วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 51
ปัจจุบันถ�้ำผานางคอยได้รับการปรับปรุงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง
ธรรมชาติ โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ มีการปรับภูมิทัศน์ พัฒนา
เส้นทาง ติดไฟ และป้ายบอกถึงความเป็นมาประวัติศาสตร์บอกเล่าต�ำนาน
“ผานางคอย” ไวต้ อ้ นรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วอยา่ งเตม็ รปู แบบ ซงึ่ ถำ้� แหง่ นม้ี คี วามสงู จาก
ดา้ นลา่ งจนถงึ ปากถำ�้ ๕๐ เมตร และภายในถำ�้ ระยะทางจากปากถำ�้ จนถงึ ทางออก
อกี ดา้ นยาวถงึ ๑๕๐ เมตร ทางเดนิ นน้ั มที ง้ั กวา้ งและแคบสลบั กนั ไป โดยแบง่ ออก
เปน็ ๑๓ จดุ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วไดช้ ม แตท่ เี่ ปน็ ไฮไลทข์ องถำ้� คอื “หนิ นางคอย” โดยจะได้
พบกับหินปูนท่ีหยดย้อยลงมาก่อเกิดรูปทรงเหมือนหญิงสาวก�ำลังก้มหน้าโอบอุ้ม
ลกู นอ้ ยนง่ั อยบู่ นแทน่ หนิ และตอ้ งยนื อยหู่ า่ งออกมาประมาณ ๑๐ เมตร จงึ จะมอง
เห็นได้ชัดว่าเป็นรูปร่างเหมือนผู้หญิงอุ้มลูก ถัดจากหินนางคอยไปเล็กน้อยจะพบ
ปากถ้ำ� อกี ดา้ นหน่งึ ที่สูงขึน้ ไป ซงึ่ ปากถ้ำ� ด้านหลงั น้ันมีความกว้างกวา่ ๑๕ เมตร
เปดิ ใหแ้ สงสวา่ งสอ่ งลอดเขา้ มาภายในถำ�้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี อกี ทง้ั กอ่ นถงึ ปากถำ้� ดา้ น
หลงั ชาวบา้ นไดน้ ำ� พระพทุ ธรปู ตง้ั ไวเ้ พอื่ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วไดก้ ราบไหวบ้ ชู าและขอพร
ก่อนเดนิ ทางกลับ
❂ โอ้โฮ! สองบ้านนา
แหล่งท่องเท่ียวใหม่ท่ีจะพาคุณหวนกลับสู่ธรรมชาติในธีมน่ารักว่า
“โอ้โฮ! สองบ้านนา” โดยสองบ้านนาที่เอ่ยถึงนั้นประกอบด้วยบ้านนาตอง
ต�ำบลช่อแฮ และบ้านนาคูหา ต�ำบลสวนเขื่อน ทั้งสองบ้านนี้อยู่ห่างกันเพียง
๓๐ กิโลเมตร และสามารถเดินทางทอ่ งเทย่ี วท้งั สองบา้ นภายในวนั เดียว
บา้ นนาคหู า โดดเดน่ ดว้ ยสภาพอากาศเยน็ ตลอดปี มที ศั นยี ภาพสวยงาม
มีล�ำห้วยแม่แคมไหลผ่าน ชาวบ้านส่วนใหญ่ท�ำสวนและเล้ียงสาหร่ายน�้ำจืดหรือ
52 กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เตาเป็นอาชีพเสริม โดยได้แปรรูปเป็นข้าวเกรียบเตา สาหร่ายแผ่นทอดกรอบ
สบู่เตา และเป็นท่ีต้ังของพุทธอุทยานดอยผาสวรรค์เฉลิมพระเกียรติ ร.๙ ซ่ึงมี
สถานท่ีส�ำคัญภายในหลายแห่ง อาทิ ศูนย์ปฏิบัติธรรมมหาโพธิวงศาจริยาราม
พระพุทธชยันตีมหศั จรรย ์ พระเจา้ หยกทพิ ย์ พระเจ้าทนั ใจ
บ้านนาตอง เป็นหมู่บ้านท่ีมีล�ำห้วยแม่ก๋อนไหลผ่านกลางหมู่บ้าน
จึงท�ำให้มีอากาศเย็นสบายตลอดปี ชาวบ้านมีวิถีชีวิตท่ีเรียบง่าย นอกจากความ
งามความเงยี บสงบตามธรรมชาตแิ ลว้ บา้ นนาตองยงั เปน็ ทอ่ี ยขู่ องเตา่ ปลู ู ซง่ึ เปน็
เตา่ หางยาวและอาศัยอยใู่ นเฉพาะพื้นท่ีทีม่ ีน�้ำสะอาดเท่านัน้ ส่งิ ท่ีนา่ สนใจอน่ื ๆ
ของบ้านนาตอง ได้แก่ พระธาตเุ จดยี ์ศรนี าตอง ณ วัดธรรมานุภาพซึ่งเปน็ จดุ ชม
ววิ บา้ นนาตองในมมุ สงู และพพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นนาตอง ซง่ึ มโี ครงกระดกู มนษุ ยโ์ บราณ
อายกุ วา่ ๔,๕๐๐ ปที ค่ี น้ พบในถำ�้ บา้ นนาตอง จดั วางใหช้ มอยู่ และใครทต่ี อ้ งการ
สัมผสั วถิ บี ้านนาตองอย่างเต็มอมิ่ ท่ีนี่มโี ฮมสเตยใ์ หบ้ รกิ ารอกี ด้วย
❂ หมบู่ ้านทงุ่ โฮ้ง
หมู่บ้านทุ่งโฮ้ง เป็นหมู่บ้าน
ในเขตอ�ำเภอเมือง ท่ีมีผลิตภัณฑ์
พน้ื บา้ นขนึ้ ชอื่ มาก ไดแ้ ก่ ผา้ หมอ้ หอ้ ม
ซ่ึงถือกันว่ามีเนื้อดี ทนทาน และ
สวยงาม นักท่องเที่ยวนิยมซ้ือหาไว้
เป็นของที่ระลึก อาชีพหลักของชาว
บ้านทุ่งโฮ้งคือการท�ำผ้าหม้อห้อม
แท้ เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินของบรรพบุรุษ ท่ีสืบทอดมาหลายช่ัวอายุคน และเป็น
เอกลักษณ์ของจังหวัดแพร่ จนได้รับการคัดเลือกเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP
เชิงหัตถกรรม (OTOP Village Champion Handicrafts Tourism)
ซึ่ง “หม้อห้อม” เป็นค�ำพื้นเมืองจากค�ำสองค�ำคือ “หม้อ” และ “ห้อม”
หมอ้ เปน็ ภาชนะอยา่ งหนงึ่ ทใ่ี ชใ้ นการบรรจนุ ำ�้ หรอื ของเหลวมที งั้ เลก็ และใหญ่ สว่ น
ห้อมเป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่งที่ใช้ล�ำต้นและใบมาหมักในน�้ำตามกรรมวิธีที่สืบทอด
วดั พระบาทมิ่งเมอื งวรวิหาร พระอารามหลวง จ.แพร่ 53
กนั มาแตโ่ บราณ จะใหเ้ ปน็ สกี รมทา่ โดยนำ� ผา้ ขาวไปยอ้ มใหเ้ ปน็ สกี รมทา่ ทเ่ี รยี กวา่
“ผา้ หมอ้ หอ้ ม” ซงึ่ ผา้ หมอ้ หอ้ มเปน็ ชดุ แตง่ กายประจำ� ถน่ิ ของชาวแพรแ่ ละชาวบา้ น
ทุง่ โฮ้งท่สี วมใสใ่ นชีวิตประจ�ำวนั และงานประเพณตี ่าง ๆ จงึ ถอื เปน็ เอกลกั ษณ์
เลยทเี ดยี ว ใครทส่ี นใจพกั คา้ งคนื ทหี่ มบู่ า้ นแหง่ นเ้ี พอื่ สมั ผสั กบั วถิ ชี วี ติ ของชาวบา้ น
อยา่ งลึกซึ้งกส็ ามารถตดิ ตอ่ ทางหมู่บ้านเพอ่ื พักแรมที่โฮมสเตย์ได้
❂ แก่งหลวง
ผจญภัยไปตามล�ำน้�ำยมที่แก่งหลวง ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ต้ังอยู่บริเวณริม
แม่น้�ำยม และเหตุที่ใช้ชื่อว่าแก่งหลวง เพราะที่แห่งนี้เป็นบริเวณท่ีแม่น้�ำยมไหล
มารวมตัวกนั จนเปน็ แอ่งขนาดใหญ่และลึกมาก มีนำ้� ตลอดปี และด้วยทั่วบรเิ วณ
เตม็ ไปดว้ ยโขดหนิ ใหญน่ อ้ ยเรยี งรายอยกู่ ลางแมน่ ำ�้ เมอื่ นำ้� ไหลมาปะทะจะเกดิ ฟอง
ฝอยสาดกระเซน็ สวยงาม เหมาะกบั การนง่ั แพและลอ่ งแกง่ เปน็ อยา่ งยง่ิ นอกจากน้ี
ฝั่งตรงข้ามแก่งหลวงยังมี ถ้�ำเอราวัณ ซึ่งเป็นถ�้ำที่สวยงามที่สุดของจังหวัดแพร่
มคี วามลกึ ประมาณ ๒๐๐ เมตร ภายในถำ้� มหี อ้ งโถงกวา้ ง ตระการตาดว้ ยหนิ งอก
หินย้อยอยู่ทั่วไปรูปร่างคล้ายช้างเอราวัณ ส�ำหรับการชมถ้�ำน้ันต้องน�ำไฟฉาย
มาเอง หรอื สามารถเช่าไฟฉายได้
54 กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
ทตี่ ั้ง : ตง้ั อยทู่ ี่ต�ำบลแม่ปาน ห่างจากตัวเมอื งแพร่ไปตามเส้นทางหลวง
หมายเลข ๑๑ ประมาณ ๖๓ กโิ ลเมตร แลว้ เลย้ี วขวาเขา้ ไปประมาณ ๘ กโิ ลเมตร
โดยตงั้ อยทู่ อ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยผากลอง ผทู้ ส่ี นใจลอ่ งแกง่ และชมถำ�้ เอราวณั หรอื
ต้องการสอบถามข้อมูลการพักแรม สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี
สำ� นักงานการทอ่ งเท่ียวและกีฬาจังหวัดแพร่ โทรศพั ท์ ๐ ๕๔๖๔ ๖๒๐๕ การ
ท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานแพร่ (รับผิดชอบแพร่ น่าน และอุตรดิตถ์)
โทรศพั ท์ ๐ ๕๔๕๒ ๑๑๒๗ และ ๐ ๕๔๕๒ ๑๑๑๘-๙
วัดพระบาทมิง่ เมอื งวรวหิ าร พระอารามหลวง จ.แพร่ 55
จดั ทำ� โดย : งานประชาสัมพันธ์ ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี
บรรณาธกิ าร : นางสาวกนกพร พลับนิล
ภาพ : นายกรชิ โลหะสุวรรณ
ออกแบบ : หน่วยศลิ ปะ ส�ำนักพิมพ์
พสิ จู น์อกั ษร : นางสาววรันทร ฉะพงศ์ภพ
ประสานงานการผลติ : นางวภิ าดา อยู่ผอ่ ง
พมิ พ์ที่ : โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................