หน้า 53
น ผลการดำเนินงาน ปญั หาอุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ
หรอื ประเด็นท้าทาย การดำเนนิ งาน
นกั ศึกษาใน - นักเรยี น นกั ศกึ ษา มีความรกั ความ
รวจสารเสพ เข้าใจ มีความสามคั คี ลดความขดั แย้ง
ขปญั หา ระหวา่ งบุคคล ลด ละเลิก การยกพวกตี
กนั อนั เป็นการเสริมสรา้ งภาพลักษณ์ที่ดี
ลัยในดา้ น ให้วทิ ยาลัย
พติด การมัว่
ปญั หาอน่ื ๆ
ายั่งยนื ดา้ นการศกึ ษา (SDG4) พ.ศ.2565 จังหวดั เลย
เป้าหมายย่อย โครงการทดี่ ำเนินงาน กจิ กรรมท่ีดำเนินงาน
(SDG Targets)
12.เพมิ่ ศักยภาพครูใหม้ ีสมรรถนะ เพ่มิ ศกั ยภาพครูให้มสี มรรถนะของคร
ของครูยุคใหม่ ด้านวิทยาศาสตร์ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเท
คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี พรอ้ ม พรอ้ มต่อการจดั การเรียนรใู้ นศตวรรษ
ต่อการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี สมรรถนะทจี่ ำเป็นด้านการเรียนรู้ ตา
21 (PISA) การประเมิน PISA
1. จัดอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การจัดกระ
เรยี นรู้ให้แก่ครูและเขา้ ใจในแนวทางก
ตามแนว PISA และการจัดการเรยี นร
21
2.นเิ ทศ ติดตาม การจดั กระบวนการเ
ผเู้ รียนและเข้าใจในแนวทางการประเ
PISA และการจดั การเรยี นรใู้ นศตวรร
รายงานการดำเนนิ งานขับเคล่อื นเป้าหมายการพัฒนา
หน้า 54
น ผลการดำเนนิ งาน ปัญหาอุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ
หรอื ประเด็นทา้ ทาย การดำเนนิ งาน
รยู ุคใหม่ ผู้เรยี นไดร้ บั การพัฒนาใหม้ สี มรรถนะ
ทคโนโลยี และทักษะทจี่ ำเปน็ ใน ศตวรรษท่ี 21
ษท่ี 21
ามแนวทาง
ะบวนการ
การประเมิน
รู้ในศตวรรษท่ี
เรียนรู้ให้แก่
เมินตามแนว
รษที่ 21
าย่ังยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4) พ.ศ.2565 จงั หวัดเลย
เป้าหมายยอ่ ย โครงการที่ดำเนนิ งาน กิจกรรมทีด่ ำเนนิ งาน
(SDG Targets)
- -
เป้าหมายย่อย 4.a สร้าง
และยกระดับสถานศึกษา
ตลอดจนเครอ่ื งมอื และ
อปุ กรณก์ ารศกึ ษาทีอ่ ่อนไหว
ต่อเดก็ ผพู้ ิการ และเพศ
ภาวะ และจัดให้มี
สภาพแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ที่ปลอดภยั ปราศจาก
ความรุนแรง ครอบคลุมและ
มีประสิทธิผลสำหรบั ทกุ คน
รายงานการดำเนนิ งานขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนา
หน้า 55
น ผลการดำเนนิ งาน ปญั หาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
หรอื ประเด็นทา้ ทาย การดำเนนิ งาน
- --
ายงั่ ยนื ดา้ นการศกึ ษา (SDG4) พ.ศ.2565 จงั หวัดเลย
เป้าหมายยอ่ ย โครงการที่ดำเนนิ งาน กิจกรรมทีด่ ำเนนิ งาน
(SDG Targets)
- -
เปา้ หมายยอ่ ย 4.b ขยาย
จำนวนทุนการศกึ ษาท่วั โลก
ทีใ่ ห้แกป่ ระเทศกำลังพฒั นา
โดยเฉพาะประเทศพฒั นา
นอ้ ยทสี่ ดุ รัฐกำลงั พฒั นาท่ี
เป็นเกาะขนาดเล็ก และ
ประเทศในทวปี แอฟริกา
เพ่อื เข้าศึกษาตอ่ ใน
ระดับอุดมศกึ ษา รวมถึงการ
ฝกึ อาชีพ และโปรแกรมดา้ น
เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร ด้านเทคนิค
วศิ วกรรม และวทิ ยาศาสตร์
ในประเทศพฒั นาแลว้ และ
ประเทศกำลงั พฒั นาอืน่ ๆ
ภายในปี พ.ศ. 2563
รายงานการดำเนนิ งานขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนา
หน้า 56
น ผลการดำเนนิ งาน ปญั หาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
หรอื ประเด็นทา้ ทาย การดำเนนิ งาน
- --
ายงั่ ยนื ดา้ นการศกึ ษา (SDG4) พ.ศ.2565 จงั หวัดเลย
เป้าหมายย่อย โครงการที่ดำเนนิ งาน กิจกรรมทีด่ ำเนนิ งาน
(SDG Targets)
- -
เปา้ หมายย่อย 4.c เพิม่
จำนวนครูท่ีมีคณุ วุฒิ รวมถงึ
การดำเนินการผา่ นความ
รว่ มมอื ระหว่างประเทศ
ในการฝกึ อบรมครูใน
ประเทศกำลังพัฒนา
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงใน
ประเทศพัฒนานอ้ ยทสี่ ุด
และรฐั กำลังพัฒนาทเ่ี ปน็
เกาะขนาดเลก็ ภายในปี
พ.ศ. 2573
รายงานการดำเนนิ งานขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนา
หน้า 57
น ผลการดำเนนิ งาน ปญั หาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
หรอื ประเด็นทา้ ทาย การดำเนนิ งาน
--
-
ายงั่ ยนื ดา้ นการศกึ ษา (SDG4) พ.ศ.2565 จงั หวัดเลย
หน้า 58
ส่วนที่ 4
สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ความทา้ ทาย และข้อเสนอแนะการดำเนนิ งานระยะต่อไป
4.1 สรุปผลการดำเนนิ งานขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื ด้านการศึกษา
4.1.1 เป้าหมายย่อย กลุ่มทม่ี ีขอ้ มลู ผลการดำเนนิ งาน หรือขอ้ มลู พนื้ ฐานตามตวั ช้ีวดั ครบถว้ น
สมบรู ณ์ สามารถนำเสนอความกา้ วหนา้ หรือสภาพการดำเนินงานขับเคล่ือนเปา้ หมายย่อยได้อยา่ งชดั เจน
เปน็ รูปธรรม
ผลการดำเนนิ งานขบั เคลื่อนเป้าหมายการพฒั นาท่ยี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษาไดอ้ ย่างชัดเจนเป็น
รูปธรรม ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดเลย จำนวน 2 เป้าหมาย ดังน้ี
1) SDG 4.1 สร้างหลักประกันวา่ เดก็ ชายและเด็กหญงิ ทุกคนสำเรจ็ การศึกษาระดับประถมศึกษา
และมัธยมศึกษาทม่ี ีคุณภาพ เทา่ เทียม และไม่มีคา่ ใชจ้ า่ ย นำไปสู่ผลลัพธท์ างการเรียนทีม่ ีประสทิ ธผิ ล ภายในปี
พ.ศ. 2573
- ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมายยอ่ ย การพัฒนาจัดการเรียนการสอน การยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น การพัฒนาทกั ษะ สมรรถนะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21
2) เป้าหมายย่อย 4.2 สรา้ งหลักประกันวา่ เด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเขา้ ถงึ การพัฒนา การดูแล
และการจดั การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สำหรบั เด็กปฐมวยั ท่ีมีคุณภาพ เพ่ือให้เด็กเหลา่ นนั้ มคี วามพรอ้ ม
สำหรับการศึกษาระดบั ประถมศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2573
- ผลการดำเนนิ งานตามเปา้ หมายย่อย การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาปฐมวัย
4.1.2 เป้าหมายย่อย กลุ่มท่มี ีข้อมลู ผลการดำเนนิ งาน หรือข้อมูลพื้นฐานบางส่วน ไม่ครบถ้วน
สมบูรณ์ แต่สามารถนำเสนอความก้าวหน้าหรือสภาพการดำเนนิ งานขับเคล่อื นเป้าหมายย่อยได้บางสว่ น
ผลการดำเนนิ งานขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพฒั นาทยี่ ่งั ยืนด้านการศกึ ษา ไมค่ รบถว้ น สามารถ
นำเสนอความก้าวหน้าการดำเนนิ งานขับเคลื่อนเปา้ หมายย่อยไดบ้ างส่วน ของสำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดเลย
จำนวน 5 เป้าหมาย ดงั น้ี
1) เปา้ หมายย่อย 4.3 สรา้ งหลกั ประกันให้ชายและหญงิ ทุกคนเข้าถึงการศึกษา อาชีวศึกษา
อดุ มศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัยท่มี คี ุณภาพในราคาทส่ี ามารถจา่ ยได้ ภายในปี พ.ศ. 2573
- ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายยอ่ ย สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ บริการทาง
การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ มมี าตรฐาน สง่ เสรมิ สนับสนุน พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น
รายงานการดำเนนิ งานขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาย่งั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4) พ.ศ.2565 จังหวดั เลย
หน้า 59
2) เปา้ หมายย่อย 4.4 เพิ่มจำนวนเยาวชนและผู้ใหญ่ทมี่ ที ักษะทีเ่ กย่ี วข้องจำเป็น รวมถงึ ทักษะ
ทางด้านเทคนิคและอาชีพสำหรบั การจ้างงาน การมีงานท่ีมีคุณค่า และการเป็นผปู้ ระกอบการ ภายในปี พ.ศ.
2573
- ผลการดำเนินงานตามเปา้ หมายยอ่ ย การขบั เคล่ือนการศึกษาเพือ่ การมงี านทำการน้อมนพพระ
บรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงราชกาลที่ 10 และนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พฒั นา
ทกั ษะ ฝมี ือมาตรฐานวิชาชีพ
3) เป้าหมายย่อย 4.5 ขจัดความเหลอ่ื มล้ำทางเพศด้านการศกึ ษา และสรา้ งหลกั ประกันว่า
กลุ่มทีเ่ ปราะบางซึ่งรวมถึงผู้พิการ ชนพ้นื เมือง และเดก็ เข้าถึงการศกึ ษาและการฝกึ อาชพี ทุกระดับอยา่ งเท่า
เทยี ม ภายในปี พ.ศ. 2573
- ผลการดำเนนิ งานตามเปา้ หมายย่อย การระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษาให้กบั นกั เรียนด้อย
ดอกาส การจดั การเรียนการสนอสำหรบั ผูเ้ รียนทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ การบูรณาการหนว่ ยงาน
ทางการศกึ ษาเพ่ือชว่ ยเหลอื ในการเขา้ ศึกษาตอ่ในระบบและนอกระบบ การสนบั สนุนทนุ การศกึ ษา
4) เป้าหมายย่อย 4.6 สรา้ งหลักประกนั ว่าเยาวชนทกุ คนและผ้ใู หญท่ ้งั ชายและหญิงในสดั ส่วนสงู
สามารถอ่านออกเขียนได้และคำนวณได้ ภายในปี พ.ศ. 2573
- ผลการดำเนินงานตามเปา้ หมายย่อย การยกระดับคุณภาพภาษาไทยอ่านออกเขียนได้
และคดิ เลขเป็น
5) เป้าหมายย่อย 4.7 สรา้ งหลกั ประกันวา่ ผูเ้ รยี นทุกคนไดร้ ับความร้แู ละทักษะทีจ่ ำเป็นสำหรบั
ส่งเสริมการพฒั นาท่ียงั่ ยืน รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพฒั นาทยี่ ั่งยืนและการมวี ิถีชีวติ ที่ย่งั ยืน สทิ ธิ
มนุษยชน ความเสมอภาคระหวา่ งเพศ การสง่ เสริมวฒั นธรรมแหง่ ความสงบสุขและการไมใ่ ช้ความรนุ แรง การ
เป็นพลเมืองของโลก และความช่นื ชมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการที่วฒั นธรรมมสี ว่ นช่วยให้เกิด
การพฒั นาทีย่ ั่งยนื ภายในปี พ.ศ. 2573
- ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายย่อย การจัดการเรยี นการสอนเพื่อเตรยี มผู้เรยี นให้สอดคลอ้ ง
กบั ศตวรรษที่ 21เสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ะรรม ศิลปวัฒธรรมของชาวเลย จิตอาสาพฒั นาชุมชนสงั คม
4.1.3 เป้าหมายยอ่ ย กลุ่มทีไ่ มม่ ีข้อมูลผลการดำเนินงานและข้อมลู พน้ื ฐานน้อย ไม่สามารถ
นำเสนอความก้าวหน้าหรอื สภาพการดำเนินงานขบั เคล่ือนเป้าหมายได้อยา่ งชดั เจน เป็นรปู ธรรม จำเป็นตอ้ ง
เรง่ รัดดำเนนิ การปรับปรุงแก้ไข เพอ่ื ใหม้ คี วามกา้ วหน้าการดำเนนิ งานในระยะต่อไป
ผลการดำเนนิ งานขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ัง่ ยืนดา้ นการศึกษาไม่มีขอ้ มลู ผลการ
ดำเนนิ งาน จำเป็นตอ้ งเร่งรดั ดำเนินการปรับปรุงแกไ้ ข ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดเลย จำนวน
3 เปา้ หมาย ดงั น้ี
1) เป้าหมายย่อย 4.a สรา้ งและยกระดับสถานศึกษา ตลอดจนเคร่อื งมอื และอุปกรณ์การศึกษาที่
อ่อนไหวต่อเด็ก ผู้พิการ และเพศภาวะ และจดั ใหม้ สี ภาพแวดล้อมทางการเรยี นร้ทู ่ีปลอดภัย ปราศจากความ
รุนแรง ครอบคลมุ และมีประสิทธิผลสำหรบั ทุกคน
รายงานการดำเนนิ งานขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพฒั นายั่งยนื ดา้ นการศกึ ษา (SDG4) พ.ศ.2565 จงั หวัดเลย
หน้า 60
2) เป้าหมายย่อย 4.b ขยายจำนวนทนุ การศึกษาทว่ั โลกที่ใหแ้ ก่ประเทศกำลังพฒั นา โดยเฉพาะ
ประเทศพฒั นาน้อยทสี่ ุด รฐั กำลงั พัฒนาท่เี ปน็ เกาะขนาดเล็ก และประเทศในทวปี แอฟริกา เพ่อื เข้าศึกษาต่อใน
ระดบั อดุ มศึกษา รวมถึงการฝึกอาชพี และโปรแกรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค
วศิ วกรรม และวิทยาศาสตร์ ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพฒั นาอ่ืน ๆ ภายในปี พ.ศ. 2563
3) เป้าหมายย่อย 4.c เพิม่ จำนวนครูท่ีมคี ณุ วฒุ ิ รวมถงึ การดำเนินการผ่านความร่วมมอื ระหว่าง
ประเทศในการฝกึ อบรมครใู นประเทศกำลงั พัฒนา โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในประเทศพัฒนาน้อยทสี่ ุด และรฐั กำลัง
พัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเลก็ ภายในปี พ.ศ. 2573
4.2 สรปุ ประเด็นความทา้ ทายการบรรลุเป้าหมาย
1. สภาพเศรษฐกิจของชุมชนส่วนใหญ่เป็น ภาคเกษตรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรต่ำ
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดเลย มีอัตราการเติบโตค่อนข้างน้อย ส่งผลกระทบต่อการระดม
ทรพั ยากรเพ่อื จดั การศกึ ษา นักเรียนทม่ี าจากครอบครัวทย่ี ากจน มีส่ือ วัสดุ อปุ กรณใ์ นการศกึ ษาไมเ่ พยี งพอ
2. ปัญหาการหย่าร้างค่อนข้างสูง ครอบครัวแตกแยก ทำให้นักเรียนต้องอาศัยอยู่กับญาติ
ขาดการดูแลเอาใจ ใส่จากผู้ปกครอง ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเด็กนักเรียน สภาพสังคม
ปรับเปลี่ยนเป็นสังคมบริโภคนิยมตามกระแสโลกาภิวัฒน์ ส่งผลต่อพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ของเด็กเยาวชน
คา่ นิยมในการส่งบตุ รหลานเขา้ เรยี นในโรงเรียน ขนาดใหญ่ ส่งผลตอ่ จำนวนโรงเรียนขนาดเลก็ ที่เพ่มิ มากข้นึ
3. จังหวัดเลยมีจำนวนสถานศึกษาขนาดเล็กจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อการบริหารและ
การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
4. การพัฒนาทักษะแรงงาน ขาดแคลนสถานะประกอบการเพื่อฝึกทักษะ ฝีมือแรงงาน
4.3 สรปุ ประเด็นขอ้ เสนอแนะการดำเนนิ งานให้บรรลเุ ปา้ หมาย
1. สง่ เสริมการบูรณาการจดั การศึกษารว่ มกันระหว่างหน่วยงานทางการศึกษาและหน่วยงานอ่นื
ท้ังภาครัฐและเอกชน
2. จัดตง้ั ระบบฐานข้อมูลกลางดา้ นการศึกษา เพ่ือเป็นฐานข้อมลู ที่มคี วามน่าเชือ่ ถือและเขา้ ถงึ
สามารถนำข้อมลู ไปใช้วางแผน พัฒนา ติดตามความกา้ วหน้าการดำเนินงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
3. งบประมาณในการขับเคลื่อนพฒั นามไี ม่เพียงพอ และขาดความต่อเน่อื ง
รายงานการดำเนนิ งานขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนายัง่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4) พ.ศ.2565 จงั หวดั เลย
หน้า 61
ภาคผนวก
รายงานการดำเนนิ งานขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนายงั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4) พ.ศ.2565 จังหวัดเลย
เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๘๗ ง หน้า ๙ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ราชกิจจานุเบกษา
ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี
ว่าด้วยคณะกรรมการเพื่อการพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน
พ.ศ. ๒๕๕๖
เพ่ือให้แนวทางการพัฒนาประเทศ การกําหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์การพัฒนาท่ีย่ังยืน
มีความครอบคลุมท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมอย่างสมดุลและบูรณาการ เป็นไปตาม
ขอ้ ตกลงหรอื ความรว่ มมอื ระหว่างประเทศทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการพฒั นาท่ียงั่ ยืน สามารถตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนท้ังในปัจจุบันและในอนาคตเพื่อคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนิน
การพฒั นาประเทศให้บรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน และกาํ หนดทา่ ทีของประเทศไทยในการประชุม
ระหวา่ งประเทศทเ่ี กี่ยวข้องกับการพฒั นาท่ยี ง่ั ยนื ทั้งในระดบั ภูมิภาคและระดับโลกได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล
อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี จงึ วางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยคณะกรรมการเพอื่ การพัฒนา
ท่ยี ั่งยนื พ.ศ. ๒๕๕๖”
ข้อ ๒ ระเบยี บน้ีใหใ้ ช้บงั คบั ตั้งแตว่ ันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ขอ้ ๓ ในระเบียบน้ี
“การพัฒนาที่ยั่งยนื ” หมายความว่า การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม ที่มี
การบรู ณาการอย่างสอดคล้องและสมดุล สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนทั้งในปัจจุบัน
และในอนาคตเพ่อื คุณภาพชีวติ ทดี่ ขี ้ึน
“หนว่ ยงานของรฐั ” หมายความวา่ กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการท่ีเรียกชื่ออย่างอื่น
และมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และ
หนว่ ยงานอน่ื ของรฐั ท่คี ณะกรรมการเพ่อื การพฒั นาท่ยี ่ังยนื กําหนด
ข้อ ๔ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน”
เรยี กโดยย่อวา่ “กพย.” ประกอบด้วย
(๑) นายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการ
(๒) รองนายกรัฐมนตรีท่นี ายกรฐั มนตรีมอบหมาย รองประธานกรรมการ คนท่ี ๑
ให้กํากบั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
(๓) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ รองประธานกรรมการ คนท่ี ๒
และสิง่ แวดลอ้ ม
เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๘๗ ง หนา้ ๑๐ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ราชกจิ จานเุ บกษา
(๔) ปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรี กรรมการ
(๕) ปลดั กระทรวงการคลงั กรรมการ
(๖) ปลัดกระทรวงการตา่ งประเทศ กรรมการ
(๗) ปลดั กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา กรรมการ
(๘) ปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คม กรรมการ
และความม่ันคงของมนุษย์
(๙) ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ
(๑๐) ปลัดกระทรวงคมนาคม กรรมการ
(๑๑) ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม กรรมการ
(๑๒) ปลัดกระทรวงพลังงาน กรรมการ
(๑๓) ปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ กรรมการ
(๑๔) ปลดั กระทรวงมหาดไทย กรรมการ
(๑๕) ปลดั กระทรวงแรงงาน กรรมการ
(๑๖) ปลดั กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ
(๑๗) ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กรรมการ
(๑๘) ปลดั กระทรวงสาธารณสุข กรรมการ
(๑๙) ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กรรมการ
(๒๐) เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจ กรรมการ
และสังคมแหง่ ชาติ
(๒๑) ผูอ้ ํานวยการสาํ นกั งบประมาณ กรรมการ
(๒๒) รองประธานสถาบันวจิ ัยจุฬาภรณ์ หรอื ผู้แทน กรรมการ
(๒๓) ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ
หรือผู้แทน
(๒๔) ประธานสภาหอการคา้ แห่งประเทศไทย หรอื ผู้แทน กรรมการ
(๒๕) ประธานสถาบนั วิจัยเพอื่ การพัฒนาประเทศไทย หรือผ้แู ทน กรรมการ
(๒๖) ประธานมูลนิธิสถาบนั สง่ิ แวดลอ้ มไทย หรอื ผ้แู ทน กรรมการ
(๒๗) ผู้อํานวยการสถาบันธรรมรฐั เพอื่ การพัฒนาสงั คม กรรมการ
และสิง่ แวดล้อม หรือผแู้ ทน
(๒๘) ผู้ทรงคุณวุฒิท่มี ีความรคู้ วามเชยี่ วชาญ กรรมการ
เปน็ ท่ีประจักษ์ในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๘๗ ง หน้า ๑๑ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ราชกิจจานุเบกษา
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ดา้ นสุขภาพ
และดา้ นกฎหมายระหว่างประเทศหรือด้านอนื่ ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
เชน่ ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดา้ นพลังงาน เป็นต้น
ซ่งึ นายกรัฐมนตรแี ต่งต้งั จํานวนไม่เกิน ๔ คน
(๒๙) เลขาธิการสํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ กรรมการ
และสิง่ แวดลอ้ ม และเลขานุการ
(๓๐) ผู้แทนสํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
และสิง่ แวดล้อม
(๓๑) ผู้แทนสาํ นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ ผ้ชู ว่ ยเลขานุการ
และสังคมแหง่ ชาติ
(๓๒) ผู้แทนสาํ นักความรว่ มมือด้านทรัพยากรธรรมชาติ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร
และส่งิ แวดล้อมระหว่างประเทศ
สํานักงานปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
ขอ้ ๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีสัญชาติไทย มีอายุไม่ตํ่ากว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์และ
ไม่มีลกั ษณะตอ้ งหา้ ม ดังต่อไปนี้
(๑) เปน็ บุคคลลม้ ละลาย
(๒) เปน็ คนไร้ความสามารถหรอื คนเสมอื นไร้ความสามารถ
(๓) เป็นผู้ซึ่งศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นความผิดท่ีได้กระทําโดยประมาท
หรอื ความผดิ ลหุโทษ
(๔) เป็นผถู้ กู ไลอ่ อก ปลดออก หรือให้ออกเพราะกระทาํ ความผดิ
(๕) เปน็ ผดู้ ํารงตาํ แหนง่ ทางการเมอื ง
(๖) เปน็ สมาชกิ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน หรอื ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ
หรือผู้ดํารงตําแหน่งซงึ่ รบั ผดิ ชอบการบริหารพรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ของ
พรรคการเมือง
ขอ้ ๖ กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ มิ ีวาระการดํารงตําแหนง่ คราวละสามปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งต้ัง
และอาจไดร้ บั แต่งตงั้ อีกไดแ้ ต่ต้องไมเ่ กนิ สองวาระตดิ ตอ่ กัน
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งตามวาระ หากยังมิได้แต่งต้ังกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิข้ึนใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตําแหน่งปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนกว่าจะได้มี
การแต่งตงั้ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ และมีการแต่งตั้งกรรมการ
ผ้ทู รงคณุ วุฒแิ ทนตาํ แหน่งท่วี ่าง ให้ผูซ้ ึง่ ไดร้ ับการแต่งตง้ั อยู่ในตําแหนง่ เท่ากับวาระท่ีเหลืออยู่ของกรรมการ
เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๗ ง หน้า ๑๒ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ราชกจิ จานเุ บกษา
ผู้ทรงคุณวฒุ ซิ งึ่ ตนแทนนัน้ เวน้ แต่จะมีระยะเวลาเหลือไม่ถงึ เก้าสบิ วันจะไมแ่ ต่งต้งั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ข้นึ แทนตาํ แหนง่ ทว่ี า่ งก็ได้
ในกรณีท่ียังไม่มีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคสาม ให้ กพย. ประกอบด้วย
กรรมการทเ่ี หลอื อยู่
ในกรณีที่มีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง
แต่งต้งั ไว้แล้วยงั มีวาระอยู่ในตําแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งเพ่ิมขึ้นนั้นอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระท่ีเหลืออยู่
ของกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิทไ่ี ดแ้ ตง่ ตงั้ ไว้แลว้
ขอ้ ๗ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามข้อ ๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก
ตาํ แหนง่ เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) นายกรฐั มนตรใี ห้ออก เพราะบกพร่องหรอื ทจุ ริตต่อหน้าท่ี หรือมีความประพฤติเสื่อมเสีย
หรอื หยอ่ นความสามารถ
(๔) ขาดคณุ สมบตั หิ รือมลี กั ษณะต้องห้ามตามขอ้ ๕
ข้อ ๘ การประชมุ กพย. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด
จงึ จะเปน็ องคป์ ระชมุ
ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ในกรณีท่ีประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม หรือ
ไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม หากรองประธานกรรมการ
ไมอ่ ยใู่ นทีป่ ระชุมหรือไมอ่ าจปฏิบัติหนา้ ทไี่ ด้ ใหก้ รรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึงทําหน้าท่ีประธาน
ในทปี่ ระชุม
มติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน
ถ้าคะแนนเสยี งเท่ากันให้ประธานในที่ประชมุ ออกเสียงเพิม่ ข้ึนอกี เสียงหนง่ึ เป็นเสียงชี้ขาด
ขอ้ ๙ ให้ กพย. มีอํานาจหน้าที่ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) กําหนดนโยบาย และยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาท่ียงั่ ยนื ของประเทศ ใหค้ รอบคลุมท้ังด้านเศรษฐกิจ
สังคม และสง่ิ แวดล้อมอย่างสมดลุ และบรู ณาการ และเป็นไปตามขอ้ ตกลงหรือความร่วมมือระหวา่ งประเทศ
ทเ่ี กีย่ วข้อง แลว้ เสนอตอ่ คณะรัฐมนตรเี พือ่ ให้ความเห็นชอบ
(๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของหน่วยงานของรัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวข้องกับ
การพฒั นาท่ียั่งยืน
(๓) กํากบั การดําเนนิ งานของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปตามนโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ที่ยั่งยืนของประเทศตามระเบียบน้ี และข้อตกลงหรือความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับ
การพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน
เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๘๗ ง หนา้ ๑๓ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ราชกิจจานุเบกษา
(๔) เสนอแนะให้มีการกําหนดหรือแก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุงมาตรการด้านเศรษฐศาสตร์
สังคม และกฎหมายเพ่อื สง่ เสรมิ ดา้ นการพฒั นาที่ยั่งยนื ตอ่ คณะรัฐมนตรี
(๕) กําหนดแนวทางและท่าทีการเจรจาในการประชุมระหว่างประเทศที่เก่ียวข้องกับ
การพฒั นาที่ยั่งยืน
(๖) ติดตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานของหนว่ ยงานต่าง ๆ ท้ังภาครฐั และเอกชนตามนโยบาย
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาที่ยั่งยนื ของประเทศ และขอ้ ตกลงหรอื ความร่วมมือระหวา่ งประเทศท่เี กี่ยวข้องกับ
การพฒั นาท่ียงั่ ยนื
(๗) ออกประกาศ และคาํ สั่ง เพ่ือปฏิบตั ิการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บนี้
(๘) แต่งตั้งคณะอนกุ รรมการ คณะทํางาน หรือทป่ี รึกษา เพ่อื ดําเนนิ การใด ๆ ตามท่ี กพย.
มอบหมาย
(๙) เชิญบุคคล ผู้แทนหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน เพื่อมาช้ีแจงหรือให้ข้อมูล
ตอ่ กพย. หรือคณะอนกุ รรมการ
(๑๐) รายงานผลการดําเนินงานต่อคณะรัฐมนตรีอย่างนอ้ ยปลี ะหนึง่ ครัง้
(๑๑) ปฏิบัติการอืน่ ใดเพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบนี้ หรือตามท่ีนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี
มอบหมาย
ข้อ ๑๐ ให้นาํ ความในข้อ ๘ มาใช้บังคับกับการประชุมคณะอนุกรรมการซ่ึง กพย. แต่งตั้ง
ตามขอ้ ๙ (๘) โดยอนโุ ลม
ข้อ ๑๑ ใหส้ ํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมทําหน้าที่สํานักงาน
เลขานกุ ารของ กพย. และใหม้ อี ํานาจหนา้ ท่ี ดังน้ี
(๑) เสนอแนะนโยบาย และยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ ให้ครอบคลุมท้ัง
ด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมอย่างสมดุลและบูรณาการ เพ่ือให้เป็นไปตามข้อตกลงหรือ
ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาท่ีย่ังยืน ตอ่ กพย.
(๒) ประสานงานกบั หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครฐั และเอกชนในการรวบรวมข้อมลู และข้อคิดเห็น
หรอื ดําเนินการใด ๆ เพอ่ื สนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานตามอาํ นาจหน้าท่ีของ กพย.
(๓) ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนตาม
อาํ นาจหน้าที่ของ กพย. รวมทงั้ วเิ คราะหป์ ัญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ้ ข เสนอต่อ กพย.
(๔) ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอ่ี ่นื ตามที่ กพย. มอบหมาย
ขอ้ ๑๒ เพอื่ ประโยชนใ์ นการปฏิบัติงานของ กพย. ให้หน่วยงานของรัฐให้ความร่วมมือและ
สนบั สนุนการดาํ เนินงานของ กพย. ตามระเบยี บน้ี
ข้อ ๑๓ คา่ ใช้จ่ายสําหรับเบีย้ ประชุม ค่าตอบแทน รวมท้ังค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงาน
ของ กพย. คณะอนุกรรมการ คณะทาํ งาน และท่ีปรึกษา ให้เบิกจ่ายได้ตามระเบียบของทางราชการ
เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๗ ง หน้า ๑๔ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ราชกิจจานุเบกษา
โดยให้เบิกจ่ายจากงบประมาณของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ขอ้ ๑๔ ใหน้ ายกรัฐมนตรรี ักษาการตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ยิง่ ลกั ษณ์ ชนิ วตั ร
นายกรฐั มนตรี
คำสงั่ คณะกรรมการขบั เคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยนื
ที่ /๒๕๖๕
เรอื่ ง แตง่ ต้งั ผรู้ ับผดิ ขอบและประสานงานหลกั การดำเนนิ งานขบั เคล่อื น
เปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ั่งยืนดา้ นการศึกษา (SDG4) ในระดับพื้นที่
ตามมติท่ีประขุมคณะกรรมการเพอื การพฒั นาที'ยง่ั ยืน (กพย.) คนงี้ ท,ี ๑/๒๕๖๓ เมอ่ื วันท่ี
๑๔ กันยายน ๒๕๖๓ เหน็ ชอบการกำหนดหน่วยงานรบั ผิดขอบและประสานงานหลักการขบั เคล่อื นเป้าหมาย
การพฒั นาทยี ง่ั ยนื (SDGs) รายเปา้ หมายหลัก (ระดับเปา้ หมายหลกั : C1, ระดับเปา้ หมายย่อย : C2) ทำหน้าท่ี
ประสานหรือบรู ณาการทำงานภาพรวมระหวา่ งหนว่ ยงานที,เกยี่ วข้องเพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายหลกั SDGs
ท,ี รบั ผิดขอบ รายงานผลการดำเนนิ งานขับเคล่อื นต’อฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการเพอื่ การพัฒนาที'ยงั่ ยนื
(ฝา่ ยเลขานุการฯ) และในกรณีที่ไมม่ ีการจัดเก็บขอ้ มูลดวั ซวี้ ดั ตามที่ UN กำหนด ให้หนว่ ยงานรบั ผิดขอบเป้าหมายหลกั
(C.1) รวบรวมความเห็น/ขอ้ เสนอแนะจากหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง (ระดบั เปา้ หมายยอ่ ย) จัดทำข้อเสนอดวั ซ้ีวัดทเี่ ห็นวา่
เหมาะสมในการขบั เคลอื่ นให้บรรลเุ ปา้ หมายยอ่ ยต่อฝ่ายเลขานุการฯ เพื่อพิจารณาดำเนนิ การตามความเหมาะสมตอ่ ไป
โดยกระทรวงศกึ ษาธิการได้รับมอบหมายเปน็ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบและประสานงานหลกั เป้าหมายหลกั ท'ี ๔
“สรา้ งหลักประกนั วา่ ทกุ คนมีการศึกษาท'ี มีคุณภาพอย่างครอบคลมุ และเท่าเทียม และสนับสบุนโอกาสในการเรยี นรู้
ตลอดชีวิต”
ในการดำเนินงานขับเคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาที'ยง่ั ยืนสู,การปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการได้แตง่ ตั้ง
คณะกรรมการขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพฒั นาท'ี ยง่ั ยืนดา้ นการศกึ ษา ทำหน้าทก่ี ำหนดกรอบแนวทางและเปา้ หมาย
การดำเนินงานขับเคล่อื นเปา้ หมายการพฒั นาท'ี ยง่ั ยนื ดา้ นการศึกษาภาพรวม ทงั้ นี้ เพือ่ ใหก้ ารดำเนินงานขับเคลือ่ น
เปา้ หมายการพัฒนาที'ยั่งยนื ดา้ นการศกึ ษาบรรลุเป้าหมายที'กำหนดไวใิ ต้อยา่ งยัง่ ยนื คณะกรรมการฯ เหน็ ขอบแผนท่ี
นำทางการขับเคลอ่ื นเปา๋ หมายการพฒั นาที'ย่ังยนื ดา้ นการศกึ ษา (SDG4 Roadnap) เพื่อนำไปใช้เปน็ กรอบแนวทาง
การดำเนนิ งานในภาพรวม รวมทงั้ เพอ่ื ให้การดำเนินงานเปน็ ไปอย่างยงั่ ยนื ควรต้องดำเนนิ การโดยยืดพื้นท่เี ป็นฐาน
จงึ เห็นขอบให้แตง่ ตงั้ คณะทำงานขับเคล่อื นเปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ่งั ยนื ในระดับภาค/กลมุ่ จังหวดั และระดับจังหวัด
ทำหนา้ ทก่ี ำหนดกรอบแนวทางในการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที'ย่งั ยืนดา้ นการศึกษาให้มีความสอดคล้อง
เหมาะสมกับบรบิ ท สภาพปญั หาและความต้องการของพืน้ ที่ ชว่ ยใหก้ ารขับเคลื่อนเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ่ังยนื
ด้านการศกึ ษาเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและมีความย่งั ยืน
ดังนน้ั เพ่อื ให้การดำเนินงานขบั เคลือ่ นเปา้ หมายการพฒั นาที่ย่งั ยืนดา้ นการศกึ ษา (SDG4) ในระดบั
พืน้ ท่เี ป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย และบรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาท่ีกำหนดไว้ รวมทั้ง สอดคลอ้ งกบั แนวทาง
การดำเนนิ งานที่ กพย. และคณะกรรมการขบั เคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาท่ียงั่ ยืนดา้ นการศึกษากำหนด จึงเหน็ สมควร
กำหนดให้มหี นว่ ยงานรับผิดขอบและประสานงานหลักการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาท'ี ย่งั ยนื ดา้ นการศกึ ษา
ในระดับพืน้ ทขี่ น้ึ โดยองค์ประกอบและอำนาจหนา้ ทีข่ องผู้รบั ผดิ ขอบและประสานงานหลกั การดำเนินงานขับเคลื่อน
เปา้ หมายการพฒั นาที่ยง่ั ยืนดา้ นการศกึ ษา (SDG4) ระดบั ภาค/กลมุ่ จังหวดั และระดับจงั หวดั มีดังน้ี
/ผร้ บั ผดิ ซอบ...
-๒ -
รดับภาค/กลมุ่ จงั หวัด
๑. นางสาวอษุ า อนุกูล นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค ๑
ผูอ้ ำนวยการกลมุ่ ยุทธศาสตร์การศึกษา สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค ๒
๒. นางสาวสริ กิ ญั ญา สขุ วิเสส นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค ๒
นักวชิ าการศึกษาชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค ๓
๓. นางสาวภพภร สมุ าลกันต์ นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ๔
นกั วิชาการศึกษาปฏิษตั ิการ สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค ๔
๔. นางอังคณา คำสุวรรณ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ สำนักงานศกึ ษาธิการภาค ๖
ผูอ้ ำนวยการกล่มุ ยทุ ธศาสตร์การศกึ ษา สำนักงานศึกษาธิการภาค ๗
๔. นางสาวอมสรดา พรหมวิหาร นักวชิ าการศึกษาชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค ๗
๖. นายพฒุ ิพัฒน์ ชยั เกตุธนพัฒน่ นักวิชาการศึกษาปฏบิ ตั ิการ สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค ๗
นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร สำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ๘
๗. นายวรี วฒั น์ เข้มแข็ง สำนักงานศกึ ษาธิการภาค ๙
๘. นางสสั ุรี โอรามหลง สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค ๑๐
๙. นายรชั มงคล พลันลงั เกตุ สำนกั งานศึกษาธิการภาค ๑๐
๑๐. นายอบั ดุลรอเซะ ดือราอิง สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค ๑๐
๑๑. นายพีระพัฒน์ แก้วจนั ทร์ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ๑๑
สำนักงานศกึ ษาธิการภาค ๑๒
๑๒. นายสัจจา อนุ่ บุญ นกั วิชาการศกึ ษาชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค ๑๓
๑๓. นางสาวลัดดาวรรณ ศรหี าบตุ ร นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ๑๔
สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค ๑๔
๑๔. นางสาวนิธศิ ชยา ประพรหมมา นกั วิชาการศึกษาชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค ๑๔
สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค ๑๖
๑๔. นางสาวสาวติ รี ขำผวิ พรรณ นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค ๑๗
๑๖. นางสาวอภัยวรรณ พลธริ าช นักวชิ าการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร สำนักงานศกึ ษาธิการภาค ๑๘
๑๗. วา่ ทร่ี อยตรี นทเี ทพ บุญอาจ นักวิชาการศกึ ษา
๑๘. นางสาวสุญาดา แดนจอหอ นกั วิชาการศึกษาปฏิบตั กิ าร
๑๙. นางโสภษิ ฐ์ แกว้ กนก นักวชิ าการศึกษาชำนาญการ
๒๐. นายศิรซานนท์ พกิ ลุ ทอง นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ
๒๑. นางสาวเบญจมาภรณ์ สรุ ิยบรู พกลู นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการ
๒๒. นายสทุ ศั น์ หน่อเรอื ง ผอู้ ำนวยการกลุม่ ยุทธศาสตร์การศึกษา
๒๓. นางชลัยรตั น์ กระทู้ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ
๒๔. นายธงจรสั แสงอรุณ ผ้อู ำนวยการกลมุ่ ยุทธศาสตรก์ ารศกึ ษา
ผรู้ บั ผดิ ชอบและประสาบงานหลัก ระดับจังหวดั
๑. นางสาวสุประวณี ์ มาโยง นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั
กรุงเทพมหานคร
๒. นางสาววราภรณ์ ชูเทพ ผอู้ ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั กระบ่ี
๓. นางจติ ติมา ธนะรัตน์ ผอู้ ำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั กาญจนบุรี
๔. นายสราวธุ พูลพิพัฒน์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี
๔. นายศาสตรา ดอนโอฬาร นกั วชิ าการคอมพวิ เตอรช์ ำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั กาฬสนิ ธุ
๖. นางศภุ กานต์ ค้มุ สวุ รรณ นักวิ เคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิ เศษ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดกำแพงเพชร
๗. นางจติ ตา แสนเกษม ผอู้ ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั ชอนแกน่ -
/ ๘. นางสาว...
-๓ -
๘. นางสาวกนกพร กลุ ขวญั นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนขำนาญการ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ขอนแก่น
๙. นายพงศกร คำแสงมาตย์
๑๐. นางธิติมา โฮมแพน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ขอนแก่น
๑๑. นางอนญั ญา พวงพุก
๑๒. นางสำอาง ฃาญพนา ผอู้ ำนวยการกล่มุ นโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดจนั ทบรุ ี
๑๓. นางอมรรตั น์ ธรรมวงศ์
๑๔. นางเนาวรตั น์ สอนสุข นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดฉะเชงิ เทรา
๑๔. นางสาวปานมนัส โปธา
๑๖. นางจุไสวรรณ ไกรมาก นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ชลบุรี
๑๗. พนั จ่าตรฉี ลอง อ่อนนวน
๑๘. นางสาวสปุ ราณี พมุ่ จุ่น นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดชยั ภมู ิ
๑๙. นางสาวนศิ า กาละ
๒๐. นางวรรณา สภุ าพฒุ ผ้อู ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดชัยนาท
๒๑. นางจุฑารัตน์ เล็กมาก
๒๒. นางสาวอมรรตั น์ จินดา นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดเขียงใหม่
๒๓. นางณซี ขารขั เนาวรตั น์
๒๔. นางสาวอลิศา วอ่ งประชานุกุล นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ชมุ พร
๒๔. นางสาวจริ าพรรณ ชืน่ เจริญ
๒๖. จ่าอากาศเอกศักดา พรมเขยี ว ผ้อู ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เขียงราย
๒๗. นางสาวสรรซนีย์ แก้งาม
๒๘. นางวนาลี ลบี จากศรี นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ตาก
๒๙. นางวลี ศรีพมิ าย
๓๐. นางวภิ ารตั น์ ซาญพล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดตาก
๓๑. นายฉตั รชัย สขุ สืบมา
๓๒. นางสาววารุณี คำคล่ี ผู้อำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดตราด
๓๓. นางสาวนนั ท์นภสั เขยี วเกษม
๓๔. นางพรทพิ ย์ วุตตหิ าสะ ผ้อู ำนวยการกล่มุ นโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ตรัง
๓๔. นางพสซณันศ์ พรหมจรรย์
๓๖. นายไกรพันธ์ พลู พนั ธ์ซู ผอู้ ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั นครปฐม
๓๗. นางสาวหทัยกรานต์ มลุ ิกา
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม
๓๘. นางสาวรตั นาภรณ์ หนูแกว้
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนครปฐม
๓๙. นายชัยยศ อลงกตกติ ตคิ ณุ
เจ้าพนกั งานธุรการ สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นครปฐม
ผูอ้ ำนวยการกล่มุ นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นครนายก
นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดนครนายก
เจ้าพนักงานธรุ การชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนครนายก
ผ้อู ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดนครราชสมี า
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นครราชสมี า
นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์ชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั นครราชสมี า
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครพนม
ผอู้ ำนวยการกล่มุ นโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนนทบุรี
ผู้อำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส
นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั นา่ น
ผอู้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดนครสวรรค์
ผู้อำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั
ผอู้ ำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน ประจวบครี ีขนั ธ์
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏิบัตกิ าร สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั
นครศรธี รรมราช
สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั
นครศรธี รรมราช
/ ๔๐. นายมนตริ...
- (SL -
๔๐. นายมนตรี นิวฒั บวุ งศ์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั บรุ รี ัมย์
๔๑. นายวัชรพงศ์ พพิ ฒั นส์ ุริย'วงศ์ รองศึกษาธิการจังหวัดบึงกาฬ สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดบงึ กาห
๔๒. นางวัชรกี ร ชาญสูงเนนิ นักวี เคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิ เศษ สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดบึงกาห
๔๓. นางสายรงุ้ พลิ าแพง ผูอ้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดปราจีนบรุ ี
๔๔. นางรัชนก พวงกนก นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจนี บุรี
๔๔. นางสาวอักษร บุญช่วย นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏิบตั กิ าร สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ปราจนี บุรี
๔๖. นางสาวอามีเนาะ แยนา นักวีเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั บตึ ตานี
๔๗. นางสาวภัทรา สุขนคิ ม นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั
พระนครศรอี ยุธยา
๔๘. นายสิทธพิ ร สุดพรหม ผู้อำนวยการกล่มุ นโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั ปทมุ ธานี
๔๙. นางผกามาส กลว้ ยเครือ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพทั ลงุ
๔๐. นายมนูญ พชื ฟู ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดพงั งา
๔๑. นายประภสั ร์ จูส้ กลุ เจา้ หน้าทธี่ ุรการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดพงั งา
๔๒. นางสาวทักษพร งามชำ นักวิชาการคอมพิวเตอรช์ ำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั เพชรบรุ ี
๔๓. นางสาวบึณมาศ พวงระยา้ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั เพชรบุรี
๔๔. นางสาวนันท์พร พว่ งวัฒนวงศ์ ผ้อู ำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั พิจิตร
๔๔. นางวฒั นา จนั ทร์เพ็ญ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั แพร่
๔๖. นางแสงเพ็ญ บญึ ญาสงค์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดพษิ ณุโลก
๔๗. นางกรณกิ าร์ เกตภุ ู นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดพะเยา
๔๘. นางขวัญนภา จันทรด์ ี ผูอ้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั เพชรบูรณ์
๔๙. นายพสกร ทวีทรพั ย์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั เพชรบูรณ์
๖๐. นางสาววลยั ลกั ษณ์ ไกรสาตร์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ภเู กต็
๖๑. นางสาวพชั รินทร์ ทับทมิ ไสย์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั มหาสารคาม
๖๒. นางสาวไอยรา ลังฆะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดมหาสารคาม
๖๓. นางสาวธัญลักษณ์ รัตนแสนศรี นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดมหาสารคาม
๖๔. นางสาววลั สิยา พันคะชะ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดมหาสารคาม
๖๔. นางสาวลันทนา บางทราย นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดมกุ ดาหาร
๖๖. นางสาวชนดิ าภา ฉนั ทะ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน
๖๗. นางสาวคทั ยวรรณ ภพู วก ผอู้ ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดยะลา
๖๘. นายฮารสี มาหามัด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ยะลา
๖๙. นายณัฐกรณ์ ขวญั ดี นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดยะลา
๗๐. นายมีศักดึ๋ รัตนพมิ พ์ ผอู้ ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดยโสธร
๗๑. นางสาวนนทรตั น์ บญุ จรสั นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ยโสธร
๗๒. นางสาวกรรณิการ์ บญุ เกลย้ี ง ศกึ ษานิเทศกซ์ ำนาญการพิเศษ สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดยโสธร
/ ๗๓. นางพชั ร.ี ..
-5-
๗๓. นางพัชรี ศรีษะภูมิ ผอู้ ำนวยการกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดร้อยเอด็
๗๔. นางสาวรชั นี จติ ตส์ ว่าง ประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดระนอง
ผอู้ ำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน
๗๕. นางสาวภทั รานิษฐ์ สทุ ธิแสงจันทร์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
๗๖. นางสาวจตพุ ร ขันนอก นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดระยอง
๗๗. นางสาวชลลดา เตชะบวรกลุ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดระยอง
๗๘. นางดาวนภา นม่ิ เรอื ง นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดระยอง
๗๙. นางปารติ า ศุภการกำจร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
๘๐. นายพชิ ญพงศ์ กรี ติศานติ์ นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลพบรุ ี
๘๑. นางผอ่ งศรี รัตนงาม ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดลำพนู
๘๒. นายวรี วฒั น์ กณั ทวีชยั นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน
๘๓. นางสาวจุฑามาศ ธนนราพงศ์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพนู
๘๔. นางสาวธมลวรรณ จรัสสขุ ศรี นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดลำพนู
๘๕. นายอภิรกั ษ์ วจิ ิตรวรรณ นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพนู
๘๖. นางกาญจนา จันปุ่ม ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดเลย
๘๗. นางณฐั ชญาพร พรหมหาราช นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดเลย
๘๘. น.ส.นุชษราวรรณ คณานติ ย์ธนกิจ ผอู้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดศรีสะเกษ
๘๙. นางเพญ็ พชิ ญาษ์ สงั วงษ์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดศรีสะเกษ
๙๐. นางสาวภูษณิศา โพธริ าช นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสกลนคร
๙๑. นายเวนชิ แง่มสรุ าช นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสกลนคร
๙๒. นายอนันต์ สาโร ผ้อู ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสงขลา
๙๓. นายสรุ ศักดิ์ สรุ ะเสน นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดสมทุ รปราการ
๙๔. นางองั คนา นุ่มวดั ผอู้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมทุ รสงคราม
๙๕. นางสาวนูรญี า รงคส์ มคั ร นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสตลู
๙๖. นางสาวพิมสาย จึงตระกูล ผอู้ ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสระแก้ว
๙๗. นายอนุเดช ปรณะวิทย์ ผอู้ ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั สมุทรสาคร
๙๘. นายนุกูล กลดั เงนิ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสิงห์บรุ ี
๙๙. นางทพิ วลั ย์ วงษ์สมบูรณ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสระบุรี
๑๐๐. นางสาวอัจฉราภรณ์ บุญมั่น ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุโขทัย
๑๐๑. นายคมกฤษณ์ โทนทอง นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุโขทัย
๑๐๒. นายสภุ วัจน์ อบุ ลทศั นยี ์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี
๑๐๓. นางณฎั วิภา ปรยิ งค์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ ินทร์
๑๐๔. นายวฒุ ศิ ักด์ิ ปรยิ งศ์ นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์
๑๐๕. นางสาวสนธิยา ไชยชำนิ ผู้อำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสุราษฎร์ธานี
๑๐๖. นายคทาวธุ สมสวัสดิ์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดสุราษฎรธ์ านี
/๑๐๗. นางสาว...
-๖ -
๑๐๗. นางสาวสภุ าพนั ธ์ ทองพยงค์ รองศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดอุทัยธานี สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั อุทัยธานี
๑๐๘. นางสาวนฤมล สนิ ทลู นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดอทุ ยั ธานี
๑๐๙. นางสาวจามจุรี ฉลาดแยม้ นกั วิชาการคอมพวิ เตอรช์ ำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดอุทัยธานี
๑๑๐. นางสาวประไพพรรณ ชำนาญซัด นักวิขาการศกึ ษาชำนาญการ สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดอุทัยธานี
๑๑๑. นายวรวิทย์ รัตนมาลี ผู้อำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั หนองบวั ลำภู
๑๑๒. นายอุกฤษฏ์ โลมพรรณ นกั วฃิ าการคอมพวิ เตอรป์ ฏบิ ตั กิ าร สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั หนองบัวลำภู
(9)(9) on. นายปยิ วชั ผลสืบ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏิษัตกิ าร สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดหนองบวั ลำภู
๑๑๔. นางสาวจำปี หะธรรมวงษ์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิษัติการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั หนองบวั ลำภู
๑๑๕. นางสาวรสสุคนธ์โคลคร นักวเิ คราะหน์ โยบายและชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั อุดรธานี
๑๑๖. นายวงศกร กมลอารี นักวิเคราะห์นโยบายและชำนาญการ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั อำนาจเจรญิ
๑๑๗. นายสมเดยี ว เกตุอนิ ทร์ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพเิ ศษ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั อุตรดติ ถ์
๑๑๘. นางสาวนฏั ซญารัตน์ อัปการตั น์ ผ้อู ำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดหนองคาย
๑๑๙. นางสาวลดั ดา อินทรพ์ ิมพ์ นักวเิ คราะห์นโยบายและชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอบุ ลราชธานี
๑๒๐. ว่าทีร่ อ้ ยตรี จิรวฒั น์ นาคพนม ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอ่างทอง
๑๒๑. นางสาวพนั ธค์ ิริ ธนารียะวงศ์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั อา่ งทอง
๑๒๒. ว่าทร่ี อ้ ยตรี อนพุ งศ์ เสือใย นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั อ่างทอง
อำนาจหน้าที่
๑. ประสาน/บูรณาการทำงานระหวา่ งหนว่ ยงานท,ี เก่ยี วขอ้ งในระดบั พืน้ ท่ี เพื่อกำหนดกรอบแนวทาง
การดำเนินงานให้บรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาที่ยัง่ ยนื ด้านการศึกษา (เป้าหมายหลักที่ 4) ในภาพรวม
๒. ประสานการขับเคล่อื นการดำเนนิ งานกบั หนว่ ยงานท,ี เกยี่ วขอ้ งให้บรรลเุ ปา้ หมายยอ่ ยภายใต้
เปา้ หมายการพฒั นาที่ย่งั ยนื ด้านการศึกษา (เปา้ หมายหลักที่ 4)
๓. ประสานกับหนว่ ยงานที,เกีย่ วข้องในระดบั พ้ืนท่เี พือ่ วิเคราะห์ จดั เกบ็ ข้อมูลที,เกยี่ วขอ้ ง
ในรายเป้าหมายย่อย รวมทัง้ รวบรวมและวเิ คราะหส์ ถานการณ์ตัวข้วี ดั กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของแต่ละ
เป้าหมายย่อย
๔. ประสานกับหนว่ ยงานท,ี เก่ียวข้องในพน้ื ที่ เพ่อื ดำเนนิ โครงการจดั ทำฐานขอ้ มลู และระบบติดตาม
ประเมนิ ผลระดบั พื้นท่ีเพือ่ สนบั สนุนการขับเคลือ่ นเป้าหมายของสหประซาชาติว่าด้วยการพัฒนาท่ียัง่ ยืน
ด้านการศึกษา SDG4 ในระดับพื้นที่ ให้บรรลุวัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายที,กำหนด รวมทง้ั สนับสบุนการขบั เคล่ือน
เป้าหมายการพฒั นาที่ยง่ั ยนื ดา้ นการศึกษาใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายด้วย
๕. ประสาน กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงปีญหาและอุปสรรคการดำเนนิ งาน
/ ๖. วิเคราะห์...
1
-๗-
๖. วิเคราะห์ สังเคราะหข์ อ้ มลู ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมายยอ่ ยและตวั ขีว้ ดั จัดทำเปน็ ฐานขอ้ มลู
ผลการดำเนนิ งาน และรายงานผลการดำเนนิ งานต่อฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมการขบั เคลื่อนเปา้ หมายการพฒั นา
ทีย่ งั่ ยนื ดา้ นการศกึ ษา
๗. ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ตามทไี่ ด้รับมอบหมาย
ท้งั น้ี ต้ังแต่บดั นเี้ ป็นตน้ ไป
ส่ัง ณ วนั ที่ M 9 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕
(นายสภุ ัทร จำปาทอง)
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ประธานคณะกรรมการ
ขับเคลื่อนเป้าหมายการพฒั นาที่ยง่ั ยนื ดา้ นการศกึ ษา
ภาพการประชมุ คณะกรรมการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื ด้านการศึกษา ระดบั จังหวดั เลย SDG4
วนั ท่ี ๒๖ กรกฎาคม 256๕
เวลา 08.30 – 16.30 น.
ณ โรงแรมฟอรล์ ่าฮิลล์รสี อร์ท อำเภอเมอื ง จังหวดั เลย
สำนกั งำนศกึ ษำธกิ ำรจังหวัดเลย
ถนนเลย-ดำ่ นซำ้ ย ตำบลกุดปอ่ ง อำเภอเมือง
จงั หวดั เลย 42000
www.loeipeo.go.th
โทรศัพท์ 042-870612 Fax 042-870632