รวบรวมโดยนักศึกษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ
ช้นั ปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔
สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี
จดั ทำโดย
นางสาวนลินดา แก้วรกั ษ์ รหัสนกั ศกึ ษา 6116209001174
สาขารฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี
พระราชดำรสั
“...การศึกษาหาความรจู้ งึ สำคญั ตรงทว่ี า่ ต้องศกึ ษาเพ่อื ให้เกิด ความ
ฉลาดรู้ คอื รแู้ ล้วสามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้จริงๆ โดยไมเ่ ป็นพษิ เป็น
โทษ การศึกษาเพอื่ ความฉลาดรู้ มีข้อปฏิบัติท่ีนา่ ยึดเปน็ หลกั อยา่ งนอ้ ย
สองประการ ประการแรก เมื่อจะศกึ ษาสิง่ ใดให้ร้จู ริง ควรจะใหศ้ ึกษาให้
ตลอด ครบถว้ นทุกแง่ทกุ มมุ ไมใ่ ช่เรยี นรแู้ ตเ่ พยี งบางสว่ นบางตอน หรอื
เพ่งเลง็ เฉพาะบางแงบ่ างมุม อกี ประการหน่ึง ซง่ึ จะต้องปฏบิ ัตปิ ระกอบ
พรอ้ มกนั ไปดว้ ยเสมอ คอื ต้องพิจารณา ศึกษาเรอ่ื งนนั้ ๆ ดว้ ยความคดิ
จติ ใจทตี่ ัง้ ม่ันเป็นปรกติ และเท่ยี งตรงเป็นกลาง ไม่ยอมให้รเู้ หน็ และ
เข้าใจ ตามอำนาจความเหนย่ี วนำของอคติ ไมว่ า่ จะเป็นอคตฝิ ่ายชอบ
หรอื ฝา่ ยชังมิฉะน้ัน ความรู้ท่เี กิดข้นึ จะไม่เป็นความร้แู ท้ หากแตเ่ ป็น
ความรู้ทถ่ี กู อำพรางไว้ หรือทีค่ ลาดเคลอื่ นวิปรติ ไปต่างๆ จะนำไปใช้
ประโยชนจ์ ริงๆ โดยปราศจากโทษไมไ่ ด้...”
ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาท
ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบัตรแกผ่ สู้ ำเรจ็ การศกึ ษาจาก
มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
วันจันทรท์ ่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๒๔
ก
คำนำผูเ้ ขียน
ในDiaryเล่มนี้ได้รวบรวมข้อมูลของเทศบาลตำบลลานข่อย
อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาหา
ความรู้ของผู้ที่สนใจศึกษา จะเป็นเรื่องง่ายขึ้นสำหรับผู้ที่มีความสนใจ
ในการหาข้อมูลของเทศบาลลานข่อย เนื่องจากเป็นการค้นหาที่มี
ขอบเขตแคบลง จะทำใหไ้ ด้รับขอ้ มูลทีต่ รง ถูกต้อง สะดวก ทันยุคสมัย
และรวดเร็วมากยิง่ ขึน้
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าDiaryเลม่ นีค้ งจะเป็นประโยชน์อย่าง
มากสำหรับผู้ที่อ่าน ที่สนใจเกี่ยวกับเทศบาลตำบลลานข่อย ตาม
สมควร
ผูจ้ ดั ทำ
นางสาวนลินดา แกว้ รักษ์
นกั ศกึ ษาสาขาสาขารฐั ประศาสนศาสตร์
สารบัญ ข
หัวข้อ หน้า
คำนำผเู้ ขียน ก
สารบญั ข
สารบญั (ตอ่ ) ค
สารบญั (ตอ่ ) ง
สารบัญตาราง จ
ข้อมูลพ้นื ฐาน
1-5
ประวตั ิความเป็นมาของตำบล 5-6
ขนาดและท่ีต้ังของตำบล 7
ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีสำคญั 7-8
ลกั ษณะภูมิประเทศ ภมู ปิ ระเทศ 8-9
การเดนิ ทาง/การคมนาคม
โครงสร้างชมุ ชน 10 - ๑๑
ดา้ นการเมืองการปกครอง
สารบญั (ต่อ) ค
หัวข้อ
หน้า
ขอ้ มูลประชากร 11-12
ดา้ นการศึกษา/ศาสนา/วฒั นธรรม 12-14
บริบททางสังคม/ความเปน็ อยู่ 14-16
ความเชื่อ ประเพณี พธิ ีกรรม 17-18
โครงสร้างเศรษฐกิจและอาชพี
แหลง่ ทุนทางธรรมชาติ 19
แหล่งอาหาร 19-2๑
ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน ของดี ของขึ้นช่อื 21-26
สถานภาพทางเศรษฐกิจของประชาชน 26-28
สถานทีส่ ำคญั
แหลง่ ท่องเท่ียว 29-39
ศาสนสถานของทุกศาสนา 39-43
แหลง่ เรียนรู/้ โรงเรยี น/หอ้ งสมุดชมุ ชน 43-62
สารบัญ(ต่อ) ง
หวั ข้อ
หนา้
การวเิ คราะห์ศกั ยภาพชุมชน
สง่ิ ที่ชมุ ชนทำได้ดี(จดุ แข็ง) 63-64
สงิ่ ทช่ี มุ ชนต้องพัฒนา(จุดออ่ น) 64-66
โอกาสของชุมชน 66-68
อปุ สรรคและความทา้ ทาย 68-69
70-72
อ้างองิ 73-81
ภาคผนวก
สารบญั ตาราง จ
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ ๑ แสดงจำนวนประชากรเทศบาลตำบลลานขอ่ ย 11
๑
สว่ นที่ ๑ ขอ้ มลู พื้นฐาน
ประวตั คิ วามเปน็ มาของตำบล
ข้อมูลจากกลุ่มผู้อาวุโสในชุมชน กล่าวถึง การเข้ามา
บุกเบกิ พน้ื ที่ในบริเวณตำบลลานข่อยว่าเกิดจากกลุ่มคนจำนวนหน่ึง
ได้ย้ายถิ่นฐานมาจากพื้นที่ใกล้เคียง อาทิ อำเภอชะอวด จังหวัด
นครศรีธรรมราช อำเภอควนขนุน จังหวัดพทั ลงุ เป็นตน้ ประชาชน
สว่ นใหญ่เปน็ กลุ่มประชาชนท่ียา้ ยถ่ินฐานมาต้งั รกร้างในพื้นที่ตำบล
ลานข่อยเพื่อมาหาพื้นที่ทำกินใหม่ เนื่องจากภัยธรรมชาติที่แหลม
ตะลุมพุก ในระยะแรกผู้ที่มาบุกเบิกจับจองที่ดินตามแบบโบราณ
คือ ใช้วิธีปักหลักเขตแดนกนั เองเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงความเป็น
เจ้าของพื้นดินนั้นหลังจากนั้นก็ชักชวนเครือญาติเข้ามาอยู่อาศัย
และมีการจัดสรรที่ดินให้กับเครือญาติเพื่อประกอบอาชีพปศุสัตว์
และเกษตรกรรม อาชีพหลักของประชาชนในสมัยก่อน คือ ทำนา
ดอน ทำสวนยาง ทำไร่ สิ่งที่โดดเด่นในการเกษตรกรรมโดยใช้ภูมิ
๒
ปัญญา คือ การเพาะปลูกพริกในนาดอน ซึ่งให้ผลผลิตทั้งพริกและ
ข้าว รวมถึงการปลูกพืชผลทางเกษตรอ่ืน ๆในสวนยางพารา เช่น
กล้วย มันขี้หนู มะเขือ เป็นต้น เกิดการหมุนเวียนผลิตผลทาง
การเกษตรตลอดปี เมื่อผลิตผลมีมากเกษตรกรจะนำผลผลิตไป
จำหน่ายในพนื้ ท่อี ำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช
จากคำบอกเล่าของ นายชม คล้ายแก้ว อดีตกำนันตำบล
ลานข่อย ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกเข้ามาต้ังถิ่นที่อยู่เป็นกลุ่มแรกๆในพื้นท่ี
ตำบลลานข่อย ได้กลา่ วว่า เม่อื ราวปีพุทธศักราช ๒๕๐๐ อำเภอหัว
ไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช เกิดอุทกภัยทำให้ประชาชนในพื้นที่
อำเภอหัวไทรไม่สามารถทำนาได้เกิดภาวะข้าวยากหมากแพง
ประชาชนได้รับความเดือดร้อนกันถ้วนหน้า จึงได้มีแนวคิดหาท่ีทำ
กินใหม่ในพื้นที่ที่มีภูมิประเทศที่ดีกว่าโดยประชาชนกลุ่มหน่ึง
จำนวน ๒๐ คน ได้เดนิ ทางโดยสารเรือยนต์จากอำเภอหวั ไทรมาข้ึน
ที่ท่าเรืออำเภอชะอวด โดยต่างพาครอบครัวและขนสัมภาระมา
เฉพาะของใช้จำเป็น เมื่อขึ้นจากเรือจึงเดินทางด้วยเท้ามาทาง
ตะวันตก ซึ่งพื้นที่ที่กลุ่มคนดังกล่าวมุ่งเดินทางยังคงสภาพป่ารก
ปราศจากคนอาศัยมีก็แต่สัตว์ป่า เช่น ช้าง เก้งกวาง เสือ ฯลฯ เมื่อ
มาถึงบริเวณที่ตั้งบ้านลานข่อยในปัจจุบันจึงได้เริ่มตั้งถิ่นฐานแถบ
นั้นเป็นที่อาศัย โดยเริ่มปลูกเรือน ถางป่า ยึดอาชีพหลักในการทำ
เกษตรกรรม เช่น ทำนา ปลูกพืชสวนและการปศุสัตว์ เช่น เลี้ยง
ควาย วัว ไว้ใช้งานและหาของป่าไปจำหน่าย โดยได้สัญญาตั้ง
เง่อื นไขกนั ในกลมุ่ ผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่ว่าใหจ้ ับจองคนละ ๕๐ ไร่ เพ่ือใช้
๓
เป็นที่ทำกินหากต่อไปภายภาคหน้าผู้ใดไม่สามารถทนอยู่ได้ก็ให้ยก
ที่ดินให้ผู้อื่นใช้ประโยชน์ต่อไปโดยไม่คิดเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด
ต่อมาเมื่อพื้นที่ได้รับการพัฒนาแผ้วถางแล้วก็มีประชาชนจำนวน
๑๘ คน ทนความยากลำบากไม่ได้เพราะพื้นที่บ้านลานข่อยตั้งอยู่
หา่ งไกลจากอำเภอชะอวดยากลำบากต่อการเดินเท้าเพ่ือนำผลผลิต
ทางการเกษตรไปค้าขายเพราะใช้เวลาเดินเท้า ๒-๓ วันและตลอด
เส้นทางยงั มอี ันตรายจากสัตวป์ า่ รวมทง้ั บา้ นเรอื นท่ีสร้างใหม่ท่ีบ้าน
ลานข่อยเป็นใต้ถุนสูงก็ยังได้รบั ผลกระทบจากสัตว์ป่า เช่น เสือ หมี
ที่ออกมาหากินในเวลากลางคืนเช่นเดียวกันเป็นเหตุให้ประชาชน
จำนวน ๑๘ คน ไดย้ า้ ยไปอยู่ที่อ่ืนเหลือเพยี งนายชม คลา้ ยแก้ว กับ
เพื่อน ๑ คน ที่ยังอาศัยทำกินในบ้านลานข่อย ซึ่งต่อมาทั้งสองได้
ชักชวนญาติพ่นี ้องที่อำเภอหวั ไทรให้เข้ามาตั้งถ่นิ ฐานอยูอ่ าศัยทำกิน
ที่บ้านลานข่อย ซึ่งก็ได้มีผู้ทยอยเดินทางเข้ามาตั้งถิ่นฐานพักอาศัย
และทำกินเพิ่มมากขึ้นเรื่อยมา โดยส่วนใหญ่เป็นประชาชนจาก
อำเภอหวั ไทรเสียสว่ นมาก
ในสมัยก่อนบ้านลานข่อยมีเส้นทางคมนาคมที่ไม่สะดวกมี
เพียงเสน้ ทางเดนิ เทา้ ผา่ นป่ารกหรอื กระบือเปน็ พาหนะเดินทาง การ
นำผลผลิตทางการเกษตรไปค้าขายแลกเปลี่ยนและซื้อสินค้ ายัง
ตลาดไมเ้ สยี บ อำเภอชะอวด ใชเ้ วลาเดนิ ทาง ๔-๕ ชวั่ โมง ผูห้ ญงิ จะ
แบง่ สินค้าไว้บนศีรษะ ภาษาถน่ิ เรยี กว่า “ทนู ” ส่วนชายจะแบกของ
ไว้บนไหล่ เรียกว่า “การหาบ” สินค้าที่ซื้อกลับมา เช่น เกลือ กะปิ
หรอื เคย เป็นต้น
๔
จุดเปลี่ยนของตำบลลานข่อยที่สำคัญนั้นเกิดเมื่อมีการเข้า
มาสัมปทานป่า โดยโรงเลื่อย “เจริญผล” และประชาชนต่างถิ่นเขา้
มาอยู่อาศัยในตำบลลานข่อย ในคราวนั้นประชาชนได้รับความ
สะดวกมากขน้ึ โดยการเดินทางอาศัยรถจากโรงเลื่อยเป็นพาหนะเข้า
ออก ต่อมาเริ่มมีการนำรถเกวียนเข้ามาใช้ชาวบ้านจึงเริ่มเอาสินค้า
หรือผลผลิตทางการเกษตรของตนไปขายให้กับคนภายนอกมากขึน้
ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๕๑๖ เริ่มมีการนำรถมาใช้ในพื้นที่อีกท้ัง
เป็นช่วงระยะเวลามีการแบ่งแยกทางการเมือง “คอมมิวนิสต์” ทำ
ให้มนี ักศกึ ษาจำนวนประมาณ ๑๔๐ คน เขา้ มาตั้งค่ายอยู่ในป่าและ
บนภูเขาในพื้นที่ของตำบลลานข่อย หากแต่ไม่มีเหตุการณ์ความ
รุนแรงหรือปัญหากับประชาชนในท้องถิ่นเกิดขึ้นเลยเพราะต่าง
เข้าใจว่าเป็นเพียงแค่กลุ่มคนที่มีความเห็นไม่ตรงกันเท่านั้น
จนกระทั่งปีพุทธศักราช ๒๕๑๘ รัฐบาลได้ส่งทหารมาปราบกลุ่ม
คอมมิวนิสต์ในพื้นที่ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐในการแก้ไขปัญหา
ทางการเมือง อีกทั้งมีการจัดต้ัง “นิคมสร้างตนเองควนขนุน”
จังหวัดพัทลุง เพื่อให้ประชาชนได้มีที่ตั้งเคหะสถานและประกอบ
อาชีพเป็นหลกั แหลง่ ในท่ีดนิ น้นั หลงั จากนัน้ จงึ ทำให้ประชาชนเร่ือง
ยา้ ยเข้ามาตงั้ ถิ่นฐานมากขึ้นตามราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ท่ี ๙๑ ตอน
ที่ ๒๒๐ พิเศษ ๕๐ เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๑๗ มีพระราช
กฤษฎกี าจดั ตั้งนคิ มสร้างตนเองควนขนุน จงั หวดั พทั ลงุ
เหตุทเ่ี รยี กวา่ “ลานขอ่ ย”
๕
ลานข่อย ที่ได้ชื่อว่า ตำบลลานข่อยน้ัน เนื่องจากสมัยก่อน
ชาวป่าพะยอมได้มาเลี้ยงควายที่บริเวณฝั่งตรงข้ามบ้านนายนิยม
แก่นแก้ว เลี้ยงฝูงควายประมาณ ๒๐-๓๐ ตัว และได้ทำคอกควาย
โดยบริเวณนั้นมีจอมปลวกสูงใหญ่ และมีต้นข่อยใหญ่อยู่บนจอม
ปลวก และได้ทำห้างขึ้นนอนบนต้นข่อย เพราะกลัวช้าง และควาย
ได้หากินในบริเวณนั้นไปเรื่อยๆ จนเป็นลานกว้าง เลยได้ชื่อว่าเป็น
"ลานข่อย"
เดิมบ้านลานข่อยตั้งอยู่ในท้องที่การปกครองของตำบล
เกาะเต่าและได้แยกเป็นตำบลลานข่อยเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๔
ต่อมากระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งสภาตำบลลานข่อยเป็น
องค์การบริหารส่วนตำบลลานข่อยเมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม
พุทธศักราช ๒๕๓๙ และจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลลานข่อย
เป็นเทศบาลตำบลลานข่อยเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พุทธศักราช
๒๕๕๑ เป็นตน้
ขนาดและทีต่ ัง้ ของตำบล
ขนาดของตำบลลานข่อย มีขนาดเนื้อที่จำนวนทั้งหมด
ประมาณ ๕๙.๗๕ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๓๗,๓๔๔ ไร่
ลักษณะที่ตั้งของตำบลเทศบาลตำบลลานข่อยตั้งอยู่ใน
อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง ห่างจากอำเภอป่าพะยอม จังหวัด
พัทลุงไปทางทิศเหนือประมาณ ๑๕ กิโลเมตรและห่างจากศาลา
๖
กลางจังหวัดพัทลุงประมาณ ๔๕ กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อ
กับตำบลตา่ ง ๆดงั ต่อไปนี้
• ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลวังอ่าง อำเภอชะอวด จังหวัด
นครศรีธรรมราช
• ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม
จังหวดั พัทลงุ
• ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลเกาะขันธ์ อำเภอชะอวด
จงั หวัดนครศรธี รรมราช
• ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลท่างิ้วและตำบลในเตา
อำเภอห้วยยอด จงั หวดั ตรงั
๗
ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่สำคัญ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอุทยาน
แห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า สภาพค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ พื้นที่ป่าท่ี
สำคัญ ได้แก่ เทือกเขาบรรทัด เป็นป่าดิบชื้น ป่าดิบเขา และป่าไผ่
เป็นป่าแน่นทึบที่มีเรือนยอดติดต่อกัน ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มีค่า
หลายชนิด เช่น ไม้ยาง ไม้ตะเคยี น นาคบตุ ร เปน็ ต้น เหมาะสำหรับ
อนุรักษ์และบำรุงรักษาไว้เพื่อประโยชน์ทางนิเวศวิทยาและจัดเป็น
สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ซึ่งพื้นที่ป่าดังกล่าวเป็นแหล่งต้นน้ำคลอง
ห้วยน้ำใส คลองเตา่ และน้ำตกหนานปลวิ
ลักษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
ลักษณะภูมิประเทศของเทศบาลตำบลลานข่อย มีลักษณะ
พื้นที่เป็นท่ีราบเชิงเขา ไม่มีน้ำท่วมขัง โดยมีพื้นที่ลาดจากทิศ
ตะวันตกลงไปทางทิศตะวันออก
ลักษณะภูมิอากาศของเทศบาลตำบลลานข่อย ตั้งอยู่ใน
เขตมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้มี
สภาพอากาศอยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุมที่พัดปกคลุมประจำ
ฤดูกาลทำให้ปีหนึ่งๆ จะมีเพียง ๒ ฤดูกาลคือ
๑. ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม – กลางเดือน
กันยายน ความร้อนและความอบอ้าวของอากาศมีสูงสุด
ในชว่ งเดือนมิถนุ ายน
๘
๒. ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน - กลางเดือนมีนาคม โดย
ปริมาณน้ำฝนมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายนและน้อยที่สุด
ในเดอื นกมุ ภาพันธ์
การเดินทาง การคมนาคม
การเดินทาง
− เครื่องบิน : จังหวัดพัทลุงไม่มีสนามบิน นักท่องเที่ยว
สามารถใช้บริการเที่ยวบินกรุงเทพฯ-ตรังหรือ กรุงเทพฯ-
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลาและ ต่อรถโดยสารไปพัทลุงและ
ตอ่ โดยสารมายงั ตำบลลานข่อย
− รถไฟ : การรถไฟแห่งประเทศไทย มีรถไฟผ่านอำเภอ
เมือง อำเภอควนขนุน อำเภอเขาชัยสน อำเภอปากพะยูน
อำเภอป่าบอน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง และนั่งรถ
สองแถวต่อมายงั ตำบลลานขอ่ ย
− รถยนต์ : จากกรุงเทพฯ สามารถไปได้ 3 เส้นทาง คือ
เส้นทางที่ 1 ตามทางหลวงหมายเลข 4 ถึงชุมพร (สี่แยก
ปฐมพร) แยกเข้าระนอง พังงา กระบี่ ตรงั จนถึงพัทลุง
เส้นทางที่ 2 ตามทางหลวงหมายเลข 4 ถึงชุมพร ให้เข้า
ทางหลวงหมายเลข 41 จนถงึ จงั หวัดพทั ลงุ
เส้นทางที่ 3 ตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่านชุมพร สุ
ราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช แล้วเข้าทางหลวงหมายเลข
๙
403 จากนั้นจึงเข้าทางหลวงหมายเลข 41 ที่ชุมทางเขา
ชมุ ทอง จนถงึ พทั ลงุ
การคมนาคม
− ถนนลาดยาง จำนวน ๑๒ สาย
− ถนนคอนกรตี จำนวน ๑๐ สาย
− ถนนลูกรงั จำนวน ๔๕ สาย
− สะพานคอนกรีต จำนวน ๑๓ แห่ง
− สะพานเหลก็ จำนวน ๑ แหง่
− สะพานไม้ จำนวน ๒ แหง่
๑๐
ส่วนท่ี ๒ โครงสรา้ งของชมุ ชน
ดา้ นการเมอื งการปกครอง
ด้านการเมืองการปกครองของเทศบาลตำบลลานข่อยแยก
ออกเป็น ๙ หมู่บ้าน และมีผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งอยู่
ภายใต้ของการบริหารงานของท่านนายก บุญเลิศ เส้งรอด ซี่งทาง
เทศบาลตำบลลานข่อย ได้ทำการเลือกตั้งวันที่ ๒๘ มีนาคม
พุทธศักราช ๒๕๖๔ ซี่งมีคณะกรรมการการทำงานแบ่งออกเป็น ๒
ฝ่ายคอื ฝา่ ยสภาและฝ่ายบริหาร ดังตอ่ ไปน้ี
➢ รายชื่อผใู้ หญบ่ า้ นแต่ละหมบู่ ้าน
− หมทู่ ่ี ๑ นายธีระชยั คลา้ ยแก้ว (ผ้ใู หญบ่ า้ น)
− หมู่ท่ี ๒ นายมนตรี รกั แก้ว (ผู้ใหญบ่ ้าน)
− หมทู่ ี่ ๓ นางอนงค์ จนั ทรท์ องออ่ น (ผใู้ หญ่บา้ น)
− หมู่ท่ี ๔ นายสวุ ทิ ย์ ช่วยแก้ว (ผ้ใู หญ่บ้าน)
− หมูท่ ่ี ๕ นายเกรยี งศักด์ิ ศรพี รหมกร (ผ้ใู หญ่บ้าน)
− หมู่ที่ ๖ นายสุทนั แกว้ ขาว (ผู้ใหญ่บ้าน)
− หม่ทู ี่ ๗ นายศรชยั ทรพั ย์ดำ (ผู้ใหญ่บา้ น)
− หมู่ที่ ๘ นายวริ ัตน์ จันทรม์ ล (ผู้ใหญบ่ า้ น)
− หมู่ท่ี ๙ นายประภาส บุญชนะ (กำนนั )
๑๑
ขอ้ มูลประชากร
ข้อมูลประชากรเทศบาลตำบลลานข่อย มีจำนวนหมู่บ้าน
ทั้งสิ้น ๙ หมู่บ้าน มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น ๘,๖๑๐ คน แยกเป็น
ชาย ๔,๒๑๑คน หญงิ ๔,๓๙๙คน มจี ำนวนครัวเรือนท้ังส้ิน ๒,๘๐๕
ครัวเรื่อน มีความหนาแน่นเฉลี่ย ๑๔๓.๒๓ คน/ตารางกิโลเมตรมี
ดังน้ี
หมทู่ ่/ี บ้าน ชาย หญิง รวม จ ำ น ว น
ครัวเรอื น
หมู่ที่ ๑ บ้าน ๖๖๒ ๖๖๑ ๑,๓๒๓ ๔๘๗
ลานข่อย
หมู่ที่ ๒ บ้าน ๕๘๙ ๖๔๕ ๑,๑๓๔ ๓๖๘
หว้ ยหลุด
หมู่ที่ ๓ บ้านทุ่ง ๕๖๖ ๖๓๙ ๑,๒๐๕ ๔๒๓
ชุมพล
หมู่ที่ ๔ บ้าน ๕๒๕ ๕๗๙ ๑,๑๐๔ ๓๑๘
ห้วยเรียน
หมู่ที่ ๕ บ้านถ้ำ ๓๒๘ ๓๓๙ ๖๖๗ ๒๒๒
ลา
๑๒
หมู่ที่ ๖ บ้าน ๓๘๐ ๔๑๑ ๗๙๑ ๒๕๓
มาดน่งั
หมู่ที่ ๗ บ้าน ๓๙๕ ๔๑๓ ๘๐๘ ๒๓๑
ห้วยศรีเกษร
หมู่ที่ ๘ บ้าน ๒๘๗ ๒๕๔ ๕๔๑ ๑๗๓
ห้วยรำพงึ
หมู่ที่ ๙ บ้าน ๔๗๙ ๕๑๒ ๙๙๑ ๓๓๐
ควนยาว
รวมทง้ั สิ้น ๔,๒๑๑ ๔,๓๙๙ ๘,๖๑๐ ๒,๘๐๕
*อ้างอิงจากข้อมูลจากที่ว่าการอำเภอป่าพะยอม ตรวจสอบข้อมูล
เดอื นมิถนุ ายน ปีพทุ ธศักราช ๒๕๖๔
ตารางท๑ี่ แสดงจำนวนประชากรเทศบาลตำบลลานขอ่ ย
ด้านการศึกษา/ศาสนา/วัฒนธรรม
ด้านการศกึ ษา
ด้านการศึกษาของตำบลลานข่อยมีทั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา โดยแยกออกเป็น
ดังตอ่ ไปน้ี
๑. พัฒนาเดก็ เลก็ จำนวน ๒ แห่ง ไดแ้ ก่
๑๓
− ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลานข่อย(มาด
นง่ั ) ตงั้ อยู่ในพ้นื ท่ี หม่ทู ่ี ๗ ตำบลลานขอ่ ย อำเภอ
ปา่ พะยอม จงั หวัดพัทลงุ
− ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งชุมพล ตั้งอยู่ในพื้นท่ี
หม่ทู ี่ ๓ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัด
พทั ลงุ
๒. โรงเรยี นประถมศึกษาจำนวน ๕ แหง่ ได้แก่
− โรงเรียนบ้านลานข่อย ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๑
ตำบลลานขอ่ ย อำเภอปา่ พะยอม จงั หวดั พทั ลุง
− โรงเรียนบ้านทุ่งชุมพล ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๓
ตำบลลานขอ่ ย อำเภอปา่ พะยอม จังหวดั พัทลงุ
− โรงเรียนบ้านห้วยน้ำดำ ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๔
ตำบลลานข่อย อำเภอปา่ พะยอม จงั หวัดพัทลุง
− โรงเรียนบ้านถ้ำลา ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๙ ตำบล
ลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จงั หวัดพัทลุง
− โรงเรียนบ้านห้วยศรีเกษร ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ ๗
ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ปัจจุบันโรงเรียนห้วยศรีเกษรอยู่ภายใต้สังกัดของ
เทศบาลตำบลลานข่อย
๓. โรงเรยี นมธั ยมศึกษาจำนวน ๑ แห่ง ได้แก่
− โรงเรียนนิคมควนขนุนวิทยา ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ท่ี
๑ ตำบลลานขอ่ ย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพทั ลงุ
๑๔
ด้านศาสนาและวัฒนธรรม
การนับถอื ศาสนาประชาชนส่วนใหญน่ ับถือศาสนาพุทธคิด
เป็นร้อยละ ๙๗.๗๐ รองลงมานับถือศาสนาอิสลามและนับถือ
ศาสนาคริสต์ ในพื้นที่เทศบาลตำบลลานข่อยมีวัด/สำนักสงฆ์
จำนวน ๓ แห่ง ไดแ้ ก่
− วัดลานข่อย ต้ังอยู่ในพนื้ ท่ี หมู่ท่ี ๑ ตำบลลานข่อย
อำเภอป่าพะยอม จงั หวัดพทั ลุง
− วัดทุ่งชุมพล ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๓ ตำบลลาน
ขอ่ ย อำเภอป่าพะยอม จงั หวัดพทั ลุง
− สำนักสงฆ์ป่าสุรินทร์ประชาสรรค์ ตั้งอยู่ในพื้นที่
หมู่ที่ ๘ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัด
พทั ลุง
บรบิ ททางสังคม/ความเป็นอยู่
บริบททางสังคม
− ดา้ นการศกึ ษา
เทศบาลตำบลลานข่อยมีการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับ
ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศึกษา
ตอนปลาย
๑๕
▪ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลานข่อย(มาด
นั่ง)
▪ ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านทุง่ ชุมพล
▪ โรงเรยี นบา้ นลานขอ่ ย
▪ โรงเรียนบา้ นทุ่งชมุ พล
▪ โรงเรียนบา้ นหว้ ยน้ำดำ
▪ โรงเรียนบา้ นถำ้ ลา
▪ โรงเรียนบ้านห้วยศรเี กษร
▪ โรงเรยี นนคิ มควนขนนุ วทิ ยา
− ดา้ นศาสนา
เทศบาลตำบลลานข่อยมีวัดในพุทธศาสนา ๒ วัด สำนัก
สงฆ์ ๑ แหง่
▪ วดั ทุ่งชุมพล
▪ วัดลานข่อย
▪ สำนกั สงฆส์ ุรนิ ทรป์ ระชาสรรค์
− ด้านสาธารณสุข
เทศบาลตำบลลานข่อยมีโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล
๒ แห่ง
▪ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลในนิคมบา้ นลาน
ข่อย รับผิดชอบในพนื้ ท่หี ม่ทู ี่ ๑,๒, ๖, ๗
๑๖
▪ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งชุมพล
รบั ผดิ ชอบในพื้นทีห่ มู่ท่ี ๓, ๔, ๕, ๘
ความเป็นอยู่
เนื่องจากเทศบาลตำบลลานข่อยมีที่ตั้งที่อุดมสมบูรณ์
ได้แก่เทือกเขาบรรทัดที่เป็นป่าดิบชื่น ป่าดิบเขาและป่าไผ่
ประกอบด้วยไม่ปา่ หลายชนดิ เหมาะสำหรับอนุรักษ์และบำรุง และ
มีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ที่สามารถใช้ทำประโยชน์ได้หลายอย่าง
และมีน้ำใช้ตลอดทั้งปีและไม่เคยแห้งแล้ง จึงทำให้ประชากรส่วน
ใหญ่ที่อาศัยอยู่ในเทศบาลตำบลลานข่อยมีอาชีพเกษตรกร โดยมา
การกรีดยางเป็นอาชีพหลัก แต่หลังจากที่มีความเจริญเข้ามาจาก
เดิมที่ประชากรทำแต่อาชีพกรีดยางพาราเป็นส่วนใหญ่ ชาวบ้านก็
เริ่มหันมาปลูกผลไม้มากขึ้น อาทิ ทุเรียน เงาะ แก้วมังกร มังคุด
ฯลฯ และปัจจุบันหน่วยงานเกษตรอำเภอป่าพะยอมเริ่มเข้ามา
ส่งเสริมทางเลือกอื่นให้กับประชากรในตำบลลานข่อย เริ่มทำการ
แปรรปู อาหารเช่น การผลิตเครื่องแกง ทำสนิ คา้ ต่างๆให้เป็นสินค้า
OTOP ของเทศบาลตำบลลานข่อย รวมถึงการทอผ้า เป็นผ้าทอ
ลานข่อยที่ขึ้นเป็น OTOP ของตำบลอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งก็ทำให้
ประชากรในพื้นที่เทศบาลตำบลลานข่อยมีอาชีพเสริม หลังจากท่ี
กรีดยางพารา ตอนนี้เทศบาลตำบลลานข่อย เป็นเทศบาลตำบลท่ี
เติมโตขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะเริ่มมีสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นการ
ท่องเที่ยวเชิงผจญภัย คือการล่องแก่งตามสายน้ำจากเขื่อนห้วยน้ำ
ใส
๑๗
ความเชอ่ื ประเพณี และพิธีกรรม
ประเพณที ่สี ำคัญไดแ้ ก่
๑. งานวันดอกพะยอมบาน
สำนักงานเทศบาลลานข่อยมีส่วนร่วมในการจัด
งานประเพณวี ันดอกพะยอมบานของสภาวฒั นธรรมอำเภอ
ป่าพะยอม เพื่อสืบสาน อนุรักษ์มรดกไทย และภูมิปัญญา
ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่นพัทลุงกิจกรรมภายในงาน มีพิธี
ทางศาสนา การมอบโล่เกียรติคุณคนดีศรีป่าพะยอม การ
รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ การแต่งกายย้อนยุค การทำขนม
พื้นบ้านและการแต่งกายพื้นถิ่น การจัดนิทรรศการเฉลิม
พระเกียรติ นิทรรศการจากส่วนราชการและองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น การจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์
ชุมชน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน
กิจกรรมกินเท่และการประกวดธิดาดอกพะยอม โดย
กำหนดจดั ขึ้นในเดือนเมษายนของทกุ ปี
๒. วันสารทเดือนสิบเป็นความเชื่อของพุทธศาสนิกชนชาว
ปักษ์ใต้ ที่เชื่อว่าบรรพบุรุษอันได้แก่ ปู่ย่าตายาย และญาติ
พี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว หากทำความชั่ว จะตกนรก
กลายเป็นเปรต ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจีต้องอาศัยผล
บุญที่ลูกหลานอุทิศส่วนกุศลให้แต่ละปีมายงชีพ ดังนั้นใน
วันแรม ๑ ค่ำเดือนสิบ คนบาปทั้งหลายที่เรียกวา่ เปรต จึง
ถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์ เพื่อมาขอส่วนบุญจาก
๑๘
ลูกหลานญาติพี่น้องและจะกลับไปนรกในวันแรม ๑๕ ค่ำ
เดือน ๑๐
๓. งานของดลี านขอ่ ย จะจดั ข้นึ ในชว่ งเดอื นสงิ หาคมของทุกปี
งานของดีลานข่อย เป็นการจัดงานของเทศบาล
ตำบลลานข่อยที่ได้จัดขึ้นเองเพื่อเป็นการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว ของตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัด
พัทลุง ให้ได้เป็นที่รู้จัก ซึ่งได้จัดเป็นครั้งที่ ๑๐ ในปี
พทุ ธศักราช ๒๕๖๓
๔. งานวันกตัญญูและรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ จะจัดขึ้นในช่วง
เดือนเมษายนของทุกปี
พธิ กี รรม
ด้านพิธีการทางศาสนา คือ นาย สมหมาย ท่องคง มี
ความรู้ความสามารถด้านพิธีการทางศาสนา พิธีการตั้งศาลพระภูมิ
เจ้าที่
๑๙
สว่ นท่ี ๓ โครงสรา้ งเศรษฐกจิ และอาชีพ
แหลง่ ทุนทางธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ มีป่าไม้บางสว่ นในเขตอุทยาน
แห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า ในพื้นที่รอยต่อของหมู่ที่ ๕ กับแนวภูเขา
บรรทัดซึ่งเชื่อมต่อกับจังหวัดตรัง และจังหวัดนครศรีธรรมราช
ยงั คงมคี วามอุดมสมบูรณ์ คอื อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส ในพื้นท่หี มู่ท่ี ๓,
๕, ๙
แหลง่ อาหาร
❖ แกงนำ้ เคยยอดหวาย
น้ำเคย หรือ เคยปลา คือ กะปิที่ทำมาจากปลา เป็นการ
ถนอมอาหารอีกวิธีหนึง่ ของคนพัทลงุ โดยการเอาปลานำ้ จืดตัวเลก็ ๆ
๒๐
เช่น ปลาซิว ปลาขาว ปลากระดี่ มาทำความสะอาด แล้วคลุกเคล้า
กับเกลือ หมักทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ขึ้นไป นำไปตากแดดแล้วโขลกให้
ละเอียด เก็บไว้โดยการอัดไว้ในไห หรือ ทำเป็นก้อนกลม ใส่ใน
ถุงพลาสติก เคยปลาพัทลุง ขึ้นชื่อเรื่องความหอมและอร่อย ทำให้
แกงน้ำเคยของพัทลงุ มกี ล่นิ หอมมาก
❖ ปลาดกุ ร้า
ปลาดุกร้าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในการถนอมอาหารของ
ชาวใต้ที่มีมาแตโ่ บราณ นับ 100 ปี โดยเดิมนั้นชาวบ้านจะนำปลา
ดุกธรรมชาติจากทะเลน้อยมาทำเป็นหลัก ขณะที่ปัจจุบันปลาส่วน
ใหญ่ที่นำมาทำปลาดุกร้าจะเป็นปลาดุกเลี้ยง เนื่องจากปลาใน
ธรรมชาติไม่เพียงพอต่อความต้องการของท้องตลาด ปลาดุกร้ามี
ลักษณะคล้ายปลาเค็ม แต่มีรสชาติเฉพาะตัวที่แตกต่างคือ มีรสเค็ม
ปนหวานและมีกลน่ิ หมัก เมื่อนำไปทอดหรือย่างปลาดุกร้าจะมีกล่ิน
๒๑
หอมชวนกิน ยิ่งบีบมะนาว กินกับเครื่องเคียงอย่างพริก หอม ซอย
จะยิง่ เพ่ิมรสชาติของปลาดกุ ร้าให้อรอ่ ยยิ่งข้นึ
ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน ของดี ของขึ้นช่อื
− หตั ถกรรมงานไม้ ลานขอ่ ย
❖ ประวตั คิ วามเป็นมา
จากการที่ชาวบ้านได้มาพูดคุยปรึกษาหารือกันเพื่อที่จะ
สร้างรายได้เสริมอาชีพ จากการทำสวนยางและได้ช่วยกันคิดดูว่า
ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมีอะไรบ้าง จึงสรุปได้ว่าต้นกระถินเทพา
เป็นต้นไม้ที่หาได้ง่ายและมีอยู่ในชุมชน จึงคิดที่จะนำต้นกระถิน
เทพา มาแปรรูปเป็น แจกันไม้ ซึ่งเป็นของที่ระลึกที่สามารถหาได้
ทุกโอกาส
❖ ทต่ี ั้ง
บ้านเลขที่ 151 หมู่ที่ 2 ตำบลลานข่อย อำเภอป่า
พะยอม จงั หวดั พทั ลงุ 93210
❖ มาตรฐานและรางวัลทไ่ี ดร้ บั
๑. ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน 4 ดาว
๒. วสิ าหกจิ ชุมชน
❖ อตั ลกั ษณ(์ เอกลักษณ)์ /จดุ เดน่ ของผลติ ภัณฑ์
๑. ทนทาน
๒. มีความแปลกใหม่ในผลติ ภัณฑ์
๒๒
๓. เป็นของที่ระลกึ ทมี่ ีคุณค่า
๔. ไม้ที่ใช้ในการผลิตเป็นไม้มงคล คือ ไม้กระถินเทพา คำว่า
“เทพา” คอื มเี ทพารกั ษ์คุม้ ครอง
๕. ราคาไมแ่ พง
๖. ผลิตภัณฑม์ คี ุณภาพ
๗. มีรปู แบบผลติ ภัณฑ์ให้เลอื กมากมาย
แจกนั ไม้แบบท่ี ๑ แจกนั ไม้แบบท่ี ๒
๒๓
แจกันไมแ้ บบท่ี ๓ แจกนั ไมแ้ บบที่ ๔
− ผ้าทอนิคมลานข่อย
❖ ประวตั ิความเป็นมา
ปี พ.ศ.2545 ได้มีการจัดตั้ง กลุ่มทอผ้านิคมลานข่อย ขึ้น
ตามโครงสร้างชีวิตใหม่สตรีชนบท โดยกรมพัฒนาสังคมและ
สวัสดิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้
จัดสรรงบประมาณให้กับกลุ่มนิคมสร้างตนเองควนขนุน จังหวัด
พัทลุง ให้มีการจัดอบรมทอผ้าให้กับสมาชิก จำนวน 25 คน ต่อมา
ในปี พ.ศ.2546 นิคมสร้างตนเองควนขนุน ได้ขอสนับสนุน
วิทยากรโดยมีอาจารย์ สุพรรณสาร โพธิ์ประเสริฐ มาช่วยฝึกอบรม
จากส่วนอุตสาหกรรมสิ่งทอ สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เกี่ยวกับเรื่อง
เทคนิคการทอผ้าด้ายประยุกต์แบบพัฒนา จนสมาชิกกลุ่มมีความรู้
ในการทอผา้ และพฒั นาฝมี อื จนไดช้ ิ้นงานที่ออกมาสวยงามมีคุณค่า
๒๔
❖ ทตี่ ้งั
กลุ่มทอผ้านิคมลานข่อย 300/2 หมู่ 1 บ้านลานข่อย
ตำบลลานขอ่ ย อำเภอปา่ พะยอม จังหวัดพทั ลุง 93110
❖ อตั ลกั ษณ์ / จดุ เด่นของผลติ ภัณฑ์
๑. เน้ือผา้ แนน่
๒. เสน้ ไยมีคณุ ภาพ
๓. ลวดลายสวยงาม คงทน สวมใส่สบาย ระบายความร้อนได้
ดี
๔. สีสันสดใส
๕. ดูแลรกั ษางา่ ย
๖. ใสไ่ ดท้ ุกโอกาส ทุกสถานการณ์
๗. ราคาไม่แพง เปน็ ท่ตี ้องการของตลาด
๘. มลี าย เปน็ เอกลกั ษณข์ องตวั เอง
๒๕
ผา้ ทอยกดอก
− กลุ่มเคร่ืองแกง
กลุม่ เคร่อื งแกงบา้ นห้วยเรียน ต้งั อยู่หมู่ที่ ๔ บา้ นหว้ ยเรียน
ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง มีสมาชิกในกลุ่ม
ทั้งสิ้น ๗ คน โดยมีนางสาวดารารัตน์ ด้วงช่วย อายุ ๔๑ ปี เป็น
ประธานกลมุ่ การจัดตั้งกลุ่มมาจากแนวคิดของการทำกินกันภายใน
หมู่บ้าน และช่วยกันทำอาหารในงานบุญต่างๆ ซึ่งกลุ่มนี้รวมตัวกัน
ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ สมาชิกในกลุ่มจะรวมตัวกันอย่างน้อย
อาทิตย์ละ ๑ ครง้ั ช่วงวันหยดุ สัปดาหห์ ลงั จากการทำยางพารา
๒๖
การรวมกลุ่มเครอ่ื งแกงนี้เป็นการผลติ เครื่องแกงแบบตำมือ
พร้อมปรุงและปลอดสารพิษ อีกทั้งสามารถเก็บได้นานถึง ๓ เดือน
เนื่องจากส่วนผสมในการทเครื่องแกงต่างๆ ทั้งเน้นคุณภาพและ
ความสดใหม่ของวัตถุดิบที่นำมาเป็นส่วนผสม พืชสวนครัวเหล่าน้ัน
ปลกู กนั เองของสมาชิกในกลุ่ม พืชสวนครวั ทเ่ี กบ็ มาใหม่ๆสดๆ ไม่ใช่
ยาฆ่าแมลงและสารเคมีใดใด ผลิตภัณฑ์เครื่องแกงที่ผลิตนั้นเป็น
เครื่องแกงสำหรับกะทิ แกงพริก แกงคั่ว ส่วนใหญ่ใช้ประกอบ
อาหารภายในหมู่บ้าน
สถานภาพทางเศรษฐกจิ ของประชาชน
1) หนว่ ยธุรกิจท่สี ร้างเศรษฐกิจใหก้ ับชมุ ชน
− การทอ่ งเท่ยี ว
๒๗
➢ อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส ตั้งอยู่ใน หมู่ที่ ๓
หมู่ที่ ๕ และหมู่ที่ ๙ ตำบลลานข่อย
อำเภอปา่ พะยอม จงั หวัดพทั ลงุ
➢ น้ำตกหนานปลิว ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๙
ตำบลลานขอ่ ย อำเภอปา่ พะยอม จังหวดั
พัทลงุ
➢ ลอ่ งแกง่ หนานมดแดง ตัง้ อยูใ่ นพ้นื ที่ ม.๑
ตำบลลานขอ่ ย อำเภอปา่ พะยอม จงั หวัด
พทั ลุง
➢ ล่องแก่งหนานท่าส้าน ตั้งอยู่ในพื้นที่
ตำบลลานขอ่ ย อำเภอปา่ พะยอม จงั หวดั
พัทลุง
➢ ล่องแก่งชมดาว ตั้งอยู่ในพื้นที่ ๖/๑ ม.๑
ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จงั หวดั
พัทลุง
− การพาณิชย์
➢ โรงแรม/รีสอร์ท จำนวน ๓๓ แห่ง ตั้งอยู่
ในพื้นที่ หมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๓ ตำบล
ลานขอ่ ย อำเภอปา่ พะยอม จงั หวดั พัทลุง
− ปัม๊ น้ำมนั
➢ ปั๊มน้ำมันจำนวน ๖ แห่ง ตั้งอยู่ในพื้นท่ี
หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๓ หมู่ที่ ๖ และหมู่ที่ ๘
๒๘
ของตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม
จงั หวัดพทั ลุง
− อตุ สาหกรรม
➢ โรงรมยาง/โรงเครปยาง จำนวน ๕ แห่ง
ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๓ หมู่ที่ ๖ และหมู่ท่ี
๗ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม
จงั หวัดพทั ลุง
๒๙
ส่วนที่ ๔ สถานทสี่ ำคัญๆ
แหลง่ ท่องเท่ียว
แหล่งท่องเที่ยวในเทศบาลตำบลลานข่อยส่วนใหญ่จะเป็น
แหล่งทอ่ งเทยี่ วแบบก่ึงผจญภยั นับว่าเป็นรปู แบบการท่องเทยี่ วแรก
ของตำบลลานข่อยที่เริ่มขึ้นตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ กิจกรรม
การล่องแก่งที่เกิดจากการใช้ประโยชน์จากสายน้ำที่ไหลจากอ่าง
เก็บน้ำห้วยน้ำใส นอกจากจะมีสถานที่ล่องแก่งหลายแห่งแต่ทาง
ตำบลลานข่อยยังมีน้ำตกที่นับว่าเป็นสถานที่ประวัติศาสตร์ก็ว่าได้
เพราะตำบลลานข่อยเคยมีนักศึกษาที่อยู่ฝั่งคอมมิวนิสต์มาตั้งค่าย
อยูอ่ าศัย
❖ ลอ่ งแกง่ หนานมดแดง
ล่องแก่งหนานมดแดง ตง้ั อยทู่ ี่ ม.1 ต.ลานขอ่ ย อ.ปา่ พะยอม จ.
พัทลุง เป็นทุนเดิมทางธรรมชาติที่มีอยู่แล้วนำมาประยุกต์กับ
แนวคิดท่ีตกผลึกจากการที่ได้ไปสัมผัสกับแหล่งท่องเทีย่ วล่องแก่งใน
พื้นที่อื่นๆแล้วนำกลับมาปรับใช้กับหนานมดแดงจนก่อเกิด "ล่อง
แก่งหนานมดแดง" ขน้ึ ในปัจจบุ ัน
๓๐
นายโยธิน เขาไข่แก้ว อายุ 50 ปี อดีตเกษตรอำเภอเหนอื
คลอง จ.กระบี่ ในฐานะผู้จัดการล่องแก่งหนานมดแดง กล่าวว่า
หลังเออรี่ตนตั้งใจกลับมาอยู่บ้าน เพื่อดูแลมารดาที่มีอายุมากแล้ว
ประกอบกับตนต้องการนำทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงของ "
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ " มาปรับใช้ในพน้ื ที่ เพอ่ื เป็นการนำ
ร่องให้กบั ชาวบ้านในชมุ ชน เป็นการสำนกึ รักบา้ นเกดิ ท่ีต้องทดแทน
บุญคุณแผ่นดิน หลังดำเนินการกิจกรรมด้านการเกษตรแล้วเสร็จ
งานชิ้นต่อไปก็คือสำรวจลำคลองซึ่งอยู่หลังบ้าน ทั้งนี้ตนตั้งใจที่จะ
ทำเป็นล่องแก่ง เนื่องจากมีทุนเดิมทางธรรมชาติที่สมบูรณ์
โดยเฉพาะอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส ซึ่งเป็นตัวหลักในการกำหนด
กิจกรรมล่องแก่งทั้งหมด เพราะล่องแก่งที่นี่ไม่ต้องคำนึงถึงฤดูกาล
ต่างๆนกั ทอ่ งเท่ียวสามารถมาพกั ผ่อนไดต้ ลอดท้งั ปี
๓๑
❖ น้ำตกหนานปลวิ (หนานสวรรค)์
น้ำตกหนานปลิวตงั้ อย่ใู นหมทู่ ี่ ๙ ตำบลลานข่อย อำเภอป่า
พะยอม จังหวัดพัทลุง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอป่าพะยอม ๓๑
กิโลเมตร เป็นน้ำตกที่มีความสูง ๗ ชั้น ชั้นสูงสุดเป็นพื้นที่ราบมีป่า
ละเมาะ และภายใต้การดูแลของหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขา
ปู-่ เขายา่ ทีข่ ป.๙ (สวนเจา้ เย็น) กรมอทุ ยาแห่งชาติ สตั ว์ป่าและพันธ์
พืชเป็นพื้นที่ของเขตอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ซึ่งอุทยาเขาปู่-
เขาย่าครอบคลุมพื้นที่ของจังหวัดพัทลุง ตรัง และนครศรีธรรมราช
โดยครอบคลมุ พื้นที่ของจงั หวัดพัทลงุ จำนวน ๑๖๖,๗๖๐ ไร่
แต่เดิมบริเวณชั้นบนของน้ำตกหนานปลิวเคยเป็นท่ีต้ังของ
กองทัพปลดเอกแห่งประเทศไทย หรือชาวบ้านเรียกว่า ค่าย
คอมมิวนิสต์ ๐๓ โดยเฉพาะชั้นที่ ๗ เป็นฐานที่ตั้งคอมมิวนิสต์และ
เป็นที่อยู่อาศัย ส่วนบริเวณของน้ำตกชั้นที่ ๔ นั้นเคยเป็นที่ตั้งของ
โรงหมอสำหรับรักษาผู้ป่วยและมีการบอกเล่าว่า หากผู้หญิงที่ต้ัง
๓๒
ครรภใ์ กล้คลอด จะมีการพามาให้อยู่ในพื้นท่ีนี้ เม่ือคลอดลูกแล้วจะ
กลับไปอยู่บนชั้นที่ ๗ ต่อไป เมื่อหลายปีการยังคงหลงเหลือขวดยา
และโรงเรือนให้เห็น หากแต่ปัจจุบันนั้นมีต้นไม้ปกคลุมอย่าง
หนาแน่น และมีเพยี งแต่สภาพของการปรับพ้นื ท่ีให้ราบเพื่อตงั้ เต็นท์
ใหเ้ ห็นเท่านน้ั
สภาพพื้นที่ของน้ำตกหนานปลิว เป็นน้ำตกที่เกิดจาก
เทือกเขาบรรทัด โดยน้ำตกลงมาจากหน้าผาลดหลั่นกันลงมาเป็น
ชั้นๆไหลลงสู่คลองน้ำใสและลงคลองชะอวด มีน้ำตลอดทั้งปี
เหมาะสมสำหรบั นกั ท่องเทยี่ วท่ชี อบปนี เขาเดนิ ทางไกล สภาพพื้นท่ี
โดยรอบมคี วามสวยงามทีแ่ ตกต่างกันไป กลา่ วคือ
ชั้นที่ ๑ เป็นบริเวณที่ถัดจากที่ตั้งของหน่วยพิทักษ์อุทยาน
เขาปู่-เขาย่าที่ขป.๙(สวนเจ้าเย็น) จะเป็นสายน้ำตกที่ไหลยาวมา
จากชั้นที่ ๒ มีพื้นที่ลาดสำหรับนั่งพักผ่อนหย่อนใจ และเล่นน้ำโดย
ปลอดภยั
ชัน้ ที่ ๒ เป็นชน้ั ท่มี ีจดุ เด่น คือ เปน็ ชั้นท่ีเป็นหน้าผารับสาย
น้ำตกสายน้ำไหลตกลงมาจากชั้นที่ ๑ เหมาะเป็นจุดถ่ายรูปกับ
ความสวยงานของ พื้นที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเล่นน้ำเนื่องจากหิน
เยอะและมีความลืน่ มาก
ชั้นที่ ๓ เป็นขั้นที่เป็นแอ่งน้ำเล็ก ถัดจากบริเวณหน้าผาที่
เป็นทางไหลของน้ำตกชั้นที่ ๒ จึงจำเป็นต้องระมัดระวังความแรง
จากกระแสนำ้
๓๓
ชั้นที่ ๔ และชั้นที่ ๕ เป็นชั้นที่เหมาะแก่การเล่นน้ำมาก
ทีส่ ุด เปน็ พ้นื ทท่ี ีไ่ ม่ลาดชนั มแี อ่งนำ้ ใหญ่ เลก็ มบี ริเวณกวา้ งขวา้ ง
ช้ันท่ี ๖ และชน้ั ท่ี ๗ เป็นพ้นื ทลี่ าดชนั สลบั กับพน้ื ท่ีราบ ซ่ึง
ที่ล่องรอยของค่ายคอมมิวนิสต์หลงเหลืออยู่มีพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์
สามารถเดินทางขึ้นไปได้สองเส้นทางของชั้นน้ำตกและเดินทางโดย
ผ่านพื้นป่าขึ้นไป บริเวณทั่วไปของน้ำตกหนานปลิว มีป่าไม้ที่อุดม
สมบูรณ์ มีพันธุ์ไม้นานาชนิด อาทิเช่น ว่านนงคราญ ต้นพลู เฟิร์น
มหาซัดดัม (เฟิร์นประเภทที่ใหญ่ที่สุดในโลก) กล้วยไม้ป่า เป็นต้น
โดยเฉพาะช่วงเดือนเมษายนของทุกปียังเป็นช่วงเวลาที่มีดอกไม้
บริเวณน้ำตกออกดอก ทำให้น้ำตกหนานปลิวมีความสวยงามมาก
ยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังมีพันธ์ปลาในน้ำตกอีกด้วย เช่น ปลาไคร้หิน
ปลาอวด และปลากลัง้ เปน็ ต้น
๓๔
ในช่วงปีพุทธศักราช ๒๕๓๗-๒๕๓๘ มีการพัฒนาพื้นที่บริ
เวรน้ำตกหนานปลิวโดยชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ของหน่วยพิทักษ์
อุทยานเขาปู่-เขาย่าที่ขป.๙ (สวนเจ้าเย็น) ได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่
ของน้ำตก เช่น ถางหญ้า ปรับปรุงพื้นทีท่ างข้ึนลงน้ำตก สร้างศาลา
ทพ่ี กั บริเวณอุทยาน การทำท่ีน่ังบริเวณชนั้ ที่ ๒
ในบริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานเขาปู่-เขาย่า ที่ขป.๙ (สวน
เจ้าเย็น) มีการจัดพื้นที่ในการจัดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์
แสงอาทิตย์ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ โครงการนี้สำหรับพื้นที่ที่ไม่มี
กระแสไฟฟ้าใช้หรือสถานที่ทอ่ งเทยี่ วในพื้นที่จังหวัดพัทลุง
การเดินทางไปสู่น้ำตกหนานปลิวนั้น สามารถเดินทางด้วย
รถยนต์ผ่านบ้านถ้ำลา หมูที่ ๙ บ้านควนยาว ต้องเดินทางต่อไป
น้ำตกหนานปลิวอีก ๗ กิโลเมตร แต่เป็นเส้นที่ขรุขระบ้าง โดยใช้
เวลาประมาณ ๓๐ นาที เมื่อมาถึงบริเวณของหน่วยพิทักษ์อุทยา
แห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ที่ขป.๙ (สวนเจ้าเย็น) ต้องใช้การเดินทาวเขา้
สู่บริเวณนำ้ ตก
❖ อา่ งเก็บนำ้ ห้วยนำ้ ใส
อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใสเป็นหนึ่งในการดำเนินงานภายใต้
โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มแม่น้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๕ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
เปน็ เขตตดิ ต่อกับอำเภอชะอวด จงั หวัดนครศรีธรรมราช และรัษฎา
จังหวัดตรัง โครงการนี้เริ่มก่อสร้างเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ การ
๓๕
ก่อสร้างเสร็จสิ้นตามโครงการในปีพุทธศักราช ๒๕๓๘ ใช้เวลาใน
การก่อสร้าง ๕ ปี ลักษณะตัวเขื่อนดินชนิด “ZONE TYPE” เป็น
พื้นที่กักเก็บน้ำเพื่อส่งน้ำไปช่วยเหลือพื้นท่ีเพาะปลูกในเขตพื้นที่ ๓
ตำบลได้แก่ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง ตำบล
เกาะขันธ์และตำบลชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราชนอกจากนั้นยัง
เป็นการป้องกันและบรรเทาปัญหาน้ำเค็มเนื่องจากน้ำทะเลในฤดู
แล้ง และที่สำคัญที่สุดยังเป็นแหล่งน้ำสำหรับอุปโภคบริโภคให้กับ
ประชาชนในพื้นที่ อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใสน้ีได้รับน้ำมาจากคลองห้วย
น้ำใส ครองในเตา คลองท่ามุด หว้ ยรำพนั ห้วยสวนเจา้ เยน็ ห้วยถ้ำ
ลา ทำให้เกิดทัศนียภาพที่สวยงามเป็นทะเลสาบกลางหุบเขา
เนื่องมาจากความเดือดร้อนของประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง
จากสภาพดินที่มีปัญหาจากการที่ใช้ประโยชน์ที่หลากหลายแบบ
เค้นทำลายเป็นผลให้นิเวศแหล่งน้ำขาดสมดุล เกิดปัญหาน้ำเค็มรุก
จากการขาดแคลนนำ้ จืดมีน้ำเปรยี้ วจากป่าพรุได้กระจายและน้ำเสีย
จากพื้นที่นากุ้งแปลงเกษตรกรและแหล่งชุมชนและเกิดน้ำท่วมใน
ระดบั สงู และยาวนานจึงมีการดำเนินงานในโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีลุ่ม
น้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการ เก็บกักน้ำ
ไว้ใช้ทางการเพาะปลูกและการเกษตรอื่นๆในช่วงฤดูแล้งเพื่อการ
อุปโภคบริโภคในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำปากพนังและเพื่อบรรเทาน้ำท่วม
ปอ้ งกนั น้ำเคม็ รวมทงั้ พัฒนาส่งเสรมิ อาชพี ประชาชน
๓๖
❖ ลอ่ งแกง่ ชมดาว
ตั้งอยู่ 6/1 ม.1 ต.ลานข่อย อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุงอยู่ใน
เขตตำบลลานข่อย อำเภอป่าละอู จ.พัทลุง ทางรีสอร์ทจะเตรียม
เรือคายัค เสื้อชูชีพและหมวกกันน็อคไว้ให้ แล้วพาเราขึน้ รถกระบะ
ไปยังจุดสตาร์ท บริเวณ อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส จากนั้นค่อยๆ ปล่อย
ตัว ล่องไปตามคลองห้วยน้ำใส ระยะทางประมาณ 6.5 กิโลเมตร
ใช้เวลาประมาณ 2 ช่ัวโมง เรือคายัคนั่งได้ 2 คน แม้นักท่องเที่ยว
จะต้องพายเอง แต่ก็ไม่ต้องกังวลเพราะแต่ละจุดมีสตาฟคอยดูแล
อยา่ งใกล้ชิด เดน่ ของการล่องแก่งในเขตอำเภอป่าพะยอมแห่งนี้ คือ
น้ำใสสะอาด ล่องแก่งไปตามคลองธรรมชาติ ป่าไม้ยังคงอุดม
สมบูรณ์ น้ำไม่แรง ไม่อันตราย เด็ก 7 ขวบขึ้นไปเล่นได้สบายๆ
ช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการล่องแก่งคือ ช่วงเช้า เริ่มตั้งแต่ 08.30
น. ไปจนถึงตอนเย็นประมาณ 16.00 น. ถ้าจะใหด้ ีควรล่องชว่ งเช้า
หรอื ไม่ก็ตอนเยน็ เพราะตอนกลางวนั แดดคอ่ นขา้ งแรง นอกจากจะ
๓๗
ได้สนุกสนานกับการล่องแก่งแล้ว ที่นี่ยังมีห้องพักทั้งหลังเล็กหลัง
ใหญ่ พักได้ 2-3 คน ไปจนถึงห้องใหญ่พักได้ 12 คน และยังมีห้อง
ประชมุ สมั มนา รองรับกรปุ๊ ทวั รไ์ ดม้ ากกวา่ 120 คน
❖ ล่องแก่งหนานท่าสา้ น
"หนานท่าส้าน" ตั้งอยู่ที่ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม
จังหวัดพัทลุง แถวนี้ป่าไม้ภูเขาสมบูรณ์มาก และอุดมไปด้วยแหล่ง
นำ้ มนี ำ้ ตกอยหู่ ลายแห่ง ซึง่ หน่งึ ในนั้นคือ นำ้ ตกหนานสวรรค์ มาไม่
ไกลเลยจรงิ ๆ จากตัวจงั หวดั ประมาณ 50 กิโลเมตร และจากทะเล
นอ้ ยเพยี ง 30 กิโลเมตร
อาจเรียกได้ว่าเป็น Unseen เพราะคนรู้จักยังน้อย รีบไปกันให้
ด่วน จะได้เล่นน้ำกลางพนาแบบไม่มีฉิ่งฉาบทัวร์ น้ำยังใสสะอาด
และมีล่องแก่งด้วยที่บริเวณใตเ้ ขื่อนคลองนำ้ ใส หรอื อา่ งเก็บน้ำห้วย
๓๘
น้ำใส ซึ่งเป็นกลุ่มท่องเที่ยวล่องแก่งเชิงอนุรักษ์ โดยใช้เรือคายัค
พายล่องไปตามลำคลองระยะทาง 6.5 กิโลเมตร จะใช้เวลา
ประมาณ 2 ชั่วโมง ระหว่างการพายเรือล่องแก่งก็จะได้เห็นความ
อดุ มสมบูรณ์ของธรรมชาติสองฝัง่ ไปดว้ ย ยง่ิ ไปกวา่ น้นั กค็ อื น้ำในลำ
คลองค่อนข้างใสสะอาด มองเห็นใต้น้ำใสแจ๋ว ทั้งปลา โขดหิน และ
สาหรา่ ย
ระยะทางขึน้ ฝง่ั ตามจุดต่างๆ จะมีหนานมดแดง และหนาน
ท่าส้าน ซึ่งจัดความยากง่ายของการล่องแก่งที่นี่ไว้เป็นระดับ 3
เท่านั้น คือเน้นความสนุกสนานและเรียนรู้ธรรมชาติของสายน้ำ ซึ่ง
ไม่ยากนัก เด็กโตก็พายได้แต่ต้องว่ายน้ำเป็น และควรเป็นเด็กโต
จริงๆ ไม่ใช่เด็กประถมต้นตัวเล็กๆ แต่ระหว่างการล่องแก่งโดยเรือ
คายัค 2 ที่นั่งไปตามลำน้ำ ก็จะมีสทาฟคอยดูแลด้วย การเลือกใช้
บริการก็ควรเลือกบริษัทที่เชื่อใจได้ และมีความชำนาญในพื้นท่ี
เพราะท่นี ี่แมจ้ ะเพิ่งเป็นที่รู้จัก แตค่ นพืน้ ที่และจงั หวัดใกล้เคียงก็เข้า
มาใช้บริการกันพอสมควรแล้วหลังจากเปิดให้บริการมาตั้งแต่
ประมาณปี 2552 โดยชมรมลอ่ งแกง่ ลานขอ่ ย
๓๙
ศาสนสถานของทกุ ศาสนา
การนบั ถอื ศาสนาประชาชนสว่ นใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิด
เป็นร้อยละ ๙๗.๗๐ รองลงมานับถือศาสนาอิสลามและนับถือ
ศาสนาคริสต์ แต่ในพื้นที่เทศบาลตำบลลานข่อยมีวัด/สำนักสงฆ์
จำนวน ๓ แหง่ ไดแ้ ก่
1. วัดลานข่อย ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๑ ตำบลลานข่อย
อำเภอปา่ พะยอม จังหวัดพัทลงุ
วัดลานข่อย ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๑ ตำบลลานข่อย อำเภอป่า
พะยอม จังหวัดพัทลุง เป็นวัดแรกในตำบลลานข่อย โดยหลวงพ่อ
พร้อม อิสสวณ โณ เป็นผู้ก่อตั้งวัดลานข่อยและเป็นเจ้าอาวาสคน
แรกของวัด แต่เดิมวัดลานข่อยนั้นมีฐานะเพียงเป็นสำนำสงฆ์ชื่อว่า
สำนักสงฆ์ลานธรรมขันธ์ ตั้งแต่ปี ๒๕๔๓ และได้เปลี่ยนสถานะเปน็
๔๐
วัดลานข่อยเมื่อปี ๒๕๐๕ วัดนี้ถือได้ว่าเป็นแหล่งรวมใจของ
ชาวบ้านในตำบลลานข่อย และมีความสำคัญต่อวิถีชีวิตของ
พุทธศาสนิกชนในชุมชนเป็นอย่างมาก วัดตั้งอยู่ในแหล่งชุมชน มี
ร้านค้า บ้านเรือน โรงเรียน และสถานที่ราชการสำคัญใกล้เคียง
ภายในวัดมีพื้นที่เป็นลานกว้าง มีอาคารและโรงเรือนสำหรับ
ประกอบศาสนพิธีต่างๆ อุโบสถ หรือเรียกสั้นๆว่า โบสถ์ เป็น
สถานที่สำคัญภายในบริเวณวัดลานข่อย เป็นสถานที่สำหรับ
พระภิกษุสงฆ์ใช้ทำสังฆกรรม แม้ว่าเป็นโบสถ์จะถูกสร้างขึ้นใหม่
หากแต่เป็นแหล่งรวมใจของชาวพุทธในตำบลลานข่อย อีกทั้งยัง
ภายหลังหลวงพ่อพร้อม มรณภาพไปแล้วนั้น ด้วยแรงศรัทธาของ
ชาวบ้านตำบลลานข่อยจึงร่วมกันสร้างรูปเหมือนขอ งหลว งพ่ อ
พร้อมไว้เพื่อกราบไหว้บูชาในเขตบริเวณวัดด้วย และชาวบ้านได้
กล่าวขานเร่ืองความศกั ดิ์สิทธ์ิของหลวงพ่อพร้อมหลังจากมรณภาพ
ในเรื่องการบนบานสานกล่าว หรือที่เรียกว่า บนรับ จึงทำให้มักมี
ชาวบ้านมากราบไหว้เพื่อบนบาน และมากราบไหว้เพื่อแก้บนตาม
คำขอบนของแต่ละคน อาทิ เช่น น้ำหวาน ผลไม้ และจุดประทัด
เป็นต้น และ ยังมีรูปเหมือนของปลัดเอื้อง ทีปโก อดีตเจ้าอาวาส
ของวัด ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๕๑ สร้างไว้เพื่อให้ชาวบ้านกราบ
ไหว้บูชาเช่นกัน ประวัติของหลวงพ่อพร้อม อิสสวณ โณ ท่านเป็น
ชาวนครศรีธรรมราช เดิมเป็นเจ้าอาวาสอยู่ที่วัดคลองแดน ตำบล
รามแก้ว อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระที่เก่งเป็น
ผู้บุกเบิกการสร้างวัดหลายแห่ง เช่น ในปี ๒๕๐๐ ท่านได้ไปสร้าง
บ้านธรรมรัตน์ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปัจจุบัน
๔๑
เป็นวัดธรรมรัตน์ และในปี ๒๕๐๕ ทา่ นไดม้ าสร้างวัดลานข่อย ก่อน
จะกลับไปทีวัดธรรมรัตน์และมรณภาพที่นั่นในปี ๒๕๕๗ เนื่องจาก
เป็นพระรูปแรกที่มาสร้างวัดและเป็นเจ้าอาวาสของวัดลานข่อย
ชาวบ้านไดใ้ ห้ความเคารพนบั ถือกราบไหว้ อกี ทงั้ มกี ารกล่าวขานว่า
ทา่ นเป็นพระที่มีวาจาสทิ ธิ์
2. วัดทุ่งชุมพล ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๓ ตำบลลานข่อย
อำเภอปา่ พะยอม จงั หวัดพทั ลงุ
ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ ๓ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวดั
พัทลุง บริเวณภายในวัดทุ่งชุมพลนี้มีการสร้างศาลาตาหมื่นเกล็ด -
ยายนาง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ภายในศาลามีรูปปั้นของตาหมื่น
เกล็ดและยายนาง ชาวบ้านเชื่อว่า ตาหมื่นเกล็ดเป็นงู และยายนาง
เป็นเสือ รูปปั้นของตาหมื่นเกล็ดยายนางนี้สร้างขึ้นจากจินตนาการ
รูปร่างหน้าตาเมื่อกลายเป็นคน ชาวบ้านมีความเชื่อในเรื่องการบน
บานศาลกล่าวกับตาหมื่นเกล็ดและยายนางว่าหากขอสิ่งใดก็จะ
๔๒
สมหวัง หากทรัพย์สินหายก็จะได้คืน เมื่อก่อนนั้นมักจะมีชาวบ้าน
มาบนบานเมื่อมีวัวหรือควายหาย ชาวบ้านก็มักจะมากราบไหว้
ขอให้พบควาย สิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งของวัดทุ่งชุมพลนั้น คือ
อภิมหาโพน ซึ่งถูกทำจากไม้ต้นตะเคียนที่ล้มในป่าแถบเทือกเขา
บรรทัด ด้วยความร่วมมือร่วมแรงของชาวบ้านจึงได้มีการสร้างเป็น
ตะโพนขนาดใหญต่ ามความเหมาะสมกับความศักดิ์สิทธ์ิของพันธ์ุไม้
ตะเคียนสามพอน การสร้างตะโพนขนาดใหญ่นี้เพื่อเป็นสิริมงคล
เสริมบารมี สะเดาะเคราะห์ ใหแ้ กช่ าวพุทธศาสนิกชน ชาวบ้านจึงมี
ความเชื่อว่า การเคาะหรือตีอภิมหาโพนนี้ จะเป็นการเสริมบารมี
เสริมดวง มั่งคั่งเงินทอง มั่งมีศรีสุข ด้วยลาภ ยศ สติปัญญา และ
ความดงี ามเสมือนเสยี งของมหาโพนตลอดไป
3. สำนักสงฆ์สุรินทร์ประชาสรรค์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ ๘
ตำบลลานขอ่ ย อำเภอป่าพะยอม จงั หวัดพัทลงุ