The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by [email protected], 2019-09-10 03:55:08

บทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย 4.0 กรณีศึกษา: หมู่บ้านจำรุง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง

รายงานกลุ่ม (GP) กป.4 หลักสูตร นปส.71

Keywords: บทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย 4.0

บทบาทชมุ ชนทอ้ งถิ่นกบั การขบั เคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐
กรณีศกึ ษา หม่บู า้ นจารงุ อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง

จัดทาโดย
กลมุ่ ปฏบิ ตั ิการท่ี (กป.) ๔

1. นางสุนีย์ บุษพนั ธ์ ตาแหนง่ หวั หน้าสานักงานจังหวัดแพร่
2. น.ส.วราพรรณ ชัยชนะศิริ ตาแหนง่ ผ้อู านวยการกองกิจการเครือข่ายทางวัฒนธรรม
3. นายยุทธนา โพธวิ หิ ค ตาแหน่ง นายอาเภอบางเลน
4. นายภเู บศ พุฒิรตั นาพร ตาแหน่ง นายอาเภอทา่ วังผา
5. นายสทิ ธชิ ัย ไทยเจรญิ ตาแหนง่ นายอาเภอพนม
6. นายณัฐภัทร พลอยสภุ า ตาแหนง่ นายอาเภออุบลรตั น์
7. นายอภชิ ัย อร่ามศรี ตาแหน่ง ผู้อานวยการกองการเจ้าหน้าที่
8. นายเพมิ่ เพช็ รพรหม ตาแหนง่ ทอ้ งถิ่นจังหวัดปตั ตานี
9. นายกติ ิศักดิ์ ปัน้ ประดิษฐ์ ตาแหน่ง ผู้อานวยการกองจัดทางบประมาณเขตพืน้ ท่ี ๑๑
10. นายจรี ะพงษ์ ปิณฑะบตุ ร ตาแหนง่ ผู้อานวยการแขวงทางหลวงชนบท

พระนครศรอี ยุธยา

รายงานนีเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษาอบรมหลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุ่นท่ี 71
สถาบนั ดารงราชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย
พทุ ธศักราช 2561

สถาบันดารงราชานภุ าพ
กระทรวงมหาดไทย

เอกสารการศึกษากลุ่มปฏิบัติการท่ี ๔ นี้ อนุมัติให้เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาอบรมหลักสูตร
นกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุ่นที่ ๗๑ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ ของสถาบันดารงราชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย

ลงชอ่ื ....................................................
(รศ.ดร.สมบตั ิ กุสมุ าวลี)
อาจารย์ที่ปรกึ ษา



บทคัดย่อ

การศึกษาบทบาทชมุ ชนท้องถ่นิ กบั การขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย 4.0 กรณศี กึ ษา หมู่บ้านจารุง
อาเภอแกลง จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อบทบาทชุมชนท้องถ่ิน
กับการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง และศึกษาแนวทาง
ในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย 4.0 ตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง โดยการประสานพลังประชารัฐมุ่งสู่เป้าหมาย “ความม่ันคง มั่งค่ังและยั่งยืน”
ผลการศกึ ษาปรากฏดังน้ี

1. การส่ือสารเพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือในการขับเคล่ือนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ ของหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีการ
รับรู้และเข้าใจเก่ียวขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ บ้างในบางเร่ือง มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านทาง
ผู้นาชุมชน มีความคิดเห็นว่าชมุ ชนมีการส่ือสารเพ่ือสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการขับเคล่ือน
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ โดยเห็นว่าชุมชนนาหลักการประชารัฐ (ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน)
มาเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนโมเดลชุมชนท้องถ่ิน ๔.๐ มากที่สุด และมีระดับการสร้างความร่วมมือ
ในการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ อย่ใู นระดบั มาก

2. บทบาทชุมชนท้องถิ่นหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง กับการขับเคล่ือนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ พบวา่ หมู่บ้านจารงุ มกี ารขบั เคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
โดยพบว่า มีการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ในด้านด้านสุขภาพและสวัสดิการชุมชน และด้าน
วัฒนธรรมพื้นเมือง การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และภูมิปัญญาท้องถิ่น มากที่สุด รองลงมา คือ
ด้านการมีส่วนรว่ มและความก้าวหน้า และด้านสภาพแวดล้อม ความปลอดภัย และความสงบสขุ และ
ด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีอุตสาหกรรม การพัฒนาการค้า และการท่องเท่ียว โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน
สว่ นดา้ นสิทธิมนุษยชน พบวา่ น้อยท่สี ดุ

3. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ ในส่วนข้อมูลท่ัวไป พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีเพศ การศึกษาสูงสุด และอาชีพ
ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ไม่แตกต่างกัน
แต่ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีอายุ ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ แตกต่างกัน ในด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีอุตสาหกรรม การพัฒนาการค้าและ
การท่องเท่ียว ในส่วนของการส่ือสารเพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือในการขับเคล่ือน
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีการสร้างความรู้และความเข้าใจของชุมชน
ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทชุมชนท้องถ่ินกับการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ไม่แตกต่างกัน
แต่ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีการรับรู้ ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคล่ือน
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ แตกต่างกัน ในด้านสุขภาพและสวัสดิการชุมชน และผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมี
ระดับการสร้างความร่วมมือของชุมชน ต่างกัน มีความคิดเหน็ ต่อบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อน
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ แตกต่างกัน ในทุกดา้ น

3. แนวทางในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย 4.0
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการประสานพลังประชารัฐมุ่งสู่เป้าหมาย “ความม่ันคง มั่งคั่งและ
ยั่งยืน” พบว่า ชุมชนควรมีการปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการพัฒนาทักษะ



ประชาชนอย่างทั่วถึง การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตเพ่ือเพ่ิมปริมาณและมูลค่าสินค้าให้สูงข้ึน
การการขับเคล่ือนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การส่งเสริมศักยภาพ การอบรม
การศึกษาดูงาน และสร้างพลังให้กลุ่มชมุ ชนเข้มแข็งจากภายในส่ภู ายนอกจะนาไปสู่เป้าหมายของการ
พฒั นาอยา่ ง “ความม่ันคง ม่ังค่ังและยงั่ ยืน



กติ ตกิ รรมประกาศ

รายงานการศึกษากลุ่มปฏิบัติการท่ี ๔ เร่ือง บทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐
กรณศี ึกษา หมบู่ ้านจารุง อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง สาเร็จลลุ ว่ งด้วยดี ดว้ ยความกรุณาของ รศ.ดร.สมบตั ิ กสุ มุ าวลี
ท่ีกรุณาให้คาปรึกษา แนะนา ถ่ายทอดองค์ความรู้ แนวคิด ประสบการณ์ ตลอดจนช้ีแนะประเด็นท่ีเป็นประโยชน์
ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องด้วยความเอาใจใส่อย่างดีย่ิง คณะกลุ่มปฏิบัติการท่ี ๔ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
มา ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณผ้ใู หญช่ าตรี กอ่ เกือ้ ผใู้ หญ่บา้ นหมทู่ ี่ ๗ บา้ นจารุง ตาบลเนนิ ฆอ้ อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง
ที่กรุณาสละเวลาให้ข้อมูลอย่างตั้งใจ ตลอดจนชาวบ้านผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องที่ให้การต้อนรบั และเอ้ือเฟ้ือต่อคณะ
กลุ่มปฏิบัติการในขณะลงพ้ืนท่ี อีกทั้งขอขอบคุณทีมงานจากสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดระยอง ท่ีสละเวลา
เอาใจใส่การประสานการดาเนินงานให้กับคณะกลุ่มปฏิบัติการ และให้ความร่วมมือในการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
ที่เป็นประโยชนใ์ นการศกึ ษาครง้ั นี้

คณะกลุ่มปฏิบัติการท่ี ๔ หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานการศึกษาเรื่อง บทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการ
ขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ กรณีศึกษา หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง จะเป็นประโยชน์ตอ่
ผู้มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งในการขับเคลื่อนการดาเนนิ งานกับภาคประชาชน ชุมชน ในการนาโมลเดลประเทศไทย ๔.๐
ไปพฒั นาและปรบั ใช้ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ต่อไป

กลมุ่ ปฏบิ ตั กิ ารท่ี ๔
สิงหาคม ๒๕๖๑



สารบญั

บทคัดยอ่ หน้า
กิตตกิ รรมประกาศ ก
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ง
สารบญั ภาพ ฉ

บทที่ 1 บทนา
บทที่ ๒ 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา ๑
บทท่ี ๓ 1.2 วตั ถุประสงค์ในการศึกษา 1
๑.๓ ขอบเขตการศึกษา 3
บทท่ี 4 1.4 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ 3
1.5 กรอบแนวคดิ ในการศึกษา 4
แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 4
2.1 ทฤษฎบี ทบาท ๕
2.2 แนวคดิ เกี่ยวกับชุมชน 5
2.3 แนวคดิ ไทยแลนด์ 4.0 10
2.4 ข้อมลู พืน้ ที่ศึกษา 14
2.7 งานวิจัยท่ีเก่ยี วขอ้ ง 21
วธิ ีการศกึ ษา 25
๓.๑ กลุ่มเป้าหมายและพ้นื ที่ทาการศึกษา ๒๗
๓.2 เคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 2๗
3.3 การทดสอบเครื่องมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา 2๗
3.4 การวดั ตัวแปร 28
3.5 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 28
3.6 การวิเคราะห์ข้อมลู 29
3.7 สถติ ิท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล 29
ผลการศกึ ษา 29
4.1 ข้อมูลท่วั ไป ๓๐
4.2 การส่ือสารเพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความรว่ มมอื 30
ในการขบั เคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมู่บ้านจารุง 31
อาเภอแกลง จังหวัดระยอง
4.3 บทบาทชุมชนท้องถิ่นหมู่บา้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง 36
กบั การขับเคลอื่ นโมเดลประเทศไทย ๔.๐



สารบัญ (ตอ่ )

บทท่ี 5 4.4 การเปรียบเทียบความคิดเหน็ ของประชาชนต่อบทบาทชุมชน หน้า
ทอ้ งถน่ิ กบั การขบั เคล่อื นโมเดลประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ ้านจารุง 46
บรรณานกุ รม อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ตามขอ้ มูลทัว่ ไป และการส่ือสาร
ภาคผนวก เพื่อสรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือในการขบั เคล่ือน 58
โมเดลประเทศไทย 4.0 ของหมบู่ า้ นจารุง อาเภอแกลง
จังหวัดระยอง ๖๓
4.5 แนวทางในการส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนเข้ามามีส่วนรว่ ม 63
ในการขบั เคลอื่ นโมเดลประเทศไทย 4.0 ตามปรชั ญาเศรษฐกิจ 68
พอเพียง โดยการประสานพลังประชารัฐม่งุ สู่เปา้ หมาย 70
“ความมน่ั คง ม่ังคงั่ และย่ังยืน” ๗๒
สรปุ ผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะ ๗๓
5.๑ สรปุ ผลการศกึ ษา ๗๙
5.2 ขอ้ เสนอแนะ

ภาพประกอบ
แบบสอบถาม



สารบัญตาราง หนา้
18
ตารางที่ 30
2.1 ไทยแลนด์ 4.0 ที่ขบั เคลื่อนด้วยนวตั กรรมเพ่ือใหป้ ระเทศหลดุ พน้ 31
จาก 3 กบั ดัก 32
4.1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป 33
4.2 การรบั รู้เกีย่ วกับการขบั เคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมบู่ า้ นจารงุ 33
อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง
4.3 ชอ่ งทางการรบั รเู้ กย่ี วกบั การขบั เคลือ่ นโมเดลประเทศไทย ๔.๐ 35
ของหมบู่ า้ นจารงุ อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง 36
4.4 การสรา้ งความรู้และเข้าใจเก่ียวกบั บทบาทของชุมชนท้องถน่ิ ในการขบั เคลื่อน 37
โมเดลประเทศไทย ๔.๐
4.5 ชอ่ งทางการสอื่ สารเพ่อื สร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของชุมชน 39
ทอ้ งถน่ิ ในการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมู่บ้านจารุง
อาเภอแกลง จังหวัดระยอง 41
4.6 จานวน ร้อยละ คา่ เฉลย่ี และระดบั ความคิดเหน็ ตอ่ การสรา้ งความรว่ มมือของชมุ ชน
4.7 สรุปภาพรวมบทบาทชมุ ชนท้องถน่ิ หมบู่ ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง 42
กบั การขับเคลอื่ นโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ใน 6 ด้าน
4.8 จานวน ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และระดับความคิดเหน็ ต่อการขับเคล่อื นโมเดล 44
ประเทศไทย ๔.๐ หม่บู ้านจารุง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ด้านสุขภาพและ 45
สวสั ดิการชุมชน
4.9 จานวน รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย และระดบั ความคิดเห็นต่อการขับเคล่อื นโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ า้ นจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ดา้ นวัฒนธรรม
พื้นเมือง การพัฒนาทรัพยากรบคุ คล และภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน
4.10 จานวน รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย และระดับความคดิ เหน็ ต่อการขับเคล่อื นโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ หม่บู า้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง ด้านภาพแวดล้อม
ความปลอดภัย และความสงบสขุ ของชุมชน
4.11 จานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และระดับความคิดเห็นต่อ การขับเคล่ือน
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ หมู่บ้านจารงุ อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง
ด้านเทคโนโลยที ท่ี ันสมัย มีอตุ สาหกรรม การพัฒนาการค้า และการทอ่ งเทีย่ ว
4.12 จานวน รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย และระดบั ความคิดเหน็ ต่อการขบั เคลื่อนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ ้านจารงุ อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง ดา้ นสทิ ธิมนุษยชน
4.13 จานวน รอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย และระดบั ความคดิ เหน็ ต่อการขับเคล่ือนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ ้านจารงุ อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง
ด้านการมสี ่วนรว่ ม และความกา้ วหน้า



สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้

ตารางที่ 47
47
4.14 เปรยี บเทยี บความคิดเห็นตอ่ บทบาทชมุ ชนท้องถ่ินกบั การขับเคลอ่ื นโมเดล 49
ประเทศไทย ๔.๐ หมูบ่ า้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง จาแนกตามเพศ 49

4.15 เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อบทบาทชมุ ชนท้องถนิ่ กบั การขับเคลื่อนโมเดลประเทศ 51
ไทย ๔.๐ หมู่บา้ นจารงุ อาเภอแกลง จังหวัดระยอง จาแนกตามอายุ 52
53
4.16 การเปรยี บเทียบความแตกต่างเปน็ รายคู่ 54
4.17 เปรียบเทียบความคดิ เหน็ ตอ่ บทบาทชมุ ชนท้องถ่นิ กับการขับเคล่อื นโมเดล
55
ประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ ้านจารุง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง จาแนกตาม
การศึกษาสูงสดุ 56
4.18 เปรยี บเทียบความคดิ เหน็ ต่อบทบาทชมุ ชนท้องถน่ิ กบั การขับเคล่ือนโมเดล 56
ประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ ้านจารงุ อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง จาแนกตามอาชีพ 5๖
4.19 เปรียบเทียบความคดิ เห็นต่อบทบาทชมุ ชนท้องถ่นิ กบั การขบั เคลอื่ นโมเดล 57
ประเทศไทย ๔.๐ หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง จาแนกตามการรับรู้ 57
4.20 การเปรยี บเทยี บความแตกต่างเป็นรายคู่ 58
4.21 เปรียบเทียบความคดิ เหน็ ต่อบทบาทชมุ ชนท้องถิ่นกับการขับเคลอ่ื นโมเดล ๕๙
ประเทศไทย ๔.๐ หมูบ่ ้านจารุง อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง จาแนกตาม
การสรา้ งความรูแ้ ละความเขา้ ใจของชมุ ชน
4.22 เปรียบเทียบความคิดเห็นตอ่ บทบาทชุมชนท้องถน่ิ กับการขบั เคลอ่ื นโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง จาแนกตามระดบั
การสรา้ งความร่วมมือของชุมชน
4.23 การเปรียบเทียบความแตกตา่ งเป็นรายคู่ ด้านสุขภาพและสวสั ดิการชุมชน
4.24 การเปรียบเทยี บความแตกตา่ งเปน็ รายคู่ ด้านวัฒนธรรมพ้นื เมอื ง การพัฒนา
ทรัพยากรบุคคล และภูมิปญั ญาท้องถิน่
4.25 การเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้านสภาพแวดล้อมปลอดภัย และ
ความสงบสุขของชมุ ชน
4.26 การเปรยี บเทียบความแตกต่างเปน็ รายคู่ ด้านเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั
มอี ุตสาหกรรม การพัฒนาการค้า และการทอ่ งเทย่ี ว
4.27 การเปรยี บเทยี บความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้านสทิ ธมิ นษุ ยชน
4.28 การเปรยี บเทียบความแตกต่างเปน็ รายคู่ ด้านการมสี ่วนร่วมและความกา้ วหน้า
4.29 เปา้ หมายการขับเคล่ือนไทยแลนด์ 4.0 สกู่ ารพฒั นาความม่ันคง มั่งคั่ง และ
ยง่ั ยืน



สารบัญภาพ หนา้
4
ภาพท่ี 15
1.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 16
2.1 โมเดลการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมเพื่อการพฒั นาประเทศไปสู่ 20

ความม่ันคง ม่ังคง่ั และยงั่ ยนื 21
2.2 พลวัตรการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ 32
2.3 ความเชือ่ มโยงของรัฐธรรมนูญ กรอบแนวคิดไทยแลนด์ 4.0 นโยบาย 34

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 37
ฉบับที่ 12 62
2.4 แผนทหี่ มู่บา้ น
4.1 ชอ่ งทางการรบั รู้เก่ียวกับการขับเคลอื่ นโมเดลประเทศไทย ๔.๐
ของหมู่บา้ นจารงุ อาเภอแกลง จังหวัดระยอง
4.2 ชอ่ งทางการสื่อสารเพอ่ื สรา้ งความร้แู ละความเขา้ ใจเก่ยี วกบั บทบาทของ
ชมุ ชนท้องถนิ่ ในการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหม่บู ้านจารุง
อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง
4.3 สรปุ ภาพรวมบทบาทชมุ ชนท้องถิ่นหมู่บา้ นจารงุ อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง
กับการขับเคลอ่ื นโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ใน 6 ด้าน
4.4 แนวทางในการส่งเสริมให้ประชาชนเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการขับเคลอ่ื นโมเดล
ประเทศไทย 4.0 ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยการประสานพลงั
ประชารัฐมงุ่ สูเ่ ปา้ หมาย “ความม่ันคง ม่ังคั่งและย่งั ยืน

1

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ

สังคมไทยในปัจจุบันปรับเปลี่ยนตัวเองจากสังคมอยู่แบบพอเพียง มาเป็นสังคมท่ีมุ่งม่ันอยาก
อยู่แบบม่ังคั่ง และร่ารวย มีการสะสมส่วนเกินในการผลิตเพื่อขาย มุ่งแสวงหาก่าไรมากที่สุด และ
ส่งเสริมการบริโภคในนามของ “การพัฒนา” รวมถงึ การทา่ ใหท้ ันสมยั (Modernization) ซึง่ ในความ
เป็นจริง คณุ ภาพชีวติ ของคนไทย มิได้เพมิ่ ขึน้ จรงิ ตามดัชนีการบรโิ ภคและก่าไร ตามวัตถุสงิ่ ของเคร่ือง
อ่านวยความสะดวกทีล่ ้นเหลือแต่อย่างใด ปัจจบุ ันจึงถือเปน็ ยุคสมัยที่ผคู้ นมหี น้ีสนิ มากมาย ครอบครัว
แตกแยกล้มเหลว เด็กขาดความอบอุ่น ชุมชนล่มสลาย พ่อแม่ ขายทุกอย่างเพ่ือให้ได้เงินมาบริโภค
ตามกระแสทุนนิยมอันบ้าคล่ัง จึงเป็นผลพวงของการพัฒนา “เอาเงินน่าหน้าเอาปัญญาตามหลัง”
การพัฒนาประเทศในรอบกว่า ๔๐ ปีท่ีผ่านมาที่มุ่งเอาเศรษฐกิจน่าหน้า เอาตัวเลขการเติบโตทาง
เศรษฐกิจเป็นตัวชว้ี ัด (GDP) ได้สร้างช่องว่างรายได้ระหวา่ งคนจนกับคนรวยมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระท่ัง
มีค่าเปรียบเปรยว่า “สังคมไทยเป็นสังคมรวยกระจุก จนกระจำย” ดัชนีความสุข (GDH) จึงเป็น
ประเด็นที่คนทั่วไปเริ่มกล่าวถึงและเรียกร้องให้กลับมาใช้เป็นหลกั หรือเป้าหมายของการพัฒนาชุมชน
ท้องถนิ่

รัฐบาลทุกยุคสมัยต่างก็พัฒนามาหลายโมเดล นับตั้งแต่โมเดล “ประเทศไทย ๑.๐” ที่เน้น
ภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก ก้าวสู่โมเดล “ประเทศไทย ๒.๐” ที่เน้นภาคอุตสาหกรรมเบาและ
“ประเทศไทย ๓.๐” ภาคอุตสาหกรรมหนัก จนถึงปัจจุบันที่พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
และหัวหน้ารักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้แถลงนโยบายเพ่ือน่าพาพี่น้องประชาชนก้าวเข้าสู่
โมเดล “ประเทศไทย ๔.๐” เศรษฐกจิ ท่ีขบั เคลอ่ื นดว้ ยนวตั กรรมในอีก ๓ - ๕ ปีข้างหน้านี้

บทบาทของชมุ ชนท้องถนิ่ ในการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ เปน็ การจัดการตนเองของ
ชุมชนท้องถ่ิน จะเกิดขึ้นได้นั้น ชุมชนท้องถ่ินเองจะต้องมีแนวคิดโดยเฉพาะความเช่ือพ้ืนฐาน
ในปรัชญาการพัฒนาชุมชนว่ามนุษย์มีความสามารถ และมีพลังอันซ่อนเร้น (Potential Ability)
แฝงอยู่ทั้งพลังความคิด ทักษะ แรงงาน ท่ีมีความสามารถพัฒนาตนเองได้ตามขีดความสามารถทาง
คุณภาพและคุณธรรม หากโอกาสอ่านวยและผู้ให้การสนับสนุน ซึ่งการอยู่กันในชุมชน สังคมมนุษย์
ต้องการอยู่ด้วยความสุขกาย สบายใจและมีความเป็นธรรมโดยชุมชน มีความสมดุลในการพัฒนา
ดังน้ันการที่ชุมชนท้องถ่ินจะสามารถจัดการตนเองได้นั้น ชุมชนต้องมีความเชื่อมั่นในศักยภาพของคน
และชมุ ชนว่าสามารถจัดการตนเองได้ ดว้ ยการยดึ หลักการพ่งึ ตนเองเป็นทีต่ ั้ง

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้ารักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้
กล่าวมอบนโยบายและปาฐกถาพิเศษในโอกาสงานต่าง ๆ เก่ียวกับการน่าพาประเทศไทยก้าวสู่โมเดล
“ประเทศไทย ๔.๐” หรือ “ไทยแลนด์ ๔.๐” ประเทศไทยในอดีตที่ผ่านมามีการพัฒนาประเทศ
ในด้านต่างๆ มาหลายโมเดลนับต้ังแต่ โมเดล ๑.๐ ถึง ๔.๐ ถอดรหัสโมเดลประเทศไทย ๑.๐ ถึง
๔.๐ ดังน้ี ประเทศไทย ๑.๐ เป็นการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นภาคการเกษตรเป็นหลัก โดยผลิตและ
ขายพืชไร่ พืชสวนและสัตว์ตา่ งๆ เป็นต้น ต่อจากน้ันไปสู่ประเทศไทย ๒.๐ ที่เน้นภาคอุตสาหกรรมแต่
เป็นอุตสาหกรรมเบา เช่น การผลิตและขายรองเท้า เคร่ืองหนัง เครื่องด่ืม เคร่ืองประดับ เครื่องเขียน

2

กระเป๋า เคร่ืองนุ่งห่ม เป็นต้น และน่าก้าวไปสู่โมเดลปัจจุบัน ประเทศไทย ๓.๐ ที่เน้นภาคอุตสาหกรรม
หนักและการส่งออก เช่น การผลิตและขาย ส่งออกเหล็กกล้า รถยนต์ กล่ันน้่ามัน แยกก๊าชธรรมชาติ
ปนู ซีเมนต์ เป็นตน้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามในปัจจบุ ันโมเดล ๓.๐ ยงั พฒั นาไปได้อยา่ งไม่เต็มทแ่ี ละไม่ประสบ
ความส่าเร็จเท่าท่ีควร ยังคงเผชิญกับดักส่าคัญท่ีไม่อาจน่าพาประเทศไทยพัฒนาก้าวหน้าไปมากกวา่ นี้
ประเดน็ นเี้ องทท่ี างรฐั บาลภายใตก้ ารนา่ ของพลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ทจ่ี า่ เปน็ ตอ้ ง
สร้างโมเดลใหม่ข้ึนมา เพ่ือปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศ และน่าพาประชาชนคนไทยก้าวสู่
โมเดลใหม่ ท่ีเรยี กว่า “โมเดลประเทศไทย ๔.๐” นนั้ เอง

โมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของ ดร.สวุ ิทย์ เมษินทรีย์ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงพาณิชย์ อธบิ าย
ว่า ยุทธศาสตร์ส่าคัญในการพัฒนาประเทศภายใต้การน่าของรัฐบาลเน้นในเรื่องการพัฒนาสู่ “ควำม
มั่นคง มั่งค่ังและย่ังยืน” ด้วยกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งจำกภำยใน ขับเคลื่อนตำมพระรำชดำรัสของ
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวฯ แนวคิด “ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง” โดยผ่ำนกลไก
“ประชำรัฐ” ดังน้ันภารกิจส่าคัญของรัฐบาลชุดนี้ก็คือ การขับเคลื่อนการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
เพ่ือให้สามารถรับมือกับโอกาสและภัยคุกคามชุดใหม่ อย่างไรก็ตาม ในศตวรรษที่ ๒๑ นี้ หลาย
ประเทศได้ก่าหนดโมเดลเศรษฐกิจแบบใหม่เพื่อสร้างความมั่งค่ังในศตวรรษท่ี ๒๑ อาทิ สหรัฐอเมริกา
พูดถึง A Nation of Makers อังกฤษก่าลังผลักดัน Design of Innovation ขณะท่ีประเทศจีนได้
ประกาศ Made in China ๒๐๒๕ ส่วนอินเดียก็ก่าลังขับเคล่ือน Made in India และเกาหลีใต้ก็วาง
โมเดลเศรษฐกิจเป็น Creative Economy เป็นต้น ส่าหรับประเทศไทยเอง ณ ขณะน้ียังติดอยู่ “กับ
ดักประเทศรายได้ปานกลาง” เรายังต้องเผชิญกับ “กับดักความเหลื่อมล้่าของความมั่งค่ัง” และ “กับ
ดักความไม่สมดุลของการพัฒนา” กับดักเหล่าน้ีเป็นส่ิงท้าทายรัฐบาลปัจจุบันในการปฏิรูปโครงสร้าง
เศรษฐกิจ เพื่อก้าวขา้ ม “ประเทศไทย ๓.๐” ไปสู่ “ประเทศไทย ๔.๐” นั่นเอง

การพัฒนาประเทศไทยภายใต้โมเดล “ประเทศไทย ๔.๐” จะส่าเร็จโดยใช้แนวทาง “สำน
พลังประชำรัฐ” เป็นตัวการขับเคล่ือน โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม คือ ร่วมกันคิด ร่วมกันวางแผน
ร่วมกันปฏิบัติและร่วมกันรับผลประโยชน์ เป็นการท่างานแบบบูรณาการทุกภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคการเงิน ธนาคาร ภาคประชาชน ภาคองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ภาคสถาบันการศึกษา
มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยต่าง ๆ ร่วมกันระดมความคิด ผนึกก่าลังขับเคลื่อนผ่านโครงการ บันทึก
ความร่วมมือ กจิ กรรม หรอื งานวิจัยตา่ ง ๆ โดยการด่าเนนิ งานของประชารฐั กลมุ่ ตา่ ง ๆ อันไดแ้ ก่

กลุ่มที่ ๑ การยกระดับนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์การปรับแก้กฎหมายและกลไกภาครัฐพัฒนา
คลสั เตอร์ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคต และการดงึ ดูดการลงทุน และการพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน

กลุ่มที่ ๒ การพัฒนาเกษตรสมยั ใหม่ และการพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก และประชารัฐ
กล่มุ ท่ี ๓ การส่งเสริมการท่องเทย่ี ว การสร้างรายได้ และการกระตุ้นการใช้จา่ ยภาครัฐ
กลุ่มที่ ๔ การศึกษาพ้ืนฐานและการพัฒนาผู้น่า (โรงเรียนประชารัฐ) รวมทั้งการยกระดับ
คณุ ภาพวิชาชพี และ
กลมุ่ ท่ี ๕ การส่งเสริมการส่งออกและการลงทนุ ในต่างประเทศ รวมทง้ั การส่งเสรมิ กลุ่ม SMEs
และผ้ปู ระกอบการใหม่ (Start UP) ซ่งึ แต่ละกลมุ่ ก่าลังวางระบบและกา่ หนดแนวทางในการขบั เคล่ือน
นโยบายอยา่ งเข้มข้น

3

การพัฒนาชุมชนภายใต้โมเดล “ประเทศไทย ๔.๐” หากจะพัฒนาให้สัมฤทธ์ิผลได้นั้นชุมชน
ต้องมีความเข้มแข็งจากภายใน ขับเคลื่อนตามพระราชด่ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ตาม
แนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โดยผ่านกลไก “ประชารัฐ” โดนชุมชนจะต้องร่วมกันคิด ร่วมกัน
วางแผน ร่วมกันปฏิบตั แิ ละรว่ มกนั รบั ผลประโยชน์ และร่วมกนั ทา่ งานแบบบูรณาการทกุ ภาคเี ครือข่าย
ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการเงิน ธนาคาร ภาคประชาชน ภาคองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาค
สถาบนั การศกึ ษา มหาวิทยาลัยและสถาบนั วจิ ยั ตา่ ง ๆ

ท้ังน้ีจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าหลายชุมชนในประเทศไทยได้รับผลกระทบจาก
แผนพัฒนาที่มุ่งเน้นความเติบโตทางเศรษฐกิจ ท่าลายทรัพยากรธรรมชาติและท่าให้ชุมชนอ่อนแอ
นอกจากนี้ ยังประสบปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมและสุขภาพที่เกิดจากการท่ีเกษตรกรในชุมชนใช้สารเคมี
กนั มาก จนส่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพและเกิดสารพิษตกค้างในผลผลิต ชาวบ้านเป็นโรคภมู ิแพ้ มีสุขภาพ
แย่ลง และต้นทุนการผลิตก็สูงข้ึนเร่ือย ๆ ประเด็นปัญหาดังกล่าวถือว่ามีความส่าคัญเป็นอย่างมาก
และมีคา่ ถามทต่ี ามมา... คือ...ชมุ ชนจะพฒั นาได้อยา่ งไร ถา้ ไมเ่ ร่ิมดว้ ยตนเอง?

ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงต้องการศึกษาบทบาทชุมชนท้องถ่ินกับการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย
4.0 กรณศี กึ ษา หมู่บ้านจา่ รุง อา่ เภอแกลง จังหวัดระยอง พร้อมท้ังต้องการศึกษาแนวทางในการส่งเสริม
ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย 4.0 แบบร่วมกันคิด ร่วมกัน
วางแผน ร่วมกันปฏบิ ัติและร่วมกันรับผลประโยชน์ เปน็ การทา่ งานแบบบูรณาการทุกภาคเี ครือข่ายทั้ง
ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการเงิน ธนาคาร ภาคประชาชน ภาคองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาค
สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยต่าง ๆ หรืออาจเรียกได้ว่า “การสานพลังประชา
รัฐ” ขับเคลื่อนตามพระราชด่ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ แนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง” เพื่อน่าไปสู่เป้าหมาย “ความมั่นคง ม่ังค่ังและย่ังยืน” ของชุมชนหมู่บ้านจ่ารุง อ่าเภอแกลง
จงั หวัดระยอง
1.2 วตั ถุประสงค์ในกำรศกึ ษำ

1.2.1 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ า้ นจา่ รงุ อา่ เภอแกลง จังหวดั ระยอง

1.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน
โมเดลประเทศไทย 4.0 ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการประสานพลังประชารัฐมุ่งสู่เป้าหมาย
“ความม่นั คง มั่งคง่ั และยัง่ ยนื ”
1.3 ขอบเขตกำรศกึ ษำ

1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ผู้ศึกษาได้ก่าหนดขอบเขตเนื้อหา ได้แก่ ข้อมูลพ้ืนฐานหมู่บ้านจ่ารุง
อ่าเภอแกลง จังหวัดระยอง โมเดลประเทศไทย 4.0 แนวคิดประชารัฐ และความคิดเห็นของประชาชน
ต่อบทบาทชุมชนท้องถ่ินกับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ หมู่บ้านจ่ารุง อ่าเภอแกลง จังหวัด
ระยอง

๑.๓.๒ ขอบเขตด้านระยะเวลา ผู้ศึกษาได้ก่าหนดขอบเขตระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้าข้อมูล
การสรา้ งเครอื่ งมือในการศกึ ษา การเกบ็ รวบรวมข้อมูล และการวิเคราะหข์ ้อมูล ระหว่างเดอื นพฤษภาคม
๒๕61 – กรกฎาคม ๒๕๖1

1.3.3 กลุ้มเปา้ หมายและพ้นื ทศ่ี ึกษา ผู้ศึกษาได้ก่าหนดขอบเขตกลมุ้ เป้าหมายและพื้นที่ศึกษา
คือ ชาวบ้านหมบู่ า้ นจา่ รุง อ่าเภอแกลง จงั หวัดระยอง

4

1.4 ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะได้รับ
1.4.1 ทราบระดับความคิดเหน็ ของประชาชนต่อบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคล่ือนโมเดล

ประเทศไทย ๔.๐ หมบู่ า้ นจา่ รงุ อา่ เภอแกลง จงั หวดั ระยอง
1.4.2 นำขอ้ มูลไปเปน็ แนวทำงในกำรปรบั ปรุงกำรดำเนินงำนของชมุ ชนหมู่บำ้ นจำรุง อำเภอ

แกลง จงั หวัดระยอง ใหม้ ีประสทิ ธภิ ำพมำกย่งิ ขนึ้

1.4.3 ทราบแนวทางในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโมเดล
ประเทศไทย 4.0 ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยการประสานพลังประชารฐั มงุ่ สูเ่ ป้าหมาย “ความ
มน่ั คง มงั่ คัง่ และยง่ั ยนื ”

1.5 กรอบแนวคดิ ในกำรศึกษำ

ตวั แปรตน้ ตัวแปรตำม

1. ข้อมูลทัว่ ไป ความคิดเห็นของประชากรต่อบทบำทชุมชนท้องถน่ิ
1.1 เพศ
1.2 อายุ กบั กำรขับเคลอ่ื นโมเดลประเทศไทย ๔.๐
1.3 ศาสนา กรณีศึกษำ หมู่บำ้ นจำรุง อำเภอแกลง
1.4 การศึกษา
1.5 อาชีพ จงั หวัดระยอง
1. ด้ำนสขุ ภำพและสวสั ดกิ ำรชุมชน
2. กำรสอ่ื สำรเพ่อื สรำ้ งกำรรับรู้ 2. ด้ำนวัฒนธรรมพน้ื เมือง กำรพัฒนำทรัพยำกรบุคคล
ควำมเขำ้ ใจ และควำมร่วมมือ และภมู ิปัญญำทอ้ งถนิ่
ในกำรขบั เคล่อื นโมเดล 3. ดำ้ นสภำพแวดลอ้ มปลอดภัย และควำมสงบสุข
ประเทศไทย ๔.๐ ของหม่บู ำ้ น ของชุมชน
จำรุง อำเภอแกลง จงั หวัด 4.ดำ้ นเทคโนโลยที ท่ี ันสมัย มอี ุตสำหกรรม
ระยอง กำรพฒั นำกำรค้ำ และกำรท่องเท่ียว
๕. ด้ำนสิทธิมนษุ ยชน
๖. ด้ำนกำรมีสว่ นรว่ ม และควำมกำ้ วหน้ำ

แนวทำงในกำรสง่ เสรมิ ให้ประชำชน
มสี ว่ นรว่ มในกำรขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย 4.0
- ตำมปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยกำรประสำนพลงั

ประชำรัฐมุ่งส่เู ปำ้ หมำย “ควำมมน่ั คง มัง่ ค่ัง
และย่ังยนื ”

ภำพท่ี 1.1 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา



บทที่ ๒

แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง

ในการวิจัยคร้ังนี้ ผู้ศึกษาได้ทาการค้นคว้าและศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

หลักการ กฎหมาย แนวคิด และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคล่ือนโมเดล

ประเทศไทย 4.0 กรณีศึกษา หมบู่ ้านจารุง อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง รายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

2.1 ทฤษฎีบทบาท
2.2 แนวคดิ เกีย่ วกบั ชุมชน
2.3 แนวคดิ ไทยแลนด์ 4.0
2.4 ขอ้ มลู พน้ื ทศ่ี กึ ษา
2.5 งานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วข้อง

2.1 ทฤษฎบี ทบาท
ทฤษฎีบทบาท (Role Theory) เป็นทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ซึ่งกล่าวถึงพฤติกรรมการแสดงออก

ของบุคคล ครอบครัว บุคคล หรือชุมชนภายในบริบทของชุมชนและวัฒนธรรม บทบาทเป็นแนวคิด
ด้านสังคมวิทยา จิตวิทยา และมานุษยวิทยา สาหรับนามาใช้ในการวิเคราะห์บุคคล ครอบครัว หรือ
กลุ่มชน เน่ืองจากมนุษย์ในสังคมมีการปฏิสัมพันธ์กัน การกาหนดบทบาทจึงเปรียบเสมือนการจัด
ระเบยี บของบุคคลในสังคมที่จะปฏบิ ตั ิตอ่ กัน

สงวน สทุ ธเิ ลิศอรุณ (2525 : 56 - 57) ได้สรปุ ทฤษฎีบทบาทต่อไปน้ี
1) ทฤษฎบี ทบาทของราล์ฟ ลินตนั (Ralp Linton,s Role Theory) ได้กลา่ วว่าตาแหน่งหรอื
สถานภาพเปน็ ผู้กาหนดบทบาท เชน่ บคุ คลท่ีมตี าแหน่งเป็นครูต้องแสดงพฤติกรรมเปน็ ตัวอย่างท่ีดีแก่
ลูกศิษย์
2) ทฤษฎีบทบาทของโฮมันน์ (Homann,s Role Theory) ได้กล่าวว่าบุคคลจะเปลี่ยน
บทบาทไปตามตาแหน่งเสมอ เช่น ตลอดกลางวันแสดงบทบาทสอนหนังสือเพราะมีตาแหน่งเป็นครู
สอนตอนเย็นแสดงบทบาทเรยี นหนังสอื เพราะมตี าแหน่งเปน็ นิสติ ภาคสมทบ เป็นตน้
3) ทฤษฎีบทบาทของพาร์สันซ์ (Parson,s Role Theory) กล่าวไว้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษย์ในสังคมทาให้มนุษย์ต้องเพ่ิมบทบาทของตนเช่น บุคคลที่มีเพื่อนมากก็ต้องแสดงบทบาทมากข้ึน
เป็นเงาตามตวั
4) ทฤษฎีบทบาทของเมอร์ตัน (Merton,s Role Theory) ได้กล่าวไว้ว่า บุคคลแต่ละคน
จะต้องมีตาแหน่งและบทบาทควบคู่กันไปซึ่งไม่เหมือนกัน บทบาทจะมีมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับ
ทกั ษะของสงั คมทเี่ ขาสงั กัดอยตู่ ลอดจนลักษณะของบุคคลในสงั คมนั้น
5) ทฤษฎีบทบาทของกุ๊ด (Good,s Role Theory) กล่าวไว้ว่า บทบาท คือ แบบแผนของ
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของแต่ละบุคคลและบทบาทดังกล่าวควรเป็นไปตามข้อตกลงท่ีมีต่อ
สงั คมนน้ั ๆ


6) ทฤษฎีบทบาทของกัสคิน (Guskin,s Role Theory) ได้กล่าวว่า พฤติกรรมของ
บุคคลแต่ละคน คือ ผลที่ได้จากตาแหน่งทางสังคมของเขาน่ันเองและทฤษฎีบทบาทจัดเป็นข้อตกลง
ประการแรกทสี่ ถาบนั ต่าง ๆ ในสังคมคาดหวงั ว่าบคุ คลท่ีไดร้ ับตาแหนง่ ตา่ ง ๆ ควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรบา้ ง
2.1.1 ความหมายของบทบาท
สุชา จันทน์เอม และสุรางค์ จันทน์เอม (2520 : 46) อธิบายถึงความหมายของ
บทบาทไว้ว่า บทบาทใกล้เคียงกับสถานภาพมาก บทบาทเป็นส่ิงท่ีบุคคลในสถานภาพต่าง ๆ พึงกระทา
น่ันคอื เมอ่ื สงั คมกาหนดสิทธิและหน้าที่ใหส้ ถานภาพใดอย่างไรแล้ว บคุ คลในสถานภาพนั้น ๆ จะต้อง
ประพฤติหรอื ปฏิบัตหิ นา้ ทีท่ ก่ี าหนดไว้
พัทยา สายหู (2516 : 68) ได้อธิบายบทบาทหน้าท่ีไว้ว่า เป็นส่ิงที่ทาให้เกิดความ
เป็นบุคคลและเปรียบได้เสมือน “บท” ของตัวละครท่ีกาหนดให้ผู้แสดงในละครเรื่องน้ัน ๆ เป็นตัว
(ละคร) อะไร มีบทบาทต้องแสดงอย่างไร ถ้าแสดงผิดบทบาทหรือไม่สมบทก็อาจถูกเปล่ียนตัวไม่ให้
แสดงไปเลยในความหมายเช่นน้ี “บทบาท” ก็คือ การกระทาต่างๆ ท่ี “บท” กาหนดไว้ให้ผู้แสดงต้อง
ทาตราบใดทอ่ี ยูใ่ น “บท” นั้น
สุพัตรา สุภาพ (2530 : 30) ได้กล่าวไว้ว่า บทบาท คือ การปฏิบัติตามสิทธิและ
หน้าที่ของสถานภาพ (ตาแหน่ง) ซ่ึงมนุษย์แต่ละคนจะมีหลายบทบาท และแต่ละบทบาทจะมีความ
สมบูรณ์หรือสมดุลกันพอควร นอกจากน้ียังได้กล่าวไว้ว่า บทบาทจะกาหนดความรับผิดชอบของงาน
ตา่ ง ๆ ทปี่ ฏบิ ตั ิ ซ่งึ จะชว่ ยให้บคุ คลมีพฤติกรรมอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
งามพิศ สัตย์สงวน (2537 : 73) ได้ให้ความหมายไว้ว่า บทบาท หมายถึง พฤติกรรม
ทบ่ี ุคคลหน่ึงคาดหวังสาหรับผู้ทอ่ี ยู่ในสถานภาพต่าง ๆ วา่ จะต้องปฏิบัตอิ ย่างไร เป็นบทบาททค่ี าดหวัง
โดยกลุม่ คนหรือสังคม เพอ่ื ทาให้คู่สัมพนั ธ์มีการกระทาระหว่างการทางสังคมได้ รวมทงั้ สามารถคาดการณ์
พฤตกิ รรมทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ได้
จากที่ผู้ศึกษาได้ศึกษาความหมายของบทบาท สามารถสรุปได้ว่าการท่ีคนท่ีมา
อยู่รวมกันหรืออยู่ร่วมกันเป็นชุมชน ย่อมต้องมีข้อตกลง ข้อกาหนด หรือข้อบังคับ เพ่ือให้แต่ละคนถือ
เป็นแนวปฏิบัติ ดังน้ัน บทบาทจึงหมายถึง การปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย หรือที่ได้รับ
การยอมรับจากสังคมหรือที่สังคมคาดหวัง เพื่อให้เกิดผลดีต่อหมู่ชนท่ีอยู่ร่วมกัน สามารถทางานให้
บรรลุวัตถุประสงค์ โดยลดความขัดแย้งหรือไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งข้ึนได้ และเป็นหน้าที่ความ
รับผิดชอบของบุคคล ท่ีบุคคลในสงั คมกาหนดไว้ควบคกู่ ับสถานภาพของบคุ คล ณ ขณะนนั้ ๆ
2.2.2 ประเภทของบทบาท
ผู้ศึกษาได้ศึกษาและรวบรวมเน้ือหาเก่ียวกับประเภทของบทบาท มีรายละเอียด
ดงั ตอ่ ไปน้ี
Lunber, G.A. (1968) ไดจ้ าแนกบทบาททจ่ี าเป็น (Role Requirement) ในระดับ
โครงสรา้ งของสงั คมออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1. บทบาทตามบทบัญญตั ิ (Role Prescription) เป็นบทบาททก่ี าหนดขึน้ โดยกฎหมาย
ที่เปน็ ทางการ (Format Laws) ขอ้ บังคับและระเบียบต่าง ๆ ซงึ่ โดยปกติจะเขียนเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร
และมกี ารบังคับใช้โดยการให้รางวลั หรอื ลงโทษอย่างเปน็ ทางการ
2. บทบาทท่ีคาดหวัง (Role Expectation) เปน็ บทบาทที่กาหนดขน้ึ โดยหลกั เกณฑ์
ทไ่ี มเ่ ปน็ ทางการ (Informal Code) จากมารยาทหรือขนบธรรมเนยี มประเพณี โดยมากจะไม่มีการเขียน
เป็นลายลักษณอ์ กั ษรหรอื มีการบงั คับใช้เป็นทางการ เชน่ การยกย่องให้เกยี รติ การไม่คบคา้ สมาคมด้วย ฯลฯ



Robbins, S.P. (1996) เสนอว่า หากพิจารณาบทบาทต่าง ๆ ของบุคคลที่มีอยู่ใน
กลมุ่ สงั คมจะพบว่าบทบาทสามารถจาแนกเปน็ ลกั ษณะตา่ งๆ ไดด้ งั น้ี

1. บทบาทเฉพาะสถานะ (Role Identity) เป็นทัศนคติท่ีชัดเจนและการแสดง
พฤติกรรมที่คงเส้นคงวาของบุคคลในบทบาทใดบทบาทหน่ึง บุคคลโดยทั่วไปสามารถเปลี่ยนบทบาท
ได้อย่างทันทีทันใดเม่ือรับรู้ว่าสถานการณ์และความต้องการขณะน้ีเปลี่ยนแปลงไป ทาให้เขาต้อง
เปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมไป และถ้าเปล่ียนทัศนคติและพฤติกรรมไม่ได้ และมีแนวโน้มว่ายังคง
แสดงบทบาทเดิมคือผู้สอนอยู่จะทาให้เกิดปัญหาและเกิดความขัดแย้งกบั ความเป็นจรงิ ตามบทบาทใหม่

2. บทบาทท่ีรับรู้ (Role Perception) เป็นทัศนะของบุคคลที่เข้าใจหรือเชื่อว่าเขา
ควรจะทาอะไร แค่ไหน อย่างไรในสถานการณ์นั้น บทบาทท่ีรับรู้ข้ึนอยู่กับการตีความ (Interpretation)
ตามความเชือ่ และความเขา้ ใจของบุคคลที่มีต่อพฤติกรรมและประเภทของพฤติกรรม

3. บทบาทที่คาดหวัง (Role Expectation) เป็นความเช่ือของบุคคลอ่ืนที่เช่ือว่าผู้ท่ี
ดารงตาแหน่งหรือสถานภาพน้ัน ๆ ควรปฏิบัติอะไร อย่างไร แค่ไหนภายใต้สถานการณ์หนึ่ง ๆ โดยที่
พฤติกรรมที่คาดหวังจะถูกกาหนดข้ึนโดยการประเมินจากบริบทของบทบาทท่ีบุคคลดารงอยู่บทบาท
ทีค่ าดหวังเปน็ ผลรวมของความเช่ือของบคุ คลในสังคม จนกลายเปน็ กฎเกณฑท์ ่วั ไปของสงั คม

4. บทบาทท่ีขัดแย้ง (Role Conflict) เป็นสถานการณ์ท่ีบุคคลเผชิญกับบทบาท
ที่คาดหวังท่ีหลากหลายในเวลาเดียวกัน และการปฏิบัติบทบาทหนึ่งอาจไปขัดแย้งกับอีกบทบาทหน่ึง
ก็ได้ยกตัวอย่างเช่น บทบาทความเป็นครูกับบทบาทของความเป็นแม่ ถ้าให้ลูกสอบตกก็ถูกหาว่าไม่รัก
ลกู ก็จะเสยี บทบาทของความเปน็ แม่ไป แต่ถา้ ให้ลูกสอบไดก้ จ็ ะเสยี บทบาทของความเป็นครู เปน็ ตน้

เดโช สวนานนท์ (2518 : 104) สรุปไดว้ ่าบทบาทจะต้องประกอบด้วยลักษณะ 4
ประการ ดงั ต่อไปน้ี

1) รูส้ ภาพของตนในสังคม
2) คานึงถึงพฤติกรรมท่ีเกยี่ วข้องกับผู้อ่ืน
3) คานึงถงึ พฤติกรรมทเ่ี กี่ยวกับผอู้ ื่น
4) ประเมินผลการแสดงบทบาทของตนเอง
จานงค์ อดิวฒั นสทิ ธิ์ และคณะ (2540) ไดจ้ ดั ประเภทของบทบาทเป็น 3 ดา้ น ดังน้ี
1. บทบาทในอุดมคติ (Ideal Role) ได้แก่ บทบาทท่ีกาหนดไว้เป็นกฎหมาย หรือ
ตามความคาดหวังของบุคคลท่ัวไปในสังคม (Expected Role) เป็นแบบฉบับของบทบาทท่ีสมบูรณ์
ซ่ึงผู้ท่ีมีสถานภาพหน่ึง ๆ ควรกระทาแต่บางคร้ังอาจไม่มีใครกระทาตามน้ันได้ อาทิ สังคมคาดหวังว่า
ผู้บริหารสถานศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่หรือแสดงบทบาทนักประชาสัมพันธ์ จะต้องมีทักษะ ในการสื่อ
ความหมาย รู้จักวิธีสร้างภาพพจน์ท่ีดีให้เกิดขึ้นแก่สถานศึกษา รู้จักและเข้าใจวิธีการเผยแพร่ข่าวสาร
ด้วยสื่อและวิธกี ารตา่ งๆ แตผ่ ูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาบางคน อาจจะไมเ่ คยแสดงบทบาทนเ้ี ลยก็ได้
2. บทบาทท่ีบุคคลเข้าใจหรือรับรู้ (Perceived Role) ได้แก่ บทบาทที่ขึ้นอยู่กับ
บุคคลน้ัน ๆ จะคาดคิดด้วยตนเอง ทั้งน้ีย่อมเก่ียวกับทัศนคติ ค่านิยม หรือบุคลิกภาพ และ
ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล เช่น ผู้บริหารสถานศึกษาเขา้ ใจว่าตนเองควรแสดงบทบาท การบรหิ าร
วิชาการของสถานศึกษา ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจึงให้นโยบายเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน
ของสถานศกึ ษาวา่ ตอ้ งยึดผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ เป็นต้น



3. บทบาทท่ีแสดงออกจริง (Actual Role หรือ Enacted Role) ได้แก่ การกระทา
ที่บคุ คลปฏิบตั จิ ริง ซึ่งยอ่ มข้นึ อยู่กบั สถานการณเ์ ฉพาะหน้าในขณะนั้นดว้ ย ซงึ่ อาจเปน็ สภาพแวดล้อม
ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมทางสังคม อาทิ จากแรงกดดันต่าง ๆ มีอิทธิพลต่อ การบทบาท
ที่แสดงออกจริงของบุคคล ดังนั้นบทบาทท่ีแสดงออกจริงจึงอาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับ
บทบาทในอุดมคติ หรือบทบาทท่ีบุคคลเข้าใจหรือรับรู้ก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น ผู้บริหารสถานศึกษารับรู้
ตนเองว่าต้องทาการบรหิ ารบุคคลดว้ ยความโปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบได้ แต่ในทางปฏิบัตบิ างคร้ัง
ถกู แรงกดดนั จากนกั การเมอื งท้องถิ่นทาใหไ้ ม่สามารถทาไดต้ ามหลักการบริหารบุคคล เป็นตน้

อัลพอร์ท (Allport. 1930 : 122 ; อ้างถึงใน สุภา สกุลเงิน. 2545 : 15 - 16)
ได้ให้แนวคิดอันเกี่ยวกับของบทบาทดังน้ี การแสดงบทบาทของบุคคลข้ึนอยู่กับปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง
ต่อไปน้ี

1) บทบาทที่สังคมคาดหวัง (Role Expectation) หมายถึง บทบาทที่สังคมคาดหวงั
ให้บุคคลปฏิบัตติ ามความคาดหวังทก่ี าหนดโดยสังคมและสถานภาพทบ่ี คุ คลนั้นครองอยู่

2) การรับรู้บทบาท (Role Conception) หมายถึง การท่ีบุคคลรับรู้ในบทบาทของ
ตนเองว่าควรจะมีบทบาทอย่างไร และสามารถจะมองเห็นบทบาทของตนเองได้ตามการรับเน้น
ซึ่งเก่ียวข้องสัมพันธ์กับความต้องการของบุคคลนั้นเอง โดยท่ีการรับรู้ในบทบาทและความต้องการ
ของบุคคลก็ข้ึนอยู่กับลักษณะฐานส่วนบุคคล ตลอดจนเป้าหมายในชีวิตและค่านิยมของบุคคลท่ีสวม
บทบาทนน้ั

3) การยอมรับรู้บทบาท (Role Conception) จะเกิดขึ้นเม่ือความสอดคล้องของ
บทบาทตามความคาดหวังของสังคมและบทบาทที่ตนรับอยู่ การได้ยอมรับบทบาทเป็นเรื่องเกี่ยวกับ
ความเข้าใจในบทบาทและการสื่อสารระหว่างสังคมและบุคคลนั้น ท้ังนี้เพราะบุคคลจะไม่ได้ยินดียอมรับ
บทบาทเสมอไป แม้ว่าจะได้รับการคิดเลือกหรือถูกแรงผลักดันจากสังคมให้รบั ตาแหน่งและมีบทบาท
หน้าท่ีปฏิบตั ติ าม เพราะถา้ หากบทบาททไ่ี ด้รับน้ันทาให้ไดร้ บั ผลเสียหายหรือเสียประโยชน์ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งถ้าขัดแย้งกับความต้องการ หรือค่านิยมของบุคคลน้ันผู้ครองตาแหน่งอยู่กลับพยายาม
หลีกเลี่ยงบทบาทนน้ั ไมย่ อมรับบทบาทนน้ั ๆ

4) การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของบุคคล (Role Performance) เป็นบทบาทของ
ข้าวของสถานภาพที่แสดงออกจริง (Actual Role) ซ่ึงอาจเป็นการแสดงบทบาทตามที่สังคมคาดหวัง
หรอื เปน็ การแสดงบทบาทตามการรบั รู้และตามความคาดหวังของตนเอง การทีบ่ คุ คลใดจะปฏิบัติตาม
บทบาทหน้าท่ีได้ดีเพียงใดนั้น ข้ึนอยู่กับระดับการยอมรับบทบาทน้ัน ๆ ของบุคคลที่ได้ครองตาแหน่ง
น้ันอยู่เนื่องจากความสอดคล้องกับบทบาทตามความคาดหวังของสังคมและการรับรู้บทบาทของ
ตนเอง

Bloom and Seiznick (2546) กล่าวว่า บทบาท หรือท่ีบางครั้งเรียกว่า บทบาท
ทางสังคม (Social Role) เป็นหน่วยพ้ืนฐานในโครงสร้างสังคม บทบาทเป็นแบบแผนพฤติกรรมของ
ตาแหน่งทางสังคม (Social Position) อาทิ ตาแหน่งพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา เป็นต้น
บทบาทพิจารณาได้ใน 2 ลักษณะ คือ

1. บทบาทในอุดมคติ (Ideal Role) เป็นบทบาทท่ีมีการกาหนดสิทธิและหน้าท่ีของ
ตาแหน่งทางสังคมไว้ เพื่อแสดงให้ทราบว่าบุคคลทั่วไปคาดหวังอะไรจากบทบาทเหล่าน้ัน ใครคือ ผู้ที่
มภี าระหน้าทผ่ี ูกพนั ตามบทบาทนนั้ และใครคอื ผู้ทีม่ ีสทิ ธเิ รียกร้องความชอบธรรมจากบทบาทน้นั



2. บทบาทที่เป็นจริง (Actual Role) เป็นพฤติกรรมท่ีแสดงออกจริงโดยได้รับ
อิทธิพลจากสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คมลกั ษณะใดลกั ษณะหน่ึงเสมอ เชน่ เดียวกบั บคุ ลิกภาพของบุคคล อาทิ
อิทธิพลจากการขัดเกลาทางสังคม การรับรู้ถึงความคาดหวงั ของสังคม เป็นต้น ความแตกต่างระหว่าง
บทบาทในอุดมคติและบทบาทที่เป็นจริงจะไม่เกิดข้ึนในกรณีของบทบาทท่ีไม่เป็นทางการ หรือ
บทบาทที่ปรากฏข้ึนช่ัวคราว ท้ังน้ีเพราะไม่มีบทบาทในอุดมคติหรือไม่มีการกาหนด ความคาดหวังท่ี
ชดั เจนต่อบทบาทเหลา่ น้นั

จากที่ผู้ศึกษาได้ศึกษาในเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาท จึงขอสรุปประเภท
บทบาทบคุ คลทจ่ี ะนาไปประยกุ ตใ์ นการศกึ ษาครง้ั น้ี ออกเป็น 5 ลักษณะ ดงั นี้

1. บทบาทตามบทบัญญัติ (Role Prescription) ท่เี ป็นข้อกาหนดและภาระงานตาม
กฎระเบียบ หรือนโยบายที่เขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างเป็นทางการ ซึ่งบุคคลเม่ือดารงบทบาท
ใดบทบาทหน่ึงจาตอ้ งดาเนนิ ตามบทบาททกี่ าหนด

2. บทบาทในอุดมคติ (Ideal Role) เป็นบทบาทท่ีกาหนดขึ้นโดยหลักเกณฑ์ท่ีไม่
เป็นทางการ จากมารยาท ขนบธรรมเนียม ประเพณี เป็นการกาหนดสิทธิและหน้าท่ีของตาแหน่งหน่ึง ๆ
ทางสังคมให้บุคคลยึดถือปฏิบัติท้ังที่เขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่มีการเขียนไว้เป็นลายลักษณ์
อกั ษร รวมไปถึงความคาดหวงั ของบุคคลต่าง ๆ ในสังคม เพ่อื แสดงว่าสังคมต้องการและคาดหวงั อะไร
จากบทบาทเหล่าน้ัน และใครคือผู้มีภาระหน้าที่ผูกพันกับบทบาทน้ัน และใครคือผู้มีสิทธิเรียกร้อง
ความชอบธรรมจากบทบาทเหล่าน้ัน จึงอาจกล่าวได้ว่า บทบาทในอุดมคติจึงเป็นองค์รวมหรือมีท่ีมา
จากบทบาทตามบทบญั ญัติบทบาททีค่ าดหวงั

3. บทบาทที่แสดงออกจริง (Actual Role) หรือได้มีการปฏิบัติเป็นพฤติกรรมท่ี
บคุ คลประพฤติปฏบิ ัติหรือกระทาจริง โดยได้รับอทิ ธิพลจากสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพ ทางสงั คม
จากคุณลักษณะส่วนบุคคล ซ่ึงการแสดงออกจะมากหรือน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการรับรู้ และการ
ยอมรับในบทบาทน้ันๆ ซึ่งอาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับบทบาทในอุดมคติ หรือบทบาทท่ี
บคุ คลคาดหวังกไ็ ด้

4. บทบาทท่ีบุคคลรับรู้และเข้าใจ (Perception Role) เป็นบทบาทในระดับปัจเจก
บุคคล เป็นความเข้าใจหรือเป็นทัศนะของบุคคลท่ีเช่ือว่า ตนเองควรมีบทบาทอย่างไร แค่ไหน
ในสถานการณ์หน่ึงโดยบุคคลแตล่ ะคนจะรับรแู้ ละคาดหวังในบทบาทของตนเองมากนอ้ ยเทา่ ใด ขึ้นอยู่
กับลักษณะทางกายภาพ เป้าหมายของชีวิต ค่านิยม และประสบการณ์ของบุคคล และการรับรู้
ในบทบาทของบุคคลอาจสอดคล้องกับความคาดหวังของสังคม หรือขัดแย้งกับความคาดหวังท้ังของ
ตนเองหรอื สังคมกเ็ ป็นได

5. บทบาทที่สังคมคาดหวัง (Role Expectation) เป็นบทบาทที่สังคมคาดหวังให้
บุคคลปฏิบัติตามความคาดหวังท่ีกาหนดโดยสังคมและสถานภาพท่ีบุคคลน้ันครองอยู่ โดยมีความรู้
สภาพของตนในสังคม คานึงถึงพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้อ่ืน คานึงถึงพฤติกรรมที่เกี่ยวกับผู้อ่ืน และ
มีการประเมินผลการแสดงบทบาทของตนเองเพื่อให้มีการพัฒนาที่ดีข้ึนเพ่ือบรรลุเป้าหมายความ
คาดหวงั ของสังคม

๑๐

2.2 แนวคดิ เก่ียวกับชุมชน
มนุษย์เป็นสตั วส์ ังคมทีจ่ ะต้องอยู่รวมกับผู้อื่นจึงจะมชี วี ิตรอด การทจ่ี ะต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่มน้ัน

ทาให้เกิดกลุ่มข้ึนหลายกลุ่มท่ีมีทั้งความขัดแย้งและสอดคล้องกันในเวลาปะทะสังสรรค์กัน
ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ซึ่งลักษณะการรวมกลุ่มที่มีทั้งปรองดองและขัดแย้งกัน
เช่นนี้ คือ ส่ิงที่เรียกว่าสังคม และทุกสิ่งทุกอย่างท่ีสร้างขึ้นเพ่ือการอยู่ร่วมกันเพ่ือการมีชีวิตรอด คือ
ส่ิงท่ีเรียกว่า วัฒนธรรม ในแต่ละท้องถิ่นย่อมมีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น วัฒนธรรมของ
ท้องถ่ินหน่ึง ๆ ย่อมมีลักษณะพิเศษเฉพาะซ่ึงดารงความเป็นท้องถ่ินน้ัน ๆ ไว้ เพราะท้องถิ่นใดก็ตาม
หากสญู เสียวฒั นธรรมของตนก็คอื การสญู เสยี เอกลักษณแ์ ละสภาพแหง่ วิถชี วี ติ ของตนไป ท้ังสงั คมและ
วัฒนธรรมมนุษย์ต่างมีวิวัฒนาการ (Evolution) คือ การเติบโตเปลี่ยนแปลงจากกลุ่มเล็ก ๆ มาเป็น
กลุ่มใหญ่ จากครอบครัวมาเป็นชุมชน หมู่บ้าน เมือง รัฐ และประเทศ ตามลาดับ (อัจฉรา ภาณุรัตน์,
2549)

2.2.1 ความหมาย
พจนานุกรมศัพทส์ ังคมวิทยาฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2524 (ราชบณั ฑติ ยสถาน,

2524) ให้ความหมายว่าคาวา่ ชมุ ชน คือ หมู่ชน กลุม่ คนที่อยรู่ วมกนั เป็นสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยู่ใน
อาณาบริเวณเดียวกัน และมผี ลประโยชน์รว่ มกนั

สนธยา พลศรี (2545 : 22) ให้ความหมายของชุมชนว่า “ชุมชน” หมายถึง
กลุ่มทางสังคมท่ีอยู่อาศัยร่วมกันในอาณาบริเวณเดียวกัน เช่น ครอบครัว ละแวกบ้าน หมู่บ้าน ตาบล
หรือเรียก เป็นอย่างอ่ืนมีความเกี่ยวข้องกันสัมพันธ์กัน มีการติดต่อสื่อสารและเรียนรู้ร่วมกัน มีความ
ผูกพัน เอื้ออาทรกันภายใต้บรรทัดฐานและวัฒนธรรมเดียวกันร่วมมือและพ่ึงพาอาศัยกันเพ่ือบรรลุ
วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายร่วมกนั

ประเวศ วะสี (2546) ได้อธบิ ายความเปน็ ชมุ ชนว่า ชุมชน หมายถึง การท่คี นจนคน
หน่ึงมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีการติดต่อสื่อสารหรือรวมกลุ่มกัน มีความเอ้ืออาทรต่อกัน มีการเรียนรู้
ร่วมกนั ในการกระทา มกี ารจดั การเพือ่ ให้เกิดความสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์

ยุวัฒน์ วุฒิเมธี (2525 : 3) ให้ความหมายว่า พื้นที่อันเป็นท่ีอยู่อาศัยของคนและ
หมายความถึง กลุ่มของประชาชนที่อยู่ในพื้นท่ีนั้น โดยมีความสนใจวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และจุดหมาย
ในการท่ีจะอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ

สัญญา สัญญาววิ ัฒน์ (2525 : 6) ใหค้ วามหมายไว้วา่ ชมุ ชน หมายถงึ องค์การทาง
สังคมอย่างหนึ่งที่มีอาณาเขตครอบคลุมท้องถ่ินหนึ่ง และมวลสมาชิกสามารถบรรลุถึงความต้องการ
พืน้ ฐานสว่ นใหญไ่ ด้ และสามารถแกไ้ ขปญั หาส่วนใหญ่ของชมุ ชนเองได้

กรมการพัฒนาชุมชน (2526 : 77) ให้ความหมายว่า ชุมชน หมายถงึ กลุม่ คนท่มี ี
ความคิดเห็นไปในแนวทางเดียวกัน และสามารถดาเนินงานกิจกรรมใด ๆ เพื่อประโยชนร์ ว่ มกนั ได้

จากความหมายต่าง ๆ ดังที่ได้กล่าวมาน้ัน ผู้ศึกษาสามารถจะสรุปได้ว่า ชุมชน
หมายถึง กลุ่มคนที่มีพฤติกรรมทางสังคมและวิถีชีวิตที่ต้องพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน เป็นกลุ่มคน
ท่ีอยู่รวมกันเป็นสังคมขนาดเลก็ อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณเดียวกัน มีการติดต่อส่ือสารและปฏิสัมพันธ์
ต่อกัน ทากิจกรรมร่วมกัน มีการร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีเป้าหมายและผลประโยชน์ร่วมกัน
มีระเบียบสังคมอย่างเดียวกัน มีระบบการจัดการและการแก้ไขปัญหาร่วมกันอันก่อให้เกิดการ
เปล่ยี นแปลงหรอื การพัฒนาภายในชมุ ชนตลอดจนมผี ลกระทบสูภ่ ายนอกชุมชนท่ดี ีข้ึน ตามลาดบั

๑๑

2.2.2 ลกั ษณะของชุมชน
แบ่งตามลกั ษณะของชุมชนที่สาคัญ ดงั ต่อไปนี้ (สนธยา พลศรี, 2547)
1. เป็นการร่วมกันของกลุ่มคน (Group of People) ในรูปของกลุ่มสังคม กล่าวคือ

สมาชิกมีการปฏบิ ัติต่อกนั ทางสังคม หรอื มปี ฏกิ ริ ิยาโต้ตอบต่อกันทางสงั คม เออื้ อาทรต่อกันและพึ่งพา
อาศยั ซ่ึงกนั และกัน

2. สมาชิกของชุมมีลักษณะทางประชากรศาสตร์ เช่น โครงสร้างของประชากร
ประกอบด้วยเพศ อายุ อตั ราการเกดิ อัตราการตาย การอพยพโยกย้ายถิ่นฐาน เป็นตน้

3. มีอาณาบริเวณ (Area) สาหรับเป็นท่ีอยู่อาศัย หรือเป็นที่ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ
ของสมาชิกและกลุ่มสังคม ส่วนขนาดของชุมชนอาจมีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ โดยข้ึนอยู่กับ
จานวนของสมาชิกในกล่มุ สังคมและขนาดของอาณาบริเวณเป็นสาคัญ เชน่ เผ่าชน ครอบครวั ละแวก
บา้ นหมู่บา้ น ตาบล ไปจนถงึ ประเทศและโลก

4. มีลักษณะเป็นการจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization) เพ่ือควบคุม
ความสมั พนั ธ์ของสมาชิกในชุมชน เชน่ บรรทัดฐานทางสังคม สถาบนั ทางสังคม และวฒั นธรรมท่ีมีอยู่
ในชุมชน

5. สมาชิกมีความสมั พันธ์ทางสงั คม (Social Relationship) คอื มีการติดต่อสมั พันธ์
กั น มี ค ว า ม ส น ใ จ ท า ง สั ง ค ม ร่ ว ม กั น มี กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ร่ ว ม กั น มี ค ว า ม ส นิ ท ส น ม กั น
มีความสัมพันธ์แบบพบปะกันโดยตรง ซ่ึงจะนาไปสู่การใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ร่วมกัน ไม่ใช่ต่างคนต่างอยู่
หรือแบบตวั ใครตวั มนั

6. สมาชิกมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการดาเนนิ ชีวิตร่วมกนั
7. สมาชกิ ไดร้ ับผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้นในชมุ ชนรว่ มกนั
8. สมาชิกมีระบบการติดต่อสื่อสารและการเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือทาให้มีความเข้าใจ
ในส่งิ ต่าง ๆ ร่วมกัน และทาให้ลกั ษณะในขอ้ 1-7 ดารงอยู่ร่วมกนั ไดอ้ งค์ประกอบของชุมชน
2.2.3 องค์ประกอบของชุมชน
ถกู แบ่งออกเป็น 3 ประการ คอื (ไพรัตน์ เดชะรนิ ทร์, 2544)
1. องค์ประกอบด้านมนุษย์ (Human Component) เป็นองค์ประกอบที่มีบทบาท
สาคัญย่ิงในชุมชน จากวิวัฒนาการของมนุษย์ เป็นต้นมาจนถึงวันน้ี มนุษย์ชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
หรือนอกจากจาเป็นต้องรวมกันเป็นกลุ่ม สรุปได้ว่า ในทุกชุมชนไม่มีใครเลยถูกทอดทิ้งอยู่คนเดียว
โดยไม่มกี ารไปมาหาสตู่ ดิ ต่อกับบุคคลอ่นื ในชมุ ชนน้นั การอยรู่ วมกนั เปน็ กลุ่มมหี ลากหลายลกั ษณะและ
หลายรูปแบบ เช่น ครอบครัว กลุ่มพ่อค้า เป็นต้น คือ มีท้ังกลุ่มท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
ตลอดจนกลุ่มที่เรียกว่า กลุ่มปฐมภูมิ และกลุ่มทุติยภูมิ ความจาเป็นท่ีมนุษย์จาเป็นต้องอยูร่ ่วมกนั เปน็
กลุ่ม หรือต้องมีความสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืนหรือกลุ่มอ่ืน ก็เนื่องจากการทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
ร่วมกัน และคนท่ีเป็นสมาชิกของกลุ่มใด ๆ ก็ตามย่อมมีความสัมพันธ์ต่อสมาชิกในกลุ่มเดียวกันหรือ
กับกลุ่มอื่น ๆ อีกเป็นลูกโซ่เกี่ยวพันกันไปส่ิงเหล่าน้ีเป็นส่วนประกอบที่สาคัญขององค์ประกอบด้าน
มนษุ ย์
2. องคป์ ระกอบด้านส่ิงท่ีมนุษยค์ ิดคน้ ประดิษฐ์ขึ้น (Man-made Component) ส่งิ ท่ี
มนุษย์คิดค้นประดิษฐ์ข้ึนมีหลากหลายลักษณะ ท้ังที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมและได้นาไปใช้ใน
ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองอานวยความสะดวก หรือส่ิงจาเป็นในการดารงชีวิต เช่น วิทยุ โทรทัศน์

๑๒

ตู้เยน็ พัดลม อาหาร เคร่อื งน่งุ หม่ ที่อยู่อาศยั เคร่อื งทุ่นแรง รถยนต์ นอกจากสงิ่ ทเี่ ป็นวัตถุแลว้ มนุษย์
ยังสร้างแนวความคิด ปรัชญา ค่านิยม ความเชื่อ ความรู้ต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็นส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้น
ทั้งนั้น องค์ประกอบเหล่าน้ีแตกต่างกันไปในแต่ละชุมชน ซึ่งมีสภาพและระดับต่างกัน การประดิษฐ์
คิดค้นของมนุษย์ไม่มีที่สิ้นสุด และสืบต่อกันไปตลอดเวลา สิ่งท้ังหลายที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมาน้ีจะมี
ความสมั พนั ธก์ นั ต่อกนั ในแตล่ ะชนิดของมนั เอง ความสมั พนั ธ์เหลา่ นค้ี ลา้ ย ๆ กบั ลกู โซ่ท่ตี อ่ กันเป็นช่วง
ๆ อันเป็นการแสดงถึงความสัมพันธ์ภายในองค์ประกอบของสิ่งที่มนุษย์คิดค้นขึ้น เช่น สร้างรถยนต์
ข้ึนมากน็ าไปวง่ิ บนถนนทีส่ รา้ งขึ้นมา และอาจะทาใหเ้ กิดฝ่นุ ปลวิ ไปสรา้ งความเดอื ดรอ้ นให้กบั ชาวบ้าน
หรอื สามารถทจี่ ะขนผลผลติ พวกพชื ผกั ผลไมไ้ ปขายในตลาดไดเ้ ร็วข้นึ เป็นตน้

3. องคป์ ระกอบด้านสิง่ ทธ่ี รรมชาติสร้างขึ้น (Natural Component) สิง่ ท่ีธรรมชาติ
สร้างขึ้นมาหมายรวมทุกอย่าง ท่ีเกี่ยวข้องกับพืช สัตว์ ทรัพยากรธรรมชาติท้ังหลาย ซึ่งทุกชุมชนจะมี
ส่งิ ท่ธี รรมชาตสิ รา้ งข้ึนเป็นสว่ นประกอบอยู่ท้ังน้นั สงิ่ ต่าง ๆ แต่ละชนิดในชมุ ชนทธ่ี รรมชาติสร้างขึ้นจะ
มีความสัมพันธ์ต่อกันเหมือนองค์ประกอบที่กล่าวมาแล้วทั้ง 2 ประเภท เช่น สภาพอากาศที่แห้งแล้ง
จะทาใหด้ ินแตกระแหงและไม่มนี ้าเพยี งพอสาหรบั การเจริญเติบโตของพชื ผลท้งั หลาย เปน็ ตน้

องค์ประกอบของชุมชนทั้ง 3 ประการ จะมีความสัมพันธ์และมีการปฏิบัติต่อกัน
องค์ประกอบที่อยู่ภายในชุมชนหนึ่ง ๆ เริ่มจากองค์ประกอบด้านมนุษย์ นอกจากจะมีความสัมพันธ์
และปฏบิ ัตติ ่อกันแล้ว ยงั จะตอ้ งมคี วามสัมพนั ธต์ ่อสิ่งทธี่ รรมชาติสร้างข้นึ ด้วย เชน่ มนษุ ย์รว่ มมอื กันไป
ช่วยกันตัดไม้ในป่า แล้วนามาสร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัย เป็นต้น อนึ่ง ในการจาแนกองค์ประกอบของ
ชุมชนเป็น 3 ประการ ดังได้กล่าวมาแล้วนั้นได้ มีนักวิชาการผู้ปฏิบัติงานเก่ียวกับการพัฒนาชุมชน
ในภาคสนาม นาไปใช้เป็นแนวทางจาแนกองค์ประกอบชุมชน โดยเฉพาะชุมชนในระดับหมู่บ้าน ว่ามี
องคป์ ระกอบ 3 ประการ คอื “คน สิ่งแวดลอ้ ม และสถานการณ์” โดยมีคาอธิบายประกอบดังน้ี (ศนู ย์
ช่วยเหลอื ทางวชิ าการพัฒนาชมุ ชนเขตที่ 3, 2535 : 4)

1. คน เป็นองค์ประกอบสาคัญของชุมชน และเป็นเป้าหมายสาคัญท่ีต้องได้รับ
การพัฒนาก่อนส่ิงอ่ืน ๆ ถ้าเราสามารถพัฒนาคนในชุมชนได้แล้ว การพัฒนาด้านอื่น ๆ ก็จะเกิด
ผลสาเร็จตามมา แต่ถ้าเราไม่สามารถพัฒนาคนได้แล้ว การพัฒนาด้านอ่ืน ๆ ก็จะประสบกับ
ความล้มเหลวโดยส้ินเชิง ดังน้ัน ในการพัฒนาชุมชนจึงเป็นหลักการพัฒนาคนเป็นส่ิงสาคัญ กลุ่มคน
ควรได้รับการพัฒนาในชุมชนมีหลายกลุ่ม เช่น เด็กเล็ก เยาวชน สตรี ผู้นาท้องถิ่นและกลุ่มผู้นากลุ่ม
ตา่ ง ๆ รวมท้ังประชาชนทุกเพศทุกวัย ทมี่ ปี ญั หาในการดารงชวี ิตด้านตา่ ง ๆ

2. สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบ ๆ ตัวคน ซ่ึงมีผลกระทบต่อ
การดารงชีวิตประจาวัน เป็นส่ิงทีมีอยู่ตามธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ส่ิงแวดล้อม
เหล่านี้จะเป็นสมบัติร่วมกันของชุมชน เช่น ถนน สะพาน ป่าไม้ แหล่งน้า วัด โรงเรียน ศูนย์พัฒนา
หมูบ่ ้าน สถานอี นามยั ทส่ี าธารณะ ตลอดจนสิง่ ทเ่ี ปน็ โครงสร้างพื้นฐานเพ่ือการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของ
ชุมชนสิง่ แวดล้อมมีความสัมพันธ์กบั ตัวคนมาก เพราะถา้ ส่งิ แวดลอ้ มไมด่ ี ความเปน็ อย่ขู องคนในชุมชน
กจ็ ะเกดิ ความลาบากตามไปด้วย

3. สถานการณ์ หมายถึง เหตุการณ์หรือความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ในชุมชนอันเป็นผล
มาจากการติดต่อพบปะสังสรรค์กันระหว่างคนในชุมชน ทั้งแบบท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการถ้า
การติดต่อพบปะสังสรรค์กันระหว่างคนเป็นไปในแนวทางท่ีดี สถานการณ์ก็จะดี แต่ถ้าการติดต่อ

๑๓

พบปะกันระหว่างคนเปน็ ไปในทางลบ เช่น การชงิ ดชี งิ เด่น การแก่งแยง่ ผลประโยชน์ ขาดความรว่ มมือ
สามัคคี สถานการณ์ในปัจจุบันก็จะเลวร้ายลงไปดว้ ย

2.2.4 ประเภทของชุมชน
ประเภทของชุมชนแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ (สมศักด์ิ ศรีสันติสุข, 2537) แบ่ง

ตามลักษณะการปกครอง (Administrative Unit) สามารถแบ่งชุมชนได้เป็น 6 ชุมชน โดยพิจารณา
จากลักษณะการปกครองไทย ตามพระราชบัญญตั ิการปกครองทอ้ งที่ พ.ศ. 2475 กล่าวคือ

1. ชุมชนหมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านซ่ึงประกอบด้วยบ้านหลายบ้านในท้องท่ีเดยี วกนั
โดยจัดอยู่ในความปกครองอันเดียวกันเป็นหมู่บ้านหนึ่ง ถ้าหากคนท่ีอยู่รวมกันมาก แต่จานวนบ้าน
น้อยให้ถือเอาจานวนคนเป็นสาคัญ คือ ประมาณ 200 คน ก็จัดต้ังเป็นหมู่บ้านได้ แต่ถ้าเป็นคนที่ต้ัง
บ้านเรอื นห่างไกลกัน แตจ่ านวนคนนอ้ ย อย่างน้อยการต้งั เปน็ หมบู่ ้านกค็ วรไม่ตา่ กวา่ 5 บ้าน โดยปกติ
แลว้ ชุมชนหมู่บา้ นมกั จะเป็นชุมชนที่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม

2. ชุมชนเขตสุขาภิบาล หมายถึง ชุมชนใดท่ีมีความเหมาะสมท่ีจะตั้งเป็นเขต
สุขาภิบาลโดยคานึงถึงเน้ือท่ีของเขต มีขนาดประมาณ 1 – 4 ตารางกิโลเมตร ควรมีร้านค้าประมาณ
อย่างน้อย 10 ร้าน และประชาชนในเขตมีอย่างน้อยประมาณ 1,500 คน ก็สามารถต้ังหมู่บ้าน
สุขาภบิ าลปกครองได้ หนึ่งชุมชน เขตสขุ าภิบาลนี้ มักจะอยใู่ นเขตตาบล และเขตอาเภอ สาหรับตาบล
น้ันหมายถึง หลายหมู่บ้านรวมกัน 20 หมู่บ้าน ก็สามารถจัดตั้งเป็นตาบล หรือมีพลเมืองประมาณ
2,000 คนขึ้นไป อนึ่ง ชุมชนเขตสุขาภิบาล มักเป็น ชุมชนที่ต้ังอยู่ในอาเภอ และเป็นศูนย์บริการ
การค้าการปกครอง และการเกษตรดว้ ย

3. ชุมชนเขตเทศบาลตาบล หมายถึง ชุมชนเขตสุขาภบิ าลที่มคี วามเจรญิ และมีความ
หนาแน่น ยกฐานะจากสุขาภิบาลมาเป็นเทศบาล โดยการจัดสาธารณูปโภคมากขึ้น และการปกครอง
ตนเองมากยิ่งขน้ึ ลักษณะของชุมชนเขตเทศบาลตาบล เป็นชุมชนทใี่ หญ่ และมกั จะอยใู่ นเขตอาเภอ

4. ชุมชนเขตเทศบาลเมือง หมายถึง ชุมชนที่มีราษฎรในท้องที่ต้ังแต่ 10,000 คน
ข้ึนไปโดยคิดเฉลี่ยความหนาแน่นของราษฎรไม่ต่ากว่า 3,000 คน ต่อ 1 ตารางกิโลเมตร โดยมาก
ชุมชนเขตเทศบาลเมือง มักจะต้ังในเขตของจังหวัด ของตัวจังหวัดตั้งอยู่และเป็นศูนย์กลางของการ
บรหิ ารสว่ นราชการตา่ ง ๆ

5. ชุมชนเขตเทศบาลนคร หมายถึง ชุมชนจากเทศบาลเมือง สามารถยกฐานะข้นึ มา
เป็นเทศบาลนครได้ โดยท้องท่ีนั้นมีราษฎร ต้ังแต่ 50,000 คน ข้ึนไป และคิดเฉลี่ยราษฎรอยู่หนาแน่น
ไม่ตา่ กว่า 3,000 คน ตอ่ 1 ตารางกิโลเมตร ชุมชนในเขตเทศบาลนครน้ีเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ และ
เป็นศูนย์กลางของการบินพาณิชย์ และอ่ืน ๆ เช่น เขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อนึ่ง ชุมชนบางแห่ง
มีลักษณะท่ีพิเศษ และมีการบริหารส่วนท้องถ่ินเอง ได้แก่ ชุมชนเมืองพัทยา ซึ่งจัดเป็นชุมชนเพื่อการ
ท่องเทยี่ วโดยเฉพาะ

6. ชุมชนเขตกรุงเทพมหานคร หมายถึง ชุมชนท่ีประชาชนอยู่อย่างหนาแน่นมาก
และเป็นเอกนคร (Primate City) ซ่ึงเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่โตกว่าเมืองขนาดรองลงไปอย่างมาก
ชุมชนกรุงเทพมหานครเป็นชุมชนท่ีมีการปกครองตนเองมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
และสมาชกิ สภากรุงเทพมหานคร ประชาชนในชมุ ชนน้ีอยกู่ นั อย่างหนาแน่น

แบ่งตามกิจกรรมทางสังคม (Social Activities) สามารถแบ่งลักษณะของชุมชนได้
ชมุ ชน คือ

๑๔

1. ชมุ ชนเกษตรกรรม หมายถงึ ชมุ ชนทป่ี ระชาชนในชมุ ชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม ได้แก่ ชุมชนหมู่บ้านต่าง ๆ ซึ่งราษฎรส่วนมากทานา ทาไร่ เลี้ยงสัตว์ หรือ ชุมชนบางแห่ง
ทาประมง ทาใหล้ ักษณะชวี ติ ความเป็นอยู่ของประชาชนมลี กั ษณะของการพึง่ พาอาศยั ธรรมชาตมิ าก

2. ชุมชนศนู ยก์ ารคา้ หมายถึง ชุมชนทเ่ี ปน็ ศูนยก์ ลางการค้า เช่น ตามหัวเมอื งต่าง ๆ
อาจเป็นตัวอาเภอเมือง หรือตัวตาบลที่เป็นท่ีต้ังของเขตสุขาภิบาล มักจะมีร้านค้าจาหน่ายของใช้
ประจาวัน และตลาดสดจาหน่ายอาหารผักสดในตอนเช้า ชาวบ้านจะนาผลิตผลมาขายในเมือง และ
ซ้ือสินค้าจาเป็นในด้านการเกษตรกลับไปหมู่บ้าน จะเห็นได้ว่า ชุมชนศูนย์การค้าจะมีอยู่ทั่ว ๆ ไปใน
เขตเมอื งต่าง ๆ และเขตชมุ ชนหนาแนน่ ตามเขตตาบล

3. ชุมชนศูนย์กลางขนส่ง หมายถึง ชุมชนทีเ่ กิดขึ้นตามเสน้ ทางคมนาคมหรือเสน้ ทาง
ขนส่งทางรถยนต์ ทางเรอื หรือทางอากาศ ชุมชนทม่ี กั จะเห็นเป็นชุมชนตามทางแยกซ่งึ เป็นศนู ย์กลาง
ของการเดินทาง เช่น ชุมชนตามทางแยกมักจะมีร้านอาหาร ร้านกาแฟและร้านข้าวแกงให้บริการแก่
ผูโ้ ดยสาร

4. ชุมชนเขตอุตสาหกรรม หมายถึง ชุมชนท่ีอยู่ในเขตอุตสาหกรรม ซึ่งจะมีโรงงาน
อุตสาหกรรมตา่ ง ๆ ต้ังอยู่ และบา้ นของคนงานจะอยูใ่ นเขตของชุมชนอุตสาหกรรม

5. ชุมชนศูนย์กลางของการบริการ หมายถึง ชุมชนที่ตั้งขึ้นเพ่ือเป็นศูนย์กลางของ
การบริการต่าง ๆ เช่น ชุมชนในเขตตัวเมืองหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จะเป็นชุมชนศูนย์กลางของการ
ท่องเที่ยว และการซ้ือสินค้า ส่วนชุมชนในเขตตัวเมืองจังหวัดสงขลา จะเป็นชุมชนศูนย์กลางของทาง
ราชการ

แบ่งตามความสัมพันธ์ของบุคคลในสังคม (Social Relation) เปน็ ลกั ษณะของชุมชน
ในแง่ของความสัมพันธ์ทางสังคม และเป็นการมองของทัศนะของนักสังคมวิทยาท่ีมองลักษณะของ
ชุมชนในด้านความสัมพันธท์ ุก ๆ ดา้ น ไมเ่ พียงแต่เฉพาะการเมือง การปกครองหรือกิจกรรมทางสังคม
เท่าน้ัน แต่รวมไปถึงความสัมพันธ์ในสถาบันต่าง ๆ ตลอดจนลักษณะทางนิเวศวิทยาอีกด้วยลักษณะ
ของชมุ ชนแบง่ ได้เปน็ 2 ชุมชน ดงั ต่อไปน้ี

1. ชุมชนชนบท เป็นชุมชนท่ีใกลช้ ดิ กับธรรมชาตมิ าก เพราะราษฎรตอ้ งอาศัยน้าฝน
ทาเกษตรกรรม แตใ่ นปจั จุบนั ราษฎรบางส่วนได้รบั นา้ ชลประทานในการเกษตรอย่างไรก็ตาม ราษฎร
ยังต้องพ่ึงพาความไม่แน่นอนของธรรมชาติ และชุมชนบางแห่งอยู่ห่างไกลความเจริญอีกด้วยใน
ประเทศไทย ลักษณะชุมชนส่วนใหญ่จะเป็นชุมชนชนบทประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ความสัมพันธ์ของ
คนในชนบทส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์กับสมาชิกในครอบครัวเป็นเป็นอย่างมาก ส่วนสมาชิกในครอบครัว
ช่วยกันทางานหารายได้มาใช้ร่วมกันกล่าวคือ การทานา ทาไร่ ครอบครัวเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค
และภายในชมุ ชนก็มีญาติพ่ีน้องอยู่ใกลช้ ิดสนิทสนมคอยชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกันฐานะเศรษฐกจิ ภายใน
ชุมชนไม่ค่อยจะแตกต่างกันนัก นอกจากน้ี ชุมชนชนบทยังอาศัยวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี
คอยควบคุมพฤติกรรมของสมาชิกในชุมชนด้วย ทาให้สมาชิกภายในชุมชนอยู่อย่างสงบสุขและไม่ค่อย
มีปญั หาทางสงั คม

2. ชมุ ชนเมือง เป็นชมุ ชนท่มี คี วามแตกต่างจากชุมชนชนบท ประชาชนเขตเมืองจะมี
ความเป็นอสิ ระในการประกอบอาชีพและการอยู่อย่างหนาแน่น ความสมั พันธภ์ ายในครอบครัวอาจจะ
มีไม่มากเท่ากับชุมชนชนบท ทั้งนี้ เนอ่ื งจากว่าสมาชิกต้องออกทางานนอกบ้านหลายคนโอกาสท่ีจะพบปะ
พูดคุยก็น้อย ความสัมพันธ์ในด้านการงานหรือการประกอบอาชีพก็จะผูกพันกับตาแหน่งหน้าที่การงาน
หรือสายบังคับบัญชา เพื่อนบ้านในละแวกบ้านจะไม่รู้จักกัน ต่างคนต่างอยู่การติดต่ออาจจะมีบ้างใน
หมบู่ ้านอาชีพเดียวกนั แต่เป็นไปในลกั ษณะเป็นทางการ ไมค่ ่อยสนทิ สนมหรือมีความสัมพันธ์อยา่ งใกลช้ ดิ

๑๕

การศึกษาคร้ังน้ีเป็นกรณีศึกษา ชุมชนบ้านจารุง ตาบลเนินฆ้อ อาเภอแกลง จังหวัด
ระยอง ซ่ึงผศู้ ึกษาสรุปได้ว่า ชุมชนดังกลา่ ว เปน็ ชมุ ชนขนาดเลก็ อย่ใู นประเภทชุมชนชุมชนชนบท และ
เกษตรกรรม เน่ืองจากมีพ้ืนที่ทั้งหมด 4.15 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,077 ไร่ มีจานวนประชากร
ทง้ั สน้ิ 532 คน 166 ครัวเรือน สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทาสวนยางพาราและสวนผลไม้
เปน็ หลกั นอกน้ันประกอบอาชีรับจ้างทวั่ ไป ธรุ กิจส่วนตวั รับราชการและอ่ืนๆ

2.3 แนวคดิ ไทยแลนด์ 4.0
Dr.borworn ได้กล่าวถึงประเทศไทย ๔.๐ ว่าเป็นความมุ่งม่ันและตั้งใจของนายกรัฐมนตรี

ที่ต้องการปรับเปล่ียนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ “Value - Based Economy” หรือเศรษฐกิจที่
ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม โดยมีฐานคิดหลัก คือ เปล่ียนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้า
เชิง “นวัตกรรม” เปล่ียนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วย
เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมและเปล่ียนจากการผลิตสินค้าไปสู่การเน้นภาคบริการ
มากข้ึน ดังน้ัน ประเทศไทย ๔.๐ จึงควรมีการเปลี่ยนวิธีการทาที่มีลักษณะสาคัญ คือ เปลี่ยนจาก
เกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบัน ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี โดย
เกษตรกรต้องร่ารวยข้ึน และเป็นเกษตรกรแบบผู้ประกอบการ เปลี่ยนจาก Traditional SMEs
หรือ SMEs ท่ีมีอยู่และรัฐคอยสนับสนุนให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลาไปสู่การเป็น Smart
Enterprises และ Startup บริษัทเกิดใหม่ท่ีมีศักยภาพสูง เปล่ียนจาก Traditional Services ซ่ึงมี
มูลคา่ คอ่ นข้างต่าไปสู่ High Value Services และเปลยี่ นจากแรงงานทักษะตา่ ไปสู่แรงงานที่มีความรู้
ความเชย่ี วชาญและทกั ษะสงู

2.3.1 นยิ ามและความหมาย
สุวิทย์ เมษินทรีย์ (๒๕๕๙) กล่าวว่า Thailand 4.0 หรือประเทศไทย 4.0 คือ

โมเดลการขบั เคล่ือนเศรษฐกิจดว้ ยนวตั กรรมเพื่อการพฒั นาประเทศไปสู่ความม่นั คง ม่งั คง่ั และยัง่ ยนื

มัน่ คง มั่งคง่ั

นวัตกรรม

ย่งั ยืน

ภาพท่ี 2.1 โมเดลการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ ดว้ ยนวตั กรรมเพ่ือการพฒั นาประเทศไปสู่
ความมัน่ คง มั่งคัง่ และยงั่ ยนื

๑๖

2.3.2 พลวัตรการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ของประเทศ

เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรมอนาคต
Agriculture Light Industry หนกั Industry for future

Heavy Industry

ไทยแลนด์ ๑.๐ ไทยแลนด์ 2.0 ไทยแลนด์ ๓.๐ ไทยแลนด์ ๔.๐
เน้นการเกษตรและ เร่มิ พฒั นา เร่ิมพัฒนาเป็น อตุ สาหกรรมขับเคล่อื น
สง่ ออกสนิ ค้าเกษตร อตุ สาหกรรมหนกั เศรษฐกิจเพื่ออนาคตเน้น
อตุ สาหกรรมใน ช่วงนี้มชี าว
เป็นหลัก ประเทศเพ่อื ทดแทน ตา่ งประเทศ นวัตกรรมความคดิ
การนาเข้าและเร่มิ มี จานวนมากมาลงทุน สรา้ งสรรค์แปลงความ
ประเทศรายได้ต่า การส่งออก ช่วงน้เี น้น ในประเทศไทย
ขับเคลอื่ นด้วย อตุ สาหกรรมเบา เนน้ อตุ สาหกรรมหนกั ได้เปรยี บเชงิ
อุตสาหกรรมพนื้ ฐาน การสง่ เสรมิ เปรยี บเทยี บ”ของ
ทรัพยากร ของประเทศและการ การส่งออก ประเทศที่มีอยู่ ๒ ดา้ น
ใชแ้ รงงานคนเป็น การลงทนุ และการ คือ“ความหลากกหลาย
นาเขา้ เทคโนโลยี เชิงชีวภาพ” และ“ความ
หลกั จากต่างประเทศ หลากากหลายเชิง

ประเทศรายได้ปานกลาง วัฒนธรรม”
ขบั เคล่ือนด้วยประสทิ ธภิ าพ ใหเ้ ป็นความไดเ้ ปรยี บใน

เชิงแขง่ ขนั ”

ประเทศรายได้สูง
ขบั เคลือ่ นด้วย

นวัตกรรม

ภาพที่ 2.2 พลวัตรการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจของประเทศ
ท่ีมา : สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ และ ปทั มา เธยี รวศิ ิษฏสกลุ อ้างถงึ ในหนังสือแนวคิดเกีย่ วกับประเทศไทย 4.0

จากภาพ แสดงให้เหน็ ว่าโมเดลเศรษฐกิจไทยแลนด์ 3.0 เนน้ อุตสาหกรรมหนักประเทศไทย
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการพึ่งพาจากต่างชาติ ส่งเสริมให้ต่างชาติมาลงทุนในประเทศไทยเพ่ือใช้เป็น
ฐานการผลิตเพื่อส่งออกนาเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศรายได)ของประเทศมาจากกการส่ง
สนิ คา้ ออกเปน็ หลักไม่วา่ ตวั เลขการส่งออกจะสงู อย่างไรคนไทยก็ยงั คงได้รับคา่ แรงไม่มากกอปรกับการ
เข้าสูสังคมสูงอายุก็จะส่งผลให้ประเทศไทยขาดแคลนแรงงานดังน้ัน ประเทศไทยจะยังคงขับเคลื่อน
เศรษฐกิจแบบเดิมด้วยไทยแลนด์ 3.0 คือ ท่ามาก ได้น้อย ไม่ได้แล้ว มิเช่นนั้นประเทศไทยจะไม่
สามารถหลุดพ้นจากการเป็น ประเทศรายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศท่ีมีรายได้สูง เพราะมัวแต่พึ่งพิง
ตา่ งชาติ นอกจากน้ี ยงั ทาให้เกิดการเหลอ่ื มลา้ ช่องว่างของรายได้และโอกาสของคนรวยคนและคนจน

๑๗

ท่ีห่างออกจากกันมากข้ึน กอปรกับที่ผ่านมาประเทศไทยเน้นเรื่องเศรษฐกิจ ละเลยกับการศึกษา
สงิ่ แวดลอ้ มทาให้เกิดความไมส่ มดลุ ในการพัฒนา

โมเดลไทยแลนด์ ๓.๐ จึงทาให้ประเทศไทยติด 3 กับดัก คือ กับดักประเทศรายได้ปานกลาง
กบั ดกั ความเหล่ือมลา้ และกับดกั ความไม่สมดุล นอกจากนเี้ ราคงปฏเิ สธไม่ไดว้ ่า มี 3 กระแสหลักของ
การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ข้นึ และส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างหลกี เล่ยี งไมไ่ ด้ คือ

1. Globalization ทที่ าให้เกิดการเปล่ยี นแปลงต่าง ๆ ท่วั โลก อาทิ
- กระแส Digitization สง่ ผลกระทบกบั พฤตกิ รรมของคน และรปู แบบการทาธรุ กจิ
- กระแส Urbanization ความเจรญิ ทีก่ ระจายไปสู่ภมู ภิ าคมากข้ึน ผคู้ นเร่ิมมคี วามเป็นอยู่

แบบคนเมอื งมากย่ิงขนึ้
- กระแส communization ผลกระทบทีผ่ ู้คนท่วั โลกไดร้ บั อยา่ งหลกี เลยี่ งไม่ได้ เช่น

การเปลย่ี นแปลงเรื่องสภาพภมู ิอากาศ โรคระบาดท่ีสามารถแพร่ไปไดท้ ัว่ ทุกภูมิภาคของโลก
2. Regionalization กระแสการรวมกลุ่มในภูมิภาคทาให้มีอานาจในการต่อรองกับประเทศ

ในภูมภิ าคอนื่ ๆ ได้เปน็ อยา่ งดี
3. Localization กระแสความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ
ด้วยเหตุดังกล่าว จึงถึงเวลาแล้วที่ประเทศไทยจะต้องปรับเปลี่ยนตัวเองมีการนาโมเดลใหม่

เพ่ือการขับเคล่ือนเศรษฐกิจมาใช้ รัฐบาลโดยท่านนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา จึงมี
นโยบายท่ีจะนาโมเดลใหม่ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมาใช้ คือ “ไทยแลนด์ 4.0 หรือเศรษฐกิจ
ที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม”เพื่อจะใช้เป็นแนวทางในการขับเคล่ือนประเทศไทย “ท่าน้อย ได้มาก”
และสร้างความสมดุลทางเศรษฐกจิ และสงั คม นาพาประเทศไปสู่ “ความมนั่ คง มัง่ คงั่ และยง่ั ยืน”

2.3.3 แนวคิดไทยแลนด์ 4.0 ประกอบไปด้วยแนวคดิ สา่ คญั ดังน้ี
1) การสรา้ งความเข้มแข็งภายใน (Strength from within) ประกอบด้วย
1.1 การยกระดับนวตั กรรมทุกภาคสว่ นของประเทศ
1.2 การสังคมที่มจี ิตวิญญาณของความเปน็ ผูป้ ระกอบการ
1.3 การสร้างความเข้มแข็งของชมุ ชนและเครอื ขา่ ย
2) การเชื่อมโยงเศรษฐกิจภายในกับเศรษฐกจิ โลก (Connect to the world) จะ

เปน็ การเชอื่ มโยงของ
2.1 เศรษฐกิจภายในประเทศ (Domestic economy)
2.2 เศรษฐกจิ ภูมภิ าค (Regional economy)
2.3 เศรษฐกจิ โลก (Global economy)

1) การสร้างความเขม้ แขง็ ภายใน (Strength from within)
ดังท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้วว่า การขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยไทยแลนด์ 3.0

เป็นการพ่ึงพิงการลงทุนของต่างชาติ การส่งออก ในขณะท่ีเศรษฐกิจโลกก็กาลังประสบปัญหา
ประเทศไทยจึงไม่สามารถฝากความหวังกับการส่งออกได้อีกต่อไป แต่ประเทศไทยโชคดีที่มีจุดแข็ง
หลากหลาย ดังน้ัน จึงจาเป็นต้องสร้างความเข้มแข็งจากจุดแข็งภายในประเทศท่ีมีอยู่มากกว่า
การพ่งึ พงิ ภายนอก การสร้างความเข้มแข็งภายในประกอบดว้ ย 3 กลไก

1.1 การยกระดับนวัตกรรมของทุกภาคส่วนในประเทศ “นวัตกรรม” จะถูก
ยกระดับโดยผา่ นกลไกการขบั เคลื่อนใหม่ หรือทีเ่ ราเรียกว่า “New Growth Engines” ประกอบไปด้วย 3 กลไก ดงั น้ี

๑๘

1.1.1 Inclusive Growth Engine คือ กลไกขับเคล่ือนให้คนส่วนใหญ่มี
ส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง อาทิ การเอ้ืออานวยสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการพัฒนา
ทักษะประชาชนอย่างทว่ั ถงึ เน้นการสร้างเศรษฐกิจฐานรากในชมุ ชน ระดับจังหวัด กล่มุ จงั หวัดเพื่อให้
เกิดการกระจายรายได้ ใช้กลไกนี้เพ่ือให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากกับดักความเหลื่อมล้าท่ีประสบอยู่
ไปสคู่ วามมน่ั คง

1.1.2 Productive Growth Engine คือ กลไกขับเคลื่อนการปรับปรุง
ประสิทธิภาพการผลิตเพื่อเพิ่มปริมาณและ/หรือมูลค่าใหส้ ูงข้ึน ดว้ ยนวัตกรรมปญั ญา เทคโนโลยี และ
ความคิดสร้างสรรค์ ร่วมมือกันแบบประชารัฐ เพื่อให้ประเทศมีรายได้สูงขึ้น ใช้กลไกน้ีเพื่อให้ประเทศ
หลดุ พ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ท่กี าลังเผชิญอยูไ่ ปสคู่ วามมงั่ คัง่

1.1.3 Green Growth Engine คือ กลไกการขับเคลื่อนการผลิตท่ีเป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อมอย่างย่ังยืน ปรับแนวคิดจากเดิมท่ีคานึงถึงความได้เปรียบต้นทุนเป็นหลัก มาเป็น
การคานึงถึงประโยชน์ท่ีได้จากการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งระบบ โดยพัฒนากระบวนการผลิตให้
กระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อยท่ีสุด ใช้กลไกนี้เพ่ือให้ประเทศหลุดพ้น จากกับดักความไม่สมดุลในการ
พฒั นาเพือ่ ไปสู่ความย่ังยนื

ไทยแลนด์ 4.0หรือโมเดลเศรษฐกจิ ที่ขับเคลอ่ื นดว้ ยนวัตกรรมเพือ่ ให้ประเทศหลุดพ้นจาก3กับดัก

ตารางที่ 2.1 ไทยแลนด์ 4.0 ที่ขบั เคลื่อนด้วยนวัตกรรมเพอื่ ใหป้ ระเทศหลดุ พ้น จาก 3 กบั ดัก

เป้าหมาย มั่นคง มง่ั คั่ง ยั่งยืน
ประเทศไทย
ภายในปี ๒๕๗๙ กลไกการสร้างความมัน่ คง กลไกการสร้างความมัง่ ค่งั กลไกการสรา้ งความ
โดยผ่าน Inclusive โดยผา่ น Productive ยั่งยนื โดยผ่าน Green
โมเดลเศรษฐกิจไทย Growth Engine Growth Engine Growth Engine
แลนด์ ๔.๐ เปน็ การ การขับเคลอ่ื นโดยคนส่วน การขับเคล่ือนโดยการสรา้ ง การขบั เคล่อื นทีเ่ ปน็ มิตร
ขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ ใหญ่มีส่วนรว่ มอย่างเท่า และปรับปรุง กับส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยืน
โดยการใช้นวตั กรรม เทียมและทัว่ ถงึ เนน้ การ ประสิทธภิ าพการผลติ เพ่อื เนน้ การผลติ การใช้
ขับเคลือ่ นผา่ นกลไก สร้างเศรษฐกิจระดับฐาน เพิม่ ปริมาณและ/หรอื เทคโนโลยีที่เปน็ มติ รกบั
ใหม่หรอื New รากในชมุ ชน ส่งเสรมิ และ มูลคา่ ใหส้ ูงขนึ้ เนน้ พฒั นา สิ่งแวดล้อมการใช้
Growth Engines สนบั สนุนวสิ าหกิจขนาด วสิ าหกิจด้วยเทคโนโลยี พลงั งานทดแทน ฯลฯ
ประกอบไปดว้ ย ๓ กลางและขนาดย่อมให้ การออกแบบและ
กลไก เข้มแขง็ แข่งขยั ในเวทีโลกได้ ความคิดสร้างสรรคม์ ีการ กับดกั ความไมส่ มดุล
บรหิ ารจดั การสมยั ใหม่เปน็
ปญั หา (กับดัก) กับดกั ความเหลอ่ื มล้า การรว่ มทนุ ระหวา่ งรฐั
ท่ปี ระเทศไทยเผชญิ และเอกชนในโครงการ
ขนาดใหญ่

กับดกั รายได้ปานกลาง

๑๙

1.1.2 การสงั คมท่ีมีจิตวิญญาณของความเปน็ ผู้ประกอบการ การสร้าง
สังคมประกอบการ เป็นเร่ืองของการสร้างคนในสังคมสาขาวิชาชีพใดก็ได้ ไม่จาเป็นต้องมีกิจการเป็น
ของตนเองเพียงแต่ขอให้เป็นผู้ที่ “คิด ประพฤติ และ ปฏิบัติเหมือนกับ ผู้ประกอบการที่ประสบ
ความสาเร็จ น่ันคือ เป็นบุคคลที่มีคุณลักษณะแสวงหาโอกาสเสมอ มีแรงขับเคลื่อนภายในตัวเอง
สามารถ เริ่มต้นส่ิงต่าง ๆ ได้ด้วยตัวเอง มีมาตรฐานการทางานทั้งด้านคุณภาพ และประสิทธิภาพ
สามารถบริหาร ความเส่ียงได้มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง สามารถกาหนด เป้าหมายที่เหมาะสม
เปล่ียนปัญหา ให้เป็นโอกาส และยืนหยัดเม่ือเผชิญหน้า ต่อปัญหาและอุปสรรค นอกจากนี้ ยังต้อง
มคี วามอดทน ทางานหนักได้ หรือเรียกไดว้ ่า เป็นคนทมี่ ีจติ วญิ ญาณของผู้ประกอบการอยู่ในตวั เอง”

1.1.3 การสรา้ งความเข้มแข็งของชุมชนและเครือขา่ ย การทาให้ชุมชน
มีความเข้มแข็งที่ยั่งยืน สามารถบริหารจัดการชุมชนได้ด้วยตนเอง คือสามารถแก้ปัญหาและ
สนองตอบความต้องการของชุมชนได้ด้วยตนเองด้วยการส่งเสริมให้ชุมชนหรือ ประชาชนในชุมชน
ทางานร่วมกันใน 5 กิจกรรม กล่าวคือ ๑) ๑) เก็บข้อมูลศึกษาชุมชน 2) วิเคราะห์ข้อมูล (ปัญหา
ความตอ้ งการ) ๓) กาหนดแนวทาง/กจิ กรรม ๔) ดาเนินงานตามแผน ๕ ติดตามประเมนิ ผล ร่วมกนั ได้
ด้วยตนเอง (อดลุ ย์ เนยี มบญุ นาและสุทธพิ ร สมแกว้ )

1.2) การเชอ่ื มโยงเศรษฐกิจภายในกบั เศรษฐกจิ โลก (Connect to the world)
เม่ือโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศเข้มแข็งแล้ว ก็จาเป็นจะต้องมีการเช่ือมโยงกับ
เศรษฐกิจภายนอกประเทศจะเป็นการเชื่อมโยงของ

2.1 เศรษฐกจิ ภายในประเทศ (Domestic economy)
2.2 เศรษฐกิจภูมิภาค (Regional economy)
2.3 เศรษฐกจิ โลก (Global economy)
การเชื่อมโยงมี ๓ ระดบั
การเช่ือมโยงระดบั ท่ี 1 คือ เปน็ การเชือ่ มโยงระหวา่ งการสร้างความเข้มแข็ง
ของชมุ ชน หรอื ในระดบั ฐานรากและเครือข่ายกบั เศรษฐกิจภายในประเทศ
การเชอ่ื มโยงระดับที่ 2 คอื เป็นการเชอื่ มโยงระหว่างเศรษฐกจิ ภายในประเทศ
กบั เศรษฐกิจภูมภิ าค
การเชื่อมโยงระดับที่ 3 คือ เป็นการเช่ือมโยงระหว่างเศรษฐกิจภูมิภาคกับ
เศรษฐกิจโลก
ดว้ ยแนวคดิ ไทยแลนด์ 4.0 รฐั บาลจงึ ได้มีนโยบายทจี่ ะพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย
: กลไกขับเคล่ือนเศรษฐกิจเพ่ืออนาคต (New Engine of Growth) รัฐบาลมีนโยบายที่ท่ีจะ
ปรับเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจจากการพ่ึงพาเทคโนโลยีภายนอกมาเป็นระบบเศรษฐกิจที่สามารถพัฒนา
ได้ด้วยตนเอง โดยใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ ผลักดันให้เกิดการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจควบคู่ไปกับการสร้างสังคมท่ีมีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการและการสร้าง
ความเข้มแข็งของชมุ ชนและเครอื ข่ายแบ่งออกได้ เป็น ๒ กลมุ่ ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมาย คอื
กลุ่มแรก เป็นการต่อยอด ๕ อุตสาหกรรมเดิมท่ีมีศักยภาพอยู่แล้ว โดยเพิ่มเติมให้มี
การวจิ ยั และพัฒนา เป็นกลุ่มอุตสาหกรรม ทีเ่ จริญเตบิ โตได)ในระยะส้ันถงึ ปานกลาง ประกอบไปด้วย

-อตุ สาหกรรมยานยนต์สมยั ใหม่ (Next-Generation automotive)

๒๐

-อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะ (Smart Electronics)
-อุตสาหกรรมการท่องเทยี่ วกลมุ่ รายได)ดแี ละการท่องเท่ยี วเชงิ สขุ ภาพ

(Affluent, Medical and Wellness Tourism)

-การเกษตรและเทคโนโลยีชวี ภาพ (Agriculture & Biotechnology)
-อตุ สาหกรรมอาหารแห่งอนาคต (Food for the Future)

กลุ่มท่ีสอง คือ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต เป็นการสร้างอุตสาหกรรมใหม่ที่มีความ
เจริญเติบโตในระยะยาว ซง่ึ มรี ากฐานตอ่ ยอดมาจาก ๕ อุตสาหกรรมเดิม ประกอบด้วย

-อตุ สาหกรรมหนุ่ ยนต์เพือ่ การอตุ สาหกรรม (Robotics)
-อตุ สาหกรรมการบนิ และโลจิสตกิ ส์ (Aviation & Logistics)
-อุตสาหกรรมเช้ือเพลิงชวี ภาพและเคมชี ีวภาพ (Biofuels & Biochemicals)
-อตุ สาหกรรมดจิ ิทลั (Digital)
-อตุ สาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub)

การแสดงความเชอ่ื มโยงของรฐั ธรรมนูญ กรอบแนวคิดไทยแลนด์ 4.0 นโยบายยุทธศาสตรช์ าติ
20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 ตามภาพด้านลา่ งน้ี

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ (มาตรา ๖๕)

กรอบแนวคิดไทยแลนด์ 4.0 ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (๖ ดา้ น)

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั 12 (ยทุ ธศาสตร์ ๑๐ ด้าน)

ภาพที่ 2.3 ความเชอ่ื มโยงของรัฐธรรมนูญ กรอบแนวคิดไทยแลนด์ 4.0
นโยบายยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12

๒๑

2.4 ข้อมลู พื้นที่ศกึ ษา
2.4.1 ข้อมลู ทั่วไป
๑) แผนทหี่ ม่บู ้าน

ภาพที่ 2.4 แผนท่ีหมบู่ ้าน

๒) ประวตั ิความเปน็ มา
หม่บู ้านจารุงในอดตี เมอ่ื ประมาณ ๑๕๐ ปีกอ่ น เปน็ หมบู่ ้านเลก็ ๆ ประมาณ ๓๐

ครัวเรือน ผู้คนท่ีมาอยู่อาศัยในช่วงเริ่มต้นได้อพยพมาจากบริเวณชายทะเลบ้านถนนกะเพรา ตาบล
เนินฆ้อในปัจจุบัน โดยได้พากันย้ายถิ่น เพ่ือท่ีจะหาที่ทากินใหม่ย้ายจากท่ีเดิมประมาณ ๔ กิโลเมตร
มุ่งหน้ามาทางทิศตะวันตกข้ามทุ่งนาเข้าสู่ป่าดิบ เม่ือย้ายเข้ามาแล้วเรียกช่ือหมู่บ้านว่าบ้านป่าเรไร
ต่อมาได้มีการหักร้างถางพงเพื่อปรับพ้ืนท่ีในการทาไร่ ทานา บริเวณหน้าวัดจารุงในปัจจุบันมีลักษณะ
พ้ืนที่เป็นท่ีราบลุ่ม มีน้าท่วมขังตลอดปี จึงมีการเรียกพ้ืนที่บริเวณน้ันว่า “จารุ” (เป็นภาษาถ่ินของคน
ชอง) เป็นช่ือท่ีชาวบ้านเรียกติดต่อกันมา จารุ มีความหมายว่าปากช่องทางน้าไหลลงทุ่งหรือบึง แต่
ต่อมาเรียกเพ้ียนเป็นคาว่า จารุง ชาวบ้านจารุงส่วนใหญ่ท่ีต้ังรกรากด้ังเดิมตั้งแต่สมัยปู่ ย่า ตา ยาย
มีตระกูลใหญ่ ๕ ตระกูล คือ ตระกูลดีนาน ตระกูลรัตนพงศ์ ตระกูลไกรทอง ตระกูลก่อเก้ือ และ
ตระกลู เจอื จนุ ซง่ึ ปจั จบุ ันตระกูลเหล่านไี้ ดม้ ีลูกมีหลานและแตง่ งานจนเป็นเครือญาติกนั เปน็ สว่ นใหญ่

๓) สภาพท่ัวไปของหมบู่ ้าน
ลักษณะพ้ืนท่ีของหมู่บ้านเป็นท่ีราบลุ่มมีเนิน เหมาะแก่การทานาทาสวนผลไม้

และสวนยางพารา สภาพของดินมีความอุดมสมบูรณ์ ในทุ่งนาดินจะมีลักษณะเป็นดินเหนียวสีดา ทานา
ไดผ้ ลดี สภาพดนิ บนเนินมีสีแดงมันปู เหมาะแก่การทาสวนผลไม้ สวนยางพารา

๒๒

การปลูกบ้านเรือนของชาวบ้านอยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน โดยปลูกบริเวณริมทุ่ง
เป็นหลักต่อมาเมื่อมีการหักร้างถางป่าบนเนินเพ่ือทาสวนผลไม้และสวนยางพารา จึงได้ขยายแยก
ครอบครวั มาปลูกในสวนผลไม้บนเนนิ มากขึ้น

๔) อาณาเขต
ห มู่บ้ า น จ า รุ ง อยู่ ห่ า ง จ า ก ท่ีท า ก า ร เ ทศ บ า ล ต า บ ล เ นิ น ฆ้ อ ไ ป ท า ง ทิศ ต ะวั น ต ก

ประมาณ ๓ กโิ ลเมตร มพี น้ื ทที่ ั้งหมด ๔.๑๕ ตารางกิโลเมตร หรอื ๓,๐๗๗ ไร่
ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ หมทู่ ี่ ๕ บ้านหนองแพงพวย
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ หม่ทู ี่ ๒ ตาบลชากโดน
ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ หมทู่ ่ี ๕ บา้ นหนองแพงพวย
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ หมู่ที่ ๔ ตาบลชากโดน

๕) ประชากรของหมู่บา้ นจานวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ณเดอื นพฤศจกิ ายนพ.ศ.๒๕๕๙
จานวนครัวเรือน รวมท้ังส้ิน ๒๐๗ ครัวเรอื น
จานวนประชากร ทัง้ หมด ๕๑๒ คน
แยกเป็น ชาย ๒๔๓ คน หญิง ๒๖๙ คน

๖) การประกอบอาชพี
ประชากรสว่ นใหญ่ของหมบู่ ้าน ประกอบอาชพี ทาสวนยางพาราและสวนผลไม้

เปน็ หลัก นอกจากน้ัน กป็ ระกอบอาชีพรับจ้างท่ัวไป ธรุ กจิ ส่วนตวั รบั ราชการและอน่ื ๆ
๗) สถานทสี่ าคัญของหมบู่ า้ น
7.1 หน่วยงานราชการและสถานท่ีสาธารณะ
(๑) ศาลากลางบ้าน จานวน ๒ แหง่ ศาลาเนินกระชายแหลง่ พักพิงของคน

ทานา คนเดนิ ทาง และหม่บู ้านใชเ้ ป็นสถานท่ีทาบุญส่งทุกวันที่ ๒๑ เมษายน ของทกุ ปี
(๒) สถานีอนามยั ๑ แหง่ คือ สถานีอนามยั บ้านจารุ
(๓) โรงเรยี น ๑ แหง่ เปน็ โรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา
(๔) วดั ๑ แหง่ คือ วัดจารุง
(๕) ศนู ย์การเรียนรู้ ๑ แห่ง
(๖) สถานีวทิ ยุชุมชน ๑ แห่ง

7.2 หนว่ ยธรุ กิจของหมบู่ า้ น
(๑) ปมั้ นา้ มนั จานวน ๑ แหง่
(๒) ร้านซ่อมวทิ ยุ/โทรทศั น์ จานวน ๑ แห่ง
(๓) โรงสขี ้าว จานวน ๒ แหง่
(๔) รา้ นคา้ ย่อย จานวน ๖ แห่ง
(๕) รา้ นตัดผม จานวน ๑ แหง่
(๖) ร้านอาหารมีดนตรี/คาราโอเกะ จานวน ๑ แห่ง
(๗) ร้านค้าชมุ ชน จานวน ๑ แห่ง

๒๓

๒.4.๒ ข้อมูลการคมนาคมและสาธารณปู โภค
1) การคมนาคม
๑) การเดินทางเข้าหมู่บ้าน การเดินทางเข้าหมู่บ้านจารุง หมู่ที่ ๗ ใช้การสัญจร

โดยรถจากถนนสายสุขมุ วิท-ระยอง ถึงส่ีแยกเนนิ ดนิ แดง-หว้ ยยาง กิโลเมตร ที่ ๒๖๐ จะมที างแยกเข้า
บา้ นจารุงวิง่ ตรงไปตามถนนลาดยางประมาณ ๔ กิโลเมตร ก็จะถงึ หม่บู ้านจารุง

2) การคมนาคมทางบกโดยใชถ้ นน ถนนในหมู่บ้านมีทั้งหมด ๔ ประเภท ดังน้ี
ประเภทที่ ๑ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก (CSL) จานวน ๒ สาย ได้แก่ ๑) สาย

ซอยชาวสวน ๒ เช่ือม ๓ กว้าง ๕ เมตร ยาว ๑,๒๐๐ เมตร และ ๒) สายจารุง-วัดบุญนาค กว้าง ๖
เมตร ยาว ๓๖๐ เมตร

ประเภทที่ ๒ ถนนลาดยาง จานวน ๘ สาย
(๑) สายจารุง-ชากโดน กวา้ ง ๘ เมตร ยาว ๑,๖๕๐ เมตร
(๒) สายจารุง-สุขุมวิท กวา้ ง ๖ เมตร ยาว ๓,๘๐๐ เมตร
(๓) สายซอยสวน ๑ กวา้ ง ๖ เมตร ยาว ๑,๒๐๐ เมตร
(๔) สายซอยชาวสวน ๓ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๖๐๖.๔ เมตร
(๕) สายซอยชาวสวน ๔ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๑,๒๑๓ เมตร
(๖) สายซอยชาวสวน ๖ กวา้ ง ๖ เมตร ยาว ๑๙๐ เมตร

(๗) สายจารงุ -หนองแพงพวย กวา้ ง ๔ เมตร ยาว ๔๐๐ เมตร
(๘) สายจารงุ -วดั บุญนาค กวา้ ง ๖ เมตร ยาว ๘๒ เมตร
ประเภทท่ี ๓ ถนนลูกรัง จานวน ๑๑ สาย
(๑) สายซอยชาวสวน ๒ เช่ือม ๓ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๒๐๐ เมตร
(๒) สายซอยชาวสวน ๓ เชือ่ ม ๔ กวา้ ง ๔ เมตร ยาว ๕๐๐ เมตร
(๓) สายซอยชาวสวน ๗ กวา้ ง ๔ เมตร ยาว ๒๙๘ เมตร
(๔) สายซอยชาวสวน ๘ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๕๐๐ เมตร
(๕) สายซอยชาวสวน ๙ กวา้ ง ๔ เมตร ยาว ๒๙๘ เมตร
(๖) สายซอยชาวสวน ๑๐ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๒๐๐ เมตร
(๗) สายซอยชาวสวน ๑๑ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๒๕๐ เมตร
(๘) สายซอยชาวสวน ๑๒ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๑๕๐ เมตร
(๙) สายซอยชาวสวน ๑๓ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๔๐๐ เมตร
(๑๐) สายซอยชาวสวน ๑๔ กวา้ ง ๔ เมตร ยาว ๕๐๐ เมตร
(๑๑) สายซอยชาวสวน ๑/๑ (ทางเกวยี น) กว้าง ๔ เมตร ยาว ๒๐๐ เมตร
ประเภทท่ี ๔ ทางเกวียน (ถนนดิน) สายซอยจารุง-คงคา กว้าง ๔ เมตร ยาว

๔,๐๐๐ เมตร

๒๔

๒.4.๓ สาธารณูปโภค
๑) ไฟฟา้ มผี ้ใู ช้ไฟฟ้ายังไมค่ รอบคลุมทว่ั ทุกหลงั คาเรือน
๒) การโทรคมนาคม ได้แก่ ชุมสายโทรศัพท์ และสถานีส่งสัญญาณโทรศัพท์มือถือ

จานวน ๑ แห่ง
๒.4.๔ ประปา
ปัจจุบันหมู่บ้านจารุง ใช้ประปาของหมู่บ้านเอง โดยมีแหล่งน้าดิบ คือ อ่างเก็บน้า

บา้ นจารุง จานวน ผใู้ ช้ ๑๖๖ หลงั คาเรือน
๒.4.๕ แหล่งนา่้ (แหลง่ นา้ ธรรมชาติและแหล่งนา้ ทีส่ ร้างขน้ึ ในหมู่บา้ น)
1) แหลง่ น้าธรรมชาติ
- คลอง จานวน ๑ สาย ช่ือคลองยายย้อม
- ลาราง จานวน ๒ แห่ง
2) แหล่งนา้ สรา้ งขึ้นเอง
- อ่างเกบ็ น้า จานวน ๑ แหง่ ชือ่ อ่างเก็บน้าบ้านจารงุ มเี น้อื ท่ี ๑๖ ไร่ เป็นแหล่ง

นา้ ต้นทุน ผลติ นา้ ดบิ ของระบบประปาหมบู่ า้ น พืน้ ท่ีต้นนา้ ประแสร์ และยังเป็นแหล่งหล่อเลยี้ งการทา
เกษตรกรรม ประมาณ ๑,๒๕๐ ไร่

3) นา้ เพ่ือการบริโภค
- น้ากรองพรอ้ มด่มื จานวน ๑ แหง่
หมู่บ้านจารุงได้รับการสนับสนนุ เคร่ืองกรองน้าพร้อมดื่มที่สะอาดถูกหลักอนามัย

จากองค์การบริหารส่วนตาบลเนินฆ้อ ไว้บริการประชาชนในหมู่บ้านในราคาถูก และได้ทาการจัดต้ัง
กลุ่มขึ้นมาเพ่อื บรหิ ารจดั การ ผลกาไรจากการดาเนนิ งานจะนาเขา้ หมบู่ ้าน

4) การเลย้ี งสตั ว์
- เลา้ ไก่ จานวน ๑ แหง่ จานวนสตั ว์ ๕,๐๐๐ ตวั
- เล้าเป็ด จานวน ๑ แหง่ จานวนสตั ว์ ๘๐๐ ตวั
- คอกวัว จานวน ๓ แห่ง
- บ่อเลี้ยงตะพาบ จานวน ๗ แหง่

๒.4.๖ ประเภทการใช้ทดี่ นิ ของหมบู่ ้าน
ประเภทการใชท้ ่ีดนิ หมบู่ า้ นมีเนอ้ื ที่ทั้งหมด ๓,๐๗๗ ไร่ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้
๑) พน้ื ท่ที างการเกษตร จานวน ๒,๖๓๓ ไร่
๒) พน้ื ท่ีอยอู่ าศัย จานวน ๑๑๙ ไร่
๓) พืน้ ท่นี ารา้ ง จานวน ๒๐ ไร่
๔) พนื้ ที่บ่อเลี้ยงกงุ้ จานวน - ไร่
๕) พน้ื ที่อ่นื ๆ จานวน ๓๐๕ ไร่

๒.๕.๗ ข้อมูลกลุ่ม/องค์กร การรวมกลมุ่ ประกอบกจิ กรรม มีทงั้ สนิ้ ๒๔ กลุ่ม ประกอบด้วย

๑) กลมุ่ อาสาพัฒนาชุมชน (อช.) จานวน ๑ กลมุ่

๒) กลุม่ อาสาสมัครมูลฐานชุมชน

๓) ศนู ย์การเรียนรูช้ มุ ชนและผูส้ งู อายุ

๒๕

๔) ร้านค้าชมุ ชน เรม่ิ ดาเนินการเม่ือปี ๒๕๕๙ ระดมหุ้นๆ ละ ๕๐ บาท ไม่เกิน ๒๐ ห้นุ
ปจั จบุ ันผลิดอกออกผล เปน็ ทีเ่ ขม้ แข็งของชมุ ชน

๕) กองทุนพฒั นาหมู่บ้าน
๖) กลมุ่ แมบ่ า้ นเกษตรกร
๗) ชมรมอนิ ทโชติการุณย์
๘) ชมรมเปตองบ้านจารงุ
๙) กลุ่มผใู้ ช้น้าเพื่อการเกษตร
๑๐) กลุ่มขยะแลกบญุ
๑๑) กลมุ่ โฮมสเตย์ พอเพยี งบ้านจารุง
๑๒) ชมรมผ้สู ูงอายุ
๑๓) กลมุ่ พฒั นาอาชพี
๑๔) กลุ่มเกษตรผสมผสาน
๑๕) กลุ่มกองทนุ หมู่บ้าน (กองทุนเงินลา้ น)
๑๖) กลุม่ วทิ ยุชุมชน
๑๗) กลุ่มรักษว์ ัฒนธรรมท้องถ่ิน กิจกรรมของกลุ่มกลองยาวเยาวชน การเลน่ ดนตรีไทย
ขบวนกลองยาวผู้สูงอายุ
๑๘) กลมุ่ สตรอี าสาพฒั นา
๑๙) กลมุ่ สวัสดกิ ารบา้ นจารงุ
๒๐) กลุ่มชาวนาบา้ นจารุง
๒๑) กลุ่มแปรรูปผลผลิต
๒๒) กลมุ่ รวมซือ้ รวมขายยางพารา
๒๓) กลมุ่ เพาะเลยี้ งตะพาบน้า
๒๔) กลมุ่ ลดตน้ ทุนการผลติ
๒๕) กล่มุ สายใยรักครอบครัว
๒๖) กลุ่มกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ

2.5 งานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้อง
ปัณณพงศ์ วงศ์ณาศรี (มปป.) ศึกษาวิเคราะห์บริบทความท้าทายขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นในการบริหารท้องถิ่นเพ่ือขับเคลือ่ นนวตั กรรมท้องถ่ินในยุคไทยแลนด์ 4.0 โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อวิเคราะห์บริบทความท้าทายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการบริหารท้องถิ่นเพ่ือขับเคล่ือน
นวัตกรรมท้องถ่ินในยุคไทยแลนด์ 4.0 ในฐานะท่ีเป็นองค์กรท้องถ่ินท่ีได้รับการกระจายอานาจการ
ปกครองจากรัฐในการดาเนินนโยบายสาธารณะหรือการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือขับเคลื่อนท้องถ่ิน
โดยเฉพาะในการพัฒนาตามยุทธศาสตร์การพัฒนาทางเศรษฐกิจแนวใหม่ด้วยนวัตกรรมใน

๒๖

ยุคไทยแลนด์ 4.0 มาเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับท้องถ่ินซ่ึงนับเป็นความ
ทา้ ทายอยา่ งย่ิงของทอ้ งถ่นิ

ผลการศึกษา พบวา่ บริบทความท้าทายขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในการบริหารท้องถิ่น
เพื่อขับเคลื่อนนวัตกรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 มี 4 ประการ ได้แก่ 1) ความท้าทายด้านบริบทและ
การเปลยี่ นแปลงของเมือง 2) ความทา้ ทายในด้านบริบทของการสร้างพลังประชารฐั 3) ความทา้ ทาย
ด้านเทคโนโลยี และ 4) ความท้าทายในการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมท้องถ่ิน ซ่ึงจะส่งผลให้เกิด
นวตั กรรมทอ้ งถนิ่ อย่างน้อย ใน 4 ด้าน ประกอบดว้ ยนวัตกรรมด้านการวิจัย นวัตกรรมด้านการสร้าง
ความรว่ มมอื นวัตกรรมดา้ นเทคโนโลยี และนวัตกรรมดา้ นการพัฒนาเมอื ง

ชมนาถ เขียวนิมิต (2542) ทาการศึกษา เรื่อง บทบาทของผู้นาชุมชนในการพัฒนา
เศรษฐกิจของชมุ ชน มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาผนู้ าชมุ ชนในดา้ นการพัฒนาเศรษฐกิจของการศึกษา
2) เสนอแนวทางท่ีเหมาะสมในการเพ่ิมประสิทธิภาพของผู้นาชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้นาชุมชนและชาวบ้านใน 15 หมู่บ้านของตาบลบ้านฮั่นอาเภอโนนศิลา
จังหวัดขอนแก่น แบบสอบถามท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูลจาก 3 กลุ่ม กลุ่มแรกประกอบด้วยชาวบ้าน
300 คนทถ่ี กู ถามถึงบทบาทของพวกเขาในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน กล่มุ แรกได้รับการสารวจก่อน
การฝึกอบรมการศึกษาภาคสนามและกิจกรรมการจัดสรรงาน กลุ่มท่ีสองประกอบดว้ ยผู้นาชุมชน 90
คนที่ได้รับการสารวจก่อนและหลังการฝึกอบรมการศึกษาภาคสนามและกิจกรรมการจัดสรรงาน
กลุ่มที่สามประกอบด้วยชาวบ้าน 300 คนที่ได้รับการถามเก่ียวกับความพึงพอใจในการฝึกอบรม
การศกึ ษาภาคสนามและกจิ กรรมการจัดสรรกจิ กรรม

ผลการวจิ ัยพบวา่
1. ผลการดาเนินงานของผู้นาชุมชนในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนก่อนการฝึกอบรม
การศึกษาภาคสนามและกิจกรรมการจัดสรรงานให้อยู่ในระดับต่า อย่างไรก็ตามผลการดาเนินงาน
โดยรวมในทุกด้านของผู้นาชุมชนรวมถงึ สมาชิกในชมุ ชนการพฒั นาเศรษฐกิจชุมชนที่ได้รับการสง่ เสริม
ให้อย่ใู นระดบั ปานกลาง
2. กิจกรรมการฝึกอบรมการศึกษาภาคสนามและกิจกรรมการจัดสรรกิจกรรมได้ส่งผลให้
1) เกดิ การรบั รคู้ วามร้ขู องผู้นาชมุ ชนเก่ียวกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ของชุมชน 2) ผนู้ าชมุ ชนในดา้ นการ
พัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนในการปรับปรุงประสิทธภิ าพ 3) ผลการดาเนินงานโดยรวมของผู้นาชมุ ชน
4) ความสามารถในการส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนได้ดีข้ึน
ผลการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ผลสุดท้ายของการฝึกอบรม
การศึกษาภาคสนามและกิจกรรมการจัดสรรกิจกรรม ได้แก่ 5) การเพิ่มผลผลิตทางเศรษฐกิจของ
ชมุ ชน 6) เพิม่ ความรู้สึกพงึ พอใจของประชาชนในการบริหารจดั การการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน
3. ผู้เขียนแนะนาการใช้การฝึกอบรมการศึกษาภาคสนามและการพัฒนากิจกรรมการ
จัดสรรอยา่ งเปน็ ระบบเพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารโครงการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน

๒๗

บทที่ 3
วิธีการศึกษา

ผู้ศึกษาได้กาหนดวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร กลุ่มเป้าหมาย พ้ืนที่ศึกษา การสร้าง
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติ
ทใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังนี้

3.1 กลุ่มเปา้ หมายและพน้ื ที่ทาการศกึ ษา
กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ประชาชนหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง

จานวนท้งั ส้ิน 48 คน
พ้นื ที่ทาการศกึ ษา คือ หมูบ่ า้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง

3.2 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา
ในการศึกษาคร้ังน้ี ผู้ศึกษาใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย

ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามข้ึนมาจากการวิจัยแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่เกี่ยวข้อง และมีความ
ครอบคลุมตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ตี ้องการศึกษา โดยแบบสอบถามแบบออกเปน็ 3 สว่ น ดงั นี้

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป ลักษณะแบบสอบถามเปน็ แบบสารวจรายการ (check list) เพอื่
สอบถามข้อมลู เพศ อายุ ศาสนา การศึกษาสูงสดุ และอาชพี ทงั้ หมด 8 ข้อ

สว่ นที่ 2 การส่ือสารเพ่ือสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือในการขับเคลื่อน
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ลักษณะแบบสอบถามเป็น
แบบสารวจรายการ (check list) เพ่ือสอบถามข้อมูลการรับรู้ถึงการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐
การสร้างความรูแ้ ละเข้าใจเก่ียวกับบทบาทของชุมชนท้องถน่ิ ในการขับเคลอื่ นโมเดลประเทศไทย ๔.๐
การสื่อสารเพื่อการสร้างความร่วมมือการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ และช่องทางการสื่อสาร
ในชุมชน

สว่ นท่ี 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทชมุ ชนท้องถ่ินกับการขบั เคลอ่ื นโมเดลประเทศไทย
๔.๐ กรณีศึกษา หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง โดยผู้ศึกษาได้ตั้งคาถามท้ังหมด 30 ข้อ
และแบ่งคาถามออกเป็น 6 ด้าน ประกอบไปด้วย 1) ด้านสุขภาพและสวัสดิการชุมชน ๒) ด้าน
วัฒนธรรมพื้นเมือง การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และภูมิปัญญาท้องถ่ิน ๓) ด้านสภาพแวดล้อม ความ
ปลอดภัย และความสงบสุขของชุมชน ๔) ด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีอุตสาหกรรม การพัฒนาการค้า
และการทอ่ งเทย่ี ว ๕) ด้านสทิ ธมิ นษุ ยชน และ ๖) ด้านการมีสว่ นรว่ ม และความก้าวหนา้

ส่วนท่ี 4 แนวทางในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโมเดล
ประเทศไทย 4.0 ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการประสานพลังประชารัฐมุ่งสู่เป้าหมาย
“ความมนั่ คง ม่งั คงั่ และยง่ั ยืน” ประกอบด้วยคาถามเกยี่ วกับจุดเด่นของหมู่บา้ นจารุง ปัญหาอุปสรรค
และข้อเสนอแนะในการขับเคล่อื นโมเดล

๒๘

3.3 การทดสอบเครอื่ งมือท่ีใช้ในการศกึ ษา
การหาความเท่ียงตรง (Validity) ผู้ศึกษาได้สร้างแบบสอบถามข้ึนโดยอาศัยกรอบแนวคิด

ทฤษฎี และผลงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง แล้วนาไปปรึกษาท่ีปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาในการปรับปรุง แก้ไข
ให้ถูกต้องเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ตามจุดมุ่งหมายและครอบคลุมเน้ือหาของ
การศกึ ษาแลว้ จงึ ดาเนนิ การข้ันตอนตอ่ ไป

3.4 การวัดตัวแปร
ความคิดเห็นเกีย่ วกับบทบาทชมุ ชนท้องถ่นิ กับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ กรณศี ึกษา

หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ผู้ศึกษาวัดตามมาตรวัดแบบลิเคิร์ท (likert scale) โดยแบ่ง
ความคิดเห็นเป็น 5 ระดบั ดังนี้

การใหค้ ะแนนรายขอ้

ระดับ คะแนน

มากทีส่ ดุ 5
มาก 4
ปานกลาง 3
น้อย 2
นอ้ ยที่สดุ 1

การอภิปรายผลของลักษณะแบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการ
ขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ กรณีศึกษา หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ใช้มาตรวัด
ข้อมูลประเภทอันตรภาคช้ัน (Interval Scale) ผู้ศึกษาใช้เกณฑ์เฉลี่ยการอภิปรายผลโดยอาศัยสูตร
การคานวณชว่ งกวา้ งของชั้นดงั น้ี

ความกว้างของอนั ตรภาคชั้น = คะแนนสงู สุด – คะแนนต่าสุด
จานวนชน้ั

แทนค่า = 5 – 1
5

= 0.80

๒๙

จากช่วงช้นั ของคะแนนแบ่งระดบั คะแนนและให้ความหมายดงั นี้

คะแนนเฉล่ยี การแปลความหมาย

4.21 – 5.00 มคี วามคิดเห็นมากท่สี ุด
3.41 - 4.20 มีความคิดเห็นมาก
2.61 - 3.40 มีความคดิ เหน็ ปานกลาง
1.81 - 2.60 มคี วามคิดเหน็ น้อย
1.00 - 1.80 มคี วามคดิ เหน็ น้อยทส่ี ุด

3.5 วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้ศึกษาไดท้ าการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล 2 ประเภท ดงั นี้
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ผู้ศึกษาดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยการ

แจกแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยตรง จากนั้นจึงนามาตรวจสอบความสมบูรณ์
เพื่อนาขอ้ มูลทไ่ี ดไ้ ปวิเคราะหท์ างสถติ ดิ ว้ ยโปรแกรมสาเรจ็ รูป

2. ขอ้ มลู ทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการศกึ ษาจากแหล่งที่มาต่าง ๆ เช่น
เอกสารข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชน และข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เพ่ือใช้ประกอบการกาหนดกรอบแนวคิด
ในการศกึ ษาครั้งนี้ และให้ผลการศึกษามีความสมบรู ณ์ยิง่ ข้ึน

3.6 การวิเคราะห์ข้อมลู
ผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม นามาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่อง

คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS (Statistic Package for Social Science) มีขั้นตอน
ดังต่อไปนี้

1. ตรวจสอบความสมบรู ณ์และความถูกต้องของแบบสอบถาม
2. บันทึกข้อมูลลงในแบบบนั ทึกข้อมลู และเครื่องคอมพิวเตอรต์ ามลาดับ
3. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
4. ประมวลผลตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย

3.7 สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคร้ังนี้ คือ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)

ใช้วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะส่วนบุคคล โดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
t-test, F- Test และกาหนดระดบั ค่านยั สาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05

๓๐

บทท่ี 4
ผลการศกึ ษา

การศึกษา เร่อื ง “บทบาทชุมชนทอ้ งถ่นิ กบั การขบั เคลื่อนโมเดลประเทศไทย 4.0 กรณศี ึกษา
หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง” ในครั้งน้ี ผู้ศึกษานาเสนอผลการศึกษา แบ่งออกเป็น 6 ส่วน
ดังน้ี

1. ขอ้ มลู ท่ัวไป
2. การสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือในการขับเคล่ือนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ ของหมูบ่ า้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง
3. บทบาทชุมชนท้องถ่ินกับการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ กรณีศึกษา หมู่บ้านจารุง
อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง
4. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อบทบาทชุมชนท้องถิ่นกับการขับเคล่ือนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ หมู่บา้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ตามขอ้ มลู ท่วั ไป และการสอ่ื สารเพื่อสร้าง
การรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือในการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย 4.0 ของหมู่บ้านจารุง
อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง
5. แนวทางในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย 4.0
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการประสานพลังประชารัฐมุ่งสู่เป้าหมาย “ความมั่นคง มั่งคั่งและ
ยง่ั ยืน”

๒.๑ ข้อมลู ทัว่ ไป
ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีจานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ส่วนเพศชาย

มีจานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 ส่วนมากมีอายุ 56 ปีข้ึนไป จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ
31.3 ท้งั หมดนับถือศาสนาพุทธ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 การศึกษาสูงสดุ ระดับปรญิ ญาตรี จานวน 28 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.3 และสว่ นมากประกอบอาชีพธุรกิจสว่ นตวั จานวน 14 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.2

ตารางที่ 4.1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป

ข้อมูลท่ัวไป จานวน ร้อยละ
รวม 48 100.0
เพศ
ชาย 18 37.5
หญงิ 30 62.5

อายุ 5 10.4
อายุนอ้ ยกว่า 25 ปี 8 16.7
25 - 35 ปี 10 20.8
36 - 45 ปี

๓๑

ขอ้ มูลท่ัวไป จานวน รอ้ ยละ
46 – 55 ปี 10 20.8
56 ปีขึ้นไป 15 31.3
ศาสนา
พุทธ 48 100.0
การศึกษาสูงสุด
ประถมศกึ ษา 16 33.3
มัธยมศึกษา/ปวช.
ปวส./อนุปริญญาตรี 28 58.3
ปริญญาตรี 4 8.3
ปรญิ ญาโท
อาชีพ 10 20.8
ราชการ 4 8.3
รฐั วิสาหกิจ 12 25.0
เอกชน 14 29.2
เกษตรกร 8 16.7
ธุรกจิ ส่วนตวั 10 20.8
อนื่ ๆ

๔.๒ การส่ือสารเพ่อื สร้างการรับรู้ ความเขา้ ใจ และความรว่ มมอื ในการขบั เคล่อื นโมเดลประเทศไทย ๔.๐
ของหมู่บา้ นจารุง อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง

2.1 การรับรู้เก่ียวกับการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง
จังหวัดระยอง ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีการรับรู้เก่ียวขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐
ของหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง โดยส่วนมากรับรู้และเข้าใจบ้างในบางเร่ือง
ร้อยละ 47.9 รองลงมารับรู้ด้วยความเขาใจพอสมควร ร้อยละ 35.4 ส่วนการรับรู้ด้วยความเข้าใจมาก
มีเพยี งร้อยละ 16.7 รายละเอยี ดปรากฏตามตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 การรบั รู้เกีย่ วกบั การขบั เคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมู่บา้ นจารุง อาเภอแกลง
จงั หวัดระยอง

การรับรู้เก่ยี วกับการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ จานวน ร้อยละ
รับร้ดู ว้ ยความเขา้ ใจมาก 8 16.7
รบั ร้ดู ว้ ยความเข้าใจพอสมควร 17 35.4
รับรู้และเขา้ ใจบ้างเปน็ บางเรื่อง 23 47.9
9ไมเ่ คยรบั รู้ 0 0.0

๓๒

2.2 ช่องทางการรับร้เู ก่ียวกับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง
จังหวัดระยอง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม รับรู้ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐
ผ่านทางผู้นาชุมชนมากท่ีสุด ถึงร้อยละ 46.4 รองลงมา คือ เพ่ือนบ้านโดยการบอกต่อปากต่อปาก
ร้อยละ 39.6 และจากประกาศเสียงตามสาย ร้อยละ 25.0 รายละเอียดตามตารางท่ี 4.3 และ
ภาพที่ 4.1

ตารางท่ี 4.3 ชอ่ งทางการรบั รู้เก่ียวกับการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมบู่ ้านจารงุ
อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง

ชอ่ งทางการรับรู้ จานวน รอ้ ยละ
ผู้นาชุมชน 31 46.4
เพือ่ นบา้ น (บอกต่อ ปากต่อปาก) 19 39.6
ปา้ ยประกาศในชุมชน 6 12.5
ประกาศเสียงตามสาย 12 25.0
website ต่าง ๆ 4 8.3
E-mail, Line, Facebook เปน็ ต้น 5 10.4
โทรศพั ท์ ข้อความ (SMS) 2 4.2
เอกสารแจก 0 0.0
การเขา้ รว่ มประชุม 7 14.6

2 (4.02)(0.0)7 (14.6) 31 (46.4) ผ้นู าชุมชน
5 (10.4)
4 (8.3) เพอ่ื นบ้าน (บอกตอ่ ปาก
ตอ่ ปาก)
ปา้ ยประกาศในชมุ ชน

ประกาศเสยี งตามสาย

12 (25.0) website ตา่ ง ๆ
6 (12.5)
E-mail, Line,
19 (39.6) Facebook
โทรศัพท์ ข้อความ (SMS)

เอกสารแจก

ภาพที่ 4.1 ช่องทางการรับรู้เกี่ยวกับการขบั เคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมบู่ า้ นจารงุ
อาเภอแกลง จังหวัดระยอง

๓๓

2.3 การสร้างความรู้และเข้าใจเก่ียวกับบทบาทของชุมชนท้องถ่ินในการขับเคล่ือนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐ ผลการศึกษาพบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามคดิ เห็นส่วนใหญ่ทีเ่ หน็ วา่ ชุมชนมีการ
สื่อสารเพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจ จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 64.6 และ
อีกส่วนคิดเห็นว่าชุมชนไม่มีการส่ือสารเพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจ จานวน 17 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 35.4

ตารางที่ 4.4 การสรา้ งความรแู้ ละเขา้ ใจเกี่ยวกับบทบาทของชุมชนทอ้ งถ่นิ ในการขับเคล่ือนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐

การสร้างร้แู ละความเข้าใจของชุมชน จานวน ร้อยละ
มี 6 64.6
ไมม่ ี 17 35.4

2.4 ชอ่ งทางการส่อื สารในการสร้างความรูแ้ ละความเข้าใจเกีย่ วกับบทบาทของชมุ ชนท้องถ่ิน
ในการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่คิดเห็นว่าชุมชนมีความรู้และความเข้าใจโดยได้รับ
การสื่อสารจากช่องทางผู้นาชุมชน คิดเป็นร้อยละ 56.3 รองลงมา คือ ช่องทางจากเพื่อนบ้าน
(บอกต่อปากต่อปาก) คิดเป็นร้อยละ31.3 และจากการเข้าร่วมประชุม คิดเป็นร้อยละ 25.0
รายละเอียดปรากฏตามตารางที่ 4.5 และภาพท่ี 4.2

ตารางท่ี 4.5 ช่องทางการสือ่ สารเพือ่ สรา้ งความรู้และความเข้าใจเกีย่ วกับบทบาทของชมุ ชนท้องถน่ิ
ในการขบั เคลือ่ นโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมูบ่ า้ นจารงุ อาเภอแกลง
จงั หวัดระยอง

ชอ่ งทางการสื่อสารเพอื่ สร้างความรู้และความเข้าใจ จานวน ร้อยละ
ผู้นาชุมชน 27 56.3
เพ่ือนบา้ น (บอกต่อ ปากต่อปาก) 15 31.3
ปา้ ยประกาศในชุมชน 11 22.9
ประกาศเสยี งตามสาย 10 20.8
website ต่าง ๆ 2 4.2
E-mail, Line, Facebook เปน็ ต้น 6 12.5
โทรศัพท์ ข้อความ (SMS) 1 2.1
เอกสารแจก 2 4.2
การเข้ารว่ มประชมุ 12 25.0

๓๔

12 (25.0) 27 (56.3) ผู้นาชมุ ชน
2 (4.2) 15 (31.3)
1 (2.1 เพอ่ื นบา้ น (บอกต่อ ปาก
6 (12.5) ตอ่ ปาก)
ปา้ ยประกาศในชุมชน
2
(4.2) ประกาศเสยี งตามสาย

10 (20.8) website ต่าง ๆ

11 (22.9) E-mail, Line, Facebook
เป็นต้น
โทรศัพท์ ข้อความ (SMS)

เอกสารแจก

การเขา้ รว่ มประชมุ

ภาพที่ 4.2 ชอ่ งทางการสื่อสารเพ่อื สร้างความร้แู ละความเขา้ ใจเก่ยี วกับบทบาทของชุมชนทอ้ งถ่นิ
ในการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ของหมบู่ า้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง

2.5 ระดับการสร้างความร่วมมือของชุมชนในการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐
ของหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ผลการศึกษาพบว่า ระดับการสร้างความร่วมมือของ
ชุมชนภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความความคิด
เห็นว่าชุมชนนาหลักการประชารัฐ (ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน) มาเป็นแนวทางในการ
ขับเคล่ือนโมเดลชุมชนท้องถ่ิน ๔.๐ มากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.48 รองลงมา คิดเห็นว่าชุมชน
มีการสร้างความเขา้ ใจกับประชาชนในการดาเนินกิจกรรมเพอ่ื ขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ และ
ชุมชนมีการสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนมาเข้าร่วมขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ให้ประสบ
ผลสาเร็จ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน คือ 3.42 ส่วนชุมชนมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ร่วมแสดงความ
คิดเห็นต่อการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นน้อยท่ีสุด
คา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 3.31 รายละเอียดปรากฏตามตารางท่ี 4.4

๓๕

ตารางที่ 4.6 จานวน รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี และระดบั ความคดิ เห็นต่อการสร้างความรว่ มมือของชมุ ชน

รอ้ ยละการสรา้ งความร่วมมือ ระดบั

การสรา้ งความร่วมมือ มาก มาก ไมแ่ น่ น้อย น้อย คา่ S.D การสรา้ ง
ท่สี ุด ใจ ทีส่ ดุ เฉลย่ี ความ

รว่ มมือ

1. ชมุ ชนมกี ารสร้างความสมั พันธ์ 6 29 12 1 0 3.83 .663 มาก

ระหวา่ งผู้นาชุมชนกบั ประชาชน (12.5) (60.4) (25.0) (2.1) (0.0)

2. ชุมชนมีการสร้างความเข้าใจ 3 20 19 6 3.42 .794 มาก

กับประชาชนในการดาเนิน 6.3 41.7 39.6 12.5

กิจกรรมเพอื่ ขับเคล่ือนโมเดล

ประเทศไทย ๔.๐

3. ชุมชนมกี ารเปิดโอกาสให้ 3 18 21 3 3 3.31 .926 ไม่แน่ใจ

ประชาชนไดร้ ว่ มแสดงความ 6.3 37.5 43.8 6.3 6.3

คิดเหน็ ตอ่ การขับเคลอ่ื นโมเดล

ประเทศไทย ๔.๐

4. ชุมชนมีการสร้างแรงจูงใจ 6 16 18 8 0 3.42 .919 มาก

ให้ประชาชนมาเข้ารว่ ม 12.5 33.3 37.5 16.7 0.0

ขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย๔.๐

ให้ประสบผลสาเร็จ

5. ชุมชนนาหลกั การประชารฐั 3 23 17 4 1 3.48 .825 มาก

(ภาครฐั ภาคเอกชน ภาค 6.3 47.9 35.4 8.3 2.1

ประชาชน) มาเปน็ แนวทางใน

การขบั เคลื่อนโมเดลชุมชน

ท้องถ่นิ ๔.๐

รวม 3.49 .825 มาก

๓๖

4.3 บทบาทชุมชนท้องถ่ินหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง กับการขับเคล่ือนโมเดล
ประเทศไทย ๔.๐

ผลการศึกษา บทบาทชุมชนท้องถ่ินหมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยองกับการขับเคล่ือน
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ ในภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในร้ายด้าน พบว่า ชุมชน
มีการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ในด้านด้านสุขภาพและสวัสดิการชุมชน และด้านวัฒนธรรม
พน้ื เมือง การพฒั นาทรัพยากรบุคคล และภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ มากที่สดุ โดยมีคา่ เฉล่ยี เทา่ กนั คอื 3.62
รองลงมา คือ การขับเคลื่อนด้านการมีส่วนร่วมและความก้าวหน้า ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.42 และมีการ
ขับเคลื่อนด้านสภาพแวดล้อม ความปลอดภัย และความสงบสุข และด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย
มีอุตสาหกรรม การพัฒนาการค้า และการท่องเท่ียว เท่าๆ กัน โดยมีค่าเฉล่ีย 3.40 ส่วน
การขบั เคลอื่ นด้านสทิ ธมิ นุษยชน พบว่า นอ้ ยท่ีสุด ค่าเฉลยี่ เท่ากับ 3.3. รายละเอยี ดตามตารางท่ี 4.7
และภาพที่ 4.3

ตารางที่ 4.7 สรปุ ภาพรวมบทบาทชมุ ชนท้องถ่นิ หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง
กบั การขับเคลอ่ื นโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ใน 6 ดา้ น

การขบั เคลอ่ื นโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ค่าเฉลยี่ S.D ระดับ
ของหมู่บา้ นจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ความคดิ เห็น

๑. ด้านสุขภาพและสวสั ดกิ ารชมุ ชน 3.62 .859 มาก

2. ดา้ นวัฒนธรรมพ้ืนเมือง การพัฒนาทรัพยากรบุคคล 3.62 .901 มาก

และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น

3. ด้านสภาพแวดล้อม ความปลอดภัย และความสงบ 3.40 .9372 ปานกลาง

สุข

4. ดา้ นเทคโนโลยีที่ทนั สมยั มอี ตุ สาหกรรม การ 3.40 1.097 ปานกลาง

พฒั นา

การค้า และการท่องเที่ยว

5. ดา้ นสิทธิมนุษยชน 3.30 .991 ปานกลาง

6. ดา้ นการมสี ่วนรว่ มและความกา้ วหนา้ 3.42 1.017 มาก

รวม 3.46 0.967033 มาก

๓๗

6. ดา้ นการมสี ว่ นร่วมและ
ความก้าวหน้า

5. ดา้ นสทิ ธมิ นุษยชน

4.ดา้ นเทคโนโลยที ี่ทันสมัย มีอุตสาหกรรม
การพฒั นาการค้า และการท่องเทยี่ ว

3. ด้านสภาพแวดล้อม ความปลอดภัย
และความสงบสุข

2. ด้านวฒั นธรรมพื้นเมอื ง การพฒั นา
ทรพั ยากรบคุ คล และภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่

๑. ด้านสขุ ภาพและสวสั ดกิ ารชุมชน

3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7

ภาพท่ี 4.3 สรปุ ภาพรวมบทบาทชมุ ชนท้องถ่ินหมู่บา้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง
กบั การขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ ใน 6 ดา้ น

ตารางท่ี 4.8 จานวน รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ และระดบั ความคดิ เห็นต่อการขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐
หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง ด้านสขุ ภาพและสวสั ดิการชมุ ชน

การขบั เคล่อื นโมเดล ร้อยละความคดิ เหน็ นอ้ ย ค่า S.D ระดบั
ประเทศไทย ๔.๐ หมูบ่ า้ นจารุง มาก ที่สุด เฉลย่ี ความ
อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ทสี่ ดุ มาก ปาน นอ้ ย คิดเหน็
กลาง

๑. ดา้ นสุขภาพและสวัสดิการชมุ ชน

๑.๑ ชมุ ชนมกี ารสง่ เสรมิ ให้ 7 23 13 5 0 3.67 .859 มาก

ประชาชนเขา้ ถงึ การดูแล และ 14.6 47.9 27.1 10.4 0.0

การรักษาของสถานพยาบาล

ของรฐั และเอกชนอย่างทั่วถงึ

และเท่าเทียม

๑.๒ ชุมชนมีการสง่ เสริมสขุ ภาพ 5 27 12 4 0 3.69 .776 มาก

และอนามยั ของประชาชน เชน่ 10.4 56.3 25.0 8.3 0.0

การลงเยีย่ มบ้าน การตรวจ

สุขภาพร่างกาย การตรวจ

สุขภาพฟันและช่องปาก

การตรวจวดั สายตา

๓๘

การขับเคลอื่ นโมเดล รอ้ ยละความคดิ เห็น นอ้ ย ค่า S.D ระดับ
ประเทศไทย ๔.๐ หมู่บ้านจารุง มาก ทีส่ ุด เฉลี่ย ความ
อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ทส่ี ุด มาก ปาน น้อย คิดเห็น
กลาง

๑.๓ ชุมชนมกี ารจดั ระบบ 6 27 9 5 1 3.67 .907 มาก

สง่ เสรมิ สขุ ภาพของประชาชน 12.5 56.3 18.8 10.4 2.1

เช่น สถานท่ีออกกาลังกายใน

ชมุ ชน สวนสาธารณะชมุ ชน

การสนบั สนุนการแข่งขันกฬี า

ชมุ ชน การออกกาลังกาย

๑.๔ ชุมชนมีการจัดการป้องกนั 3 21 18 5 1 3.42 .846 มาก

อันตรายด้านสุขภาพที่อาจ 6.3 43.8 37.5 10.4 2.1

เกดิ ข้ึนในชมุ ชน เช่น

การป้องกนั ยุงลาย การฉีด

วคั ซีน การส่งเสรมิ การปลกู ผัก

สวนครัวปลอดสารพิษ ไฟส่อง

สว่าง การตดั หญ้าในทีร่ กร้าง

การปรับปรุงภูมิทัศน์

1.5 ชุมชนมกี ารจดั ตงั้ กองทุน 8 22 12 6 0 3.67 .907 มาก

ชมุ ชน หรือจดั ตัง้ สหกรณ์เพอ่ื 16.7 45.8 25.0 12.5 0.0

ดแู ลดา้ นสุขภาพและ

สวัสดิการชุมชน

รวม 3.62 .859 มาก

ด้านสุขภาพและสวัสดิการชุมชน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อ
การขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ด้านสุขภาพและ
สวสั ดกิ ารชุมชน ด้านสขุ ภาพและสวัสดกิ ารชมุ ชน ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก มีคา่ เฉล่ยี เท่ากบั 3.62
โดยมคี วามคิดเห็นมากท่ีสุดว่าชุมชนมีการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยของประชาชน เชน่ การลงเย่ียมบ้าน
การตรวจสุขภาพร่างกาย การตรวจสุขภาพฟันและช่องปาก การตรวจวัดสายตา ค่าเฉลี่ย 3.69
รองลงมา คิดเห็นว่าชุมชนมีการส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงการดูแล และการรักษาของสถานพยาบาล
ของรัฐและเอกชนอย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม และชุมชนมีการจัดระบบส่งเสริมสุขภาพของประชาชน
เช่น สถานท่ีออกกาลังกายในชุมชน สวนสาธารณะชุมชน การสนับสนุนการแข่งขันกีฬาชุมชน
การออกกาลังกาย และชุมชนมีการจัดต้ังกองทุนชุมชน หรือจัดต้ังสหกรณ์เพื่อดูแลด้านสุขภาพและ
สวัสดิการชุมชน โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากัน คือ 3.67 และคิดเห็นว่าชุมชนมีการจัดการป้องกันอันตราย
ดา้ นสขุ ภาพท่อี าจเกดิ ขน้ึ ในชุมชน เช่น การป้องกนั ยุงลาย การฉดี วคั ซนี การสง่ เสรมิ การปลกู ผกั สวนครัว
ปลอดสารพิษ ไฟส่องสว่าง การตัดหญ้าในที่รกร้าง การปรับปรุงภูมิทัศน์ อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด
คา่ เฉลย่ี 3.42

๓๙

ตารางท่ี 4.9 จานวน ร้อยละ คา่ เฉลี่ย และระดับความคดิ เหน็ ต่อการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐
หมูบ่ า้ นจารุง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ด้านวฒั นธรรมพน้ื เมอื ง การพฒั นาท รั พ ย า ก ร
บคุ คล และภูมิปัญญาท้องถ่ิน

การขบั เคลอ่ื นโมเดล รอ้ ยละความคิดเห็น นอ้ ย ค่า S.D ระดบั
ทสี่ ดุ เฉล่ีย ความ
ประเทศไทย ๔.๐ หมู่บา้ นจารงุ มาก มาก ปาน นอ้ ย คดิ เหน็
อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ที่สุด กลาง

2. ดา้ นวฒั นธรรมพ้ืนเมือง การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ

๒.๑ ชมุ ชนมีการสบื สาน 9 20 15 4 3.71 .874 มาก

ประเพณี วฒั นธรรม วิถชี วี ติ 18.8 41.7 31.3 8.3

และความเป็นอยู่ด้ังเดมิ และ

ภูมิปญั ญาท้องถิ่นของคนใน

ชุมชน ใหค้ งอย่แู ละสบื ทอดต่อ

ประชาชนรนุ่ ตอ่ ไปในอนาคต
๒.๒ ชมุ ชนมีแหล่งเรยี นรใู้ น 9 19 17 3 3.71 .849 มาก
ชุมชน เชน่ สถานศึกษา ท้ังใน 18.8 39.6 35.4 6.3
ระบบและนอกระบบ วดั
พพิ ธิ ภัณฑ์ ศนู ย์การเรียนรู้
ชุมชน ห้องสมุดชมุ ชน ท่เี ป็น
แหล่งรวมองค์ความรู้ เป็น
สถานทีฝ่ ึก และพฒั นาทักษะ
ความสามารถของประชาชน
ให้ร้เู ท่าทนั สถานการณ์โลก
เทคโนโลยีและการส่ือสาร
๒.3 ชุมชนมีการส่งเสริมความ 6 17 21 4 3.52 .825 มาก
ร่วมมือกับหน่วยงานวชิ าการ 12.5 35.4 43.8 8.3
ภายนอก เพื่อใหห้ นว่ ยตา่ ง ๆ
ส่งเสริมให้ชมุ ชนมีความรู้
มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การ
ทบทวนและถอดบทเรยี นรู้
รวมถงึ มีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลองค์ความรู้ของชมุ ชนให้
คงอยู่สบื ทอดสูค่ นรุ่นใหมต่ ่อไป

๒.4 ชมุ ชนมีการรวมกลุม่ ของ 9 21 12 6 3.69 .926 มาก

คนในชุมชนเพ่ือพัฒนา 18.8 43.8 25.0 12.5

ศักยภาพตนเองและศักยภาพ

ของชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

และพ่ึงตนเองได้อย่างยงั่ ยืน

๔๐

การขบั เคลื่อนโมเดล ร้อยละความคดิ เห็น นอ้ ย ค่า S.D ระดบั
ประเทศไทย ๔.๐ หมูบ่ า้ นจารงุ มาก ท่สี ุด เฉลี่ย ความ
อาเภอแกลง จังหวัดระยอง ทส่ี ดุ มาก ปาน นอ้ ย คดิ เห็น
กลาง

เช่น กลุ่มแมบ่ า้ น กลุ่มอาชีพ
กลุม่ เกษตรกร กล่มุ สหกรณ์

๒.5 ชุมชนมีการพัฒนา 8 16 19 2 3 3.50 1.031 มาก

ศกั ยภาพคนในชุมชนให้มี 16.7 33.3 39.6 4.2 6.3

ความรู้ ความเก่ง ความดีและ

มีคุณธรรม โดยเฉพาะเด็กและ
เยาวชนมกี ารปลูกฝ่งั ค่านยิ มทดี่ ี
เชน่ ความมวี ินัย ความพอเพียง
และการไมท่ ุจรติ คอร์รปั ชนั่

รวม 3.62 .901 มาก

ด้านวัฒนธรรมพ้ืนเมือง การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อการขับเคล่ือนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ หมู่บ้านจารุง อาเภอแกลง
จังหวัดระยอง ด้านวัฒนธรรมพ้ืนเมือง การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในภาพรวม
อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.62 โดยมีความคิดเห็นมากท่ีสุดว่าชุมชนมีการสืบสานประเพณี
วัฒนธรรม วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ดั้งเดิม และภูมิปัญญาท้องถ่ินของคนในชุมชนให้คงอยู่และสืบทอด
ตอ่ ประชาชนรนุ่ ต่อไปในอนาคต และชุมชนมีแหลง่ เรียนรูใ้ นชุมชน เชน่ สถานศึกษา ท้ังในระบบและนอก
ระบบ วัด พิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ห้องสมุดชุมชน ที่เป็นแหล่งรวมองค์ความรู้ เป็นสถานที่
ฝึกและพัฒนาทักษะความสามารถของประชาชนให้รู้เท่าทันสถานการณ์โลก เทคโนโลยีและ
การส่ือสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน คือ 3.71 รองลงมาคิดเห็นว่าชมุ ชนมีการรวมกลุ่มของคนในชุมชน
เพื่อพัฒนาศักยภาพตนเองและศักยภาพของชุมชนให้มีความเข้มแข็งและพ่ึงตนเองได้อย่างยงั่ ยืน เช่น
กลุม่ แมบ่ า้ น กล่มุ อาชพี กลุ่มเกษตรกร กลุ่มสหกรณ์ ค่าเฉล่ีย 3. 69 และคดิ เหน็ ว่าชุมชนมีการพัฒนา
ศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้ ความเก่ง ความดีและมีคุณธรรม โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนมีการ
ปลูกฝังค่านิยมที่ดี เช่น ความมีวินัย ความพอเพียง และการไม่ทุจริตคอร์รัปช่ัน มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด คือ

3.50


Click to View FlipBook Version