The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณ Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 -2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณ Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 -2

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณ Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 -2

78 แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
เพือ่ พัฒนาทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21

มีโรงเรียน สถาบันการศึกษา รวมทั้งบริษัทและองค์กรต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง
ร่วมพิจารณาวางแผน และพัฒนาการศึกษาด้านการเขียนโปรแกรม
(Programming Education) และกำ� หนดเปน็ นโยบายขนึ้ โดยในเดอื นมนี าคม
พ.ศ. 2561 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฯ ญป่ี นุ่ จงึ ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื การเรยี นเขยี นโปรแกรม
ระดบั ประถมศกึ ษาขนึ้ เพอ่ื ใหค้ วามรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั แนวคดิ ในเรอื่ งการเรยี น
การเขียนโปรแกรมและอธิบายแนวทางในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
ภาษาท่ีเข้าใจง่ายและมีค�ำศัพท์เฉพาะทางเทคนิคให้น้อยท่ีสุดเท่าที่จะเป็น
ไปได้ เพื่อเป็นการช่วยลดและแก้ปัญหาความกังวลใจของครูผู้สอนเก่ียวกับ
การเขียนโปรแกรม และเตรียมความพร้อมส�ำหรับการด�ำเนินการนโยบาย
การศึกษาด้านการเขยี นโปรแกรม
ภายหลงั จากการเผยแพรค่ มู่ ือดงั กล่าว ไดม้ ีโรงเรยี น สถานศึกษา
และคณะกรรมการด้านการศึกษาเข้าร่วมการจัดเตรียมการเรียนการเขียน
โปรแกรมเพม่ิ มากข้ึน กระทรวงศกึ ษาธิการฯ ญ่ปี นุ่ จงึ ได้รวบรวมขอ้ มลู และ
ข้อเสนอแนะ จัดท�ำคมู่ อื ฉบบั ที่สอง (Second Edition) ในเดอื นพฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2561 โดยไดป้ รบั ปรงุ เนอ้ื หาและเพมิ่ ตวั อยา่ งการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร (Information and Communication Technology :
ICT) ในการจัดการเรยี นการสอนการเขียนโปรแกรมในหลกั สูตรของโรงเรยี น
พร้อมท้ังจัดท�ำเว็บไซต์ศูนย์รวมการเรียนการเขียนโปรแกรมส�ำหรับโรงเรียน
ระดับประถมศึกษา (Programming Education Portal for Elementary
Schools) ชื่อ https://miraino-manabi.jp ซึ่งบริหารจัดการโดยสหพันธ์
การศึกษาแห่งอนาคต เพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลกรณีศึกษาและตัวอย่าง
การเรยี นการสอนตา่ ง ๆเกย่ี วกบั การเรยี นการเขยี นโปรแกรม สำ� หรบั หนว่ ยงาน
สถานศกึ ษาและบุคลากรทางการศึกษา รวมทงั้ ประชาชนทัว่ ไปท่สี นใจ
ส�ำหรับนโยบายการเรียนการเขียนโปรแกรมภาคบังคับ โดยเฉพาะ
อย่างย่ิงในระดับประถมศึกษา มีวัตถุประสงค์ท่ีไม่ได้มุ่งเน้นการเรียนภาษา

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 79
เพอ่ื พฒั นาทักษะผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Languages) หรือ
การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์(ComputerProgramming/Coding)โดยตรง
เป็นหลัก หากแต่เป็นการปลูกฝังและพัฒนาการคิดเชิงการเขียนโปรแกรม
(Programming Thinking) ซง่ึ เปน็ การคิดเชิงแก้ปญั หา (Problem - based
Thinking) ที่ใช้แนวทางจากการท�ำงานของคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสามารถในการคดิ (ThinkingAbility)ประกอบดว้ ย
การคดิ เชงิ ตรรกะ (Logical Thinking) ความสามารถในการวเิ คราะห ์ (Analytical
Ability) และความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ทักษะเหล่าน้ีสามารถน�ำไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรยี นวชิ าตา่ ง ๆ รวมทง้ั การใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั และการอยรู่ ว่ ม
กับบุคคลอน่ื ในสงั คมได้
ทง้ั นี้ยงั ไดม้ กี ารจดั แบง่ คณุ สมบตั แิ ละความสามารถทจ่ี ะไดจ้ ากการเรยี น
การเขยี นโปรแกรมและวชิ าอน่ื ๆ ไวเ้ ปน็ 3 ประเภทหลกั ไดแ้ ก่ (1) ความรแู้ ละ
ทักษะเพ่ือให้เกิดความตระหนักรู้ว่าคอมพิวเตอร์สามารถน�ำมาใช้งาน
ในชีวิตประจ�ำวัน และมีกระบวนการท่ีจ�ำเป็นต่อการใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้
(2) พลังในการคิด การตัดสินใจ และการแสดงออกสามารถสร้างเสริม
และสนับสนุนความคิดเชิงการเขียนโปรแกรมในทุกช่วงของการพัฒนา
ในแต่ละระดับชัน้ และ (3) ความสามารถในการเรียนรู้และความเปน็ มนุษย์
เพอื่ พฒั นาทศั นคตเิ ชงิ บวกในการใชป้ ระโยชนจ์ ากคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี
เพื่อคุณภาพชวี ติ และสังคมทดี่ ขี ึน้
วิทยาการค�ำนวณ Coding กับหลกั สูตรการเรยี นการสอน
ปัจจุบันวิชาวิทยาการค�ำนวณ Coding ได้รับการบรรจุเป็น
หลักสูตรวิชาบังคับในโรงเรียนช้ันประถมศึกษาท่ัวประเทศตั้งแต่ Grade 5
(เทียบเท่ากับป.5) โดยเริ่มเรียนต้ังแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2563 เนื้อหา
ของหนังสือเรียนประกอบด้วยพ้ืนฐานความรู้ด้านการเขียนโปรแกรม
ที่เข้าใจง่าย เขียนง่าย และสนุก เหมาะส�ำหรับเด็กและผู้เร่ิมเขียนโปรแกรม

80 แนวทางการสง่ เสริมการจัดการเรยี นการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
เพือ่ พฒั นาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

โดยมกี ารสอนเขยี นโปรแกรมเบอื้ งตน้ เชน่ การวาดรปู ทรงตา่ ง ๆ จากการปอ้ น
ค�ำส่ังด้วยดิจิทัล การท�ำไฟ LED กระพริบด้วยค�ำส่ังง่าย ๆ เพ่ือให้รับรู้และ
เข้าใจเร่ืองเทคโนโลยี รวมท้ังให้เด็กฝึกการใช้กระบวนการคิดที่เป็นระบบ
ผ่านการลองผิดลองถูก และเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ อย่างไรก็ตาม
สำ� หรบั ผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ จะเนน้ การปลกู ฝงั และพฒั นาการคดิ
เชิงการเขียนโปรแกรม (Programming Thinking) โดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์
(Unplugged) แต่ใช้อปุ กรณห์ รอื สอ่ื การเรยี นการสอนอน่ื ๆ เชน่ บตั รคำ� และ
กิจกรรมตา่ ง ๆ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้และความเขา้ ใจแบบง่ายท่สี ุดกอ่ น
นอกจากน้ัน ญ่ีปุ่นยังมีการปรับปรุงเน้ือหาหลักสูตรประถมศึกษา
และมัธยมศึกษาด้วยการเสริมความเข้มข้นของวิชาคณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ด้วยการเสริมการสอน โดยสอนซ�้ำเร่ืองเดิมก่อนเรียนเรื่องใหม่
มีการให้สังเกต ทดลอง และมอบหมายงานค้นคว้าเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
ในวิชาเลขคณิต คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มกี ารสอนวชิ าสถิติเปน็ วิชา
บังคับในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ทบทวนและเปลี่ยนแปลงบางเนื้อหา
ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความรใู้ หมท่ างวทิ ยาศาสตรใ์ นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
อีกดว้ ย
ตัวอย่างของการจัดการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรมท่ีได้
ด�ำเนินการไปแล้วในประเทศญ่ีปุ่น ได้แก่ (1) เมืองเทคะโอะ จังหวัดซากะ
กอ่ นการประกาศนโยบายการศกึ ษาการเขยี นโปรแกรม รฐั บาลทอ้ งถนิ่ ไดเ้ รมิ่
การจัดการสอนการเขียนโปรแกรมในโรงเรียนระดับประถมศึกษาบางแห่ง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 จะให้ครู
ในโรงเรียนเปน็ ผู้สอน และนักเรียนระดบั ประถมศึกษาปีที่ 3 และ 4 บางแหง่
ได้รับการสนับสนุนการสอนจากวิศวกรของบริษัทเอกชน (2) เมืองซากาอิ
จังหวัดชิบะ การปฏิรูปการศึกษาได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ
โรงเรยี น และบรษิ ทั เอกชน โดยในปี พ.ศ. 2560 ไดม้ กี ารใชโ้ ปรแกรม Scratch

แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 81
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

สำ� หรบั การเรยี นเขยี นโปรแกรมในโรงเรยี นรฐั บาลระดบั ประถมศกึ ษาทง้ั หมด
42 แห่ง เปน็ ต้น
การเตรียมความพร้อมของครูผ้สู อน
ในการเตรยี มความพรอ้ มของครผู สู้ อนเพอื่ การจดั การเรยี นการสอน
ด้านการเขียนโปรแกรม ญป่ี ่นุ ไดม้ กี ารฝึกอบรมครูโดยสถาบันการศึกษาและ
มหาวิทยาลัยต่าง ๆ เช่น มหาวิทยาลัยเปดิ แห่งญปี่ นุ่ (The Open University
of Japan : OUJ) เป็นต้น นอกจากน้ี เพอื่ เปน็ การปรับปรุงสภาวะแวดลอ้ ม
ทางดา้ น ICT ของโรงเรียน รวมถงึ ด้านความปลอดภยั ของข้อมูลทางด้าน IT
กระทรวงศึกษาธิการฯ ญี่ปุน่ จึงไดว้ างนโยบายการปรบั ปรงุ สภาวะแวดล้อม
ดา้ น ICT ในโรงเรียนตั้งแต่ พ.ศ. 2561 เปน็ ตน้ ไป (Policy for Improvement
of ICT Environment at Schools from 2018 Onwards) ซงึ่ เป็นแผนระยะ
5 ปี ส�ำหรับปีงบประมาณ 2561 - 2565 พร้อมท้ังได้จัดท�ำคู่มือนโยบาย
ความปลอดภัยของข้อมูลทางการศึกษา (Guidelines on Educational
Information Security Policy) เพ่ือช่วยให้รัฐบาลท้องถิ่นปรับปรุงและ
พัฒนานโยบายความปลอดภัยของข้อมูลส�ำหรับโรงเรียนและสถานศึกษา
ในสงั กัดตอ่ ไป
6.4 สาธารณรฐั ประชาชนจีน
การศึกษาของสาธารณรัฐประชาชนจีนมีความเจริญก้าวหน้า
มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน โดยได้มีการพัฒนา ปรับปรุงและ
เปล่ียนแปลงให้เหมาะสมกับสภาพสังคม และสภาพทางเศรษฐกิจของ
ประเทศในแต่ละสมัย รัฐบาลจีนถือว่าการศึกษาเป็นนโยบายท่ีส�ำคัญที่สุด
ประการหน่ึง รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถ่ินทุกระดับจึงได้พยายามจัดสรร
งบประมาณเพื่อสนับสนุนการศึกษาให้สามารถพัฒนาขึ้นไปในทุกระดับ
ทุกประเภทอย่างกว้างขวาง สามารถสรุประบบการศึกษาของสาธารณรัฐ
ประชาชนจนี ได้ ดังน้ี

82 แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพ่ือพฒั นาทักษะผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21

ระบบการศกึ ษาของสาธารณรฐั ประชาชนจนี
สาธารณรัฐประชาชนจีนมีระบบการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ โดย
กฎหมายการศกึ ษาแหง่ สาธารณรฐั ประชาชนจนี กำ� หนดวา่ รฐั บาลรบั ผดิ ชอบ
การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี คือ ต้ังแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา
ตอนต้นและได้สนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐในทุกระดับเพ่ิมการลงทุน
ทางด้านการศึกษา และส่งเสริมให้ประชาชนทุกสาขาอาชีพมีส่วนร่วม
ในการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาในทกุ ชอ่ งทางและทกุ วถิ ที าง การศกึ ษายดึ มน่ั
ในหลักการการพัฒนาสู่ความทันสมัยเปิดสู่โลกและอนาคต มีการวางแผน
ระบบการศึกษาโดยรัฐบาลกลาง ซ่ึงมีกระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of
Education) เป็นหน่วยงานหลักที่ส�ำคัญในการควบคุมดูแลระบบการศึกษา
รับผิดชอบการบัญญัติกฎหมาย ก�ำหนดนโยบาย และแผนงานด้าน
การศึกษา ดูแลและพัฒนาระบบการศึกษา ปรับเปลี่ยนนโยบายด้าน
การศึกษาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เป็นแนวทางเดียวกันท้ังประเทศ
และมีคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (State Education Commission)
เป็นผู้วางแผนการศึกษาตามนโยบายรัฐ และควบคุมคุณภาพการศึกษา
ซงึ่ สาธารณรฐั ประชาชนจนี มกี ารจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ ครอบคลมุ โดยให้
แต่ละมณฑลเป็นผู้รับผิดชอบโดยมีเมือง จังหวัด รับผิดชอบลดหล่ันกันไป
ส่วนรัฐบาลกลางจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายการศึกษาภาคบังคับส�ำหรับทุกคน
ตามทะเบียนบ้านเป็นหลัก หากผู้เรียนต้องการเรียนนอกเขตพ้ืนที่บริการ
จะต้องออกคา่ ใชจ้ ่ายเอง สำ� หรับช้นั เรียนทีไ่ มใ่ ช่การศกึ ษาภาคบังคบั จะต้อง
มีการแข่งขนั กันเขา้ เรียนในโรงเรียนที่มคี ณุ ภาพโดยใช้วธิ ีการสอบเทา่ นั้น
ยทุ ธศาสตรก์ ารศึกษาเพอื่ ฟื้นฟปู ระเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีนก�ำหนดยุทธศาสตร์การฟื้นฟูประเทศ
ด้วยวิทยาการและการศึกษา และมีการผลักดันการปฏิรูปและพัฒนา
การศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายว่าการศึกษาต้องสามารถรองรับ

แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding 83
เพอื่ พัฒนาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

การขับเคลื่อนระบบสังคมนิยมยุคใหม่ท่ีผสานกับแรงงานที่มีผลิตภาพสูง
ทั้งนี้เพ่ือสานต่อเจตนารมณ์ของผู้ก่อต้ังและสืบทอดแนวทางการพัฒนา
ตามอุดมการณ์สังคมนิยมท้ังด้านจิตวิญญาณ แนวความคิด กายภาพและ
สุนทรียภาพอย่างสมบูรณ์ ซ่ึงถือเป็นเอกลักษณ์ของระบบการศึกษาของ
สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยส่งเสริมการศึกษาท่ีมุ่งเน้นคุณภาพเป็นหัวใจ
ส�ำคัญ เพื่อบ่มเพาะคนรุ่นใหม่ท่ีมีจิตวิญญาณแห่งการสร้างสรรค์และเป็น
นกั ปฏบิ ตั ทิ สี่ ามารถเผชญิ หนา้ กบั ความทา้ ทายใหม่ ๆ ในอนาคตขา้ งหนา้ และ
เปดิ โอกาสใหส้ ถานศกึ ษาตา่ งๆ มอี สิ ระในการบรหิ ารจดั การทำ� ใหส้ ถานศกึ ษา
มีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสมและตามบริบท
ของสถานศกึ ษาแต่ละแห่ง รวมทัง้ มกี ารปลูกฝังและสร้างจิตส�ำนึกดา้ นคณุ ธรรม
ควบคกู่ บั การปลกู ฝงั ใหม้ คี วามเปน็ ชาตนิ ยิ ม รกั และเหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม
ท�ำทุกอย่างให้ประเทศมีความเจริญรุ่งเรือง เปิดโอกาสให้เยาวชนมีเสรีภาพ
ในการศึกษา โดยเฉพาะส่งเสริมให้เยาวชนค้นหาศักยภาพตามความสนใจ
ของตนเองทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ โดยให้การสนับสนุนส่งเสริม
อยา่ งเต็มที่
รัฐบาลจีนให้ความส�ำคัญอย่างมากต่ออุดมการณ์ทางการศึกษา
ของประเทศ โดยได้มีการจัดต้ังระบบการศึกษาแบบสังคมนิยมใหม่ขึ้น
เพ่ือเพ่ิมโอกาสแก่ประชาชนในการได้รับการศึกษามากขึ้น โดยรัฐบาลจีน
ให้ความคมุ้ ครองสทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐานดา้ นการศกึ ษาของประชาชนและเร่งพฒั นา
ปรับปรุงระบบการศึกษาเพ่ือตอบสนองต่อความจ�ำเป็นในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ และพร้อมรับมือกับส่ิงท้าทายจากวิทยาการและ
เทคโนโลยีของโลกท่ีเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว โดยก�ำหนดให้การพัฒนา
การศึกษาเป็นยุทธศาสตร์อันดับต้นเพ่ือการขับเคล่ือนระบบสังคมนิยม
ยุคใหม่ นอกจากนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีนมีการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์
และการก�ำหนดเป้าหมายไว้ว่า “Made in China 2025” โดยผลักดัน

84 แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพ่อื พัฒนาทักษะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21

ใหห้ ลายเมอื งกลายเป็นกลมุ่ เมืองนำ� ร่องเพอ่ื การพัฒนาและดำ� เนนิ ตามแผน
ยทุ ธศาสตร์ฯ ดังกล่าว ซ่ึงการพฒั นาในชว่ งแรก หรอื ภายในปี 2568 มุง่ เน้น
การเสริมสร้างความแข็งแกร่งด้านการผลิตให้กับประเทศ ภายใต้แนวคิด
และหลักการของ Made in China 2025 ได้แก่ (1) การขับเคล่ือนด้วย
นวัตกรรม (2) การผลิตท่ีมุ่งคุณภาพ (3) การผลิตมุ่งเน้นและพัฒนาไปสู่
การผลติ สเี ขยี วทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม (4) การปฏริ ปู โครงสรา้ งอตุ สาหกรรม
การผลิต เน้นการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากรและพลังงาน
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพแกป้ ญั หาเรอื่ งประสทิ ธภิ าพสนิ คา้ ของจนี และ(5)การพฒั นา
บคุ ลากรดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละการสรา้ งนวตั กรรม โดยการพัฒนาแตล่ ะดา้ น
จะเน้นการวิจัย คดิ คน้ พัฒนาและสรา้ งนวัตกรรมใหมเ่ ข้ามาช่วยดำ� เนินงาน
โดยมีภาคสว่ นต่าง ๆ เข้ามาให้การสนับสนนุ งบประมาณดา้ นการวิจยั เพ่อื ให้
การพฒั นาคณุ ภาพของสนิ คา้ และบรกิ ารมคี วามกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี
อยา่ งต่อเน่อื ง
นโยบายการศึกษาดา้ นวทิ ยาการคำ� นวณ Coding
วิทยาการค�ำนวณ Coding เป็นภาษาหรือทักษะท่ีส�ำคัญของ
ผู้เรียนในสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่จีนก็ยังประสบปัญหาการขาดแคลน
ครูท่ีมีทักษะ หรือมีครูผู้สอนท่ีมีความสามารถในด้านการเขียนโปรแกรม
แต่ก็ไม่มีประสิทธิภาพในการสอนได้ดีเท่าท่ีควร ดังนั้น รัฐบาลจีนจึงให้
ความสำ� คญั กบั การฝกึ อบรมครเู พอื่ ใหม้ คี วามพรอ้ มในการสอนดา้ นวทิ ยาการ
ค�ำนวณและด้านการเขียนโปรแกรม โดยรัฐบาลเห็นว่าการเขียนโปรแกรม
คือหัวใจหลักของการแก้ปัญหาและส่งเสริมแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ จึงได้มี
การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนด้านวิทยาการค�ำนวณและ
การเขียนโปรแกรม ท�ำให้ผู้เรียนในประเทศจีนชอบการเขียนโปรแกรมและ
พยายามสร้างส่ิงต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ออกมา รวมทั้งยังเป็นการเตรียม
ความพร้อมใหแ้ กเ่ ดก็ รนุ่ ใหม่ในอนาคต

แนวทางการส่งเสริมการจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 85
เพ่อื พฒั นาทักษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

อยา่ งไรกต็ ามรฐั บาลจนี ยงั ไมไ่ ดบ้ รรจใุ หก้ ารเขยี นโปรแกรมเปน็ หลกั สตู ร
ภาคบังคับระดับชาติ แต่พ่อแม่ผู้ปกครองต่างก็มองหาโรงเรียนเอกชน
หรอื คา่ ยอบรมการเขยี นโปรแกรมใหแ้ กล่ กู ไดเ้ รยี นการเขยี นโปรแกรมมากขนึ้
โดยกระทรวงศึกษาธิการของจีนและคณะกรรมการการศึกษาแห่งกรุงปักกิ่ง
ใหข้ อ้ มลู วา่ โรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กวา่ 200 แหง่
มีหลักสูตรการเขียนโปรแกรมสอนในโรงเรียน และมีหลักสูตรเสริมพิเศษ
โดยคาดหวังว่าทักษะด้านการเขียนโปรแกรมจะเป็นการวางรากฐานส�ำหรับ
ชีวิตท่ีดีของผู้เรียนในอนาคต และจะสามารถประยุกต์ทักษะในการเขียน
โปรแกรมไปสรา้ งสรรค์นวตั กรรมต่าง ๆ และพฒั นากรอบความคิดที่สามารถ
แก้ปญั หาได้
ตงั้ แตป่ ี2560มณฑลเจอ้ เจยี งไดก้ ำ� หนดใหว้ ชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ
เป็นวิชาท่ีใช้สอบเข้ามหาวิทยาลัย และทักษะการเขียนโปรแกรมเป็นทักษะ
สำ� คญั ของสาขาวชิ านี้ สว่ นในปกั กง่ิ และเซยี่ งไฮพ้ บวา่ ผเู้ รยี นทมี่ คี วามสามารถ
ด้านการเขียนโปรแกรมจะมีโอกาสในการเข้าศึกษาต่อโรงเรียนมัธยมศึกษา
ท่ีมีช่ือเสียง ดังนั้น พ่อแม่ผู้ปกครองยุคปัจจุบันจึงมีทัศนคติท่ีเปิดกว้างกว่า
พ่อแม่ผู้ปกครองรุ่นก่อน โดยเฉพาะมุมมองต่อการเรียนเขียนโปรแกรม
ปัจจุบันเด็กชาวจีนจึงมีโอกาสเร่ิมเรียนเขียนโปรแกรมตั้งอายุยังน้อย คือ
ตั้งแต่ระดับอนุบาล ซึ่งมีการสอนจากโรงเรียนเอกชนและบริษัทที่ท�ำธุรกิจ
ดา้ นการศึกษาเปดิ สอนทว่ั ประเทศ
ในชั้นเรียนการเขียนโปรแกรม ผู้เรียนจะได้รับการสอนให้เรียนรู้
เกยี่ วกบั พน้ื ฐานการเขยี นโปรแกรม เชน่ เดยี วกบั การเรยี นภาษาหรอื เลขคณติ
โดยใช้บอร์ดเกมในการสอนเร่ืองใกล้ตัว เช่น ทิศทาง การระบุพิกัดสถานท่ี
ผา่ นแกนตงั้ แกนนอน การสอนใหเ้ ลน่ scratch เพอื่ เลน่ เกมงา่ ย ๆ และสรา้ งสรรค์
ผลงานตนเอง เหตผุ ลสำ� คญั ทรี่ ฐั บาลจนี เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นฝกึ ทกั ษะในเรอ่ื ง
ดังกล่าว เนื่องจากรัฐบาลจีนต้องการให้คนรุ่นใหม่มีทักษะด้านการเขียน

86 แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพื่อพฒั นาทักษะผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21

โปรแกรม เน่ืองจากเป็นทักษะท่ีจ�ำเป็นในอนาคต โดยรัฐบาลจีนมีแผน
ยุทธศาสตร์ในการเปลี่ยนประเทศจากยุคอุตสาหกรรมโรงงานไปสู่ยุค
การสร้างนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีแผนพัฒนาชาติในการส่งเสริม
ให้มีการเรียนการสอนทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในทุกระดับการศึกษา
โดยมีแผนระยะสั้น คือ เพ่ือให้ประเทศจีนก้าวสู่การเป็นผู้น�ำด้านนวัตกรรม
ภายในปี 2563 แผนระยะกลาง คือ ต้องประสบความส�ำเร็จในการค้นพบ
สิง่ ใหม่ ๆ ของปญั ญาประดษิ ฐภ์ ายในปี 2568 และแผนระยะยาว คอื มงุ่ ไปสู่
การเป็นผนู้ ำ� ระดบั โลกดา้ น AI (Artificial Intelligence) หรือปัญญาประดิษฐ์
ภายในปี2573โดยอาศยั ความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั มหาวทิ ยาลยั และบรษิ ทั
เอกชนขนาดใหญ่ ซึ่งทุกกระทรวงต่างก็ขานรับนโยบายดังกล่าวของรัฐบาล
รวมท้ังกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งหน่ึงในแผนเพื่อเดินหน้าสู่เป้าหมายดังกล่าว
คอื การปฏริ ปู การศกึ ษาครง้ั ยงิ่ ใหญ่ และการกำ� หนดหลกั สตู รใหมท่ เี่ กย่ี วขอ้ ง
ท้ังทฤษฎีพื้นฐาน และการวิจัยเทคโนโลยี รวมท้ังการผลักดันโครงการ
ส่งเสริมนวัตกรรม และศูนย์บ่มเพาะธุรกิจสตาร์ทอัพ เพ่ือให้พร้อมใช้งาน
ทวั่ ประเทศภายในปี 2563 โดยเรม่ิ จากมหาวทิ ยาลยั เปน็ กลมุ่ แรก ซงึ่ ประกอบ
ไปด้วยสถาบันการศึกษาช้ันน�ำหลายแห่งของประเทศท่ีเน้นการศึกษา
ดา้ นปัญญาประดษิ ฐ ์ เชน่ University of Chinese Academy of Sciences,
Tianjin University, Nankai University, Nanjing University, Jilin University
เปน็ ตน้
การพัฒนาหลกั สตู รการศึกษา
รฐั บาลจนี มงุ่ เนน้ ไปทางสหวทิ ยาการ(Interdisciplinary)เพอ่ื สามารถ
เชอ่ื มโยงกบั ศาสตรอ์ น่ื ๆ เชน่ คณติ ศาสตร์ สถติ ิ ฟสิ กิ ส์ ชวี วทิ ยา จติ วทิ ยา และ
สังคมศาสตรไ์ ด้ นอกจากนี้ ยงั มกี ารผลติ บคุ ลากรดา้ นวิศวกรรมจ�ำนวนมาก
ท่ีพร้อมเข้าสู่การเป็นผู้น�ำระดับโลกด้าน AI ไม่เพียงแต่ระบบอัลกอริทึม
ในด้านการเงิน ธนาคาร รถยนต์อัตโนมัติ เวชภัณฑ์ หรือเทคโนโลยีจดจ�ำ

แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 87
เพือ่ พัฒนาทักษะผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21

ใบหน้าเท่านั้น แตย่ งั รวมถงึ นวัตกรรม AI ดา้ นการเรียนรเู้ ชิงลกึ อีกดว้ ย ท้งั นี้
AI ที่มีประสิทธิภาพสูงจะก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ เป็นการเพ่ิมผลิตภาพ
การผลิตของจีนให้พุ่งสูงขึ้น สอดรับกับการเป็นสังคมผู้สูงอายุรวมไปถึง
การท�ำให้รัฐบาลสามารถควบคุมและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ จากการ
วเิ คราะห์ขอ้ มลู ที่มีเป็นจ�ำนวนมากไดอ้ ยา่ งตรงเปา้ หมายมากขน้ึ
การให้ความสำ� คญั ดา้ นเทคโนโลยี
นอกจากรัฐบาลจีนจะให้ความส�ำคัญกับผู้เรียนด้านการเรียน
การเขยี นโปรแกรมแลว้ ยงั ใหค้ วามสำ� คญั ในดา้ นเทคโนโลยี โดยไดด้ ำ� เนนิ การ
ในเร่ืองสำ� คัญตา่ ง ๆ ดังนี้
1) การผลักดันโครงการอินเทอร์เน็ตและการศึกษา เพ่ือสนับสนุน
ให้เกดิ ความเท่าเทียมทางการศึกษามากขนึ้ และอำ� นวยความสะดวกในการ
เข้าถึงทรัพยากรทางการศึกษาส�ำหรับนักเรียนในพื้นที่ห่างไกลและยากจน
รวมท้ังเตรียมส่งเสริมการพัฒนาการศึกษาออนไลน์เพื่อสร้างแพลตฟอร์ม
ใหม่ ๆ ส�ำหรับการฝึกอบรมวิชาชีพและพัฒนาทักษะ ท้ังน้ี ได้มีการสร้าง
การมสี ว่ นรว่ มโดยใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งจดั หาเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ทส่ี ถาบนั การศกึ ษา
สามารถเข้าถึงได้โดยเฉพาะ โดยเน้นย้ําให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศมีโอกาส
เขา้ ถึงบรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู ที่มเี สถียรภาพ
2) การอบรมความรคู้ วามเชี่ยวชาญดา้ นการพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์
(e-commerce)ข้ามพรมแดนแก่ผู้เรียน เนื่องจากผู้มีความสามารถด้านนี้
ก�ำลังเป็นท่ีต้องการอย่างสูงในประเทศ สาเหตุอันเน่ืองมาจากอุตสาหกรรม
ท่ีเติบโตอย่างรวดเร็วในประเทศ โดยในเดือนมิถุนายน 2562 การพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดนได้รับการจดทะเบียนเป็นหน่ึงใน 45 วิชาเอก
เปิดใหม่ในสถานศึกษาสาขาวิชาชีพชั้นสูงหลายแห่งอย่างเป็นทางการ
โดยสถานศกึ ษารว่ มมอื กบั บรษิ ทั e - commerce ทอ้ งถน่ิ และบรษิ ทั นายหนา้
พิธกี รทางศุลกากรเพื่อเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนได้ฝกึ ประสบการณ์

88 แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
เพ่อื พฒั นาทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

3) การประกาศข้อบังคับของกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการ
เป็นผู้ประกอบการและการสร้างนวัตกรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
เมอื่ เดือนกรกฎาคม 2562 เพ่อื สง่ เสรมิ การปฏริ ปู การศกึ ษาระดับอุดมศึกษา
โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ก�ำหนดความรับผิดชอบของภาคส่วนต่าง ๆ
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและขน้ั ตอนการดำ� เนนิ โครงการ ซงึ่ เปน็ ไปตามโครงการนวตั กรรม
แห่งชาติที่ได้ริเริ่มมาต้ังแต่ปี 2550 ที่เน้นยํ้าการปฏิรูประบบการฝึกอบรม
ความสามารถ การก�ำหนดรายละเอียดของเนื้อหาวิชา ระบบหลักสูตร และ
การฝึกอบรมทเ่ี ปน็ รูปธรรม การจัดการโครงการจะแบง่ เปน็ 3 ประเภท ได้แก่
การเป็นผู้ประกอบการ การฝึกอบรมนวัตกรรม และโครงการฝึกปฏิบัติ
รวมทั้งการแจกแจงมาตรฐานการเลือกหัวข้อวิจัย ทิศทางของโครงการ
อาจารย์ทีป่ รึกษา สมาชกิ กลมุ่ และทุนอดุ หนนุ โครงการ
4) การก่อตั้งศูนย์วิจัยปัญญาประดิษฐ์ (AI) ระหว่างประเทศ
โดยความรว่ มมอื ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ซานตง(SDU)ของจนี และมหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยีหนานหยาง (NTU) ของสิงคโปร์ ณ นครจ่ีหนาน เมืองเอก
ของมณฑลซานตงทางตะวันออกของจีน เพื่อเป็นพ้ืนที่ส�ำหรับการวิจัย
ทางวิทยาศาสตร์ การบ่มเพาะและสร้างสรรค์ความส�ำเร็จผ่านบุคลากรและ
ทรัพยากรของมหาวิทยาลัยท่ัวโลก โดยมหาวิทยาลัยท้ังสองแห่งได้ก�ำหนด
เป้าหมายไปยังทฤษฎีพื้นฐานปัญญาประดิษฐ์ การดูแลสุขภาพด้วยปัญญา
ประดษิ ฐ์ และความอจั ฉรยิ ะขา้ มสอื่
5) การกอ่ สรา้ งเขตนำ� รอ่ งการพฒั นานวตั กรรมปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI)
เพื่อส่งเสริมการบูรณาการปัญญาประดิษฐ์และการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ
รวมถึงการยกระดับความสามารถทางนวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ในเชิงลึก
ยง่ิ ขน้ึ โดยมเี ปา้ หมายสรา้ งสรรคต์ น้ แบบของการพฒั นาทางนวตั กรรมปญั ญา
ประดษิ ฐร์ นุ่ ใหม่ และการจดั สรรแหลง่ อา้ งองิ แกอ่ ตุ สาหกรรมปญั ญาประดษิ ฐ์
ของประเทศ ซ่ึงเมืองที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นเขตน�ำร่องฯ จะต้องมีแหล่ง

แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 89
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

การศึกษาและวิทยาศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ รากฐานและโครงสร้างพ้ืนฐาน
ทางอตุ สาหกรรมที่แขง็ แกรง่ และมาตรการสนบั สนนุ ที่ชดั เจน
6) การประกาศมาตรฐานการวจิ ยั AI พรอ้ มเรยี กรอ้ งความรว่ มมอื
กบั นานาชาติโดยหลกั จรยิ ธรรมปญั ญาประดษิ ฐป์ กั กงิ่ (BeijingAIPrinciples)
ได้รับการเผยแพร่ภายใต้ความร่วมมือของสถาบันปัญญาประดิษฐ์ปักก่ิง
(BAAI)ไดแ้ ก ่ มหาวทิ ยาลยั ปกั กง่ิ มหาวทิ ยาลยั ชงิ หวั สถาบนั เครอ่ื งจกั รอตั โนมตั ิ
และสถาบันเทคโนโลยีการค�ำนวณในสังกัดสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติจีน
รวมถึงบริษัทเอกชนท่ีเก่ียวข้องกับ AI ท้ังนี้ หลักจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์
ปักกิง่ ระบวุ า่ เป้าหมายของ AI คือ การส่งเสริมความเจริญก้าวหนา้ ของสังคม
และอารยธรรมมนุษย์ รวมถงึ เดินหนา้ การพัฒนาธรรมชาตแิ ละสงั คมมนษุ ย์
อยา่ งยงั่ ยนื AI ควรไดร้ บั การพฒั นาโดยยดึ ถอื คณุ คา่ ในฐานะมนษุ ย์ คำ� นงึ ถงึ
ความเปน็ ส่วนตวั เกียรติภูมิ เสรภี าพ อิสรภาพ และสทิ ธิของมนุษย์ ตลอดจน
ไมถ่ กู นำ� ไปใชต้ อ่ สหู้ รือสรา้ งอนั ตรายตอ่ ประชาชน
7) การเปิดตัวศูนย์วิจัยอัจฉริยะด้านข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data
Intelligence Research Center) เพ่ือผลักดันการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์
ซ่ึงประสานงานโดยสถาบันปัญญาประดิษฐ์ของมหาวิทยาลัยชิงหัว โดย
มุ่งเน้นการยกระดับการวิจัยเชิงทฤษฎีและวิธีการค�ำนวณข้อมูลขนาดใหญ่
หรือ Big Data เป็นหลัก และยงั มุง่ พัฒนาการประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่
ที่มีคนเป็นศูนย์กลาง โดยอาศัยการวิจัยเชิงสหวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์
ข้อมูล วิทยาศาสตร์การรับรู้ และสังคมศาสตร์ รวมทั้งพัฒนาการวิจัย
ความอัจฉริยะทางข้อมูลในเชิงทฤษฎี ส่งเสริมการบูรณาการร่วมกับ
อุตสาหกรรมประเภทตา่ ง ๆ และบ่มเพาะความร่วมมือระหว่างประเทศ
5.5 สาธารณรัฐเกาหลี
สาธารณรัฐเกาหลีเป็นประเทศหน่ึงในเอเซียท่ีประสบความส�ำเร็จ
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเท่าเทียมกับประเทศที่พัฒนาแล้ว

90 แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

เมือ่ พิจารณาจากผลสัมฤทธิว์ ิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ตามขอ้ สอบ
มาตรฐานเพ่ือวัดแนวโน้มของการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
(Trends in International Mathematics and Science Study เรยี กยอ่ วา่
TIMSS) ของ International Association for the Evaluation of Educational
Achievement (IEA) และผลการวัดความรู้ความสามารถทางวิชาการ คือ
วชิ าคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การอ่าน และการแก้ไขปญั หา โดยโปรแกรม
การประเมินผู้เรียนนานาชาติ (Programme for International Student
Assessment หรือ PISA) ของกลุ่มประเทศท่พี ฒั นาแลว้ นอกจากน้นั ยังให้
ความส�ำคัญในการพัฒนาความเป็นพลเมืองเกาหลีในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์
อย่างเป็นรูปธรรม โดยสาธารณรัฐเกาหลีเร่ิมตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาหลังจากการพัฒนาเชิงปริมาณเร่ิมอ่ิมตัวด้วยการใช้นโยบาย
ปฏิรูปการศึกษาเป็นปัจจัยสนับสนุนการปฏิรูปด้านส�ำคัญ ๆ ของประเทศ
ท้ังการเมือง การทหารและเศรษฐกิจ สามารถสรุปการจัดและการปฏิรูป
การศกึ ษาของสาธารณรัฐเกาหลีได้ ดังนี้
การปฏริ ปู การศกึ ษาของสาธารณรฐั เกาหลี
สาธารณรัฐเกาหลีจัดตั้งคณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษา (The
Presidential Commission on Education Reform) ขน้ึ ตรงตอ่ ประธานาธบิ ดี
เพอ่ื ทำ� หน้าที่กำ� หนดนโยบาย และมีฝา่ ยที่นำ� นโยบายสกู่ ารปฏิบตั อิ ย่างเป็น
รูปธรรม คือ กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหรือ MEST
(The Ministry of Education, Scienceand Technology) ชื่อเดิม
กอ่ นปลายศตวรรษที่ 20 คอื กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์
เนื่องจากต้องการเน้นการจัดการศึกษาเพื่อสร้างทรัพยากรมนุษย์
เพ่ือเตรียมการส�ำหรับอนาคต แต่เม่ือสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
มีการเปล่ียนแปลง จึงมีการปฏิรูปการศึกษาเพื่อวางทิศทางส�ำหรับศตวรรษ
ท่ี 21 สาธารณรฐั เกาหลีจงึ ประกาศนโยบายและแผนการศกึ ษา พ.ศ. 2553

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 91
เพื่อพัฒนาทกั ษะผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21

โดยมีวสิ ัยทศั นว์ ่า “การสง่ เสริมการศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในฐานะ
เป็นฐานส�ำหรับการสร้างประเทศสู่ความเป็นประเทศพัฒนาแล้ว” (Promoting
education, science and technology as a building block to grow into
an advanced country) ซ่ึงแสดงถึงความปรารถนาอย่างชัดเจนท่ีจะก้าวสู่
การเป็นประเทศพัฒนาแล้วโดยอาศัยการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เปน็ ฐาน
นโยบายการศึกษาด้านวิทยาการค�ำนวณ Coding ของสาธารณรัฐ
เกาหลี
สาธารณรัฐเกาหลีจัดให้มีหลักสูตรการเขียนโปรแกรมในระดับ
ประถมศึกษา โดยมีการบังคับว่าต้ังแต่ปี 2562 ผู้เรียนทุกระดับต้องเรียน
เขียนโปรแกรม เพอื่ ฝึกการเรียนภาษาคอมพวิ เตอร์ หรือ Coding เพ่อื ชว่ ยให้
ผู้เรียนฝึกคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคาดการณ์ปัญหาได้ เม่ือท�ำงาน
หรอื ประกอบอาชพี จะทำ� ใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ จากการทม่ี คี วามคดิ เปน็ ระบบ
ในการเรียนการสอนของสาธารณรัฐเกาหลีจะได้รับนโยบายเดียวกัน คือ
การให้ความส�ำคัญกับการเรียนการสอนในคณะหรือสาขาวิชาท่ีเก่ียวกับ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากที่สุด เพื่อเป็นฐานส�ำหรับการสร้างประเทศ
สู่ความเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว รวมถึงการให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา
คณุ ธรรมจรยิ ธรรมควบคกู่ บั การพฒั นาความรู้ ความสามารถ เพอ่ื ใหส้ ามารถ
ออกไปประกอบอาชีพและเตรียมรับการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก
โดยสาธารณรฐั เกาหลไี ดส้ รา้ งระบบการศกึ ษาสมยั ใหม่ และจดั หลกั สตู รใหม่
ก�ำหนดให้มีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมอย่างเป็นระบบและชัดเจน
ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา มีการจัดการเรียนการสอน
ตามหลักสูตรแกนกลาง และให้ผู้เรียนได้เรียนหลักสูตรเสริมจาก
สถานการณ์และสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นจริง มีการปรับหลักสูตรตาม
ความเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมโลกอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอ รวมทั้ง

92 แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพ่อื พัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

มุ่งพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการเป็นสังคมแห่งความรู้ สร้างสภาวะ
แวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง มีการสร้างเว็บไซต์ระบบ
การเรียนรู้ออนไลน์ที่ทุกคนสามารถเรียนได้ที่บ้านหรือเรียนได้ทุกสถานท่ี
ทกุ เวลา มกี ารพฒั นาทกั ษะระบบไอทใี หก้ บั ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา มกี ารจดั
ห้องเรียนประยุกต์โดยใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน จัดช้ันเรียน
คุณภาพที่มีระบบสารสนเทศท่ีทันสมัย (Smart Education) จัดการศึกษา
เพอ่ื เตรยี มคนเขา้ สศู่ ตวรรษที่ 21 ทงั้ นเ้ี พอ่ื ใหค้ นเกาหลมี คี วามรู้ ความสามารถ
มคี วามทนั สมยั และทสี่ ำ� คญั คอื มจี รยิ ธรรม แตย่ งั คงความเปน็ เลศิ ดา้ นการศกึ ษา
และด�ำรงมาตรฐานของระบบการศึกษาของสาธารณรฐั เกาหลดี ้วย
นอกจากน้ีแผนการปฏริ ปู การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคนเขา้ สศู่ ตวรรษท่ี21
ของสาธารณรฐั เกาหลี ไดจ้ ดั ระบบการศึกษาทที่ นั สมยั ใหท้ ุกโรงเรยี นเปล่ียน
ระบบการเรียนไปเป็นระบบดิจิทัล ใช้ต�ำราเรียนดิจิทัลแทนต�ำราเรียนที่เป็น
กระดาษ ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยในการสอน ท�ำให้ผู้เรียนเกิด
การอยากเรียนรู้มากข้ึน ผู้เรียนเห็นภาพปรากฏและได้ดูวีดิทัศน์ ได้เห็น
บทเรยี นเสมอื นจรงิ สามารถแกไ้ ขปญั หาบทเรยี นได้ และสามารถคน้ หาขอ้ มลู
ทางวิชาการได้ง่าย ช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์เป็น สามารถเลือก
ข้อมลู ไดห้ ลากหลายอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มกี ารจัดการศกึ ษาโดยสร้างระบบ
การศึกษาใหม่ เพื่อมุ่งสู่ยุคสารสนเทศและโลกาภิวัฒน์ เป้าหมายสูงสุด
ของระบบการศึกษาของเกาหลยี ุคใหม่ คอื ความเปน็ รฐั สวิสดกิ ารทางการศึกษา
สรา้ งสงั คมการศกึ ษาแบบเปดิ และตลอดชวี ติ ทำ� ใหช้ าวเกาหลที กุ คนสามารถ
ใชป้ ระโยชนจ์ ากการศกึ ษาไดท้ กุ เวลาและทกุ สถานท่ี รฐั ปรบั โครงสรา้ งระบบ
การศึกษาระดับอาชีวศึกษาและเทคนิค น�ำเยาวชนเข้าสู่ชีวิตยุคสารสนเทศ
มีเสรีภาพที่จะถ่ายโอนการเรียน มีการส่งเสริมทักษะการใช้เทคโนโลยี
ในทุกรายวิชาตลอดหลักสูตร สามารถถ่ายโอนหน่วยกิตข้ามโรงเรียนหรือ
ขา้ มสถาบนั การศกึ ษาตลอดจนขา้ มสาขาวชิ าได้ ซง่ึ ระบบการศกึ ษาของเกาหลี

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 93
เพอื่ พฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

ยุคใหม่ให้ความส�ำคัญกับผู้เรียน จัดให้มีโรงเรียนและการศึกษาเฉพาะทาง
หลายรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
ตามความสนใจ โรงเรียนมอี �ำนาจในการบริหารจดั การโดยการมีส่วนรว่ มกับ
ชุมชนและผู้ปกครองมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่และอุปกรณ์
ในระบบมัลติมีเดียช่วยให้บุคคลศึกษาหาความรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลา รวมท้ังจัดต้ัง
บณั ฑิตวิทยาลยั ทางวชิ าชพี เพื่อพฒั นาวชิ าชีพในยุคเทคโนโลยสี ารสนเทศ
6.6 สาธารณรัฐสงิ คโปร์
สิงคโปร์นับเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
โดยเฉพาะในด้านวิทยาศาสตร์ ยืนยันได้ชัดเจนจากผลการประเมิน PISA
หรือโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติในปี 2559 ท่ีสิงคโปร์
ได้คะแนนสูงสุดท้ังในการวัดผลการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
สามารถเอาชนะเดก็ ในกลมุ่ อายุ 15 ปที เ่ี ขา้ รว่ มการประเมนิ ผลกวา่ 70 ประเทศ
ทั่วโลก โดยสามารถอธิบายการจัดการศึกษาของสิงคโปร์ในภาพรวมได้ ดงั นี้
เป้าหมายด้านการศกึ ษาของสงิ คโปร์
สิงคโปร์ก�ำหนดเป้าหมายว่าจะเป็นประเทศผู้น�ำด้านเทคโนโลยี
อย่างสมบูรณ์แบบเพ่ือให้เยาวชนสิงคโปร์ก้าวเข้าสู่ยุคท่ีเรียกว่า “Smart
Nation” มีการกำ� หนดเป้าหมายวา่ ทุก ๆ ระบบในชีวติ ประจ�ำวนั จะขบั เคล่ือน
ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล นายกรัฐมนตรี ลี เซียนลุง จึงก�ำหนดนโยบาย
การส่งเสริมให้เด็กได้เรียนเขียนโปรแกรมตั้งแต่อายุน้อย โดยมีนโยบาย
ที่ชัดเจนในเรื่องการสนับสนุนให้เด็กท่ีเก่งและสนใจด้านน้ี สามารถต่อยอด
ความรูไ้ ปไดไ้ กลและพัฒนาความเป็นเลิศดา้ นไอทใี นโรงเรียนได้
สิงคโปร์ได้รับการพัฒนาให้เป็นประเทศอัจฉริยะ มีแผนแม่บท
ในเรื่อง ICT ด้านการศึกษามาต้ังแต่ปี 2540 โดยปัจจุบันด�ำเนินการมาถึง
แผนแมบ่ ทที่ 4 เริ่มต้งั แตป่ ี 2558 แผนแม่บทดงั กลา่ วมวี ัตถุประสงคเ์ พื่อจดั
ท�ำพิมพ์เขียวส�ำหรับการพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้พร้อมไปด้วย

94 แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพ่อื พฒั นาทักษะผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21

ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ แผนแม่บทท่ี 4 ยังมุ่งเน้นท่ีการเรียนรู้และการฝึกฝน
ครูผู้สอนให้มีความเข้าใจเก่ียวกับการใช้ดิจิทัลยิ่งข้ึน กระทรวงศึกษาธิการ
สิงคโปร์ได้สร้างโอกาสทางการเรียนรู้ให้แก่ครูผู้สอนเพื่อให้เป็นมืออาชีพ
โดยพัฒนาความสามารถผ่านการใช้ดิจิทัลเข้ากับการเรียนการสอน และ
การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบตัวต่อตัว การเรียนรู้ผ่านหลักสูตรออนไลน์
และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จากการท่ีกระทรวงศึกษาธิการสิงคโปร์
มุ่งเน้นการใช้ดิจิทัลเพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนพร้อมต่อการ
เปลี่ยนแปลง ครูผู้สอนจึงเป็นกุญแจส�ำคัญในการสร้างการเรียนรู้ท่ีมี
ประสทิ ธิภาพ
การเรยี นการสอนวิทยาการค�ำนวณ Coding ในสงิ คโปร์
สิงคโปร์เน้นให้การเขียนโปรแกรมเป็นหลักสูตรพิเศษในโรงเรียน
มัธยมศึกษา และรกั ษามาตรฐานการศึกษาของประเทศใหด้ แี ละยงั่ ยนื โดย
รฐั บาลไดว้ างแผนการสง่ เสรมิ ความพรอ้ มดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ทกั ษะแหง่ อนาคตในเรอ่ื งการเขยี นโปรแกรม
และทักษะการคิดเชิงค�ำนวณซ่ึงเป็นผลดีต่อการคิดเชิงวิเคราะห์ของผู้เรียน
ในระยะยาว โดยในปี 2560 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้มีการเรียน
การสอนวิชาวิทยาการค�ำนวณส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3
ในโรงเรียน 19 แห่งทั่วประเทศ และบรรจุเป็นวิชาหน่ึงในการสอบ O level
ซง่ึ เปน็ การสอบท่ีสำ� คัญมากในระบบการศึกษาของสิงคโปร์ นกั เรยี นท่ีส�ำเรจ็
การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาแลว้ จะตอ้ งสอบ O level เพอ่ื เรยี นตอ่ ในหลกั สตู ร
2 ปี (Junior Colleges) ซงึ่ เปน็ หลกั สูตรการศึกษาก่อนเข้ามหาวทิ ยาลัย
การเรียนการสอนวิชาวิทยาการค�ำนวณในสิงคโปร์ยังไม่เรียกว่า
เปน็ วชิ าบงั คบั บทบาทของวชิ านเ้ี ปน็ เหมอื นหลกั สตู รพเิ ศษในโรงเรยี นเชน่ เดยี วกบั
การเรยี นดนตรแี ละบลั เลต่ ์นอกเหนอื จากโรงเรยี น19แหง่ ทบี่ รรจวุ ชิ าวทิ ยาการ
ค�ำนวณไว้ในหลักสูตรการสอนแล้ว โอกาสท่ีผู้เรียนท่ัวไปจะได้เรียนวิชาน้ี

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 95
เพ่อื พัฒนาทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21

อกี ทางหนงึ่ คอื การเขา้ รว่ มกจิ กรรมของชมรมดา้ นสารสนเทศและการสอ่ื สาร
(Infocomm) ท่ีส่งเสริมให้เรียนเขียนโปรแกรม หรือการประยุกต์ความรู้
ดา้ นวทิ ยาการคำ� นวณไวใ้ นการสอนวชิ า STEM กระทรวงศกึ ษาธกิ ารของสงิ คโปร์
ได้ก�ำหนดวัตถุประสงค์ของวิชาวิทยาการค�ำนวณไว้อย่างชัดเจน คือ ไม่ได้
เป็นเพียงวิชาท่ีเน้นการสอนเขียนโปรแกรมเพียงอย่างเดียว แต่มากกว่านั้น
คือการสอนให้เด็กมีทักษะด้านการคิดเชิงค�ำนวณ ซึ่งจะช่วยให้เด็กคิด
อย่างมีตรรกะและแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ในขณะเดียวกันวิชาน้ียังสอน
เกยี่ วกบั ความปลอดภยั และจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศควบคไู่ ปดว้ ย
การพัฒนาครูเพอื่ เตรยี มความพร้อมดา้ นวิทยาการคำ� นวณ
สงิ คโปรม์ กี ารอบรมครเู พอื่ ใหม้ คี วามพรอ้ มตอ่ การสอนวชิ าวทิ ยาการ
ค�ำนวณ โดยมีผู้เช่ียวชาญด้านวิทยาการค�ำนวณจากมหาวิทยาลัยแห่งชาติ
สิงคโปร์ มาช่วยอบรมความรู้เร่ืองโปรแกรมภาษาไพธอน (Python) ให้กับ
ครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้นกว่า 40 แห่งในปี 2560 และอบรมเพ่ิมเติม
ให้กบั ครูระดับวทิ ยาลยั ชมุ ชนโดยให้เหตผุ ลวา่ เป็นเร่อื งยากทจ่ี ะหาครูผสู้ อน
ที่มีคุณภาพได้ในเวลาอันรวดเร็ว จึงต้องเตรียมความพร้อมให้ครูผู้สอนก่อน
เป็นลำ� ดับแรก
ท้ังน้ี ไม่เพียงแต่ทักษะด้านการเขียนโปรแกรมเท่านั้นที่ทุกฝ่าย
ให้ความส�ำคัญ หนึ่งในทีมผลิตหลักสูตรวิชาวิทยาการค�ำนวณของกระทรวง
ศึกษาธิการ ยังเน้นถึงความส�ำคัญของการส่งเสริมการคิดเชิงค�ำนวณให้กับ
ผู้เรียน โดยสรุปว่า “ทักษะในการคิดเชิงค�ำนวณ และการคิดอย่างมีตรรกะ
จะช่วยให้ผู้เรียนน�ำไปปรับใช้ได้กับทุกวิชา ท้ังด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร”์
สิงคโปร์มีการส่งเสริมการใช้ไมโครบิต ซึ่งเป็นบอร์ดอิเล็กทรอนิกส์
เพื่อการศึกษา เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กท่ีช่วยให้ผู้เรียนเร่ิมเรียน
เขียนโปรแกรมเบื้องต้นได้ด้วยภาษาโปรแกรมหลากหลายเพ่ือวางรากฐาน

96 แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพือ่ พัฒนาทกั ษะผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21

อนาคต นอกจากกระทรวงศึกษาธิการจะสง่ เสริมเรอ่ื งการเรียนวชิ าวทิ ยาการ
ค�ำนวณล้ว กระทรวงส่ือสารและสารสนเทศของสิงคโปร์ยังทุ่มงบประมาณ
ในเรื่องนี้อย่างเต็มท่ี โดยช่วงต้นปี 2560 รัฐบาลน�ำงบประมาณดังกล่าว
ไปจัดซ้ือไมโครบิตจ�ำนวน 100,000 เคร่ือง กระจายไปตามโรงเรียนต่าง ๆ
ในช่วงปี 2561 - 2562 เพ่ือใช้เป็นอุปกรณ์ในการสอนเขียนโปรแกรม
ข้ันพ้ืนฐานและการแจกไมโครบิตให้ผู้เรียนเป็นยุทธศาสตร์อย่างหนึ่ง
เพื่อเพิ่มขดี ความสามารถของผ้เู รยี นใหพ้ รอ้ มปรับตวั ส่ยู คุ ดจิ ทิ ัล
สิงคโปรเ์ ลอื กไมโครบิตเพ่ือส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นฝกึ เขียนโปรแกรม เชน่
เดียวกับองั กฤษ อเมรกิ า แคนาดา เบลเยีย่ ม เดนมาร์ก และอีกหลายประเทศ
ด้วยเหตุผลที่ว่าระบบน้ีราคาไม่แพงเพียงชุดละ 30 ดอลล่าร์ (ประมาณ
940 บาท) และมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน โดยผู้ช่วยผู้บริหารระดับสูง
ของ Infocomm Media Development Authority of Singapore (IMDA)
ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐบาลของสิงคโปร์ที่ดูแลเร่ืองการพัฒนาเทคโนโลยี
มีความเห็นว่าการแจกไมโครบิตให้แก่ผู้เรียนเป็นยุทธศาสตร์เพื่อเพ่ิมขีด
ความสามารถของผเู้ รยี นใหพ้ รอ้ มปรบั ตวั สยู่ คุ ดจิ ทิ ลั IMDA ไดท้ ำ� งานรว่ มกบั
กระทรวงศึกษาธิการต้ังแต่กลางปี 2558 ในการน�ำร่องหลักสูตรพิเศษช่ือ
“Code for Fun” เขา้ สโู่ รงเรยี น โดยเปน็ การใหค้ วามรพู้ นื้ ฐานเรอ่ื งหนุ่ ยนต์ เชน่
Lego Wedo และ MoWay รวมทั้ง Arduino (เปน็ บอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์
หรืออุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็กที่บรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบ
คอมพิวเตอร์) โปรแกรมเหล่านี้ถูกน�ำไปใช้ในโรงเรียนประถมศึกษาและ
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 128 แหง่ สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นกวา่ 56,000 คน ไดร้ บั การอบรม
ทักษะการเขยี นโปรแกรม
การส่งเสริมทักษะการเขียนโปรแกรมไม่ได้มาจากภาครัฐเพียง
อย่างเดียว บริษัทช่ือดังอย่างกูเกิลได้เข้ามามีบทบาทเร่ืองการสอนเขียน
โปรแกรมในสิงคโปร์ด้วย โดยอุดหนุนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสอนเขียน

แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 97
เพือ่ พัฒนาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21

โปรแกรมประมาณ 1 ล้านดอลล่าร์ เพื่อช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสประมาณ
3,000 คน ใหไ้ ดเ้ รยี นเขยี นโปรแกรม ซงึ่ โครงการนด้ี ำ� เนนิ การไปจนถงึ ปี 2563
รัฐมนตรีกระทรวงสื่อสารและสารสนเทศของสิงคโปร์ ได้กล่าวถึงจุดหมาย
ปลายทางของโครงการเก่ียวกับการเขียนโปรแกรมที่ภาครัฐสนับสนุนว่า
เพ่ือต้องการสร้างคนท่ีกระหายใคร่รู้และต้องการสร้างสรรค์งานด้วยตัวเอง
เพื่อเป็นการเตรียมตัวให้ดียิ่งขึ้นส�ำหรับโลกอนาคต ซึ่งจะเป็นโลกยุคดิจิทัล
อย่างสมบูรณ์แบบ นอกจากนี้ ยังมีสถาบัน First Code Academy ซ่ึงเป็น
สถาบนั ทชี่ ว่ ยสง่ เสรมิ และเพมิ่ ทกั ษะการเขยี น Code ใหแ้ กเ่ ดก็ ตงั้ แตอ่ ายุ 4 ปี
ขึ้นไป มีเครือข่ายการเรียนรู้ท้ังในประเทศไต้หวัน ฮ่องกง และสิงคโปร์
เปิดหลักสูตรระยะสั้นให้ผู้สนใจหัดเขียน Code ในห้องเรียนออนไลน์
มีการเรยี นการสอนเฉพาะกลมุ่ แบ่งเป็นกลุ่มระดับตา่ ง ๆ ได้แก่ First Code
Junior (อายุ 4 - 5 ปี) First Code Tinker (อายุ 6 - 8 ป)ี First Code Explorer
(อาย ุ 9 - 11 ป)ี First Code Creator (อายุ 12 ปขี นึ้ ไป) First Code Entrepreneur
(อายุ 15 ปีขึ้นไป) ซ่ึงผู้เรียนและครูรวมถึงผู้สอนสามารถเรียนรู้ร่วมกัน
อย่างใกล้ชิด เป็นการเปิดมุมมองการเรียนรู้ของโลกการศึกษาในยุคดิจิทัล
และเปิดมุมมองการเรียนรู้ให้แก่ครูและผู้เรียนได้เขียน code รูปแบบใหม่
จากการพัฒนาของสถาบัน MIT (Massachusetts Institute of Technology)

7. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

จากการศึกษาเอกสารและรายงานการวิจัยท่ีเก่ียวข้อง พบว่ามีรายงาน
การวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการ
ค�ำนวณ Coding เพอื่ พัฒนาทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 ดังน้ี
ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2557) ได้ศกึ ษาแนวทางการพฒั นา
การศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษท่ี 21 พบว่าองค์ความรู้
ที่ส�ำคัญในศตวรรษท่ี 21 คือ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

98 แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพ่อื พฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

(Science and Technology Literacy) ซึ่งนับเป็นองค์ความรู้ท่ีส�ำคัญท่ีสุด
ทส่ี ามารถใชเ้ ปน็ ฐานของการตอ่ ยอดในดา้ นอน่ื ๆ ของการเรยี นรู้ ไมว่ า่ จะเปน็
การเรียนรู้ตามการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ หรือการเรียนรู้
ตลอดชีวิต วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยพ้ืนฐานคือหลักของกระบวนการ
คิดและการแสวงหาความรู้ รวมทั้งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังเป็นตัว
ผลกั ดนั และพัฒนาสงั คมใหเ้ กดิ การยกระดบั ไมว่ ่าจะเป็นเรอ่ื งของประสิทธภิ าพ
ของคนในสังคม หรอื ความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ของประเทศ
ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560) ได้ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัย
เชิงสาเหตุเพื่อพัฒนาสมรรถนะก�ำลังคนรองรับโลกศตวรรษท่ี 21 ได้แก่
สมรรถนะการรหู้ นงั สอื และความสามารถในการอา่ น ความสามารถในการคดิ
คำ� นวณ ความสามารถในการแกป้ ญั หาภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มทใี่ ชป้ ระโยชน์
จากเทคโนโลยี และสมรรถนะรวม จากการศึกษาวิจัยพบว่าการพัฒนา
สมรรถนะและความสามารถในการคิดค�ำนวณ ควรต้องเริ่มตั้งแต่เด็ก
โดยเริม่ จากการพฒั นาสมรรถนะด้านการรูห้ นังสือและความสามารถในการอา่ น
ซง่ึ เปน็ พน้ื ฐานของสมรรถนะในการคดิ คำ� นวณ และตอ้ งสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชน
มีเจตคติต่อการคิดค�ำนวณ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและครอบครัวต้องปลูกฝัง
ใหป้ ระชาชนโดยเฉพาะเยาวชนเหน็ ความสำ� คญั ในการคดิ คำ� นวณหรอื ปลกู ฝงั
ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ วา่ การคดิ คำ� นวณมคี วามสำ� คญั และมปี ระโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้
ในสถานการณต์ า่ ง ๆ การคิดคำ� นวณมีความนา่ สนใจ สนกุ สนาน ไมน่ า่ เบ่อื
และใหค้ วามเพลดิ เพลนิ จดั กจิ กรรมการเรยี นทสี่ รา้ งแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธใ์ิ นการ
คดิ คำ� นวณ โดยจดั กจิ กรรมใหบ้ คุ คลมคี วามรสู้ กึ วา่ ตนเองประสบความสำ� เรจ็
จากการกระท�ำกิจกรรมใหม่ ๆ เปน็ กิจกรรมท่ตี อ้ งใชส้ มองและหาวธิ ีการใหม่
เพื่อแก้ปัญหาให้ลุล่วงไป ไม่ลังเลในการตัดสินใจที่ต้องใช้ความสามารถ
เก่ียวกับการคิดค�ำนวณ และมีความพอใจที่จะเลือกการค�ำนวณท่ีซับซ้อน
ดว้ ยความมน่ั ใจในความสามารถของตน สรา้ งใหเ้ กดิ ความมพี ลงั ในการเรยี นรู้

แนวทางการสง่ เสริมการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 99
เพอ่ื พัฒนาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21

ทางการคดิ คำ� นวณ มคี วามพยายามทจี่ ะฝกึ ฝนตนเองใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมาย
ให้ความส�ำคัญกับการฝึกฝนตนเอง และพร้อมท่ีจะเรียนรู้เพ่ิมเติมเมื่อมี
โอกาสเหมาะสม ฝึกให้มีสมาธิจดจ่ออยู่กับการเรียนรู้ทางการคิดค�ำนวณ
จนไม่สามารถแยกตัวเองออกจากสิ่งท่ีท�ำได้ จัดประสบการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับ
การคิดค�ำนวณให้ผู้เรียนมีความสุขกับการเรียนรู้ และได้รับการสนับสนุน
จากครอบครวั โดยผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาความสามารถทางการคดิ
คำ� นวณ มคี วามคาดหวงั และจดั เตรยี มสภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมตอ่ การเรียนรู้
รักษิต สุทธิพงษ์ (2560) ได้ศึกษาวิจัย เร่ือง กระบวนทัศน์ใหม่ทาง
การศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิทัล สรุปได้ว่ากระบวนทัศน์ใหม่
ทางการศกึ ษา คอื การใช้แนวคดิ ทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ที่มงุ่ เนน้ ให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของบริบทโลกและได้เห็นคุณค่า
ของความเป็นมนุษย์ ตลอดจนให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ สามารถปรับตัวและท�ำงานร่วมกันกับผู้อื่นได้ โดยมีทักษะ
การส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ และมีความสามารถในการจัดการและการใช้
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู้เพอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม
ไดอ้ ยา่ งสงู สดุ การจดั การศกึ ษาไทยในศตวรรษที่ 21 จะประสบความสำ� เรจ็ ได้
ตอ้ งอาศยั การเปลย่ี นแปลงแนวคดิ รปู แบบความคดิ ทฤษฎ ี และวธิ กี าร มาตรฐาน
ในการปฏิบัติงานของครู โดยเริ่มจากการเปล่ียนแปลงกระบวนทัศน์เก่าไปสู่
กระบวนทัศน์ใหม่ มุ่งพัฒนาทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
ซึ่งเป็นความท้าทายของครูในศตวรรษท่ี 21 ด้วยเช่นกัน ดังน้ัน การผลิต
และพฒั นาครยู คุ ใหม่จะต้องปฏริ ูปแนวคดิ หรือกระบวนทัศน์ใหมท่ างการศึกษา
ให้สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียนในยุคดิจิทัล ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 เป็นสังคมยุคนวัตกรรม
ท่ีมุ่งเน้นให้คนมีความสามารถในการผลิตความรู้และสร้างนวัตกรรมมาใช้
เพอ่ื แก้ปัญหาของตนเองและพฒั นาประเทศได้

100 แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพือ่ พฒั นาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

Poolsawas (2559) (อา้ งองิ จากภาสกร เรอื งรอง และคณะ, 2561) ไดท้ �ำ
การศึกษาวิจัยเก่ียวกับเกมบนโปรแกรมเชิงจินตภาพ โดยพบว่าแนวคิด
เชิงค�ำนวณอย่างเป็นระบบกลายเป็นความสามารถพื้นฐานส�ำหรับผู้เรียน
ในศตวรรษท่ี 21 และมกี ารใชโ้ ปรแกรมเชงิ จนิ ตภาพเขา้ มาชว่ ยสรา้ งและปรบั ปรงุ
ทักษะการเขียนโปรแกรม งานวิจัยน้ีน�ำเสนอแนวทางการออกแบบการเรียนรู้
เพื่อวัดผลจากการใช้แนวคิดเชิงค�ำนวณอย่างเป็นระบบสรุปผลการทดลอง
ผ่านโครงงานพัฒนาเกม และแบบทดสอบก่อนหลังการเรียน ผลลัพธ์ท่ีได้
คือระยะเวลาในการพัฒนาเกมที่ส้ันลงและผู้เรียนมีทักษะเพ่ิมข้ึนเก่ียวกับ
การเขียนโปรแกรม โดยในปัจจุบันการเขียนโค้ด มีเรื่องที่น่าสนใจท่ีจะ
ท�ำให้นักเรียนได้เรียนอย่างสนุกสนาน มีตัวอย่างการฝึกปฏิบัติและสร้าง
โครงงานต่าง ๆ ได้มาก นักเรียนในยุคน้ีนับเป็นเด็กเยาวชนที่เกิดมาพร้อมกับ
ดิจิทัล (Digital Native) สามารถเรียนรู้เรื่องเหล่านี้ได้ง่ายและเร็ว มีเคร่ืองมือ
ท่ีสนับสนุนการเรียนรู้อยู่มาก ท�ำให้สร้างวิธีการเรียนรู้ให้สมบูรณ์แบบได้
มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ความคดิ เปน็ ระบบ มเี หตมุ ผี ล และทำ� งานรว่ มกนั ได้
Natali Vlatko (2558) ได้ท�ำการศึกษาเรื่องการก�ำหนดวิชาวิทยาการ
คำ� นวณไวใ้ นหลกั สตู รการศกึ ษาของประเทศตา่ งๆ พบวา่ วชิ าวทิ ยาการคำ� นวณ
ได้รับความสนใจและก�ำหนดให้เป็นวิชาที่บรรจุไว้ในหลักสูตรส�ำหรับผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 โดยขณะนี้มีหลายประเทศมีนโยบายก�ำหนดให้การเขียน
โปรแกรมเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรสถานศึกษา และก�ำหนดให้ผู้เรียนที่มี
อายุนอ้ ยกว่า 5 ขวบไดร้ บั การศึกษาเรอื่ งการเขียนโปรแกรมซึง่ เปน็ ทักษะส�ำหรับ
อนาคต โดยในอดตี วชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอรเ์ คยเปน็ สาขาวชิ าสำ� หรบั การศกึ ษา
ระดับอุดมศึกษาเท่าน้ัน แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางส�ำหรับ
หลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และส�ำหรับผู้ปกครองที่ต้องการให้
บุตรหลานมีทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต้ังแต่ในช่วงวัยเด็ก โดย
หลายประเทศเร่ิมน�ำการเขียนโค้ดมาใช้เป็นทักษะพื้นฐานควบคู่กับการอ่าน
การเขยี นและการคำ� นวณ โดยองั กฤษเป็นประเทศแรกในสหภาพยโุ รปทก่ี �ำหนด

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 101
เพ่อื พัฒนาทักษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

ช้นั เรียนวิทยาศาสตรค์ อมพิวเตอรส์ ำ� หรบั เดก็ ทกุ คนทมี่ อี ายรุ ะหวา่ ง 5 - 16 ปี
โดยใชอ้ ายเุ ปน็ เกณฑก์ ำ� หนดการเรยี นหวั ขอ้ ตา่ งๆเชน่ อลั กอรทิ มึ จาวาเปน็ ตน้
โดยแต่ละข้ันตอนของหลักสูตร นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับความปลอดภัย
ของคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็ ควบคกู่ นั ไป สว่ นในสแกนดเิ นเวยี ฟนิ แลนด์
เร่ิมเปิดตัวหลักสูตรการศึกษาด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นหลักสูตรหลัก
เม่ือปี 2559 โดยในระยะเร่ิมต้น กระทรวงศึกษาธิการของฟินแลนด์อาศัย
ความรว่ มมอื จากภาคเอกชน เนือ่ งจากครชู าวฟินแลนดม์ ที กั ษะความสามารถ
ในการสอนท่ีแตกตา่ งกนั
สรุป การจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณ Coding เป็นการ
เตรยี มความพรอ้ มให้ผเู้ รยี นมที ักษะในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงเป็นทักษะในอนาคต
ท่ีประเทศไทยและต่างประเทศให้ความความส�ำคัญ โดยหลายประเทศ
ก�ำหนดให้บรรจุไว้ในหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ รวมท้ังประเทศไทย
ที่เห็นความส�ำคัญและบรรจุไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยหน่วยงานภาครัฐและ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้มีการศึกษาเพื่อหาแนวทางการส่งเสริมการจัด
การเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายตามหลักการ
ของวิชาวิทยาการค�ำนวณ โดยส่วนใหญ่ก�ำหนดให้มีการเรียนการสอน
วิชาวิทยาการค�ำนวณต้ังแต่ขั้นเด็กเล็กหรือประถมศึกษา เพ่ือเป็นการ
วางรากฐานการพัฒนาก�ำลังคนของประเทศให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์
คิดอย่างมีเหตุมีผล คิดอย่างเป็นล�ำดับข้ันตอน คิดอย่างสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนา
ต่อยอดไปสู่การคิดเชิงนวัตกรรม และน�ำไปสู่การพัฒนาประเทศในทุกมิติ
ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และสิ่งแวดล้อม เพ่ือน�ำพา
ประเทศให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ประเทศปานกลางไปสู่การเป็น
ประเทศรายไดส้ งู อยา่ งยงั่ ยนื โดยปจั จยั ความสำ� เรจ็ ทสี่ ำ� คญั คอื การมสี ว่ นรว่ ม
จากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐท่ีเร่ิมจากผู้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจในระดับนโยบาย
หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลักและหน่วยงานร่วมด�ำเนินการ สถานศึกษา

102 แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
เพือ่ พัฒนาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21

ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และครผู สู้ อนซง่ึ นบั เปน็ ปจั จยั หลกั ในการพฒั นาการเรยี น
การสอนวิทยาการค�ำนวณ Coding ให้ประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย
ของวชิ าวทิ ยาการคำ� นวณ รวมทงั้ ภาคเอกชนทต่ี อ้ งเขา้ มารว่ มเปน็ พลงั สำ� คญั
ในการพัฒนาเยาวชนไทยให้มีทักษะและกระบวนการคิดหรือทักษะในศตวรรษ
ท่ี 21 เพื่อให้สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในโลกปัจจุบันและโลกอนาคตได้อย่าง
มคี วามสุขทา่ มกลางกระแสการเปลย่ี นแปลงของสังคมและพลวัตโลก

แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding 103
เพ่อื พัฒนาทกั ษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

บทท่ี 3 วธิ ีการดำ�เนนิ งาน

การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ
Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ดำ�เนินการตาม
วัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยการใช้กระบวนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ
และมีข้ันตอนการดำ�เนินงาน ดังนี้

ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพ่ือศึกษาสภาพ
ปจั จบุ นั และปญั หาการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
ของสถานศกึ ษาและการดำ�เนินงานของหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง

1.1 เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการศึกษา
1.1.1 ศกึ ษาหลกั การ แนวคดิ ทฤษฏี จากเอกสารและรายงานวิจยั
ท่ีเกี่ยวข้องกับสภาพปัจจุบันและปัญหาการดำ�เนินงานจัดการเรียนการสอน
วิทยาการคำ�นวณ Coding ของสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน และ
การดำ�เนินงานของหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
1.1.2 การสมั ภาษณแ์ บบกง่ึ โครงสรา้ งผบู้ รหิ ารหนว่ ยงานสว่ นกลาง
ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ประกอบดว้ ย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
(สสวท.) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) สำ�นักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และสำ�นักงานส่งเสริม
เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล (ดีปา้ )

104 แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพ่อื พฒั นาทักษะผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21

1.1.3 การประชมุ ระดมความคดิ เหน็ (FocusGroup)เรอื่ ง“แนวทาง
การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ โค้ดด้ิง (Coding)
เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” ซ่ึงกำ�หนดกรอบประเด็นในการ
อภปิ รายให้ขอ้ คดิ เห็น และข้อเสนอแนะ โดยรองศาสตราจารย์ยืน ภู่วรวรรณ
ผทู้ รงคณุ วฒุ พิ เิ ศษมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และรองศาสตราจารยพ์ นั ธป์ุ ติ ิ
เปยี่ มสงา่ ภาควชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ มผี เู้ ขา้ รว่ ม
ประชุม จำ�นวน 45 คน แบ่งเป็นกลมุ่ ตา่ ง ๆ ได้ดงั นี้

กลุ่มผ้เู ข้ารว่ มประชมุ จำ�นวน
(คน)
1. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
2. ครูผสู้ อนวิชาวิทยาการคำ�นวณ Coding 3
3. ศึกษานิเทศก์ 13
4. ผู้เช่ียวชาญและนักวิชาการด้านหลักสตู ร 3
5. อาจารยแ์ ละนักวจิ ัยสาขาคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี 3
19
การศกึ ษาจากสถาบนั อุดมศึกษา
6. นกั วชิ าการจากหน่วยงานภาครัฐ/ภาคเอกชน 4
45
รวม

1.2 กลุ่มตัวอย่าง
กล่มุ ตวั อย่างแบบเจาะจง ประกอบด้วย
1.2.1 ผู้บริหารหน่วยงานส่วนกลางท่ีเก่ียวข้องกับวิทยาการ
คำ�นวณ Coding จำ�นวน 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย สถาบันส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) สำ�นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรยี นการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding 105
เพื่อพัฒนาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

แหง่ ชาติ (สวทช.) โดยศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ
(เนคเทค) และสำ�นักงานสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั (ดปี า้ )
1.2.2 ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครผู สู้ อน ศกึ ษานเิ ทศกจ์ ากสถานศกึ ษา
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ผเู้ ชย่ี วชาญและนกั วชิ าการดา้ นหลกั สตู ร อาจารย์
และนกั วจิ ยั สาขาคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารศกึ ษาจากสถาบนั อดุ มศกึ ษา
ผ้แู ทนหน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชน รวมจำ�นวน 45 คน
1.3 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดการเรียนการสอน
วิทยาการคำ�นวณ Coding ของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและ
การดำ�เนนิ งานของหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดว้ ยการวิเคราะหเ์ น้ือหา (Content
Analysis) โดยการจดั ประเภท (Categorizing) และการสรุปย่อ (Summarizing)

ขน้ั ตอนท่ี2การศกึ ษาตามวตั ถปุ ระสงคข์ อ้ ท่ี2เพอ่ื ศกึ ษาเปรยี บเทยี บ
กรณีความส�ำ เรจ็ ในการจัดการเรยี นการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
ของตา่ งประเทศกับประเทศไทย

2.1 เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการศึกษา
ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากรายงาน บทความวิชาการ และเอกสาร
ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการวิเคราะห์รวบรวมข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตกรณีความสำ�เร็จ
ในการดำ�เนนิ งานจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding ของตา่ งประเทศ
จำ�นวน 6 ประเทศ ประกอบด้วย อังกฤษ สาธารณรัฐฟินแลนด์ ญี่ปุ่น
สาธารณรัฐประชาชนจนี สาธารณรฐั เกาหลี และสาธารณรฐั สงิ คโปร์
2.2 กลมุ่ ตัวอยา่ ง
กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กรณีประเทศที่เป็นต้นแบบและมีผล
การดำ�เนนิ งานดา้ นการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยากรคำ�นวณ Coding ประสบ
ความสำ�เรจ็ ในทวปี ยโุ รปจำ�นวน2ประเทศไดแ้ ก่องั กฤษสาธารณรฐั ฟนิ แลนด์

106 แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
เพอื่ พฒั นาทกั ษะผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21

และทวีปเอเชีย จำ�นวน 4 ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐประชาชนจีน
สาธารณรัฐเกาหลี และสาธารณรัฐสิงคโปร์ รวมเป็น 6 ประเทศ
2.3 การวิเคราะหข์ อ้ มลู
วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บผลการดำ�เนนิ งานดา้ นการจดั การเรยี นการสอน
วทิ ยาการคำ�นวณ Coding ของตา่ งประเทศจำ�นวน 6 ประเทศกบั ประเทศไทย
ด้วยการวิเคราะหเ์ น้ือหา (Content Analysis) โดยการจัดประเภท (Catego-
rizing) และการสรุปยอ่ (Summarizing)

ข้ันตอนที่ 3 การศกึ ษาตามวัตถปุ ระสงคข์ ้อที่ 3 เพอื่ เสนอแนวทาง
การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพอ่ื พัฒนาทักษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

3.1 เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการศึกษา
ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการ
คำ�นวณ Coding เพ่ือพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จากเอกสาร
บทความวิชาการ และรายงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องร่วมกับการสัมภาษณ์
แบบกึ่งโครงสร้างผู้บริหารหน่วยงานส่วนกลางท่ีเกี่ยวข้อง และการประชุม
ระดมความคิดเห็นด้านการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
จากผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ศึกษานิเทศก์จากสถานศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการด้านหลักสูตร อาจารย์
และนักวิจัยสาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการศึกษาจากสถาบัน
อดุ มศึกษา ผูแ้ ทนหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
3.2 กลุม่ ตัวอยา่ ง
กล่มุ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง ประกอบดว้ ย
3.2.1 ผ้บู ริหารหน่วยงานสว่ นกลางทเี่ ก่ยี วข้อง จำ�นวน 4 หน่วยงาน
ประกอบด้วย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 107
เพ่อื พฒั นาทกั ษะผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) สำ�นักงานพัฒนา
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) โดยศนู ยเ์ ทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ ส์
และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และสำ�นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
(ดีป้า) และการประชุมระดมความคิดเห็นด้านการจัดการเรียนการสอน
วิทยาการคำ�นวณ Coding
3.2.2 ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครูผ้สู อน ศึกษานเิ ทศกจ์ ากสถานศกึ ษา
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ผเู้ ชย่ี วชาญและนกั วชิ าการดา้ นหลกั สตู ร อาจารย์
และนักวิจัยสาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษา
ผแู้ ทนหน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชน รวมจำ�นวน 45 คน
3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน
วิทยาการคำ�นวณ Coding เพ่ือพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และ
จัดทำ�เป็นข้อเสนอแนวทางด้วยการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis)
โดยการจัดประเภท (Categorizing) และการสรุปยอ่ (Summarizing)

108 แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding
เพื่อพัฒนาทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21

แนวทางการสง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding 109
เพือ่ พัฒนาทกั ษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

บทท ่ี 4 ผลการศึกษา

การศึกษา เรื่อง แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการ
ค�ำนวณ Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ด�ำเนินการ
ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ และ
การประชุมระดมความคิดเห็น สามารถสรุปผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์
ของการศึกษา แบง่ เป็น 3 ขนั้ ตอน ดังน้ี

ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพ่ือศึกษาสภาพ
ปัจจุบันและปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณ Coding
ของสถานศกึ ษาและการดำ� เนินงานของหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
จากการเกบ็ รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามขน้ั ตอนท่ี1 ซงึ่ การดำ� เนนิ งาน
ประกอบดว้ ยการศกึ ษาเอกสารและรายงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สภาพปจั จบุ นั
และปญั หาการดำ� เนนิ งานการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ Coding
ของสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศไทย การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
จากการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างผู้บริหารหน่วยงานส่วนกลางท่ีเกี่ยวข้อง
จ�ำนวน 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท.) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
(สพฐ.) สำ� นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) และ
ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) และการวิเคราะห์ข้อมูลจากสรุป
ผลการประชุมระดมความคิดเห็น เร่อื ง แนวทางการส่งเสริมการจดั การเรยี น
การสอนวทิ ยาการคำ� นวณ โคด้ ดง้ิ Codingเพอื่ พฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี21

110 แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพ่ือพฒั นาทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

ซง่ึ มผี เู้ ขา้ รว่ มประชมุ ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาครผู สู้ อนศกึ ษานเิ ทศก์
จากสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้เช่ียวชาญและนักวิชาการ
ดา้ นหลกั สตู ร อาจารยแ์ ละนกั วจิ ยั สาขาคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
จากสถาบนั อดุ มศกึ ษา ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชน สามารถสรปุ
สภาพปจั จบุ นั และปญั หาการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ Coding
และการด�ำเนินงานของหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องไดด้ ังน้ี

 สภาพปจั จบุ นั และปญั หาการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำนวณ
Codingของสถานศกึ ษาและการด�ำเนนิ งานของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

สภาพปจั จบุ นั และปญั หาการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ Coding
พบวา่ ทง้ั ในหนว่ ยงานระดบั สว่ นกลาง ระดบั สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานสนบั สนนุ
ที่เกี่ยวข้องยังมีปัญหาและอุปสรรคอยู่หลายด้าน เช่น คุณภาพของการจัด
การเรียนการสอน การขาดทรัพยากรบุคคลท่ีมีความรู้ความเข้าใจหลักการ
ของวิชาวิทยาการค�ำนวณ ความรู้และทักษะเชิงเทคนิคของการเขียน
โปรแกรมและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ความเหมาะสมของงบประมาณและ
อุปกรณ์ที่เอื้ออ�ำนวยต่อการจัดการเรียนการสอน การติดตามประเมินผล
และการนิเทศ เป็นต้น โดยสามารถจ�ำแนกสภาพปัจจุบันและปัญหา
เป็นรายด้านได้ ดังนี้
1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
1.1 ขาดความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั การ และสถานะของวชิ าวทิ ยาการ
ค�ำนวณ ซึ่งท�ำให้ยากต่อการปฏิรูปวิธีการสร้างกระบวนการคิดให้ผู้เรียน
รวมทง้ั ขาดความรู้ ความเข้าใจการจัดการเรียนการสอนในยคุ ดจิ ิทลั ยงั คงใช้
วิธีการและส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนแบบเดิมท่ีเน้นเน้ือหามากกว่า
ฝึกใหผ้ เู้ รยี นคดิ อยา่ งเป็นระบบ

แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 111
เพ่อื พฒั นาทกั ษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

1.2 ไม่สามารถบรู ณาการวชิ าวทิ ยาการคำ� นวณเขา้ กับวชิ าอืน่ ๆ ได้
1.3 ไม่สามารถบริหารจัดการอัตราก�ำลังครูในการจัดตารางสอน เนื่องจาก
ติดปัญหาโครงสร้างเก่าท่ีจะต้องก�ำหนดว่าครูผู้สอนวิชาวิทยาการค�ำนวณ
ควรจะตอ้ งเปน็ ครวู ทิ ยาศาสตร ์ ครคู อมพวิ เตอร์ หรอื ครกู ารงานอาชพี ซง่ึ มผี ล
ท�ำให้ช่ัวโมงสอนของครูและนักเรียนไม่เหมาะสม และไม่สามารถพัฒนา
ประสทิ ธิภาพการเรียนการสอนได้เทา่ ทค่ี วร
2. ครูผู้สอน
2.1 ขาดแคลนครูที่มีศักยภาพและมีความรู้ด้านวิทยาการค�ำนวณ
Coding ท้ังด้านปริมาณและคุณภาพ เน่ืองจากปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง
องค์ความรู้และวทิ ยาการด้านวิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี
อย่างรวดเร็ว แต่ครูท่ีส�ำเร็จการศึกษาจากคณะศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์
สาขาวิชาเอกวิทยาศาสตร์ หรือวิศวกรรมศาสตร์ยังมีจ�ำนวนน้อย ท�ำให้
ไมส่ ามารถปรับตัวได้ทันกับการเปลี่ยนแปลงดงั กล่าว
2.2 ขาดความรู้ ความเข้าใจในหลกั การ บทบาท และสถานะของวชิ า
วทิ ยาการคำ� นวณ Coding ทำ� ใหย้ ากตอ่ การปฏริ ปู วธิ กี ารสรา้ งกระบวนการคดิ
ให้ผู้เรียน และยังขาดความรู้ความเข้าใจความหมายท่ีชัดเจนของค�ำว่า
วทิ ยาการคำ� นวณ Coding มคี วามกงั วลเกย่ี วกบั วธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน
ไมเ่ ขา้ ใจวธิ กี ารสอน และไมส่ ามารถปรบั ประยกุ ตป์ ญั หาในชวี ติ จรงิ มาเปน็ ลำ� ดับ
ขน้ั ตอนเชงิ วธิ คี ดิ ได้ มคี วามไมช่ ดั เจนเรอ่ื งการกำ� หนดครผู สู้ อนวชิ าวทิ ยาการคำ� นวณ
Coding ว่าควรจะเปน็ ครูวิทยาศาสตรห์ รือครูคอมพวิ เตอร์ โดยมคี วามเหน็ วา่
เสน้ ทางอาชพี ของครสู าขาคอมพวิ เตอรไ์ มช่ ดั เจน ทงั้ ในดา้ นการทำ� หนา้ ทสี่ อน
และการสะสมชวั่ โมการสอนสง่ ผลตอ่ การไดร้ บั การพจิ ารณาความดคี วามชอบ
การแบ่งเวลาเรียนหรือคาบเรียนส�ำหรับหลักสูตรที่มีการเปล่ียนแปลงใหม่
ยังไม่ชัดเจน รวมทั้งขาดสื่อการเรียนการสอนที่จะสามารถท�ำให้ผู้เรียน
ตอบวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดของวิชาวิทยาการค�ำนวณได้ ท�ำให้มีปัญหา
ในการน�ำสกู่ ารปฏิบัติไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม

112 แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพ่อื พฒั นาทักษะผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21

2.3 ครผู สู้ อนทเี่ ปน็ ครูอาวโุ สและอยู่ในร่นุ ก่อนการเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยี
ขาดความรู้ ความเข้าใจวิธีการจัดการเรียนการสอนในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล
ยงั คงใชก้ ระบวนการเรยี นการสอนแบบเดมิ ทเี่ นน้ เนอ้ื หามากกวา่ ฝกึ ใหผ้ เู้ รยี น
คดิ อยา่ งเป็นระบบ และคดิ อย่างมเี หตุผล
2.4 ครจู ากโรงเรยี นทผ่ี า่ นการฝกึ อบรม และไดร้ บั การสนบั สนนุ อปุ กรณ์
และเครือ่ งมอื เพ่อื ชว่ ยในการจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ Coding
มีการย้ายไปประจ�ำการท่ีโรงเรียนอื่น ท�ำให้อุปกรณ์และเคร่ืองมือที่ได้รับ
ไม่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้อย่าง
ต่อเนือ่ ง
3. ผ้เู รียน
3.1 ผู้เรียนไม่ได้รับการฝึกทักษะและกระบวนการคิดตามเป้าหมาย
และหลักการของวิชาวิทยาการค�ำนวณ Coding เน่ืองจากครูผู้สอนยังไม่มี
ความรู้ ความเข้าใจที่ชดั เจนในหลักการและเป้าหมายของวชิ าวิทยาการคำ� นวณ
3.2 ผู้เรียนที่ได้รับการฝึกทักษะและเรียนรู้เร่ืองวิทยาการค�ำนวณ
Coding จนสามารถแสดงผลงานใหเ้ หน็ ในเชิงประจักษ์ ไม่ไดร้ บั การส่งเสรมิ
สนบั สนนุ ใหท้ ำ� กจิ กรรมตอ่ ยอดไปใชใ้ นชมุ ชน หรอื ใชใ้ นโรงเรยี นไดอ้ ยา่ งเปน็
รปู ธรรม
4. เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล
ผลการทดสอบ O - NET วิชาวิทยาการค�ำนวณไม่สามารถสะท้อน
พัฒนาการการเรียนรู้เชิงกระบวนการคิดของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง ท�ำให้
ไม่สามารถประเมินความส�ำเร็จของวิชาวิทยาการค�ำนวณได้อย่างชัดเจน
ควรก�ำหนดเกณฑ์ตัวช้ีวัดเชิงคุณภาพด้วยรูปแบบอื่น ๆ เช่น การต้ังทีม
ไปประเมนิ และใช้เคร่อื งมือการทดสอบทักษะทีจ่ �ำเป็น เปน็ ต้น

แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 113
เพอื่ พัฒนาทักษะผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21

5. การด�ำเนินงานท่เี กีย่ วขอ้ ง
5.1 สถานศกึ ษาขาดโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ทย่ี งั ไมส่ มบรู ณแ์ ละครอบคลมุ ทกุ สถานศกึ ษา ทงั้ ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็
ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ และระบบไฟฟา้ พน้ื ฐาน รวมถงึ ขาดอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์
หรืออุปกรณ์เสริมต่าง ๆ ที่จ�ำเป็นต่อการสร้างโครงงานของผู้เรียนในระดับ
ชน้ั ต่าง ๆ เช่น Smart Board หรือ Smart Kids เปน็ ตน้
5.2 ขาดการนิเทศติดตามและสนับสนุนกิจกรรมการด�ำเนินงาน
อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการติดตามและการประเมินการพัฒนาครู ท�ำให้
การจัดการเรียนการสอนวชิ าวิทยาการคำ� นวณ Coding และการดำ� เนนิ งาน
โครงการต่าง ๆ ไม่บรรลตุ ามเปา้ หมายท่ีกำ� หนด
5.3 ระเบยี บการจดั ซ้อื จดั จา้ งและการบริหารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560
ส่งผลกระทบต่อปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์และส่ือการเรียนการสอน
ของสถานศกึ ษา
5.4 ขาดการบูรณาการการด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง จึงท�ำให้ไม่สามารถขยายผลหรือหาแนวทางส่งเสริมสนับสนุน
การเรียนการสอน Coding ได้ตรงตามเป้าหมายและครอบคลุมทั่วทั้ง
ประเทศได้

ขน้ั ตอนที่ 2 การศกึ ษาตามวตั ถปุ ระสงคข์ อ้ ที่2 เพอ่ื ศกึ ษาเปรยี บเทยี บ
กรณีความส�ำเรจ็ ในการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ Coding
ของตา่ งประเทศกบั ประเทศไทย
จากการศกึ ษาเอกสาร บทความทางวิชาการ และรายงานการวจิ ัยตา่ ง ๆ
เก่ียวกับกรณีความส�ำเร็จในการจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณ
Coding ของตา่ งประเทศทง้ั ในยโุ รป และเอเชยี จำ� นวน 6 ประเทศเปรยี บเทยี บ
กบั ประเทศไทย สามารถสรปุ ผลได้ ดงั นี้

114 แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
เพื่อพัฒนาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

 การศกึ ษาเปรยี บเทยี บกรณคี วามส�ำเรจ็ ในการจดั การเรยี นการสอน
วิทยาการค�ำนวณ Coding ของต่างประเทศกับประเทศไทย

องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั วทิ ยาการคำ� นวณ Coding ของตา่ งประเทศ เปน็ กรณี
ศึกษาที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมาและความก้าวหน้าของวิชาวิทยาการ
คำ� นวณ Coding ทต่ี า่ งประเทศทวั่ โลกใหค้ วามสำ� คญั และบรรจไุ วใ้ นหลกั สตู ร
การเรยี นการสอน โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที กั ษะในศตวรรษ
ที่ 21 และเป็นการสร้างรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
ให้สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านเทคโนโลยี โดยในการศึกษาคร้ังน้ี ได้ศึกษาเปรียบเทียบกรณี
ความส�ำเร็จในการจัดการเรียนการสอนของต่างประเทศท่ีมีบริบทแตกต่าง
กบั ประเทศไทยจำ� นวน 6 ประเทศ ประกอบดว้ ย องั กฤษ สาธารณรฐั ฟนิ แลนด์
ญ่ปี นุ่ สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรฐั เกาหลี และสาธารณรัฐสงิ คโปร์
รายละเอียดปรากฏตามตารางที่ 1 ดงั นี้

ตารางที่ 1 : การศกึ ษาเปรยี บเทยี บกรณคี วามสำ�เรจ็ ในการจดั การเรยี นการสอน
วทิ ยาการคำ�นวณ Coding ของตา่ งประเทศกบั ประเทศไทย

ประเทศ นโยบายรัฐบาล หลกั สูตร การจดั การเรียน
ประเทศไทย ดา้ นการศกึ ษา การสอนวิทยาการ
คำ� นวณ Coding

นโยบายด้านการศึกษา ในปี 2560 มกี ารปรับปรุง การจัดการเรียน
ของรัฐบาลพลเอกประยทุ ธ์ หลักสูตรแกนกลาง การสอนแบ่งออกเปน็
จันทรโ์ อชา ทแี่ ถลงต่อ การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 4 ระดบั ชว่ งชัน้ โดยมี
รฐั สภาเมือ่ วันที่ 25 พุทธศกั ราช 2551 เปา้ หมายในแตล่ ะ
กรกฎาคม 2562 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ชว่ งชั้น ดังน้ี

แนวทางการส่งเสริมการจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 115
เพอื่ พฒั นาทกั ษะผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21

ประเทศ นโยบายรฐั บาล หลกั สูตร การจัดการเรยี น
ดา้ นการศกึ ษา การสอนวทิ ยาการ
ค�ำนวณ Coding

ข้อ 8 ) การปฏริ ูป โดยก�ำหนดใหม้ ีสาระ 1) ป.1 - 3 แกป้ ญั หา
กระบวนการเรยี นรแู้ ละ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ อย่างงา่ ยอยา่ งเป็น
การพฒั นาศักยภาพ ค�ำนวณ) ในกลมุ่ สาระ ขนั้ เป็นตอน มกี ารใช้
ของคนไทยทุกช่วงวัย การเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ สอ่ื การเรยี นรู้ประเภท
เพือ่ พฒั นาคนไทยใหม้ ี โดยปรบั ปรงุ จากสาระ ตา่ ง ๆ เข้ามาช่วย เช่น
ความพรอ้ มในการ เทคโนโลยีสารสนเทศ การ์ดคำ� ส่ัง บอร์ดเกม
ดำ� รงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 และการสอื่ สาร เปน็ ต้น
โดยการพัฒนาปรบั กลุม่ การงานอาชพี 2) ป.4 - 6 เน้น
โครงสร้างหลักสตู ร และเทคโนโลยี การเรียนการสอน
การศึกษาใหท้ ันสมัย ใหม้ ี 2 รายวิชาเพิม่ เติม ในการออกแบบและ
สง่ เสริมใหม้ กี ารนำ� คอื การออกแบบและ การเขยี นโปรแกรม
เทคโนโลยสี ารสนเทศและ เทคโนโลยี (ว 4.1) อยา่ งงา่ ยผ่าน Scratch
การสร้างสรรค์ที่เหมาะสม ส�ำหรบั ช้ัน ม.1 - ม.5 โดยผูเ้ รียนในระดับ
มาใช้ในการเรียนการสอน และวทิ ยาการค�ำนวณ ประถมศกึ ษาไมจ่ �ำเป็น
นโยบายเรง่ ด่วนขอ้ (7) (ว 4.2) ส�ำหรบั ตอ้ งเรยี นผา่ นอุปกรณ์
การเตรยี มคนไทยสู่ ชน้ั ป.1 - ม.6 คอมพวิ เตอร์
ศตวรรษท่ี 21 สง่ เสริม 3) ม.1 - 3 เนน้
การเรียนภาษา การออกแบบใชท้ กั ษะ
คอมพวิ เตอร์ (Coding) การคิดเชิงค�ำนวณ
ตัง้ แต่ระดับประถมศกึ ษา และการเขยี น
โปรแกรมอยา่ งงา่ ย
4) ม.4 - 6 การใช้
ขอ้ มลู เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์
และความรู้จาก
ศาสตร์ต่าง ๆ ในการ
แกป้ ัญหาและ
การประยุกตใ์ ช้
แนวคดิ เชงิ คำ� นวณ

116 แนวทางการสง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพ่ือพฒั นาทกั ษะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21

ประเทศ นโยบายรัฐบาล หลกั สูตร การจัดการเรยี น
ด้านการศกึ ษา การสอนวิทยาการ
คำ� นวณ Coding

ตา่ งประเทศ 6 ประเทศ

1) องั กฤษ รัฐบาลอังกฤษโดย ในปี 2557 อังกฤษ การจดั การเรยี น
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประเทศแรกทีบ่ รรจุ การสอนหลกั สตู ร
ร่วมกับองคก์ รต่าง ๆ เช่น วิชาวิทยาการคำ�นวณ วทิ ยาการคำ�นวณ
ไมโครซอฟต์และกเู กลิ ไวใ้ นหลกั สตู รระดบั ชาติ แบ่งออกเป็น
สถาบนั BSC คณะทำ�งาน เพื่อมงุ่ เนน้ เสรมิ ทักษะ 3 ช่วงวยั ดงั นี้
ดา้ นวทิ ยาการคำ�นวณและ ดา้ นการคดิ เชิงตรรกะ 1) Key Stage 1
สถาบนั วิศวกรรมศาสตร์ และแกป้ ัญหาระยะยาว (5 - 6 ปี) เรียนรู้
ดำ�เนินการพัฒนาหลักสูตร ดา้ นตลาดสายงาน อัลกอริทมึ โดย
วทิ ยาการคำ�นวณให้เป็น เทคโนโลยี โดยเรมิ่ เรียน ไม่จำ�เปน็ ต้องใช้
หลักสูตรแกนกลาง เขยี นโปรแกรมตง้ั แต่ คอมพิวเตอร์เสมอไป
หรือหลักสตู รระดับชาติ อายุ 5 ขวบไปจนถึง เรียนร้กู ารใชอ้ ุปกรณ์
เพื่อสอนผู้เรียนเก่ียวกับ ระดบั มธั ยมศกึ ษา การออกแบบรปู แบบ
วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ตอนต้น คอมพวิ เตอร์
ใหผ้ เู้ รยี นสามารถ อย่างงา่ ย ๆ
สรา้ งสรรค์โปรแกรม 2) Key Statge 2
ใหม่ ๆ ไมใ่ ช่แคเ่ พยี งใช้ (7 - 11 ป)ี เขา้ ใจ
คอมพิวเตอรเ์ ป็น รวมถงึ พ้นื ฐานการเขียน
รู้วธิ กี ารทำ�ใหค้ อมพิวเตอร์ โปรแกรมเพมิ่ ขึน้
สามารถทำ�งานใหไ้ ด้ มีพัฒนาการ
ของทกั ษะการคดิ
เชงิ ตรรกะมากข้นึ
เรียนรู้การใชเ้ ว็บไซต์
และบรกิ ารอื่น ๆ
บนอินเทอร์เนต็
3) Key Statge 3
(11 - 14 ปี) สามารถ
ใชโ้ ปรแกรมสองแบบ
หรือมากกวา่ เพ่ือสร้าง
โปรแกรมของตัวเอง
โรงเรยี นและครมู ีอิสระ
ในการเลอื กโปรแกรม

แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 117
เพ่ือพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

ประเทศ นโยบายรัฐบาล หลักสูตร การจัดการเรยี น
ด้านการศกึ ษา การสอนวิทยาการ
คำ� นวณ Coding

เฉพาะและเครือ่ งมอื
ในการเขียนโปรแกรม
ของตัวเอง ผู้เรยี นจะได้
เรยี นรู้ตรรกะบูลีน
แบบง่าย ๆ เช่น
And Or Not และ
การทำ�งานด้วย
เลขฐานสอง เปน็ ต้น

2) สาธารณรฐั รัฐบาลมนี โยบายให้ ปี 2560 ฟนิ แลนด์ การจัดการเรียน
ฟินแลนด์ บรรจุวชิ าวทิ ยาการคำ�นวณ กำ�หนดใหห้ ลกั สูตร การสอนแบง่ เป็น
ไวใ้ นหลักสูตรระดับชาติ ระดับชาติเน้นวิชา 3 ระดับชั้น ดังนี้
ตง้ั แต่ปี 2560 โดยเปน็ ทง้ั วทิ ยาการคำ�นวณ และ 1) เกรด 1 - 2
วชิ าบังคบั และบรู ณาการ กำ�หนดให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ (เทียบเทา่ ป.1 - 3)
ข้ามหลกั สตู รในวชิ าต่าง ๆ การเขียนโปรแกรม เรยี นพืน้ ฐานเรื่อง
ผ่านการทำ�กิจกรรมตา่ ง ๆ การเขยี นโปรแกรม
ในงานฝีมอื และวิชา โดยไมจ่ ำ�เป็นตอ้ งใช้
คณติ ศาสตร์ โดย คอมพวิ เตอร์
หลกั สตู รของฟนิ แลนด์ 2) เกรด 3 - 6
เนน้ ให้ทุกวิชาเช่อื มโยง (เทยี บเทา่ ป.3 - 6)
เขา้ ดว้ ยกนั เพ่อื บูรณาการ เน้นการเขยี นโปรแกรม
ICT ใหเ้ ปน็ ส่วนหนึ่ง ให้เป็นส่วนหนงึ่
ของสาขาวชิ าตา่ ง ๆ ของความรู้ เรยี นรู้ว่า
เทคโนโลยจี ะตอบโจทย์
ไดม้ ากนอ้ ยแค่ไหน
ขนึ้ อยกู่ บั การควบคมุ
ของคนในวิชา
คณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรม
จะถูกประยกุ ต์ใช้
ในการแก้โจทย์
และการเรียนผ่าน
โปรแกรม Scratch

118 แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21

ประเทศ นโยบายรฐั บาล หลักสตู ร การจดั การเรยี น
3) ญปี่ นุ่ ด้านการศกึ ษา การสอนวทิ ยาการ
คำ� นวณ Coding

3) เกรด 7 - 9
(เทยี บเทา่ ม.ต้น)
เน้นใหเ้ ป็นวิชา
เช่ือมโยงกับวชิ าอน่ื ๆ
ใหผ้ ู้เรียนสามารถผลติ
ผลงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
กับดิจทิ ลั ด้วยตวั เอง
สามารถทำ�งาน
รว่ มกบั เพือ่ น ๆ
เพื่อสรา้ งผลงานทัง้ ใน
ข้ันตอนการออกแบบ
และผลติ ชิน้ งาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฯ ในปี 2559 กระทรวง การจดั การเรียน
ของญี่ปนุ่ ตระหนกั ถึง ศึกษาธิการฯ ของญี่ป่นุ การสอนในระดับ
ผลกระทบจากการปฏวิ ัติ ประกาศให้การเรียน ประถมศกึ ษาตอนต้น
อุตสาหกรรมยคุ ทีส่ ่ี ซึ่งมี การเขยี นโปรแกรม จะเน้นการปลกู ฝงั
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในระดบั ช้ันมธั ยมศึกษา และพฒั นาการคดิ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ เทคโนโลยี ตอนตน้ และมีแผน เชงิ การเขยี นโปรแกรม
ปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI) และ ขยายหลักสตู รไปยัง โดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์
อนิ เทอร์เน็ตสรรพสิง่ (IoT) ชน้ั มัธยมศกึ ษา (Unplugged) รวมท้งั
เปน็ ตัวขบั เคลื่อนหลัก และ ตอนปลาย ในปี 2564 มกี ารปรับปรงุ เน้อื หา
คาดการณว์ ่าในอนาคต และต่อมาได้ประกาศ หลกั สตู รประถมศกึ ษา
ญี่ปุ่นจะขาดแคลนแรงงาน ให้การเขียนโปรแกรม และมธั ยมศึกษา
ด้าน IT เปน็ จำ�นวนมาก เปน็ ส่วนหนง่ึ ของ ด้วยการเสริม
จึงเหน็ ความสำ�คัญ หลกั สูตรการเรียน ความเข้มข้น
ในการพัฒนาผู้เรียน ภาคบังคบั ตั้งแต่ระดับ วชิ าคณิตศาสตร์ และ
ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ประถมศึกษาตอนต้นไป วทิ ยาศาสตรด์ ้วยการ
จนถงึ มัธยมศึกษา สอนเสริมและสอนซ�้ำ
ตอนปลาย โดยเร่มิ เร่อื งเดิมกอ่ นเรยี น
อย่างเปน็ ทางการ เรอ่ื งใหม่ และมอบหมาย
ตงั้ แตเ่ ดือนเมษายน งานค้นคว้าเพมิ่ เติม
2563 นอกเวลาเรยี น

แนวทางการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 119
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

ประเทศ นโยบายรัฐบาล หลักสตู ร การจดั การเรยี น
ด้านการศกึ ษา การสอนวิทยาการ
คำ� นวณ Coding

ในวชิ าเลขคณิต
คณิตศาสตร์และ
วทิ ยาศาสตร์ และ
เปลยี่ นแปลงเนื้อหา
ให้สอดคลอ้ งกบั
ความร้ใู หม่
ทางวิทยาศาสตร์
ในระดบั มธั ยมศกึ ษา
ตอนปลาย

4) สาธารณรัฐ รฐั บาลจีนเห็นว่า รฐั บาลจีนไม่ได้บรรจุ การเรยี นการสอน
ประชาชนจีน การเขียนโปรแกรม ให้การเขียนโปรแกรม ในช้ันเรียนจะมงุ่ เนน้
เปน็ หัวใจหลักของ เป็นหลักสตู รภาคบงั คบั การเขยี นโปรแกรม
การแกป้ ัญหาและ ระดบั ชาติ การพฒั นา โดยให้เรียนรเู้ ก่ียวกับ
ความคดิ สร้างสรรค์ หลกั สตู รของจนี มงุ่ เนน้ การเขียนโปรแกรม
จึงได้ส่งเสริมสนับสนุน ไปท่สี หวิทยาการ เชน่ เดียวกบั การเรยี น
การจดั การเรยี นการสอน เพือ่ สามารถเข่ือมโยง ภาษาหรือเลขคณติ
ด้านวิทยาการคำ�นวณ กับศาสตร์อน่ื ๆ เชน่ โดยใชบ้ อร์ดเกม
แต่ยังประสบปญั หา คณิตศาสตร์ สถติ ิ ฟสิ กิ ส์ ในการสอนเรื่อง
การขาดแคลนครทู ม่ี ี ชีววทิ ยา จิตวิทยา และ ใกลต้ ัว เช่น ทิศทาง
ทักษะ จึงใหค้ วามสำ�คัญ สังคมศาสตรไ์ ด้ และ การระบพุ กิ ดั การสอน
กบั การฝกึ อบรมครูเพื่อให้ สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารผลติ ให้เลน่ Scratch
มีความพร้อมในการสอน บคุ ลากรดา้ นวิศวกรรม เพอื่ เล่นเกมง่าย ๆ
วิทยาการคำ�นวณและ จำ�นวนมากเพื่อเตรียม และสร้างสรรค์ผลงาน
การเขยี นโปรแกรม ความพร้อมเข้าสู่การเป็น ตนเอง
จนี มีแผนพัฒนาชาติ ผนู้ ำ�ระดับโลกด้าน AI
ในการสง่ เสริมการเรยี น ขอ้ มูลจากกระทรวง
การสอนทักษะ ศกึ ษาธิการของจนี
ดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ลั และคณะกรรมการ
ในการศกึ ษาทกุ ระดับ การศกึ ษาแหง่ กรุงปักกง่ิ
โดยมแี ผนระยะส้ันเพ่อื ให้ พบว่าโรงเรียนระดบั
กา้ วสูก่ ารเป็นผู้ทรงอทิ ธพิ ล ประถมศกึ ษาและ
ดา้ นนวัตกรรมภายในปี มัธยมศึกษาตอนตน้
2563 กว่า 200 แห่ง มหี ลักสูตร

120 แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพ่ือพฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ประเทศ นโยบายรฐั บาล หลักสูตร การจดั การเรียน
ดา้ นการศกึ ษา การสอนวิทยาการ
คำ� นวณ Coding

แผนระยะกลาง คือ การเขยี นโปรแกรม
ตอ้ งประสบความสำ�เร็จ และมหี ลกั สูตรเสริม
ในการคน้ พบสิ่งใหม่ ๆ พเิ ศษสอนในโรงเรยี น
ของปัญญาประดิษฐ์
ภายในปี 2568 และ
แผนระยะยาว คือ มงุ่ ไปสู่
การเปน็ ผู้นำ�ระดับโลก
ด้าน AI ภายในปี 2573

5) สาธารณรัฐ เกาหลีประกาศนโยบาย เกาหลจี ัดให้มี การเรียนการสอน
เกาหลี และแผนการศกึ ษา หลกั สตู รเขยี นโปรแกรม ในทุกระดับชัน้ จะให้
พ.ศ. 2553 โดยมี ตง้ั แตร่ ะดับประถมศกึ ษา ความสำ�คญั กับคณะ
วสิ ยั ทศั นว์ า่ “การส่งเสริม และตัง้ แต่ปี 2562 และสาขาวชิ าทเี่ กย่ี วกับ
การศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ ผูเ้ รียนทุกระดับตอ้ งเรยี น วทิ ยาศาสตรแ์ ละ
และเทคโนโลยใี นฐานะ เขียนโปรแกรม เทคโนโลยีมากทส่ี ุด
เป็นฐานสำ�หรบั การสร้าง เพอื่ ฝึกการเรียน มกี ารสร้างเว็บไซต์
ประเทศสู่ความเปน็ ภาษาคอมพิวเตอร์ ระบบการเรยี นรู้
ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ ” หรอื Coding ออนไลนท์ ี่ทุกคน
สามารถเรยี นรไู้ ด้
ท่บี า้ นหรอื เรียนได้
ทุกสถานท่แี ละ
ทกุ เวลา มกี ารพฒั นา
ทักษะระบบไอที
ใหก้ ับครู และผู้บริหาร
สถานศึกษา มกี ารจดั
ห้องเรียนประยกุ ต์
โดยใชเ้ ทคโนโลยี
ในการจดั การเรียน
การสอน เพื่อเตรียมคน
เข้าส่ศู ตวรรษท่ี 21

แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนวิทยาการคำ�นวณ Coding 121
เพอื่ พฒั นาทกั ษะผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21

ประเทศ นโยบายรฐั บาล หลกั สตู ร การจัดการเรียน
ดา้ นการศึกษา การสอนวิทยาการ
คำ� นวณ Coding

6) สาธารณรฐั สิงคโปร์กำ�หนด สงิ คโปร์เนน้ ให้ วิชาวทิ ยาการคำ�นวณ
สิงคโปร์ เป้าหมายวา่ จะเปน็ การเขยี นโปรแกรมเปน็ ในสงิ คโปร์ยงั ไมเ่ รยี กว่า
ประเทศผู้นำ�ดา้ น หลักสตู รพเิ ศษ เปน็ วชิ าบงั คบั
เทคโนโลยีอย่างสมบูรณ์ ในโรงเรยี นมธั ยมศึกษา บทบาทของวชิ าน้ี
แบบ เพ่อื ใหเ้ ยาวชน โดยรัฐบาลได้วางแผน เปน็ เหมือนหลกั สตู ร
สงิ คโปรก์ า้ วเข้าส่ยู คุ การสง่ เสริมความพรอ้ ม พิเศษในโรงเรยี น
ทเ่ี รยี กวา่ “Smart Nation” ดา้ นคณิตศาสตร์ โดยโอกาสท่ีผเู้ รียน
นายกรฐั มนตรีจึงกำ�หนด และวิทยาศาสตร์ จะได้เรยี นวิชาน้ี
นโยบายการส่งเสรมิ อยา่ งตอ่ เน่ือง โดยเฉพาะ อีกทางหนึง่ คอื
ให้เดก็ ไดเ้ รียนเขยี น อย่างยงิ่ ทักษะอนาคต การเขา้ ร่วมกจิ กรรม
โปรแกรมต้ังแต่อายุ เร่ืองการเขียนโปรแกรม ของชมรมดา้ น
ยงั น้อย ๆ โดยมนี โยบาย และทกั ษะการคิด สารสนเทศและ
ท่ีชัดเจนเรื่องการสนบั สนุน เชิงคำ�นวณ การสือ่ สาร
ใหเ้ ด็กท่เี กง่ และสนใจ ในปี 2560 กระทรวงศึกษาธิการ
ดา้ นนีส้ ามารถต่อยอด กระทรวงศึกษาธิการ ของสงิ คโปรก์ ำ�หนด
ความรไู้ ปไดไ้ กล และมี ได้ประกาศให้มกี ารเรียน วตั ถุประสงค์ของวิชา
ความเปน็ เลศิ ด้านไอที การสอนวชิ าวทิ ยาการ วิทยาการคำ�นวณไว้
ในโรงเรยี นได้ คำ�นวณสำ�หรบั นกั เรยี น อยา่ งชัดเจนว่าไมไ่ ด้
ในชน้ั ม.3 ทว่ั ประเทศ เปน็ เพียงวิชาที่เนน้
และบรรจเุ ปน็ วิชาหนง่ึ การเขยี นโปรแกรม
ในการสอบ O level เพยี งอย่างเดยี ว
แตเ่ นน้ ใหเ้ ด็กมีทกั ษะ
ด้านการคดิ เชงิ คำ�นวณ
เพื่อให้เดก็ คิดอยา่ ง
มตี รรกะและแก้ปญั หา
ได้อยา่ งเป็นระบบ

122 แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding
เพือ่ พัฒนาทักษะผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21

สรุป ต่างประเทศให้ความสำ� คัญกับการเรียนการสอนวิทยาการคำ� นวณ
Coding วา่ เปน็ วชิ าทส่ี ามารถสง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที กั ษะในศตวรรษ
ท่ี 21 หรือทักษะในอนาคตอย่างสมบูรณ์แบบ โดยรัฐบาลของต่างประเทศ
ทั้ง 6 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ สาธารณรัฐฟินแลนด์ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐ
ประชาชนจนี สาธารณรฐั เกาหลี และสาธารณรฐั สงิ คโปร์ มเี ปา้ หมายในการ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณเพ่ือพัฒนาก�ำลังคน
ให้เป็นรากฐานส�ำคัญในการพัฒนาประเทศสู่การเป็นประเทศนวัตกรรม
หรือเป็นประเทศท่ีมีทรัพยากรบุคคลที่มีทักษะในศตวรรษที่ 21 กล่าวคือ
มที กั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ คดิ อยา่ งมเี หตผุ ล มตี รรกะ คดิ แกป้ ญั หา
อยา่ งเปน็ ระบบ คดิ สรา้ งสรรค์ คดิ ในเชงิ นวตั กรรม เพอ่ื พฒั นาประเทศในดา้ น
อตุ สาหกรรม และดา้ นอื่น ๆ ใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ทดั เทยี มมาตรฐานสากล โดย
ตา่ งประเทศสว่ นใหญก่ ำ� หนดใหว้ ชิ าวทิ ยาการคำ� นวณเปน็ หลกั สตู รระดบั ชาติ
หรือหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ โดยบรรจุไว้ในหลักสูตรการศึกษาต้ังแต่
ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา เช่น อังกฤษ สาธารณรัฐฟินแลนด์
ญี่ปุ่น เป็นต้น รวมทั้งมีแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน
ท่ีชัดเจน โดยเฉพาะการพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความสามารถ และ
มีทักษะในการสอน เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรฐั ฟินแลนด์
ท่ีให้ความส�ำคัญกับการอบรมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะการสอน
วิชาวิทยาการค�ำนวณ รวมถึงการจัดหาวัดสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน
ท่ีเหมาะสมส�ำหรับผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ดังกรณีของสาธารณรัฐสิงคโปร์
ท่ีมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อซื้อไมโครบิตแจกจ่ายให้โรงเรียนต่าง ๆ ในช่วง
ปี 2561 - 2562 เพื่อเป็นอุปกรณ์ในการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้น ญ่ีปุ่น และสาธารณรัฐสิงคโปร์ ยังให้ความส�ำคัญ
กับการสอนเรื่องความปลอดภัยและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ควบคไู่ ปดว้ ยโดยสงิ คโปรป์ ระกาศใหม้ กี ารเรยี นการสอนวชิ าวทิ ยาการคำ� นวณ

แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding 123
เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21

ส�ำหรับนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทั่วประเทศ และบรรจุเป็นวิชาหนึ่ง
ในการสอบ O level ในขณะท่ีสาธารณรัฐเกาหลีก�ำหนดให้ผู้เรียนทุกระดับ
ตอ้ งเรยี นเขยี นโปรแกรมตง้ั แตป่ ี 2562 และลา่ สดุ ญป่ี นุ่ ไดป้ ระกาศใหก้ ารเขยี น
โปรแกรมเป็นส่วนหน่ึงของหลักสูตรการเรียนภาคบังคับต้ังแต่ระดับประถม
ศกึ ษาตอนตน้ ไปจนถงึ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายโดยเรมิ่ อยา่ งเปน็ ทางการตงั้ แต่
เดอื นเมษายน 2563
ทงั้ นี้ เมอื่ พจิ ารณาเปรยี บเทยี บการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ
Coding ของประเทศไทยกับต่างประเทศจ�ำนวน 6 ประเทศดังกล่าว พบว่า
ประเทศไทยและต่างประเทศมีเป้าหมายการเรียนการสอนวิชาวิทยาการ
คำ� นวณทส่ี อดคลอ้ งกนั คอื มงุ่ เนน้ การพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที กั ษณะในศตวรรษ
ที่ 21 โดยองั กฤษเปน็ ประเทศแรกทบ่ี รรจวุ ชิ าวทิ ยาการคำ� นวณไวใ้ นหลกั สตู ร
ระดับชาติในปี 2557 และก�ำหนดให้เด็กเร่ิมเรียนเขียนโปรแกรมตั้งแต่อายุ
5 ขวบ ในขณะทีป่ ระเทศไทยมแี นวคดิ และบรรจุวชิ าวิทยาการค�ำนวณ Coding
ไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 โดย
บรรจุไว้ในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในปี 2560 ซ่ึงตรงกับช่วงเวลา
ที่สาธรารณรัฐฟินแลนด์บรรจุวิชาวิทยาการค�ำนวณไว้ในหลักสูตรระดับชาติ
ในปี2560โดยประเทศไทยกำ� หนดใหม้ กี ารเรยี นการสอนวชิ าวทิ ยาการคำ� นวณ
โดยแบ่งเป็นช่วงช้ันเหมือนกับประเทศอังกฤษและสาธารณรัฐฟินแลนด์
กล่าวคือ ประเทศไทยแบ่งการจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณเป็น
4 ชว่ งชนั้ ตง้ั แตร่ ะดบั ประถมศกึ ษาถงึ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ไดแ้ ก่ (1) ป.1 - 3
(2) ป. 4 - 6 (3) ม.1 - 3 และ (4) ม.4 - 6 ในขณะทป่ี ระเทศองั กฤษแบง่ เปน็
3 ช่วงวยั โดยเริม่ ต้งั แตช่ ว่ งเดก็ ปฐมวัย ได้แก่ (1) Key Stage 1 (5 - 6 ปี)
(2) Key Statge 2 (7 - 11 ป)ี และ (3) Key Statge 3 (11 - 14 ป)ี ในลกั ษณะ
เดียวกันกับสาธารณรัฐฟินแลนด์ที่แบ่งการจัดการเรียนการสอนออกเป็น
3 ระดับ โดยเริ่มในระดับเดียวกับประเทศไทย ได้แก่ (1) เกรด 1 - 2

124 แนวทางการส่งเสริมการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำ นวณ Coding
เพ่อื พัฒนาทกั ษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

(เทียบเทา่ ป.1 - 3) (2) เกรด 3 - 6 (เทียบเทา่ ป. 3 - 6) และ (3) เกรด 7 - 9
(เทียบเท่า ม.ต้น) โดยสาธารณรัฐฟินแลนด์มีหลักสูตรที่เป็นลักษณะเด่น
คอื การเนน้ ใหท้ กุ วชิ าเชอ่ื มโยงเขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื บรู ณาการวชิ าวทิ ยาการคำ� นวณ
และ ICT เป็นส่วนหน่งึ ของสาขาวิชาตา่ ง ๆ สอดคลอ้ งกับญป่ี ุ่นทปี่ ระกาศให้
การเรียนการสอนเขียนโปรแกรมเริ่มตั้งแต่ระดับประถมศึกษาตอนต้นไปถึง
มธั ยมศกึ ษาตอนปลายในปี 2563 ในขณะทส่ี าธารณรฐั ประชาชนจนี ถงึ แมว้ า่
จะยังไม่มีการบรรจุวิชาวิทยาการค�ำนวณไว้ในหลักสูตรระดับชาติ แต่มีการ
พฒั นาหลกั สตู รโดยมงุ่ เน้นไปทสี่ หวทิ ยาการเพอ่ื สามารถเช่ือมโยงกบั ศาสตร์
อ่ืน ๆ เข้าด้วยกันในลักษณะเช่นเดียวกับสาธารณรัฐฟินแลนด์ โดยจีน
มุ่งผลิตบุคลากรด้านวิศวรรมจ�ำนวนมากเพื่อเตรียมพร้อมส�ำหรับการเข้าสู่
การเป็นผู้น�ำระดับโลกด้าน AI ส่วนสาธารณรัฐเกาหลีให้ความส�ำคัญกับ
สาขาวิชาที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการเรียนการสอน
ทุกระดับช้ันและบังคับให้ผู้เรียนทุกระดับต้องเรียนเขียนโปรแกรมหรือ
Coding นอกจากนี้ ประเทศญปี่ ุน่ และสาธารณรฐั สงิ คโปรยังให้ความสำ� คัญ
กับการสอนเร่ืองความปลอดภัยและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศควบคู่
ไปกับการเรียนการสอน ในขณะท่ีประเทศไทยยังไม่เด่นชัดมากในเร่ืองน้ี
แม้ว่าจะมีก�ำหนดไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
อยา่ งไรกต็ าม ทกุ ประเทศมเี ปา้ หมายการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ
Coding ในทิศทางท่ีสอดคล้องกัน คือ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิด
วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมเี หตผุ ล มตี รรกะ มลี ำ� ดบั ขนั้ ตอน และคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์
เพ่ือสามารถน�ำไปปรับประยุกต์ใช้ในการท�ำงานและการด�ำรงชีวิตมากกว่า
เป้าหมายการพัฒนาด้านความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์หรือการเป็น
โปรแกรมเมอร์ โดยในการจัดการเรียนการสอนมีลักษณะใกล้เคียงกัน
กลา่ วคือ ในระดับประถมศึกษาไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งเรียนผา่ นอุปกรณค์ อมพิวเตอร์

แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding 125
เพ่ือพฒั นาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

(Unplugged) แต่สามารถเรียนผ่านชุดกิจกรรมหรือบัตรค�ำส่ัง และการเล่นเกม
ต่าง ๆ ผ่านโปรแกรม Scratch เป็นต้น และพัฒนาไปสู่การเรียนโดยใช้
คอมพวิ เตอร์เป็นเคร่ืองมือ (Plugged) ในระดบั ช้นั ท่สี ูงขน้ึ

ขัน้ ตอนท่ี 3 การศึกษาตามวตั ถุประสงคข์ ้อท่ี 3 เพอื่ เสนอแนวทาง
การสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการค�ำนวณ Coding เพื่อพัฒนา
ทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
จากการศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการ
คำ� นวณCodingเพอ่ื พฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี21จากเอกสารบทความ
วิชาการ และรายงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง รว่ มกับการสัมภาษณแ์ บบก่งึ โครงสรา้ ง
ผู้บริหารหน่วยงานส่วนกลางที่เก่ียวข้อง และการประชุมระดมความคิดเห็น
เรื่อง “แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณ โค้ดดิ้ง
(Coding) เพอื่ พฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21” จากผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ครผู สู้ อนศกึ ษานเิ ทศกจ์ ากสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานผเู้ ชย่ี วชาญ
และนักวิชาการด้านหลักสูตร อาจารย์และนักวิจัยสาขาคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษา ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ
และภาคเอกชน สามารถสรุปแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน
วิทยาการคำ� นวณ Coding เพื่อพฒั นาทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ได้ดงั นี้

 แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการ
ค�ำนวณ Coding เพอ่ื พฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

การด�ำเนินงานตามข้ันตอนท่ี 3 เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการ
จดั ทำ� ขอ้ เสนอแนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ
Coding เพ่อื พฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 สามารถสรปุ ผลการศกึ ษา
ออกเป็น 3 สว่ น ดงั น้ี

126 แนวทางการสง่ เสริมการจัดการเรยี นการสอนวิทยาการค�ำ นวณ Coding
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21

1.แนวทางการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ Coding
เพ่ือพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ของประเทศไทย
จากการสัมภาษณ์ผบู้ รหิ ารหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องจ�ำนวน 4 หน่วยงาน
พบว่านับต้ังแต่ประเทศไทยมีการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในปี 2560 โดยก�ำหนดให้มีสาระเทคโนโลยี
วิชาวิทยาการค�ำนวณ ไว้ในสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ต้ังแต่ระดับ
ชน้ั ประถมศกึ ษาถงึ มธั ยมศกึ ษาหนว่ ยงานตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดม้ กี ารดำ� เนนิ งาน
เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณ Coding
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 สรปุ สาระสำ� คญั ไดต้ ามรายละเอยี ด
ปรากฏในตารางท่ี 2 ดังนี้

ตารางที่ 2 : สรุปผลการดำ�เนินงานส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน
วทิ ยาการคำ�นวณ Coding ของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง

หนว่ ยงาน การสง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ Coding

1. สถาบนั ส่งเสริม 1. การปรบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช
การสอนวทิ ยาศาสตร์ 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
และเทคโนโลยี (สสวท.) 2. การออกแบบหนังสอื เรยี น แบบฝึกหัด และคมู่ อื ครูในรายวชิ า
ใหมใ่ ห้สอดรบั กบั เปา้ หมายของรายวชิ า
3. การอบรมครูออนไลน์หลกั สตู ร เรอื่ ง “การจดั การเรียนรู้
วทิ ยาการคำ�นวณ” (ครตู ัง้ แตช่ ั้นประถมศกึ ษา - มัธยมศึกษา
ตอนปลาย) ในปี 2561 - 2562
4. การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการจดั การเรยี นรวู้ ิชาวิทยาการคำ�นวณ
และ Coding ให้ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครูผู้สอน
(ระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา) จำ�นวนรวม 1,050 คน
ในปี 2562
5. โครงการฝึกอบรมสาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ และ
การออกแบบและเทคโนโลยี) ให้แก่ครโู รงเรยี นตำ�รวจตระเวน
ชายแดน จำ�นวน 1,260 คน ในปี 2561 - 2563

แนวทางการส่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการคำ�นวณ Coding 127
เพื่อพฒั นาทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21

หนว่ ยงาน การสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการค�ำนวณ Coding

2. สำ�นกั งานคณะกรรมการ 1. การอบรมพัฒนาครูผู้สอนจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคำ�นวณ
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ใหก้ ับครโู รงเรียนคุณภาพประจำ�ตำ�บล จำ�นวน 8,224 โรงเรียน
(สพฐ.) ในปี 2562
2. การจัดการเรยี นรู้รายวชิ าเพ่ิมเติมทีส่ อดคลอ้ งกับการสง่ เสรมิ
การเรยี นการสอนวชิ าวิทยาการคำ�นวณ เช่น หนุ่ ยนต์บงั คับมือ
3. จดั อบรมสอ่ื การสอนโปรแกรมมง่ิ ในโรงเรียน (Coding at
School) รว่ มกับ สวทช. จำ�นวน 900 โรงเรยี น ในปี 2562
4. จดั อบรมวทิ ยากรแกนนำ� จำ�นวน 150 คน เพื่อเปน็ วทิ ยากร
ในการขยายผลการอบรมครผู ู้สอนวชิ าวทิ ยาการคำ�นวณ
จำ�นวน 3 รนุ่ ๆ ละ 1,500 คน ในปี 2563

3. สำ�นกั งานส่งเสรมิ 1. โครงการพฒั นาแพลตฟอรม์ เพือ่ ส่งเสรมิ การเรียนรู้
เศรษฐกจิ ดิจทิ ัล (ดีปา้ ) วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ระดับประเทศ (Coding Thailand)
โดยการเปดิ แพลตฟอร์มออนไลน์ Codingthailand.org
ในปี 2561

2. โครงการ The Coding Colosseum เปน็ แพลตฟอรม์
การเรียนรูแ้ รกของประเทศไทยที่ม่งุ สคู่ วามเป็นนกั พฒั นา
ชุดคำ�สั่งทางคอมพิวเตอร์

3. โครงการสง่ เสริมการพฒั นาทกั ษะดา้ น Coding ผา่ นพ้นื ท่ี
พัฒนานักประดิษฐ์ดิจทิ ัล (DEPA Young Maker Space
Development) เพื่อพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานในโรงเรยี น
นำ�รอ่ ง 200 แห่งท่ัวประเทศให้มีพื้นท่พี ัฒนานกั ประดษิ ฐ์
ดจิ ิทัล พร้อมพฒั นาทักษะครูและศึกษานิเทศก์รวม 272 คน
ในปี 2562

4. สำ�นักงานพัฒนา 1. การพัฒนาบอร์ดสมองกล KidBright เพื่อเปน็ เคร่ืองมอื
วทิ ยาศาสตรแ์ ละ การเรียน Coding และ IoT แจกใหก้ ับนักเรียนในโรงเรียน
เทคโนโลยแี ห่งชาติ นำ�รอ่ งจำ�นวน 500 บอร์ด โดยได้รับการสนับสนุน
(สวทช.) จากธนาคารกรงุ เทพฯ ในปี 2559
โดย ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และ 2. จดั อบรมวธิ ีการใช้ KidBright และจัดกจิ กรรมการประกวด
คอมพิวเตอร์แหง่ ชาติ โครงงานให้กบั ครูทสี่ อนวิทยาศาสตรแ์ ละนกั เรยี น
(เนคเทค) ในโรงเรียนนำ�รอ่ ง

3. โครงการ Coding at School Powered KidBright
โดยจัดทำ�บอรด์ KidBright จำ�นวน 2 แสนบอร์ดแจกจ่าย
ให้โรงเรียนท่วั ประเทศเพื่อใชเ้ ปน็ สอ่ื การเรยี นร้คู ณุ ภาพสงู
ในปี 2561


Click to View FlipBook Version