The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณ Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 -2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณ Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 -2

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณ Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 -2

178 แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพือ่ พฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

ของสถานศกึ ษา เพอื่ นำ� ขอ้ มลู ไปใชพ้ ฒั นาการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ
Coding ให้มีประสทิ ธิภาพเพิ่มขึ้น
5) รัฐควรส่งเสริมให้วิทยาการค�ำนวณ Coding เป็นนโยบายหลัก
หรอื วาระแห่งชาติ โดยในการปฏริ ูปหลักสตู รการศกึ ษาของประเทศ ผูบ้ ริหาร
ระดับสูงที่มีอ�ำนาจในการตัดสินใจเชิงนโยบายต้องพิจารณาปัญหาและ
ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนกับประเทศอย่างเป็นองค์รวม และส่งเสริมสนับสนุน
ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องทุกระดับให้เข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิรูปหลักสูตร
อย่างแท้จริง เพ่ือรวมพลังร่วมพัฒนาเยาวชนให้เป็นรากฐานก�ำลังคน
ทม่ี คี ณุ ภาพของประเทศ สามารถสรา้ งสรรคคแ์ ละผลติ นวตั กรรม และพฒั นา
การศึกษาให้เป็นฐานพลังท่ีส�ำคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ
ให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่การป็นประเทศรายได้สูง
ไดอ้ ยา่ งมั่นคง ม่งั ค่งั และยั่งยืน
6) รัฐต้องพัฒนาแนวทางความร่วมมือและบูรณาการการด�ำเนินงาน
ร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐและส่งเสริมความร่วมมือกับภาคเอกชน
เพอ่ื สนบั สนนุ การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณCoding ใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทาง
เดยี วกนั อยา่ งเปน็ ระบบตอ่ เนอ่ื งทงั้ ในดา้ นหลกั การ และแนวคดิ ของวทิ ยาการ
ค�ำนวณ Coding และการจัดบริการโครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ ให้ครอบคลุม
ท่ัวถึงสถานศึกษาทุกแห่ง ซ่ึงจะเป็นการลดความซ้�ำซ้อน และเสริมพลังร่วม
เพือ่ บรรลุส่เู ป้าหมายการพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
7) รัฐต้องก�ำหนดนโยบายการพัฒนาภาษาต่างประเทศให้เยาวชนไทย
อย่างเร่งด่วน เพ่ือสร้างโอกาสในการพัฒนาและศึกษาเรียนรู้จากระบบ
ออนไลน์หรืออินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นการลดข้อจ�ำกัด
ด้านภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษของเยาวชนไทย รวมถึง
เพ่มิ โอกาสในการเขา้ ถงึ การเรียนรขู้ องเยาวชนไทยในอนาคต

แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 179
เพ่อื พฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ข้อเสนอระยะยาว (20 ป)ี
1) หน่วยงานรับผิดชอบหลัก/หน่วยงานร่วมด�ำเนินการ วางแผนและ
ก�ำหนดนโยบายเพ่ือเตรียมพร้อมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณ
Coding ในระยะ 20 ปีข้างหน้าให้สามารถรองรับและปรับตัวได้ทันกับ
เทคโนโลยีเกิดใหม่ในอนาคต โดยต้องมีการพัฒนารูปแบบและสร้าง
กระบวนการเรียนรู้แนวใหม่อย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการบูรณาการวิชา
วทิ ยาการค�ำนวณ Coding กับวิชาอ่นื ทกุ รายวชิ า
2) หน่วยงานรับผิดชอบหลัก/หน่วยงานร่วมด�ำเนินการและสถานศึกษา
เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจดา้ นภยั คกุ คามจากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เนอ่ื งจากในอนาคต
จะมีการน�ำ AI และหุ่นยนต์มาแทนแรงงานมนุษย์มากขึ้น ซึ่งนับเป็นภัย
คุกคามต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ รวมทั้งจะเกิดภัยคุกคามรูปแบบใหม่
ตามมามากขนึ้ ผเู้ รยี นจงึ ตอ้ งรเู้ ทา่ ทนั ตอ่ ผลกระทบของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และ
มคี วามสามารถในการปรบั ตวั ใหท้ นั ตอ่ สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลง มที กั ษะ
เพ่อื วิเคราะห์หาโอกาสและความเสีย่ งท่ีจะเกิดขนึ้ จากภัยคุกคามดังกล่าวได้
3) หน่วยงานรับผิดชอบหลัก/หน่วยงานร่วมด�ำเนินการและสถานศึกษา
ให้ความส�ำคัญกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยการจ�ำอย่างถูกต้อง โดย
สง่ เสริมใหน้ ำ� หลักการของวิชาวิทยาการคำ� นวณ Coding ซ่งึ เป็นการพัฒนา
กระบวนการคิดท่ีมีเหตุผล มาใช้ในการพิจารณาตัดสินใจเลือกเนื้อหาหรือ
บทเรียนเพื่อใช้เป็นตัวอย่างและข้อมูลประกอบการการเรียนรู้เพื่อสร้าง
ความรู้ ความเขา้ ใจในสถานการณแ์ ละบรบิ ทแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ในอนาคตไดเ้ ปน็
อยา่ งดี ทั้งนี้เพ่ือเป็นการฝึกและพฒั นากระบวนการคดิ ให้ผูเ้ รยี นอกี ทางหน่ึง
4) หน่วยงานรับผิดชอบหลัก/หน่วยงานร่วมด�ำเนินการและสถานศึกษา
ส่งเสริมให้มีการบูรณาการวิชาวิทยาการค�ำนวณ Coding กับรายวิชาอื่น
โดยสอดแทรกกระบวนการคิดที่เน้นคุณธรรมและจริยธรรม เน่ืองจากในอีก
20 ปีข้างหนา้ การจดั รปู แบบการเรียนรวู้ ชิ าวิทยาการคำ� นวณ Coding อาจมี

180 แนวทางการส่งเสริมการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพื่อพฒั นาทกั ษะผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21

การเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากการพัฒนากระบวนการคิด ดังน้ัน การคิด
จึงจ�ำเป็นต้องเน้นและสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม เพ่ือให้ผู้เรียน
ประกอบสัมมาอาชีพสุจริต เข้าใจบทบาทหน้าที่ ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพ
ของผู้อ่ืน สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความเห็นอกเห็นใจเพ่ือนมนุษย์
เข้าใจความสมดุลของธรรมชาติ และสามารถด�ำรงตนในสังคมโลกได้
อยา่ งมคี วามสุข

แนวทางการสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 181
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

บรรณานุกรม

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2557). แนวทาง
การพฒั นาการศกึ ษาไทยกบั การเตรยี มความพรอ้ มสศู่ ตวรรษที่ 21.
พิมพค์ รงั้ ท่ี 1 กรุงเทพฯ : บริษัท พรกิ หวานกราฟฟิค จำ�กัด.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2557). แนวทาง
การพฒั นาการศกึ ษาไทยกบั การเตรยี มความพรอ้ มสศู่ ตวรรษที่ 21.
พิมพ์ครง้ั ท่ี 1 กรุงเทพฯ : บริษทั พริกหวานกราฟฟิค จำ�กัด.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2559). การวเิ คราะห์
ปจั จยั เชงิ สาเหตเุ พอ่ื พฒั นาสมรรถนะกำ�ลงั คนรองรบั โลกศตวรรษท่ี 21.
พิมพค์ รง้ั ที่ 1 กรุงเทพฯ : บริษัท พรกิ หวานกราฟฟคิ จำ�กัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2559). รายงาน
การวิจัยแนวโน้มภาพอนาคตการศึกษาและการเรียนรู้ของไทย
ในปี พ.ศ. 2573. พิมพ์ครั้งท่ี 1 นนทบรุ ี : บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำ�กดั .

กระทรวงศึกษาธิการ. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). รายงาน
ผลการศึกษาการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของต่างประเทศ.
พิมพ์คร้ังที่ 1 นนทบรุ ี : บรษิ ทั 21 เซน็ จรู ี่ จำ�กดั .

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2562).การพฒั นา
การศึกษานานาชาติเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
ของโลก. พิมพค์ รั้งท่ี 1 กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟคิ จำ�กัด.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2560). แผนการศกึ ษา
แหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2 กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั พรกิ หวาน
กราฟฟิค จำ�กัด.

182 แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพื่อพฒั นาทักษะผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2562). นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (อดั สำ�เนา)

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารวฒั นธรรมกฬี าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีญป่ี นุ่ .(2561).
คู่มือการศึกษาการเขียนโปรแกรมระดับประถมศึกษา ฉบับที่ 2
(Elementary School Programming Education Guide Second
Edition) สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562. จาก http://www.mext.
go.jp/component/a_menu/education/micro_detail/__icsFiles/
afieldfile/2018/11/06/1403162_02_1.pdf

กันต์ เอ่ียมอินทรา. (2562). Coding ภาษาแห่งอนาคต. สืบค้นเมื่อวันท่ี
27 มกราคม 2564. จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/
detail/647793

กชกร ความเจรญิ . (2561). ปรบั การเรยี นรเู้ พอื่ สรา้ งทกั ษะใหม.่ สบื คน้ เมอื่ วนั ที่
20 กนั ยายน 2562. จาก https://tdri.or.th/2018/06/tdri-apc2018-session2

กองบรรณาธกิ าร TCIJ. (1 ส.ค. 2562) นกั วชิ าการเตอื น ‘โคด้ ดง้ิ ’ หากไมพ่ รอ้ ม
ยง่ิ ถา่ งชอ่ งวา่ งการศกึ ษา. สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2562. จาก https://
www.tcijthai.com/news/2019/8/current/9261

เขมวดี พงศานนท.์ (2562). Coding คอื อะไร ครไู ทยพรอ้ มไหม ทำ�ไมหนู
ตอ้ งเรยี น. สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 27 มกราคม 2564. จาก https://thepotential.
org/knowledge/coding-in-school-scoop/

คณะกรรมการอสิ ระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (2562). แผนการปฏริ ปู ประเทศ
ดา้ นการศึกษา. กรงุ เทพฯ : สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

ครรชิต มาลัยวงศ์. (2562). ความหมายของ Coding. เอกสารประกอบ
การประชมุ งานมหกรรมการศกึ ษา : กา้ วสคู่ ณุ ภาพการศกึ ษาทดี่ กี วา่
ระหว่างวนั ที่ 26 - 27 สงิ หาคม 2562.

แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 183
เพ่อื พฒั นาทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21

สำ�นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตร.ี (2562). คำ�แถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรี
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา.
กรุงเทพฯ : สำ�นกั เลขาธิการคณะรฐั มนตร.ี

ชลติ า ธญั ญะคปุ ต.์ (2562). วทิ ยาการคำ�นวณ ไมไ่ ดย้ ากอยา่ งทเ่ี ขา้ ใจผดิ .
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562. จาก https://mgronline.com/
science/detail/9610000128908

ชาตรี ตันสถาวีรัฐ. (2561). AI ยุทธศาสตร์ชาติยุคใหม่ของจีน. สืบค้น
เมอ่ื วนั ที่ 20 กนั ยายน 2562. จาก https://ahead.asia/2018/07/04/ai-new-
china-national-strategy/

ไชยสิทธ์ิ ตันตยกุล. (2561). ศักยภาพของจีนตามแผนงานยุทธศาสตร์
พัฒนาเทคโนโลยีของชาติ รวมท้ังผลกระทบต่ออุตสาหกรรม
และการค้าดิจิทัลของโลก. สืบค้นเมื่อวันท่ี 20 กันยายน 2562.
จาก http://www.vijaichina.com/articles/1101

ฐติ าพร จบสญั จร. (2559). ระบบการศกึ ษาของจนี อดตี ปจั จบุ นั อนาคต.
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562. จาก https://www.slideshare.
net/Klangpanya/ss-65000724

ธนชาติ นมุ่ นนท.์ (2562). เรียน “Coding” เพื่อใชช้ ีวิตในอนาคต. สืบค้น
เมือ่ วันท่ี 9 กันยายน 2562. จาก https://www.bangkokbiznews.com/
blog/detail/647886

เนคเทค. (2562). “Coding at School powered by KidBright กบั การกา้ วไปสู่
Thailand 4.0” สบื คน้ เมอื่ วนั ที่15กนั ยายน2562. จากhttps://www.nectec.
or.th/news/news-pr-news/KidBright-coding.html

เนคเทค. (2562). การประกวดโครงการ KidBright : Coding at School for
Teacher “KruKid Contest 2019” สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 29 กนั ยายน 2562.
จาก https://www.nectec.or.th/news/news-pr-news/KidBright-coding.html

184 แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพ่ือพัฒนาทกั ษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

ภาสกร เรอื งรอง และคณะ. (2561). Computational Thinking กบั การศกึ ษา
ไทย COMPUTATIONAL THINKING WITH THAI EDUCATION.
วารสารปญั ญาภิวัฒน์ ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 3 ประจำ�เดือนกนั ยายน - ธันวาคม
2561. สบื คน้ เมือ่ วันท่ี 13 กันยายน 2562. จาก https://journal.pim.ac.
th/ uploads/content/2018/12/o_1cvf7idaco6rlok3ct8up2r910.pdf

มหาวิทยาลัยเปิดแห่งญี่ปุ่น. (The Open University of Japan: OUJ).

การฝกึ อบรมครผู สู้ อน การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรด์ ว้ ย Scratch.
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562. จาก https://www.ouj.ac.jp/hp/
special/article/20190101_01.html
ยนื ภวู่ รวรรณ. (2562). การอา่ นออกเขยี นไดท้ างดจิ ิทัล (Digital Literacy)
กับวิทยาการคำ�นวณ (Computing). สบื คน้ เมอื่ วันที่ 9 กันยายน 2562.
จาก http://rmutiinfolit.blogspot.com/2018/05/
ยืน ภู่วรวรรณ และพันธุ์ปิติ เป่ียมสง่า. (2563). แนวทางการส่งเสริม
การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ โคด้ ดง้ิ (Coding) เพอ่ื พฒั นา
ทกั ษะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21. บทความ. เอกสารอัดสำ�เนา
รักษิต สุทธพิ งษ์. (2560). กระบวนทัศน์ใหมท่ างการศึกษากับการพฒั นา
ครูไทยในยุคดิจิตอล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ปีที่ 19 ฉบบั ที่ 2 เมษายน - มิถนุ ายน 2560. สืบคน้ เม่อื วันที่ 26 มกราคม
2634. จาก http://89933-Article Text-220901-1-10-20170616.pdf
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(2561).

คมู่ อื การใชห้ ลกั สตู รรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้
และตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
สาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา.
กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี

แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 185
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2561). คูม่ อื รายวชิ า
พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) ตามมาตรฐาน
การเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ
พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช
2551. กรงุ เทพฯ : สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

สหพันธ์การศึกษาแห่งอนาคต (Future Learning Consortium). (2562).
ศนู ยร์ วมการศกึ ษาการเขยี นโปรแกรมสำ�หรบั โรงเรยี นระดบั ประถม
ศกึ ษา (Programming Education Portal for Elementary Schools)
สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 20 กนั ยายน 2562. จาก https://miraino-manabi.jp/

สายพณิ กลุ กนกวรรณ ฮมั ดาน.ี (2559). Coding จำ�เปน็ แคไ่ หนสำ�หรบั เดก็ .
สืบค้นเมื่อวันท่ี 6 กันยายน 2562. จาก https://themomentum.
co/coding-for-kids/

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยศึกษานิเทศก์. รู้จัก
วิทยาการคำ�นวณ. เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการ “การนิเทศ
การจดั การเรยี นการสอนCoding และ ComputingScience ระหวา่ งวนั ท่ี
15-17 สงิ หาคม 2561.

สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำ�นักงาน
เลขานกุ ารของคณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าต.ิ (2562). ยทุ ธศาสตรช์ าติ
พ.ศ.2561-2580. พิมพ์คร้ังท่ี 2 กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการ
พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต.ิ

สำ�นกั ขา่ วชนิ หวั . (2562). เพอ่ื ความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา! จนี เผยโรงเรยี น
ทั่วประเทศเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้เกือบ 100%. สืบค้นเม่ือวันท่ี 20
กันยายน 2562. จาก http://www.xinhuathai.com/edu/

186 แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพอื่ พฒั นาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

สำ�นักข่าวชนิ หัว. (2562). การศกึ ษาตอ้ งเทา่ เทียม! จีนเลง็ เพมิ่ การสนบั สนุน
การศกึ ษาภาคบงั คบั ใหเ้ ดก็ ยากจน. สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี 20 กนั ยายน 2562.
จาก https://www.xinhuathai.com/edu/

สำ�นักข่าวชินหัว. (2562). โรงเรียนจนี ดันหลกั สูตรอคี อมเมริ ์ซข้ามพรมแดน
ปอ้ นบคุ ลากรเขา้ ตลาดที่กำ�ลงั โต. สืบคน้ เมื่อวันท่ี 20 กนั ยายน 2562.
จาก https://www.xinhuathai.com/edu/

สำ�นกั ขา่ วชนิ หวั . (2562). จนี ออกกฎบม่ เพาะเดก็ ป.ตรี เปน็ เจา้ ของธรุ กจิ -
สร้างนวัตกรรมใหม่. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562. จาก
https://www.xinhuathai.com/edu/

สำ�นักขา่ วชินหวั . (2562). มหาวิทยาลัยจีน-สิงคโปร์จับมือเปิดศูนย์วิจัย
ปัญญาประดิษฐ์ข้ามชาติ. สืบค้นเมื่อวันท่ี 20 กันยายน 2562.
จาก https://www.xinhuathai.com/edu/

สำ�นกั ขา่ วชนิ หวั . (2562). จนี เลง็ สรา้ งเขตนำ�รอ่ งพฒั นานวตั กรรมปญั ญา
ประดิษฐ์ 20 แห่งในปี 2023. สืบค้นเม่ือวันที่ 20 กันยายน 2562.
จาก https://www.xinhuathai.com/china/

สำ�นักข่าวชินหัว. (2562). จีนผลักดันหลักจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์
ปักก่ิงหวงั ท่วั โลกรว่ มมอื ยํ้าพฒั นา AI แต่ไม่แยง่ งานมนษุ ย์. สบื คน้
เมอ่ื วนั ที่ 20 กนั ยายน 2562. จาก https://www.xinhuathai.com/china/

สำ�นักข่าวชินหัว. (2562). มหาวิทยาลัยชิงหัวเปิดตัวศูนย์วิจัยบิ๊กดาต้า
เพอื่ พฒั นาปญั ญาประดิษฐจ์ นี . สืบคน้ เมอ่ื วันที่ 20 กันยายน 2562.
จาก https://www.xinhuathai.com/tech/

สำ�นักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั . (2560). รายงานประจำ�ปี 2560. สบื ค้น
เมื่อวนั ท่ี 3 กันยายน 2562. จาก https://www.depa.or.th/th/anualre-
port-and-docs.

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 187
เพอ่ื พัฒนาทักษะผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21

สำ�นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. (2560). โครงการ Coding Thailand.
สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2562. จาก https://www.depa.or.th/th/
digitalservice/digital-manpower-fund/studying-code-outside-the-
classroom

สวทช. (2562). แนะนำ�สวทช. สืบค้นเม่ือวันที่ 15 กันยายน 2562. จาก
https://www.nstda.or.th/th/aboutus-nstda.

สอนลกู เขียนโปรแกรม. (2561). ทำ�ความรจู้ ักหลกั สตู รวทิ ยาการคำ�นวณ
ของฟินแลนด์ท่ีเริ่มตั้งแต่ ป.1. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2562.
จาก https://school.dek-d.com/blog/coding/kidcoding/

สอนลูกเขียนโปรแกรม. (2561). หลักสูตรวิทยาการคำ�นวณในสิงคโปร์.
สืบค้นเม่ือวันท่ี 12 กันยายน 2562. จาก https://school.dek-d.com/
blog/coding/kidcoding/

สอนลูกเขียนโปรแกรม. (2561). หลักสูตรวิทยาการคำ�นวณของประเทศ
อังกฤษ. สืบค้นเม่ือวันที่ 12 กันยายน 2562. จาก https://school.
dek-d.com/blog/computationalthinking/

ศศิวิภา หาสุข. (2562). เปดิ มมุ มองการ Coding ท่ี First Code Acadamy.
สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 16 กนั ยายน 2562.จาก http://www. nectec.or.th/news/
news-pr-news/2019KidBright-Singapore.html

Natali Vlatko.(2015).The countries introducing coding into thecurriculum.
สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2564. จาก https://jaxenter.com/the-
countries-introducing-coding-into-the-curriculum-120815.html

OECD, Measuring the Digital Transformation A Roadmap for the future.
สืบค้นเม่ือวันที่ 18 ธันวาคม 2563. จาก http://doi.org/10.1787/
9789264311992-en., 2019

188 แนวทางการสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพอ่ื พฒั นาทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21

Stuart Dredge. (2014).Coding at school: a parent’s guide to England’s
new Computing. สบื คน้ เมอ่ื วนั ท ่ี 15 กนั ยายน 2562. จาก https://www.
theguardian. com/technology/2014/sep/04/coding-school-com-
puting-children-programming

The Partnership for 21stCentury Skills P21. Framework for 21st Century
Learning. สืบค้นเมื่อวันท่ี 21 มิถุนายน 2563. จาก https://www.
battelleforkids.org/networks/p21

World Intellectual Property Organization, Statistic Country Profile. สบื คน้
เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2564. จาก http://www.wipo.int/ipstats/en/
statistics/country_profile/

แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 189
เพ่ือพัฒนาทกั ษะผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21

ภาคผนวก

190 แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพอื่ พฒั นาทักษะผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21

รายชอื่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ่ีสัมภาษณ์

รฐั ศาสตร์ กรสตู . รองผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั (DEPA).
สมั ภาษณ,์ 10 กนั ยายน 2562.

รัตติยา พาณิชย์กุล มีบุศย์. หัวหน้าส่วนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลอาวุโส
ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA). สัมภาษณ์, 10 กันยายน
2562.

ชูกิจ ลิมปิจ�ำนงค์. ผู้อ�ำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท.). สัมภาษณ์, 11 กนั ยายน 2562.

เขมวดี พงศานนท์. ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารเครือข่ายและพัฒนาครูสถาบัน
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). สัมภาษณ์,
11 กนั ยายน 2562.

ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล. รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.). สมั ภาษณ,์ 18 กนั ยายน 2562.

กัลยา อุดมวิทิต. รองผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC). สมั ภาษณ,์ 18 กันยายน 2562.

โสภาวรรณ วทิ ย์ดำ� รง. ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยอาวโุ ส ฝา่ ยบรหิ ารโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค).
สัมภาษณ,์ 18 กันยายน 2562.

พีรนนั ท์ กาญจนาศรสี นุ ทร. ผจู้ ัดการงานพัฒนากำ� ลังคนดา้ นอิเล็กทรอนกิ ส์
และสารสนเทศ ฝา่ ยบรหิ ารโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
และคอมพวิ เตอรแ์ ห่งชาติ (NECTEC).สัมภาษณ,์ 18 กันยายน 2562.

เสาวลักษณ์ แก้วก�ำเนิด. นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
และคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (เนคเทค).สมั ภาษณ,์ 18 กันยายน 2562.

แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 191
เพอื่ พัฒนาทักษะผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21

โกศิลป์ ดวงใจ. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มสารสนเทศ ส�ำนักนโยบายและแผน
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน.
สมั ภาษณ์, 24 กนั ยายน 2562.

โชติมา หนูพริก. นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน.
สัมภาษณ์, 24 กันยายน 2562.

นพพรแสงอาทติ ย.์ นกั วชิ าการศกึ ษาชำ� นาญการสำ� นกั วชิ าการและมาตรฐาน
การศกึ ษา สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน. สมั ภาษณ,์ 24
กันยายน 2562.

พรชัย ถาวรนาน. นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ ส�ำนักพัฒนานวัตกรรม
การจัดการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน.
สมั ภาษณ,์ 24 กันยายน 2562.

192 แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
เพอ่ื พฒั นาทักษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

รายช่อื ผ้เู ขา้ รว่ มประชุมระดมความคิดเห็น
เรื่อง

แนวทางการส่งเสรมิ การจดั เรียนการสอน
วทิ ยาการคำ�นวณ โค้ดดิ้ง (Coding)

เพอื่ พฒั นาทักษะผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21
วันที่ 26 กนั ยายน 2563

ณ โรงแรมโฟร์วิงส์ สขุ ุมวทิ กรุงเทพมหานคร

รศ.ยนื ภู่วรวรรณ ผูท้ รงคุณวุฒพิ ิเศษ
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
รศ.ดร.พันธ์ปุ ิติ เป่ียมสงา่ ภาควิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
รศ.ดร.สมชาย นำ�ประเสรฐิ ชยั ผู้อำ�นวยการสำ�นกั บริการคอมพิวเตอร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
ผศ.ดร.พรี วัฒน์ วฒั นพงศ ์ ภาควิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
รศ.ดร.บปุ ผชาติ ทัฬหกิ รณ์ ขา้ ราชการบำ�นาญ คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นางฉลาดพนั ธุ์ โรจนพนั ธ ์ สำ�นกั บริการคอมพวิ เตอร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
ดร.ณัฏฐ์วิชดิ า เลศิ พงศ์รุจิกร ภาควชิ าอาชวี ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศ.ดร.ประภาส จงสถิตยว์ ฒั นา ภาควชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คณะวศิ วกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 193
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21

ผศ.ดร.สุกรี สินธภุ ญิ โญ ภาควชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คณะวศิ วกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นายจริ ะศกั ดิ์ สวุ รรณโณ ผู้เชยี่ วชาญ จากเนคเทค
นายผนวกเดช สวุ รรณทตั สถาบนั นโยบายวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวตั กรรม
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี
นายรวทิ ตั ภูห่ ลำ� กรรมการผจู้ ัดการ
บรษิ ัท โค้ด แอพพ์ จำ�กดั
ผศ.ดร.ฆนทั ต้ังวงศ์ศานต ์ วทิ ยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
รศ.ดร.ศาสตรา วงศธ์ นวส ุ สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์
คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่
ผศ.ดร.กรชวลั ชายผา สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ดร.กติ ย์ศริ ิ ช่อเจี้ยง วทิ ยาลัยการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์
วทิ ยาเขตภูเกต็
รศ.ดร.สรรพวรรธน์ กนั ตะบตุ ร ภาควิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์
คณะวศิ วกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
ดร.ชนิ วตั ร อศิ ราดสิ ัยกลุ ภาควชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์
คณะวศิ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ธรี วัฒน์ ประกอบผล ภาควชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยเี จา้ คุณทหารลาดกระบงั

194 แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพือ่ พฒั นาทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

ผศ.ดร.อัครา ประโยชน์ ภาควชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์
และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
น.ส.เลาขวัญ งามประสิทธ ิ์ สาขาวชิ าคณิตศาสตร์และ
วิทยาการคำ�นวณ
โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ์
นายพนมยงค์ แก้วประชมุ สาขาเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสรมิ การสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
น.ส.พีรนันท์ กาญจนาศรีสนุ ทร สวทช. ส่วนพฒั นา KidBright เพอ่ื การศกึ ษา
ดร.เสาวลกั ษณ์ แกว้ กำ�เนดิ สวทช. ส่วนพัฒนา KidBright เพื่อการศึกษา
นายอำ�นาจ มณดี ุลย ์ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
สำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา
เขต 16 (สงขลา - สตลู )
ผศ.ชยการ ครี รี ตั น์ โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
ฝา่ ยมธั ยมศึกษา
นางทพิ ยส์ ดุ า สรณะ โรงเรียนท่าใหม่ “พลู สวสั ด์ริ าษฎร์นุกลู ”
สำ�นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา
เขต 17 (จนั ทบรุ ี - ตราด)
นายวรี ชาติ มาตรหลบุ เลา โรงเรียนบ้านนางเตี้ยไศลทอง
สำ�นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา
รอ้ ยเอ็ด เขต 2
นายนพิ นธ์ เชิญทอง โรงเรยี นวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถัมภ์
นางสาวสชุ ิรา มอี าษา โรงเรยี นนครนายกวทิ ยาคม
สำ�นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
เขต 7 (นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว)

แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 195
เพ่ือพฒั นาทักษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

นางสาวกัญญาวีร์ วฒุ ศิ ิริพรรณ โรงเรียนมธั ยมวดั หนองจอก
สำ�นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
เขต 2
นางสาวชลธชิ า วงศ์ธเิ บศร ์ โรงเรียนสุนทรวัฒนา
สำ�นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ชยั ภูมิ เขต1
นางสาวชนันทธ์ ิดา ประพณิ โรงเรยี นวดั บา้ นม้า
สำ�นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
ลำ�พูน เขต 1
นายฐติ ิวฒั น์ จัดด ี โรงเรียนบ้านทา่ มกั กะสงั
สำ�นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
พิจิตร เขต 1
วา่ ที่ ร.ต.พรชัย ช่วยเอียด สำ�นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
กระบ่ี เขต 1
นายธิตวิ ฒั น์ ทองคำ� โรงเรยี นบา้ นนา้ํ อ้อม
สำ�นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
ยโสธร เขต 1
น.ส.นตุ ประวีณ์ ทศั นสุวรรณ โรงเรียนอนบุ าลบางมลู นาก
สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
พจิ ิตร เขต 2
น.ส.สงกรานต์ สว่างศรี โรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายนราธิป เตชะวันสกลุ โรงเรียนสาธติ แห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
น.ส.ฐภิ าพรรณ บุญม ี โรงเรียนสาธติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

196 แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21

คณะผู้จัดทำ�

ท่ปี รกึ ษา เลขาธิการสภาการศึกษา
ดร.อำ�นาจ วิชยานุวัต ิ (1 ตุลาคม 2563)
เลขาธิการสภาการศกึ ษา
ดร.สุภทั ร จำ�ปาทอง (1 ตุลาคม 2562 – 30 กนั ยายน 2563)
รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
ดร.พรี ศกั ดิ์ รตั นะ (1 ตุลาคม 2563)
รองเลขาธิการสภาการศกึ ษา
ดร.สมศักด์ิ ดลประสิทธิ ์ (1 ตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563)
ผู้อำ�นวยการสำ�นักนโยบายและแผนการศึกษา
นายกวิน เสอื สกลุ

ผูพ้ ิจารณารายงาน
ศ.ดร.กฤษมนั ต์ วฒั นาณรงค์ อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาเทคโนโลยเี ทคนคิ ศกึ ษา
และสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
รศ.ดร.ปานใจ ธารทศั นวงศ์ อาจารยป์ ระจำ�สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
ผศ.ดร.สวุ ฒั น์ บันลือ อาจารย์ประจำ�คณะวทิ ยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี

ผศู้ ึกษา วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และจัดทำ�รายงาน
นางโชตกิ า วรรณบรุ ี ผู้อำ�นวยการกลุ่มนโยบายและ
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
นางสาวดารณี อรุณวรากรณ ์ นกั วิชาการศกึ ษาชำ�นาญการพิเศษ

แนวทางการส่งเสริมการจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 197
เพ่อื พฒั นาทกั ษะผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21

บรรณาธกิ ารและพสิ จู นอ์ กั ษร ผูอ้ ำ�นวยการกลมุ่ นโยบายและ
นางโชตกิ า วรรณบรุ ี
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
นางโชตกิ า วรรณบรุ ี ผอู้ ำ�นวยการกลุ่มนโยบายและ
แผนการศึกษาแห่งชาติ
นางสาวโรจนา ถดั ทะพงษ์ นกั วิชาการศกึ ษาชำ�นาญพิเศษ
นางสาวพรรณงาม ธีระพงศ์ นกั วชิ าการศึกษาชำ�นาญการ
นายวทิ ยาศาสตร์ ดลประสทิ ธิ์ นักวิชาการศกึ ษาชำ�นาญการ
นางสาวณชั ชาพัชร์ เจริญทรัพย์ นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ัตกิ าร
นางสาวภทั รนิ ทร์ วเิ ศษสา นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ตั ิการ
นางสาววนรัชต์ ประสทิ ธเิ กตุ นกั วิชาการศึกษาปฏบิ ตั ิการ
นางสาวศริ ิพร จนั ทรท์ วี ผู้ชว่ ยนักวชิ าการ

หน่วยงานรบั ผดิ ชอบโครงการ
กลุ่มนโยบายและแผนการศึกษาแห่งชาต ิ
สำ�นักนโยบายและแผนการศกึ ษา
สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา
โทร. 02 668 7123 ต่อ 2431 โทรสาร 02 243 2787
e-mail : [email protected]
เว็บไซต์ https://www.onec.go.th

สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
99/20 ถนนสุโขทยั เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300
โทร. 0 2668 7123 ต่อ 2431 โทรสาร 0 2243 2787

แบบสอบถามการน�ำ “แนวทางการสง่ เสรมิ
การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพ่อื พฒั นาผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21”
ไปใชป้ ระโยชน์
ขอความรว่ มมือจากท่านผ้ใู ชเ้ อกสารฉบับน้ี
ตอบแบบสอบถาม เพ่อื เปน็ ข้อมลู ใหส้ �ำ นกั งานฯ น�ำ ไปใชใ้ นการพัฒนาการศกึ ษาตอ่ ไป
ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้


Click to View FlipBook Version