล้ว ภายในบริเวณวัดน้ันยังมี
พระพุทธรูปยืนขนาดใหญ่ปางนาคปรกประดิษฐานอยู่คู่กับองค์พระธาตุ มีพระ
นอนปางไสยาสนอ์ งคใ์ หญ่ ในลานปฏบิ ตั ธิ รรมทอ่ี ยบู่ รเิ วณซา้ ยมอื ของทางเขา้ ประตู
วดั ขณะทภี่ ายในวหิ ารมหี ลวงพอ่ จอมแจง้ ซงึ่ มอี ายปุ ระมาณ ๖๐๐ กวา่ ปี เปน็ พระ
ประธาน ดา้ นหลงั มอี งคพ์ ระธาตเุ กา่ แกอ่ กี องคห์ นง่ึ ซงึ่ ไมไ่ ดบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณ์ ยงั คง
ไว้ในรูปแบบของการก่อสร้างด้วยอฐิ โดยทกุ ปีในวนั ขนึ้ ๑๑ ค�่ำ-๑๕ ค่ำ� เดอื น ๕
เหนอื (เดอื น ๓ ใต้) จะมีการจดั งานนมัสการพระธาตจุ อมแจง้ ให้ประชาชนเดิน
ทางมาสักการะพระธาตแุ ละหลวงพ่อจอมแจง้ เพอ่ื ความเปน็ สิรมิ งคลแกช่ วี ิต
48 กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
❂ พระธาตุดอยเล็ง
พระธาตุดอยเล็ง
ตั้งอยู่บนภูเขาสูงในต�ำบล
ช่อแฮ อ�ำเภอเมืองแพร่
อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
ของพระธาตุช่อแฮ ประมาณ
๓ กิโลเมตร เปน็ ปูชนยี สถาน
ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัด
แพร่ ท่ีอยู่คู่กับพระธาตุช่อแฮและพระธาตุจอมแจ้งมายาวนาน แม้ไม่ปรากฏ
หลักฐานการสรา้ งว่าเกิดขน้ึ เม่อื ใด แต่จากค�ำบอกเล่าของคนเฒา่ คนแกใ่ นอดีตที่
โยงเร่ืองราวของท้งั สามพระธาตไุ ดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื งกนั
พระธาตดุ อยเลง็ แหง่ นไ้ี ดร้ บั การบรู ณะมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และเมอื่ ถงึ เดอื น
๔ ใต้ (เดอื น ๖ เหนอื ) ขึ้น ๑๕ ค�่ำ ซง่ึ ตรงกับช่วงงานประเพณไี หวพ้ ระธาตชุ ่อแฮ
เมอื งแพรแ่ หต่ งุ หลวง พระธาตดุ อยเลง็ แหง่ นกี้ จ็ ะมกี ารจดั งานประเพณขี นึ้ ดอยเลง็
ในช่วงเดียวกัน เปิดให้ประชาชนเดินทางขึ้นมาสักการะเพ่ือระลึกถึงองค์สมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พร้อม ๆ กับชมวิวอันงดงามของจังหวัดแพร่จากบนน้ัน
สอบถามเพม่ิ เตมิ ได้ที่ประชาสัมพันธจ์ งั หวดั โทรศพั ท์ ๐ ๕๕๖๗ ๑๔๖๖
❂ วัดพระบาทมิ่งเมอื งวรวิหาร
วดั พระบาทมงิ่ เมอื งวรวหิ าร ตงั้ อยถู่ นน
เจริญเมือง อ�ำเภอเมืองแพร่ แต่เดิมน้ันเป็นวัด
ราษฎร์ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ไดย้ กฐานะเปน็
พระอารามหลวง ช้ันตรี ประเภทวรวิหาร โดย
วดั พระบาทมง่ิ เมอื งมาจากสองวดั รวมกนั ไดแ้ ก่
วดั พระบาทและวดั มิง่ เมอื ง ตงั้ อย่หู ่างกนั เพียงมี
ถนนก้ันเท่านั้น วัดพระบาทเป็นวัดของอุปราช
หรือเจ้าหน้าหอ ส่วนวัดมิ่งเมืองเป็นวัดของเจ้า
วดั พระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 49
ผู้ครองนครแพร่ เม่ือเมืองแพร่ล้มเลิกระบบเจ้าผู้ครองนคร วัดท้ังสองก็ถูกทิ้งอยู่
ในสภาพทรุดโทรมมาก กระท่ังคณะกรรมการจังหวัดเห็นสมควรรวมสองวัดเข้า
ด้วยกัน ให้ช่อื วา่ “วดั พระบาทมง่ิ เมือง” มาจนทกุ วัน
ปัจจุบันวัดน้ีเป็นท่ีประดิษฐานของพระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี
พระคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดแพร่ และยังมีพระเจดีย์ม่ิงเมืองซึ่งเป็นเจดีย์เก่าแก่
มรี อยพระพทุ ธบาทจำ� ลองอยภู่ ายใน นอกจากนวี้ ดั นย้ี งั เปน็ ทตี่ งั้ ของมลู นธิ ยิ าขอบ
อนุสรณเ์ พือ่ ระลึกถึง “ยาขอบ” หรอื นายโชติ แพร่พันธุ์ นักเขยี นผู้ลว่ งลบั ไปแลว้
ซ่ึงเปน็ ทายาทเจา้ เมอื งแพร่คนสดุ ทา้ ย
❂ พิพิธภัณฑ์เมอื งแพร่ค้มุ เจา้ หลวง
ต้ังอยู่บนถนนคุ้มเดิม
ต�ำบลในเวียง อำ� เภอเมืองแพร่
เป็นสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาล
ท่ี ๕ ยุคต้น ซึ่งมีรูปทรงเป็น
แบบสถาปัตยกรรมไทยผสม
ยุโรปหรือทรงขนมปังขิง ซ่ึง
เป็นท่ีนิยมในสมัยนั้น หลังคา
มุงด้วยไม้เรียกว่า “ไม้แป้นเกล็ด” ไม่มีหน้าจั่วเป็นแบบหลังคาเรือนปั้นหยามีมุข
สเ่ี หลย่ี มยน่ื ออกมา ดา้ นหนา้ ของตวั อาคารหลงั คามขุ มรี ปู ทรงสามเหลยี่ มทง้ั ปน้ั ลม
และชายคานำ�้ รอบตวั อาคารประดบั ดว้ ยไมแ้ กะฉลสุ ลกั ลวดลายอยา่ งสวยงาม ซงึ่
เป็นฝีมือช่างชาวจีนท่ีมีชื่อเสียงในสมัยนั้น นอกจากน้ียังมีใต้ถุนอาคารซึ่งเคยใช้
เป็นคกุ กักขงั นกั โทษ แต่ปัจจุบันเปน็ แหล่งเรยี นรูใ้ ห้กับนักเรียน นกั ศกึ ษา
สว่ นภายในอาคารดา้ นบนจดั แสดงขา้ วของเครอ่ื งใชเ้ กา่ แกข่ องเจา้ หลวง
พิรยิ เทพวงศ์ และแม่เจา้ บวั ไหล อาทิ เคร่อื งเรอื น โต๊ะเสวย ถว้ ยชาม เตียงนอน
เคร่ืองแต่งกาย เป็นต้น ใครท่ีสนใจประวัติศาสตร์และของเก่าต้องหลงรักท่ีน่ี
แน่นอน ท้ังนีส้ อบถามรายละเอียดเพม่ิ เติมไดท้ ี่ ส�ำนักงานคมุ้ เจ้าหลวง โทรศัพท์
๐ ๕๔๕๒ ๔๑๕๘
50 กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
❂ วนอุทยานแพะเมืองผ ี
“วนอุทยานแพะเมือง
ผี” เพียงแค่ได้ยินช่ือหลาย
คนอาจจะรู้สึกกลัว แต่ที่น่ี
ไม่ได้น่ากลัวอย่างชื่อ แพะ
เมืองผี ต้ังอยู่ท่ีต�ำบลน�้ำช�ำ
อำ� เภอเมืองแพร่ เปน็ ความ
มหัศจรรย์ของธรรมชาติ
เกิดจากการทับถมกันของ
ดินตะกอนแม่น�้ำนานนับล้าน ๆ ปี แต่เม่ือน้�ำฝนชะล้าง กัดเซาะ ท�ำให้พ้ืนดิน
บริเวณน้ีเกิดเป็นรูปร่างแปลกสวยงาม และสามารถเปล่ียนแปลงไปได้เรื่อย ๆ
เพราะน้�ำฝนและลมจะกัดเซาะตลอด ที่นี่ไม่ใช่เพียงแค่ท่ีท่องเที่ยวท่ีชวนตื่นตา
เทา่ นน้ั แตย่ งั เปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ างธรณวี ทิ ยาทส่ี ำ� คญั อกี ดว้ ย ซงึ่ สามารถทอ่ งเทยี่ ว
วนอุทยานแพะเมืองผีไดต้ ลอดท้ังปี
❂ ถำ้� ผานางคอย
ถ�้ำกลางป่า
อันเป็นส่วนหน่ึงของ
ภูเขาหินปูน อ�ำเภอ
ร้องกวาง เต็มไปด้วย
หิ น ง อ ก หิ น ย ้ อ ย ส ว ย
วิจิตรอลังการ ราวกับ
ป ร ะ ติ ม า ก ร ร ม จ า ก
ธรรมชาติที่ได้สรรค์
สร้างไว้ให้มนษุ ย์ไดช้ ่นื ชม เมื่อรอ้ ยเรยี งเขา้ กบั ตำ� นานพ้ืนบา้ นบอกเล่าถึงที่มาของ
เสาหิน รูปทรงผู้หญิงก�ำลังอุ้มลูกน้อยเพื่อรอคอยการกลับมาของชายอันเป็นท่ีรัก
นน้ั ซงึ่ ไดก้ ลายเปน็ ทม่ี าของชอ่ื “ถำ้� ผานางคอย” ยงิ่ ทำ� ใหท้ แี่ หง่ นเี้ ตม็ ไปดว้ ยความ
น่าสนใจ