The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จังหวัดราชบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wdoae2015, 2022-11-21 23:13:24

รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จังหวัดราชบุรี

รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จังหวัดราชบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กลมุ่ พฒั นำบคุ คลำกร 48

โครงกำรพฒั นำนักสง่ เสริมกำรเกษตร
มืออำชพี ประจำปี 2565

โครงการพัฒนานักส่งเสริมการเกษตรมืออาชีพ
เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห น่ึ ง ท่ี ก ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เ ก ษ ต ร
ให้ความสาคัญ ในการพัฒนานักส่งเสริมการเกษตร
เน้นการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรียนรู้
จ า ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ( Learning by Doing)
โดยให้ผู้เข้ารับการอบรมเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
มีเน้ือหาวิชา ท่ีสอดคล้องกับความต้องการ และสามารถ
ออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมท้ังเป็นการส่งเสริม
ให้ส่งต่อประสบการณ์แบบ “พ่ีสอนน้อง” (Coaching)
เพ่ือทาให้เกิดทีมงานท่ีเข้มแข็ง ส่งต่อองค์ความรู้จาก
ผู้มีประสบการณ์ไปสู่บุคลากรที่เริ่มต้นการปฏิบัติหน้าท่ี
ให้เร็วท่ีสุด ส่งผลให้นักส่งเสริมการเกษตรเป็นท่ียอมรับ
และสามารถปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรให้บังเกิดผล
และนาไปส่กู ารเปน็ DOAE Officer

ผลผลิต (Outp u t )
ผู้ผ่า น ก า ร อ บ ร ม จา น ว น 3 1 ร า ย ซึ่ง ไ ด้รับ ค ว า ม รู้ ทัก ษ ะ แ ล ะ เ ค รื่อ ง มือ ต่า ง ๆ

ที่จา เ ป็น ใ น ก า ร ป ฏิบัติง า น พ ร้อ ม ล ง พื้น ที่ส่ง เ ส ริม ก า ร เ ก ษ ต ร ไ ด้อ ย่า ง มีป ร ะ สิท ธิภ า พ
มีเ ค รือ ข่า ย ใ น ก า ร ทา ง า น เ กิด ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ย น เ รีย น รู้ร ะ ห ว่า ง กัน พ ร้อ ม ที่จ ะ พัฒ น า
ต นเองให้เป็นมืออ าชี พ ต่ อไ ป

ผลลพั ธ์ (Outcome)
ผู้ เ ข้ า รั บ ก า ร อ บ ร ม มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะ

ปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรได้อย่างเป็นระบบ
มีความเป็นมืออาชีพและสามารถปฏิบัติงานให้
สอดคล้องกบั สถานการณป์ จั จบุ ัน

กลมุ่ พฒั นำบคุ คลำกร 49

โครงกำรฝกึ อบรม หลักสูตร
เทคโนโลยีด้ำนกำรเกษตร

กรมสง่ เสรมิ การเกษตรในฐานะท่ีมีบทบาทภารกิจ
หลักในการดูแลและพัฒนาเกษตรกร ให้สามารถสร้าง
ภูมิคุ้มกันเพ่ือรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ โดยปรับ
กระบวนการทางานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ พัฒนา
ระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพโดยยึดหลัก
ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น พ้ื น ฐ า น ใ น ก า ร
ปฏบิ ัติงานในทุกระดับปจั จุบันเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตร
ท่ีมีความรู้จากหลากหลายสาขาวิชา จึงจาเป็นต้องพัฒนา
ให้มีความรู้ ทักษะพื้นฐานด้านการส่งเสริมการเกษตร
ท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงาน ดังนั้น จึงเห็นควรดาเนินการ
จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม ห ลั ก สู ต ร เ ท ค โ น โ ล ยี ด้ า น
การเกษตรข้ึน เพ่ือเตรียมความพร้อมให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริม
การเกษตรให้พร้อมในการทางานในพ้ืนที่ มุ่งเน้นการ
เรียนรู้และพัฒนานักส่งเสริมการเกษตร ให้มีความรู้ความ
เข้าใจการทางานส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นท่ี นาความรู้ไป
ปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรให้บรรลุเป้าหมายได้
ตลอดจนให้คาปรึกษา ช่วยเหลือเกษตรกรในการประกอบ
อาชพี ดา้ นการเกษตรไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพต่อไป

ผลผลิต (Outp u t )
นัก วิช า ก า ร ส่ง เ ส ริม ก า ร เ ก ษ ต ร ป ฏิบัติก า ร จา น ว น 1 6 ค น ไ ด้รับ ค ว า ม รู้ ทัก ษ ะ
เ กี่ย ว กับ เ ท ค โ น โ ล ยีด้า น ก า ร เ ก ษ ต ร ต่า ง ๆ พ ร้อ ม ล ง พื้น ที่แ ล ะ ป ฏิบัติง า น ส่ง เ ส ริม
การเกษต ร ใน พ้ืนที่ไ ด้อย่ า งมี ป ระ สิทธิภ า พ

ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนาความรู้ ทักษะ เก่ียวกับเทคโนโลยีด้านการเกษตรต่างๆ ไปใช้
ใน การปฏิบัติงานได้
2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถวางแผน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนสามารถถ่ายทอด
เทคโนโลยีการเกษตรใหก้ บั เกษตรกรในพน้ื ที่ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมเกิดเครือข่ายในการทางาน เกิดการแลกเปล่ยี นเรียนรรู้ ะหว่างกัน
4.ไดค้ มู่ ือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการผลิตพืช (Appropriate Technology) ในพืช 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ ข้าว
ทุเรยี น ออ้ ย มะพรา้ ว3. แนบรูปภาพประกอบผลการดาเนินงาน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
โครงกำรสง่ เสรมิ กำรอำรกั ขำพชื
50

เพ่อื เพม่ิ ประสิทธภิ ำพกำรผลิตสนิ ค้ำเกษตร
พฒั นำแปลงตน้ แบบกำรสำรวจตดิ ตำมสถำนกำรณ์

ศูนยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยกี ารเกษตรด้านอารักขาพืช
จังหวัดสุพรรณบุรี ดาเนินกิจกรรมพัฒนาต้นแบบการ
สารวจติดตามสถานการณ์เพื่อเฝ้าระวังศัตรูพืช ข้าวโพด
เลย้ี งสัตว์ จานวน 2 แปลง รายละเอียดดังน้ี

1) ดาเนินการจัดทาแปลงต้นแบบการติดตามและ
เฝ้าระวังสถานการณ์ศัตรูพืชเพื่อการจัดการศัตรูพืช
อย่างเป็นระบบ แปลงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พื้นท่ี 2 ไร่
ของนายอุดม ปางรัศมี หมู่ที่ 4 ตาบลบ้านโข้ง อาเภออู่ทอง
จงั หวดั สุพรรณบุรี โดยมีการสารวจ ติดตาม เก็บข้อมูล และ
สนับสนนุ ปจั จยั การผลิต ศัตรูธรรมชาติ

2) ดาเนินการเก็บข้อมูลแปลงติดตามสถานการณ์
ศัตรูพืชเพ่ือนามาวิเคราะห์ (แปลงเปรียบเทียบ)
แปลงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พ้ืนที่ 3 ไร่ ของนายสง่า ศรีพุมมา
หมู่ท่ี 4 ตาบลบ้านโข้ง อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
โดยมีการสารวจ ติดตาม และจัดเก็บข้อมูลต้นทุนการผลิต
และการปฏิบัติของเกษตรกร เป็นประจาความถี่ 7 - 10
วัน/คร้ัง ต้ังแต่เรม่ิ ปลูก จนถึงเกบ็ เก่ียว

ผลผลิต (Outpu t )
แปล ง ต้น แ บบฯ จา น วน 1 แ ปล ง ไ ด้รับกา ร ส นับส นุน ให้มีก า รจัด ก า รศัต รูพืช

ด้วยวิธีผสม ผส าน

ผลลัพธ์ (Outcome)
เกษตรกรนาวิธกี ารจดั การศตั รูพชื ดว้ ยวิธีผสมผสานไปปฏิบัติได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
โครงกำรสง่ เสรมิ กำรอำรักขำพืช
51

เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภำพกำรผลติ สินคำ้ เกษตร

ผลติ ปจั จยั ควบคมุ ศตั รูพชื และสนบั สนนุ ใหก้ บั พน้ื ทเี่ กดิ กำรระบำดรนุ แรงและศตั รูพชื อบุ ตั ใิ หม่

ผ ลิ ต ข ย า ย จุ ลิ น ท รี ย์ ค ว บ คุ ม ศั ต รู พื ช
เป้าหมาย 5,000 กิโลกรัม

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินกิจกรรม
ส่งเสริมการอารักขาพืชเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ผลิตปัจจัยควบคุมศัตรูพืช
และสนับสนุนให้กับพื้นที่เกิดการระบาดและศัตรูพืชอุบัติใหม่ (ผลิตขยายจุลินทรีย์ควบคุม
ศัตรูพืช) โดยมีเป้าหมายการผลิตขยายก้อนเช้ือจุลินทรีย์พร้อมใช้ จานวน 5000 กิโลกรัม
ซ่ึงได้แก่ เชื้อราบิวเวอร์เรีย เชื้อราไตรโคเดอร์มา เช้ือราเมตาไรเซ่ียม(ด้วงแรดมะพร้าว)
เชื้อราเมตาไรเซ่ียม(ด้วงหนวดยาวอ้อย) และเช้ือราเมตาไรเซ่ียม(เพล้ียกระโดด) งบประมาณ
ดาเนนิ การ 200,000 บาท (สองแสนบาทถว้ น) ซ่งึ ศูนย์ฯ ได้สนับสนุนได้ส่งมอบก้อนเชื้อพร้อมใช้

รวมท้ังส้ิน 5,370 กิโลกรัม ดังนี้ เช้ือราบิวเวอร์เรียพร้อมใช้ จานวน 1,355 กิโลกรัม เช้ือรา
ไตรโคเดอร์มาพร้อมใช้ จานวน 2,445 กิโลกรัม เช้ือราเมตาไรเซี่ยม(ด้วงแรดมะพร้าว) จานวน
1,020 กิโลกรัม เช้ือราเมตาไรเซี่ยม(ด้วงหนวดยาวอ้อย) จานวน 165 กิโลกรัม และ
เชื้อราเมตาไรเซี่ยม(เพล้ียกระโดด) จานวน 550 กิโลกรัม เพ่ือส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ศัตรู
ธรรมชาตใิ นการควบคุมศัตรพู ชื และลดการใชส้ ารเคมี

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
โครงกำรสง่ เสริมกำรอำรักขำพืช
52

เพ่ือเพมิ่ ประสทิ ธิภำพกำรผลิตสนิ คำ้ เกษตร

ผลิตปจั จยั ควบคมุ ศตั รูพชื และสนบั สนนุ ใหก้ บั พนื้ ทเ่ี กดิ กำรระบำดรนุ แรงและศตั รพู ชื อบุ ตั ใิ หม่

ผลิตขยายแมลงศัตรูธรรมชาติ
เป้าหมาย 100,000 ตัว

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินกิจกรรม
ส่งเสริมการอารักขาพืชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ผลิตปัจจัยควบคุมศัตรูพืช
และสนับสนุนให้กับพื้นท่ีเกิดการระบาดและศัตรูพืชอุบัติใหม่ (แมลงศัตรูธรรมชาติ)
โดยมีเป้าหมายการผลิตขยายแมลงศัตรูธรรมชาติ จานวน 100,000 ตัว ได้แก่ แตนเบียนไข่
ไตรโคแกรมมา่ จานวน 20,000 แผ่น แมลงหางหนบี จานวน 70,000 ตวั และมวนพิฆาต จานวน
10,000 ตัว ไข่ผีเสื้อข้าวสาร จานวน 500 กรัม งบประมาณดาเนินการ 50,000 บาท (ห้าหมื่น
บาทถ้วน) ซ่ึงศูนย์ฯ ได้สนับสนุนได้ส่งมอบแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมม่า จานวน 28.900 แผ่น

แมลงหางหนีบ จานวน 129,000 ตัว มวนพิฆาต จานวน 13,500 ตัว และไข่ผีเส้ือข้าวสาร จานวน
750 กรัม เพือ่ สง่ เสรมิ ให้เกษตรกรใช้ศัตรูธรรมชาติในการควบคุมศตั รพู ชื และลดการใช้สารเคมี

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
โครงกำรส่งเสริมกำรอำรกั ขำพืช
53

เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพกำรผลติ สนิ ค้ำเกษตร

ผลติ ปจั จยั ควบคมุ ศตั รพู ชื และสนบั สนนุ ใหก้ บั พน้ื ทเ่ี กดิ กำรระบำดรนุ แรงและศตั รพู ชื อบุ ตั ใิ หม่

ผ ลิ ต ส า ร ส กั ด ส ะ เ ด า
เป้าหมาย 300 ลิตร

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินกิจกรรม
ส่งเสริมการอารักขาพืชเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ผลิตปัจจัยควบคุมศัตรูพืช
และสนับสนุนให้กับพื้นท่ีเกิดการระบาดและศัตรูพืชอุบัติใหม่ (สารสกัดธรรมชาติ)
โดยมีเป้าหมายการผลิตสารสกัดธรรมชาติ (สารสกัดสะเดา) จานวน 300 ลิตร งบประมาณ
ดาเนินการ 60,000 บาท (หกหมื่นบาทถ้วน) ซ่ึงศูนย์ฯ ได้สนับสนุนได้ส่งมอบสารสกัดสะเดา
จานวน 450 ลิตร เพ่ือส่งเสริมให้เกษตรกรใช้สารสกัดธรรมชาติในการควบคุมศัตรูพืช และ
ลดการใชส้ ารเคมี

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
โครงกำรสง่ เสรมิ กำรอำรักขำพืช
54

เพอื่ เพม่ิ ประสิทธภิ ำพกำรผลิตสนิ ค้ำเกษตร

ผลิตปจั จยั ควบคมุ ศตั รพู ชื และสนบั สนนุ ใหก้ บั พน้ื ทเี่ กดิ กำรระบำดรนุ แรงและศตั รูพชื อบุ ตั ใิ หม่

ผ ลิ ต ข ย า ย แ ต น เ บี ย น แ ม ล ง ดา ห น า ม ม ะ พ ร้ า ว
เป้าหมาย 8,000 ตัว

โครงการส่งเสริมการอารักขาพืชเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม
ส่งเสริมการอารักขาพืชเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ผลิตปัจจัยควบคุมศัตรูพืช
และสนับสนุนให้กับพื้นที่เกิดการระบาดรุนแรงและศัตรูพืชอุบัติใหม่ ผลิตขยายแตนเบียน
แมลงดาหนามมะพร้าว 8,000 มัมม่ี ในพื้นที่ท่ีมีการระบาดของแมลงดาหนามมะพร้าว คือ
จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ จงั หวดั เพชรบุรี จังหวดั สมุทรสาคร และจังหวัดสมทุ รสงคราม

จังหวัด ป้าหมาย ผลการสนับสนุนจังหวัด
1. ประจวบครี ขี ันธ์ 4,000 4,200
2. เพชรบุรี 2,000 2,025
3. สมุทรสงคราม 1,000 1,000
4. สมุทรสาคร 1,200 1,200
8,000 8,425
รวม

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
โครงกำรสง่ เสรมิ กำรอำรักขำพืช
55

เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภำพกำรผลติ สินคำ้ เกษตร

ผลติ ปจั จยั ควบคมุ ศตั รพู ชื และสนบั สนนุ ใหก้ บั พนื้ ทเี่ กดิ กำรระบำดรนุ แรงและศตั รพู ชื อบุ ตั ใิ หม่

ผ ลิ ต หั ว เ ช้ื อ จุ ลิ น ท รี ย์ ข ย า ย ใ ห้ เ ก ษ ต ร ก ร
เป้าหมาย 600 ขวด

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินกิจกรรม
ส่งเสริมการอารักขาพืชเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ผลิตและสนับสนุน
หัวเช้ือจุลินทรีย์ขยายให้แก่เกษตรกร งบประมาณ 60,000 บาท (หกหม่ืนบาทถ้วน)
โดยมีเป้าหมายสนับสนุนหัวเช้ือจุลินทรีย์ขยาย ให้แก่ เกษตรกร จานวน 600 ขวด
โดยหัวเชื้อจุลินทรีย์ท่ีสนับสนุนได้แก่ หัวเช้ือราบิวเวอเรีย ไตรโคเดอร์มา เมตาไรเซียม และ
แบคทีเรีย บาซิลลัสซับทีลิส ดาเนินการผลิตและสนับสนุนตามความต้องการ สนับสนุน
หัวเชื้อจุลนิ ทรยี ์ จานวน 779 ขวด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 130 เทียบกับเปอรเ์ ซน็ ต์เป้าหมาย โดยแบ่งเป็น

หัวเช้ือราบิวเวอเรีย จานวน 210 ขวด หัวเช้ือรา ไตรโคเดอร์มา จานวน 404 ขวด
หัวเชื้อราเมตาไรเซียม จานวน 81ขวด และหัวเช้ือ แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทีลิส จานวน 84 ขวด
เพ่ือส่งเสริมให้เกษตรกร สามารถผลิตและใช้ชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืช และลดการใช้
สารเคมี

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 56

โครงกำรสง่ เสริมกำรดำเนนิ งำน
อนั เนอ่ื งมำจำกพระรำชดำริ

กิจกรรมสง่ เสรมิ กำรดำเนนิ งำนอนั เนอ่ื งมำจำกพระรำชดำริ

โครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนที่
เป้าหมาย 4 ไตรมาส

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนิน
กิจกรรมโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ออกหน่วยให้บริการคลินิก
เคลื่อนที่ฯไตรมาส 1-4 เป้าหมายดาเนินการในพ้ืนที่ 8 จังหวัด ในเขตภาคตกวันตก ได้แก่
จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดนครปฐม โดยมีงบประมาณ 20,000 บาท
(สองหม่ืนบาทถ้วน) ซึ่งศูนย์ฯได้ออกหน่อยให้บริการคลินิกเคล่ือนที่ฯ โดยร่วมงาน
จานวน 14 คร้ัง ซ่ึงศูนย์ฯได้สนับสนุน เชื้อจุลลินทรีย์ จานวน 945 กิโลกรัม สารสกัดธรรมชาติ
จานวน 475 ลิตร และแหนแดง จานวน 300 กิโลกรัม เพื่อให้เกษตรกรที่มีปัญหา
ด้านการเกษตรในพ้ืนที่ห่างไกล สามารถเข้าถึงการบริการทางวิชาการ และได้รับการแก้ไข
ปัญหาด้านการเกษตรอย่างครบวงจรในคราวเดียวกัน และบูรณาการความร่วมมือระหว่าง
หน่วยงานวิชาการ หน่วยงานส่งเสริม และศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตร (ศพก.) ในการให้บริการและแก้ไขปัญหาทางการเกษตรรว่ มกัน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 57

โครงกำรสง่ เสรมิ กำรดำเนินงำน
อันเนอ่ื งมำจำกพระรำชดำริ

กจิ กรรมสง่ เสรมิ กำรดำเนนิ งำนอนั เนอ่ื งมำจำกพระรำชดำริ

โครงการพัฒนาด้านการเกษตรในเขตพระราชฐาน
เป้าหมาย 5 โรงเรือน

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมสนอง
การดาเนินงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ภายใตก้ ิจกรรมการพัฒนาด้านการเกษตร
ในเขตพระราชฐาน โดยการเข้าร่วมปฏิบัติงานด้านการป้องกันกาจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี
ใน โรงเรือนปลูกพืช จานวน ๕ หลัง ในบริเวณพระตาหนักบ้านสวนปทุม ตาบลบางขะแยง
อาเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี วัตถุประสงค์เพ่ือดูแลและให้บริการด้านการป้องกัน
กาจัดศัตรูพืชท่ีถูกต้องตรงกับสภาพปัญหาในพื้นท่ีโครงการ และจัดหาหรือสนับสนุนปัจจัย
ควบคุมศัตรูพืชหรือปัจจัยการผลิตที่จาเป็นต่อการผลิตพืชในพ้ืนที่โครงการ ส่งผลให้การ
ดาเนินงานผลิตพืชในพ้ืนที่โครงการเกิดความต่อเนื่อง ผลผลิตของโครงการมีคุณภาพและ
ปลอดภัย ทัง้ นศี้ ูนย์สง่ เสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ติดตาม
สถานการณ์ศัตรูพืช ตลอดจนการให้บริการงานวิชาการ และสนับสนุนปัจจัยควบคุมศัตรูพืช
โดยชีววิธี ได้แก่ เชื้อราไตรโคเดอร์มาพร้อมใช้ จานวน 1,350 กิโลกรัม เช้ือราเมตาไรเซียม
พร้อมใช้ จานวน 160 กโิ ลกรมั เชอื้ แบคทเี รีย Bacillus subtilis จานวน 15 ลิตร รวมถึงจัดหา
ปจั จยั การผลิตทจ่ี าเปน็ ต่อการผลิตพชื ในพื้นท่ีโครงการ ตลอดปงี บประมาณ 2565

โครงกำรศนู ย์เรยี นรู้กำรเพม่ิ ประสิทธิภำพศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 58
กำรผลิตสนิ คำ้ เกษตร

กจิ กรรมศนู ยเ์ รยี นรกู้ ำรเพมิ่ ระสทิ ธภิ ำพกำรผลติ สนิ คำ้ เกษตร
พัฒนำศกั ยภำพกำรดำเนนิ งำนและใหบ้ รกิ ำรของศนู ยจ์ ดั กำรศตั รพู ชื ชมุ ชน(ศจช.)

สนับสนุนวัสดุผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์
เป้าหมาย 1,860 ขวด

โครงการศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม ผลิตและ
สนับสนุนหัวเช้ือจุลินทรีย์ขยาย ขวดเป้าหมาย 1,860 ขวด งบประมาณดาเนินการ 186,000
บาท (หน่ึงแสนแปดหม่ืนหกพันบาทถ้วน) โดยสนับสนุนหัวเช้ือจุลินทรีย์ขยาย ให้แก่
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนหลัก และเครือข่าย ในพื้นที่ 8 จังหวัด เพื่อให้ศูนย์จัดการศัตรูพืช
ชุมชน ใช้ผลิตขยายเช้ือจุลินทรีย์พร้อมใช้ท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐาน นาไปควบคุมศัตรูพืชให้กับ
สมาชิกศนู ย์จัดการศัตรูพืชชุมชนและเกษตรกร โดยหัวเช้ือจุลินทรีย์ที่สนับสนุนได้แก่ หัวเชื้อรา
บิวเวอเรีย ไตรโคเดอร์มา เมตาไรเซยี ม และแบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทีลิส ดาเนินการผลิตและส่ง
ตามแผนความต้องการ สนับสนุนหัวเช้ือจุลินทรีย์ จานวน 3,183 ขวด คิดเป็นร้อยละ 171
เทียบกับเปอร์เซ็นต์เป้าหมาย โดยแบ่งเป็น หัวเชื้อราบิวเวอเรีย จานวน 610 ขวด หัวเช้ือรา
ไตรโคเดอร์มา จานวน 1,918 ขวด หัวเช้ือราเมตาไรเซียม จานวน 306 ขวด และหัวเชื้อ
แบคทเี รีย บาซิลลัส ซบั ทลี สิ จานวน 349 ขวด

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 59

โครงกำรศนู ย์เรยี นรูก้ ำรเพิม่ ประสทิ ธิภำพ
กำรผลติ สินค้ำเกษตร

กิจกรรมศนู ยเ์ รยี นรกู้ ำรเพมิ่ ระสทิ ธภิ ำพกำรผลติ สนิ คำ้ เกษตร
พฒั นำศกั ยภำพกำรดำเนนิ งำนและใหบ้ รกิ ำรของศนู ยจ์ ดั กำรศตั รูพชื ชมุ ชน(ศจช.)

ส นั บ ส นุ น ปั จ จั ย ค ว บ คุ ม ศั ต รู พื ช ที่ พ บ ก า ร ร ะ บ า ด
เป้าหมาย 1,000 ไร่

ศูนย์สง่ เสรมิ เทคโนโลยกี ารเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินกิจกรรม
สนับสนุนปัจจัยควบคุมศัตรูพืชในพื้นท่ีที่พบการระบาดฯ แล้วจานวน 1,640 ไร่ จากเป้าหมาย
1,000 ไร่ รายละเอียดการสนบั สนุนดงั ต่อไปน้ี

รายการ จานวน หน่วย
62 ขวด
1. หวั เชือ้ รำไตรโครเดอรม์ ำ 70 ขวด
2. หวั เชือ้ รำบิวเวอเรยี 0 ขวด
3. หวั เชือ้ รำเมตำไรเซียม กิโลกรมั
4. กอ้ นเชือ้ รำไตรโครเดอรม์ ำพรอ้ มใช้ 1,076 กิโลกรมั
5. กอ้ นเชือ้ รำบวิ เวอเรยี พรอ้ มใช้ 782 กิโลกรมั
6. กอ้ นเชือ้ รำเมตำไรเซียมพรอ้ มใช้ 40 แผน่
7. แตนเบยี นไขต่ รโิ คแกรมมำ 2,600 ตวั
8. แตนเบียนบรำคอน 75,000 ตวั
9. มวนพิฆำต 19,500 ตวั
10. แมลงหำงหนีบ 9,500 ขวด
74 ลติ ร
11. NPV 100.5 กิโลกรมั
132 ตวั
12. สำรสกดั สะเดำ 400 ตวั
13. แหนแดง 450 ตวั
14. แตนเบียนอะนำไกรสั 1,100
15. แมลงชำ้ งปีกใส
16. แมลงหำงหนบี มะพรำ้ ว

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีกำรเกษตรดำ้ นอำรกั ขำพืชจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 60

โครงกำรระบบสง่ เสรมิ เกษตร
แบบแปลงใหญ่ (นำแปลงใหญ)่

กจิ กรรม กำรสง่ เสรมิ กำรบรหิ ำรจดั กำรศตั รขู ำ้ ว และกำรตดิ ตำมใหค้ ำแนะนำ

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร
ด้านอารักขาพืชจังหวัดสุพรรณบุรี ดาเนินการ
ผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ (หัวเชื้อขยาย) ได้แก่
ไตรโคเดอร์ม่า บิวเวอเรีย เมตาไรเซียม และ
เช้ือแบคทีเรียบาซิลลัส ซับทีลิส มีเป้าหมาย
การสนบั สนุนหัวเชอื้ จุลนิ ทรยี ์รวมจานวน 425
ขวด โดยสอบถาม รวบรวมข้อมูลจาก
สานักงานเกษตรจังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบ
เกี่ยวกับปริมาณความต้องการใช้เช้ือจุลินทรีย์
(หัวเช้ื อขยาย) ของกลุ่มนาแปลงใหญ่
เพื่อใช้วางแผนการผลิตและจัดส่ง พร้อมทั้ง
ติดตามการดาเนินงานโครงการ ให้คาแนะนา
เจ้าหนา้ ทผ่ี ปู้ ฏิบัติงานและกลุ่มนาแปลงใหญ่

ผลผลิต(Outpu t)
ก ลุ่ม น า แ ป ล ง ใ ห ญ่ จา น ว น 1 7 แ ป ล ง ไ ด้รับ ก า ร ส นับ ส นุน แ ล ะ ถ่า ย ท อ ด ค ว า ม รู้
การใช้ ชี วภัณฑ์ค ว บคุม ศัต รูข้ า ว

ผลลพั ธ์ (Outcome)
กลุ่มนาแปลงใหญ่ ร้อยละ 100 สามารถนาชีวภัณฑ์
ไปใชค้ วบคุมศตั รขู ้าวในแปลงของตนเองได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี

61

โครงกำรคลินิกเกษตรเคลอ่ื นทใ่ี นพระรำชำนเุ ครำะห์
สมเดจ็ พระบรมโอรสำธิรำชฯ สยำมมกฎุ รำชกมุ ำร

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี เข้าร่วมโครงการ
คลินิกเกษตรเคล่ือนที่ในพระราชานุเคราะห์
ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม โ อ ร ส า ธิ ร า ช ฯ
สยามมกุฎราชกุมาร ปฏิบัติงานในเชิงรุก
ท่ี ท า ใ ห้ เ ก ษ ต ร ก ร ใ น พ้ื น ที่ เ ป้ า ห ม า ย ท่ี
มีปญั หาให้ได้รับบริการทางการเกษตรอย่าง
รวดเรว็ ทั่วถึงและครบถ้วน

ผลผลิต (Outp u t )
เกษต รกร ได้รับ บ ริ ก า ร วิ ช า ก า รเ ก ษต ร แ ละ แ ก้ ไ ขปั ญห า พร้อ มกัน ได้ ณ จุดเดียว
ผลลพั ธ์ (Outcome)
เกษตรกรท่ีมีปัญหาการประกอบ
อาชีพด้านการเกษตรได้รับบริการทาง
วิชาการและคาแนะนาในการแก้ไขปัญหา
รวดเร็วทันเวลา เกิดผลตอบแทนและรายได้
จากการประกอบอาชีพที่ม่ันคง เกษตรกร
ยอมรับและเกิดความ เชื่อม่ันในการ
ใหบ้ รกิ ารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 62

โครงกำรร่วมพฒั นำพนื้ ทก่ี องบญั ชำกำร
ตำรวจตระเวนชำยแดนเพ่อื ดำเนนิ งำนตำม
“หลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จงั หวัดเพชรบุรี เข้าไปส่งเสริมและ
สนับสนุนปัจจัยการผลิต ต้นกล้าพันธ์ุพืช
พร้อมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาเป็นแนวทาง และขยายผลองค์
ความรู้ตามแนวพระราชดาริ และปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลผลิต (Outp u t )
มีแ ปลงเรียน รู้ท่ีเ ป็นแ หล่ง เ รียน รู้ ให้กับ เก ษ ต รก ร ไ ด้

ผลลัพธ์ (Outcome)
เกิดแปลงเรียนรู้ องค์ความรู้ต่างๆ และฐานข้อมูล สามารถขยายผลโครงการอันเน่ือง

มาจากพระราชดารสิ ชู่ ุมชน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี

โครงกำรคำ่ ย“เยำวชน...รกั ษพ์ งไพร 63

เฉลิมพระเกยี รติ 60 พรรษำ
สมเดจ็ พระเทพรตั นรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกุมำร”ี

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรีเป็นวิทยากรให้
ความรู้เด็กและเยาวชนในเรื่อง “พืชในท้องถ่ิน
ของหนู” เป็นการสอนให้เยาวชนมีความรู้
ความเข้าใจถึงความสาคัญและประโยชน์ของ
พืชในท้องถ่ิน ให้ปลูกได้จนสามารถแปรรูป
อาหารจากพืชในท้องถ่ินได้ มีการสาธิต
การแปรรูปให้เยาวชนปฏิบตั ิร่วมกันเปน็ กลมุ่

ผลผลิต (Out p ut )
เด็กและเยาวชนท่ีเข้าร่วมกิจกรรม

ได้รับความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญและ
ประโยชน์ของพืชในท้องถิ่น ได้เรียนรู้
การปลูก การดูแลรักษา การขยายพันธุ์พืช
และการแปรรปู อาหารจากพืช

ผลลัพธ์ (Outcome)
เด็กและเยาวชนได้รู้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่ดีงามของท้องถิ่น สามารถช่วยเหลือ

ตนเองได้ ช่วยเหลอื ซ่งึ กนั และกัน และร้จู กั เสียสละเพ่ือส่วนรวม ตลอดจนเกิดความตระหนักและ
ความรกั ษ์ชาติ ศาสนา และสถาบนั พระมหากษตั รยิ ม์ ากยง่ิ ขน้ึ

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 64

โครงกำรสง่ เสริมกำรใชเ้ ครื่องจกั รกล
ทำงกำรเกษตรสร้ำงชำ่ งเกษตรทอ้ งถ่ิน
ประจำแปลงใหญ่ หลักสตู ร ช่ำงเกษตรทอ้ งถนิ่ หลกั สตู รเนน้ หนกั

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี ทาการคัดเลือก
ผู้ ผ่านการถ่ายทอดความรู้ช่างเกษตรท้องถ่ิน
หลักสูตรพ้ืนฐาน หรือช่างเกษตรท้องถ่ินระดับ
1 หรือระดับ 2 (ของกรมส่งเสริมการเกษตร)
เ ข้ า รั บ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ เ ท ค โ น โ ล ยี
ด้านการเกษตรหลักสูตรเน้นหนักซึ่งจะส่งผล
ให้เกษตรกรสามารถนาความรู้ไปปฏิบัติ
เพ่อื ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเคร่ืองจักรกล
ของตนเองได้ และให้บริการตรวจเช็ ค
ซ่อมแซมใหญ่เคร่ืองยนต์ (Overhaul) ให้แก่
เกษตรกรขา้ งเคียงได้

ผลผลิต (Outpu t )
ช่า ง เ ก ษ ต ร ท้อ ง ถิ่น มีค ว า ม รู้ ทัก ษ ะ ท า ง เ ท ค นิค เ ค รื่อ ง จัก ร ก ล ก า ร เ ก ษ ต ร

ส มัย ใ ห ม่ที่พ ร้อ ม ร อ ง รับ ก า ร บ ริก า ร บา รุง รัก ษ า แ ล ะ ซ่อ ม แ ซ ม เ ค รื่อ ง ย น ต์เ ก ษ ต ร
ในท้องถ่ิน ให้แ ก่เกษต ร ก รข้ า งเคี ย ง ได้

ผลลัพธ์ (Outcome)
ช่างเกษตรท้องถิ่น สามารถใช้และบารุงรักษาเครื่องยนต์เกษตรได้อย่างถูกต้องและ

มีประสิทธิภาพ ตลอดจนถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกรข้างเคียง ทาให้เกษตรกรลดค่าใช้จ่ายใน
การซ่อมแซม

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 65

โครงกำรสง่ เสริมกำรใชเ้ ครอ่ื งจกั รกลทำงกำรเกษตร
ส่งเสรมิ กำรใชแ้ ละใหบ้ รกิ ำรเครือ่ งจกั รกลกำรเกษตร
ในพื้นท่ีแปลงใหญ่อย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ

หลกั สตู ร พัฒนำศกั ยภำพผใู้ หบ้ รกิ ำรเครอื่ งจกั รกลกำรเกษตรชมุ ชนในพนื้ ทแี่ ปลงใหญ่

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี ดาเนินถ่ายทอด
ความรู้และทักษะให้แก่เกษตรกรหรือกลุ่ม
เกษตรกร อาทิเช่น การถ่ายทอดความรู้
ด้ า น ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ เ พ่ิ ม
ประสิทธิภาพการผลิต การวางแผนการใช้
เครื่องจักรกลการเกษตร การฝึกทักษะ
ด้านการใช้ การบารุงรักษา และซ่อมแซม

เครื่องจักรกลการเกษตร การบริหารจัดการ
รายได้ เป็นตน้

ผลลัพธ์ (Outcome) ผลผลิต (Out p ut )
ช่ า ง เ ก ษ ต ร ท้ อ ง ถ่ิ น ส า ม า ร ถ ใ ช้ แ ล ะ ช ่า ง เ ก ษ ต ร ท ้อ ง ถิ ่น ม ีค ว า ม รู้

บารุงรักษาเครื่องยนต์เกษตรได้อย่างถูกต้องและ ท ัก ษ ะ ท า ง เ ท ค น ิค เ ค รื ่อ ง จ ัก ร ก ล
มีประสิทธิภาพ ตลอดจนถ่ายทอดความรู้ให้แก่ ก า ร เ ก ษ ต ร ส มัย ใ ห ม่ที่พ ร้อ ม ร อ ง รับ
เกษตรกรข้างเคียง ทาให้เกษตรกรลดค่าใช้จ่าย ก ารบริก ารบารุงรัก ษ า แ ล ะซ่อม แ ซ ม
ในการซอ่ มแซม เ ค รื่อ ง ย น ต์เ ก ษ ต ร ใ น ท้อ ง ถิ่น ใ ห้แ ก่
เกษตรกรข้ า งเคี ย ง ได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 66

โครงกำรสง่ เสริมกำรเพ่มิ ประสทิ ธภิ ำพ
กำรผลิตสมุนไพร

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี ได้จัดทาจุดเรียนรู้
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชสมุนไพร และ
รวบรวมพนั ธุส์ มนุ ไพร

ผลผลิต (Outp u t )
มีจุดเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ

การผลิตสมุนไพร สามารถรวบรวม
และขยายพันธุ์พืชสมุนไพรเพื่อเป็น
แหล่งเรียนรู้หรือกระจา ยพันธุ์พืช

สมุนไพรพันธ์ุดี

ผลลัพธ์ (Outcome)
สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้

แ ล ะ ส นั บ ส นุ น พั น ธุ์ พื ช ส มุ น ไ พ ร
ใหก้ ับเกษตรกรหรอื ผ้ทู ่ีสนใจได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 67

โครงกำรผลติ ขยำยต้นพนั ธุฟ์ ำ้ ทะลำยโจร

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรีดาเนินการผลิต
และต้นพันธุ์ฟ้าทะลายโจร เพื่อสนับสนุนงาน
ส่งเสริมการเกษตรในพ้ืนที่ และเตรียมความ
พร้อมด้านปัจจัยการผลิต สาหรับรองรับ
น โ ย บ า ย ข อ งภ า ค รั ฐ แ ล ะส ถ า น ก า ร ณ์
โรคติดต่อโควิด - 19 เพื่อสนับสนุนงาน
ส่งเสริมการเกษตร

ผลผลิต (Outp u t )
ผ ลิต ต้น พัน ธุ์ฟ้า ท ะ ล า ย โ จ ร แ ล ะ
ด ูแ ล ร ัก ษ า แ ป ล ง พ ่อ แ ม ่พ ัน ธุ์
สา ห รับเ ป็น แ ห ล่ง ผลิต ข ยา ยพืช
พั น ธุ์

ผลลพั ธ์ (Outcome)
เกษตรกรมีฟา้ ทะลายโจรพนั ธ์ุดไี ดม้ าตรฐาน และเพยี งพอกบั ความตอ้ งการ

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 68

โครงกำรส่งเสริมงำนวิจยั เพอื่ พัฒนำ
งำนสง่ เสรมิ กำรเกษตร

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร มีการพัฒนางานวิจัยส่งเสริม
การเกษตร และนาความรู้ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่

และเกษตรกร

ผลผลิต (Outp u t )
มีก า ร พัฒ น า เ จ้า ห น้า ที่ก ร ม

ส่ง เ ส ริม ก า ร ใ ห้มีค ว า ม รู้ง า น วิจัย
ส่ง เ ส ริม ก า ร เ ก ษ ต ร เ ท ค โ น โ ล ยี
แ ล ะ น ว ัต ก ร ร ม ป ร ะ ย ุก ต ์ใ ช้
ให้เหมาะสมกับ พื้นท่ี

ผลลัพธ์ (Outcome)
เจ้าหน้าทีม่ ีทักษะในการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร การคิดเชิงระบบ และนาไปใช้ในการพัฒนา
งานท่ีรับผิดชอบได้อย่างต่อเนื่อง และเกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนระบบการผลิต ทาให้
เพิม่ ประสิทธภิ าพสนิ ค้าเกษตร สง่ ผลให้มคี วามเขม้ แขง็ พ่งึ พาตนเองได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี

โครงกำรผลิตและขยำยพชื พันธุด์ ี 69

เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภำพกำรผลิตภำคเกษตร

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี ดาเนินการผลิต
แ ล ะ ข ย า ย พั น ธ์ุ พื ช พั น ธ์ุ ดี เ พื่ อ ส นั บ ส นุ น
งานส่งเสริมการเกษตรในพ้ืนที่ และเตรียม
ความพร้อมด้านปัจจัยการผลิตพืชพันธ์ุดี
ส า ห รั บ ร อ ง รั บ น โ ย บ า ย ข อ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ
สถานการณ์ภัยธรรมชาติ เพื่อสนับสนุนงาน
สง่ เสรมิ การเกษตร

ผลผลิต(Outpu t)
ผ ลิต พืช พัน ธุ์ดีแ ล ะ ดูแ ล รัก ษ า
แ ป ล ง พ่อ แ ม่พัน ธุ์สา ห รับ เ ป็น
แ ห ล่งผลิต ขยา ยพืช พัน ธุ์ดี

ผลลัพธ์ (Outcome)
เกษตรกรมีพืชพันธุ์ดีที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน มีความหลากหลาย และเพียงพอกับความต้องการ
สาหรับใชใ้ นการทาการเกษตรมูลค่าสูง

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 70

โครงกำรส่งเสริมกำรเพ่ิมประสทิ ธภิ ำพ
กำรใชน้ ้ำในระดบั ไรน่ ำ

(โครงกำรสนบั สนนุ )

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี ดาเนินการ
ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร ในการใช้น้า
อย่างมีประสิทธิภาพด้วยระบบการให้น้าแก่
พืชทถี่ ูกตอ้ ง

ผลผลิต (Outp u t )
เก ษ ต รก ร ไ ด้รับ ก า ร ถ่า ย ท อ ด
ค ว า ม รู้ด้า น ก า ร ใ ช้น้า อ ย่า ง รู้
คุณ ค่า แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร ใ ช้น้า
อย่า งมีปร ะ สิท ธิภ าพ ด้ว ยร ะ บ บ
การให้น้าแก่ พื ชเบื้อ งต้น

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เกิดก า ร ใ ช้น้า อ ย่า ง มีป ร ะ สิท ธิภ า พ ใ น แ ป ล ง เ รีย น รู้ก า ร เ พิ่ม ป ร ะ สิท ธิภ า พ ก า ร ใ ช้
น้าในระดับไร่น า

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 71

โครงกำรควำมรว่ มมือสง่ เสริมนวตั กรรมและ
เทคโนโลยใี หม่“ระบบบริหำรจดั กำรแปลงเกษตร
ด้วยระบบเกษตรอจั ฉรยิ ะ (โครงกำรสนบั สนนุ )

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี ถ่ายทอดความรู้

เก่ียวกับระบบบริหารจัดการแปลงเกษตร
ด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ HandySens

ผลผลิต (Outpu t )
เก ษ ต รก ร ไ ด้รับ ก า ร ถ่า ย ท อ ด
ค ว า ม รู้แ ล ะ นา ไ ป ใ ช้ป ร ะ โ ย ช น์
อย่างมีประ สิทธิภ า พ

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เกิดก า ร ใ ช้น้า อ ย่า ง มีป ร ะ สิท ธิภ า พ ใ น แ ป ล ง เ รีย น รู้ก า ร เ พิ่ม ป ร ะ สิท ธิภ า พ ก า ร ใ ช้
นา้ ในระดับไร่น า

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 72

โครงกำรศนู ยเ์ รยี นรูก้ ำรเพม่ิ ประสทิ ธิภำพ
กำรผลติ สนิ ค้ำเกษตร (ศพก.)

(โครงกำรสนับสนุน)

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี เป็นวิทยากร
ถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกรโครงการ
ศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต
สนิ ค้าเกษตร(ศพก.) กิจกรรม จัดกระบวนการ
เรียนรู้ให้กับเกษตรกรผู้นา เร่ืองการผลิต
ก้อนเห็ดนางฟ้า การเขี่ยเชื้อและการดูแล
รกั ษาก้อนเหด็

ผลผลิต (Outpu t )
ถ่า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ใ ห้แ ก่เ ก ษ ต ร ก ร
เ รื่อ ง ก า ร ผ ลิต ก้อ น เ ห็ด น า ง ฟ้า
ก า ร เ ขี่ย เ ชื้อ เ ห็ด น า ง ฟ้า แ ล ะ ก า ร
ดูแ ลรักษาก้อนเห็ด

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้รับ ค ว า ม รู้เ รื่อ ง ก า ร ผ ลิต ก้อ น เ ห็ด น า ง ฟ้า ก า ร เ ขี่ย เ ชื้อ เ ห็ด น า ง ฟ้า
แ ละการดูแ ล รั ก ษ าก้ อนเห็ด

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 73

โครงกำรศูนยเ์ รยี นรกู้ ำรเพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพ
กำรผลติ สนิ คำ้ เกษตร (ศพก.)

(โครงกำรสนบั สนนุ )

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี เป็นวิทยากร
ถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกรโครงการ
ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
สนิ ค้าเกษตร(ศพก.) กิจกรรม จัดกระบวนการ

เรียนรู้ให้กับเกษตรกรผู้นา เรื่องการแปรรูป
เหด็ เศรษฐกจิ

ผลผลิต (Outp u t )
ถ่า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ใ ห้แ ก่เ ก ษ ต ร ก ร
เ รื่อ ง ก า ร แ ป ร รูป เ ห็ด น า ง ฟ้า
โ ด ย ก า ร นา ม า แ ป ร รูป เ ป็น น้า ย า
ขนมจีนจากเห็ดนางฟ้ า

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เกษตรกรได้ผลิตภัณฑ์จากเห็ดนางฟ้าจานวน 1 ชนิด ซึ่งสามารถที่จะนาไปปรับใช้

ให้เป็นอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว หรือทาบริโภคภายในครอบครัวได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 74

งำนวันถำ่ ยทอดเทคโนโลยีเพอ่ื เรมิ่ ต้น
ฤดกู ำลผลิตใหม่ (Field Day)

(โครงกำรสนบั สนนุ )

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี สนับสนุนงาน
วิ ช า ก า ร ใ ห้ กั บ ห น่ ว ย ง า นต่ า ง ๆ ท่ี แ จ้ ง
ความประสงค์

ผลผลิต (Outp u t )
ถ่า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ง า น วิช า ก า ร
ด้า น ก า ร ติด ตั้ง ร ะ บ บ ก า ร ใ ห้น้า
พืช ก า ร ซ่อ ม แ ซ ม เ ค รื่อ ง จัก ร ก ล
เก ษต ร แ ละก ารแ ป รรูปผลผลิต
ทางการเกษตร

ผลลัพธ์ (Outco m e )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด ้ร ับ ค ว า ม รู ้ง า น ว ิช า ก า ร
ด ้า น ก า ร ต ิด ตั ้ง ร ะ บ บ ก า ร ใ ห ้น้ า พ ืช
ก า ร ซ่อ ม แ ซ ม เ ค รื่อ ง จัก ร ก ล เ ก ษ ต ร แ ล ะ
การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 75

งำนสนบั สนุนหน่วยงำนตำ่ งๆ

ศูนยส์ ่งเสรมิ และพฒั นำอำชพี กำรเกษตร จังหวดั เพชรบรุ ี

ศนู ยส์ ง่ เสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเพชรบุรี ดาเนินการสนับสนุนงานวิชาการให้กับ
หนว่ ยงานตา่ งๆ ทีแ่ จ้งความประสงค์

ผลผลิต (Out put )
ถ่า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ง า น วิช า ก า ร ด้า น ก า ร ติด ตั้ง ร ะ บ บ ก า ร ใ ห้น้า พืช ก า ร ซ่อ ม แ ซ ม
เคร่ืองจักร กล เก ษ ต ร แ ละการแ ป ร รู ป ผล ผลิ ต ท า งก า ร เก ษ ต ร

ผลลัพธ์ (Outcome )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้รับ ค ว า ม รู้ง า น วิช า ก า ร ด้า น ก า ร ติด ตั้ง ร ะ บ บ ก า ร ใ ห้น้า พืช ก า ร ซ่อ ม แ ซ ม
เคร่ืองจักร กล เก ษ ต ร แ ละการแ ป ร รู ป ผล ผลิ ต ท า งก า ร เก ษ ต ร

การติดตั้งระบบการให้น้าพืช

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั เพชรบรุ ี 76

งำนสนับสนนุ หน่วยงำนตำ่ งๆ

ศนู ย์สง่ เสรมิ และพฒั นำอำชพี กำรเกษตร จงั หวัดเพชรบรุ ี

ก า ร ซ่ อ ม แ ซ ม เ ค ร่ื อ ง จั ก ร ก ล เ ก ษ ต ร

ก า ร ซ่ อ ม แ ซ ม ก า ร แ ป ร รู ป ผ ล ผ ลิ ต ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู )

โครงกำรพฒั นำพื้นท่สี งู แบบโครงกำรหลวง 77

กิจกรรมถำ่ ยทอดควำมรเู้ ทคโนโลยกี ำรผลติ พชื ทเ่ี หมำะสมกบั ศกั ยภำพของพน้ื ท่ี

ผลผลิต (Outp u t ) ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
เก ษ ต รก ร ไ ด้รับ ก า ร ถ่า ย ท อ ด การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรที่สูง)
จึงได้จั ดการฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้
เ ท ค โ น โ ล ยีก า ร ผ ลิต ก า แ ฟ ในหลักสูตร การปลูกกาแฟ ให้แก่เกษตรกร
จานวน 80 ราย ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า พ้ื น ท่ี สู ง
แบบโครงการหลวงห้วยเขย่ง จานวน 2 รุ่น
รุ่นละ 40 ราย โดยฝึกอบรม รุ่นที่ 1 วันที่ 9
กุมภาพั นธ์ 2565 ณ ศาลาประช าคม
บ้านไร่ป้า ม.5 ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ

จ.กาญจนบรุ ี และ รุ่นท่ี 2 วันที่ 11 กุมภาพันธ์
2565 ณ ศาลาประชาคมบ้านท่ามะเด่ือ ม.1
ต.ห้วยเขยง่ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบรุ ี

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เ ก ษ ต ร ก ร ที่เ ข้า รับ ก า ร อ บ ร ม มีค ว า ม รู้
คว าม เข้า ใจ ใน ก าร ปลูก ก าร ดูแ ล รัก ษ า
กาแฟ และสามา รถ ขย า ย พันธุ์ก า แ ฟ ได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู )

โครงกำรพฒั นำพื้นท่ีสงู แบบโครงกำรหลวง 78

กิจกรรมสง่ เสรมิ กำรปลกู ไม้ผลไมย้ นื ตน้ มอื งหนำว

ผลผลิต (Outp u t ) ศู นย์ ส่ งเสริ มแ ละพั ฒนาอาชี พ
เก ษ ต รก ร ไ ด้รับ ก าร ส่ง เส ริม ก า ร ป ลูก การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรที่สูง)
ไม้ผลไม้ยืนต้น พ้ืนท่ี 11 ไร่ ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมการปลูกไม้ผลไม้ยืน
ต้น เปา้ หมาย 6 ไร่ โดยดาเนินการ ณ บ้านท่า
มะเด่ือ ม .1 ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ
จ.กาญจนบุรี และ บ้านไร่ป้า ม.5 ต.ห้วยเขย่ง
อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี มีเกษตรกรเข้าร่วม
กิจกรรม 40 ราย โดยได้จัดเวทีชุ มชน
เพื่อรับทราบความต้องการของเกษตรกร และ
ได้ส่งเสริมสนับสนุนการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น
ดังนี้

1 กลา้ พนั ธุท์ เุ รยี นหมอนทอง 100 ต้น

2 กลา้ พันธ์เุ งาะโรงเรียน 80 ต้น

3 กลา้ พนั ธุ์อโวกาโด บธู 7 40 ตน้

และได้เย่ียมเยียนให้กาลังใจ และคาปรึกษา
แกเ่ กษตรผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมอย่างสม่าเสมอ

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เ ก ษ ต ร ก ร มีค ว า ม รู้ค ว า ม เ ข้า ใ จ ใ น ก า ร ป ลูก แ ล ะ ก า ร ดูแ ล รัก ษ า ไ ม้
ผ ล ไ ม้ยืน ต้น ชุม ช น มีอ า ห า ร บ ริโ ภ ค เ พีย ง พ อ แ ล ะ มีค ว า ม มั่น ค ง ท า ง

อาหาร

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู )

79

โครงกำรพฒั นำพืน้ ท่สี ูงแบบโครงกำรหลวง

กิจกรรมสง่ เสรมิ กำรปลกู ไมด้ อกเมอื งหนำว

ผลผลิต (Outp u t ) ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
เก ษ ต รก รได้รับ ก าร ส่งเ สริม การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรที่สูง)
ก า ร ป ลูก ไ ม้ด อ ก เ มือ ง ห น า ว ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมการปลูกไม้ดอกเมือง
จานวน 6 โรงเรือน ห น า ว เ ป้ า ห ม า ย 1 โ ร ง เ รื อ น มี พื้ น ท่ี
การดาเนินงาน ณ บ้านห้วยปากคอก หมู่ท่ี 7
ผลลัพธ์ (Outcom e )
กลุ่มเกษตรกรมีความรู้ ความสามารถ ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี
ใ น ก า ร ผ ล ิต เ บ ญ จ า ม า ศ น อ ก ฤ ดู ซ่ึงเป็นเกษตรกรผู้ปลูกเบญจมาศตัดดอก
ซึ่ง มีร า ค า สูง ก า ร ผ ลิต ใ น ฤ ดูก า ร ผ ลิต พื้นที่ 5 ไร่ ดาเนินการส่งเสริมให้เกษตรกร
ป ก ติ ทา ใ ห้เ ก ษ ต ร มีร า ย ไ ด้เ พิ่ม ขึ้น ผลิตเบญจมาศนอกฤดู การป้องกันกาจัด
ส่งผลให้คุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ศัตรูพืชแบบผสมผสาน สนับสนุนวัสดุในการ
ซ่อมแซมโรงเรือน พร้อมกันนี้ได้เย่ียมเยียน
และให้คาแนะนาแกเ่ กษตรกรอย่างสม่าเสมอ

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู )

โครงกำรพฒั นำพืน้ ทีส่ งู แบบโครงกำรหลวง 80

กิจกรรมสง่ เสรมิ กำรปลกู พืชผกั เมอื งหนำว

ศู นย์ ส่ งเสริ มแ ละพั ฒนาอาชี พ
การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรที่สูง)
ด า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ป ลู ก พื ช ผั ก
เมืองหนาว มีเป้าหมาย 5 ไร่ ดาเนินงานกับ
กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักเมืองหนาวอินทรีย์
บ้านไร่ป้า ม.5 ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ
จ.กาญจนบุรี ซึ่งเป็นกลุ่มผลิตผักอินทรีย์
มีสมาชิก 5 ครัวเรือน จานวน 24 โรงเรือน
พ้ืนที่ 7 ไร่ โดยดาเนินการถ่ายทอดความรู้
เร่ืองการใช้สารชีวภัณฑ์เพ่ือป้องกันกาจัด
ศัตรูพืชในผัก สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้
ใน กา รด าเ นิ น งา นข อง กลุ่ มเ กษ ต ร ก ร
เย่ียมเยียนให้กาลังใจ และคาปรึกษาแก่กลุ่ม
เกษตรอย่างสม่าเสมอ

ผลผลิต (Outp u t )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้รับ ก า ร ส่ง เ ส ริม ก า ร
ปลูกพืชผักเมืองหนาว พ้ืนท่ี 7 ไร่

ผลลัพธ์ (Outcom e )
ก ลุ่ม เ ก ษ ต ร ก ร มีค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ
ใ น ก า ร ผ ลิต พืช ผัก อิน ท รีย์ที่มีคุณ ภ า พ
มีรายได้ที่มั่นคง ชุมชนมีแหล่งผลิตอาหารท่ี
ปลอดภัย ดีต่อสุขภาพ

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู )

โครงกำรพฒั นำพื้นที่สูงแบบโครงกำรหลวง 81

กิจกรรมสรำ้ งเกษตรกรตน้ แบบปที ี่1 (รำยใหม)่

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี พ
การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรที่สูง)
ดาเนินกิจกรรมเกษตรกรต้นแบบปีท่ี 1
เ ป้ า ห ม า ย 1 ร า ย เ ก ษ ต ร ก ร ต้ น แ บ บ
นายจาลอง มณีรัตน์ บ้านเลขท่ี 84 หมู่ที่ 8
ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี
การปลกู ผกั อนิ ทรีย์พ้ืนท่ี 1.5 ไร่ สนับสนุนปุ๋ย
อินทรีย์คุณภาพสูงแก่เกษตรกร เพื่อใช้ผลิต
วัสดุเพาะกล้าผักเป็นการลดต้นทุนการผลิต
และทาการเย่ียมเยียนให้คาแนะนาส่งเสริม
และให้ กาลังใจพร้อมทั้งให้ค าแนะน า
สนบั สนุนเกษตรกรต้นแบบอย่างสม่าเสมอ

ผลผลิต (Outp u t )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้รับ ก า ร ส่ง เ ส ริม เ พื่อ
เป็นเก ษต รกรต้นแ บบด้านก าร
ผลิต พืช ผักอินทรีย์ 1 ราย

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เกษตรกรและแปลงของเกษตรกร
ต้นแบบ ได้รับการพัฒนาตามแนวทาง
ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง จ น ส า ม า ร ถ
เ ป็น แ ห ล่ง เ รีย น รู้ศึก ษ า ดูง า น ใ ห้กับ
ชุมชน และผู้อื่นได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู )

โครงกำรพฒั นำพ้ืนทส่ี ูงแบบโครงกำรหลวง 82

กิจกรรมสรำ้ งเกษตรกรตน้ แบบปที ่ี2 (ต่อเนือ่ ง)

ศู นย์ ส่ งเสริ มแ ละพั ฒนาอาชี พ
การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรท่ีสูง)
ดาเนินกิจกรรมเกษตรกรต้นแบบปีท่ี 2
(ต่อเนื่อง) เป้าหมาย 1 เกษตรกรต้นแบบ
นายสรุเดช แก้วแท้ บ้านเลขที่ 19 หมู่ที่ 5
ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี
ทาการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นแบบผสมผสาน
ประกอบด้วยเงาะโรงเรียน ทุเรียน มะม่วง
อโวกาโด บนพื้นท่ี 7 ไร่ สนับสนุนปัจจัย
การผลิต ได้แก่ฮอร์โมนพืชเพ่ือเปล่ียนเพศ
ดอกเงาะ และธาตุอาหารเสริมสาหรับไม้ผล
และทาการเยี่ยมเยียนให้คาแนะนาส่งเสริม
และให้กาลังใจ พร้อมทั้งให้คาแนะนา
สนบั สนุนเกษตรกรตน้ แบบอย่างสม่าเสมอ

ผลผลิต (Outp u t )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้รับ ก า ร ส่ง เ ส ริม เ พื่อ เ ป็น เ ก ษ ต ร ก ร ต้น แ บ บ ด้า น ก า ร ส ว น ไ ม้ผ ล แ บ บ
ผสมผสาน 1 ราย

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เกษตรกร และแปลงของเกษตรกรต้นแบบ ได้รับการพัฒนาตามโครงการ
โ ด ย ก า ร ทา ก า ร เ ก ษ ต ร แ บ บ ผ ส ม ผ ส า น ต า ม แ น ว ท า ง ป รัช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิจ พ อ เ พีย ง
จนสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน ให้กับชุมชน และผู้อื่นได้ เกษตรกรสามารถ
เ ป็ น แ ก น นา ใ น ก า ร จั ด ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ แ ก่ เ ก ษ ต ร ก ร เ ค รื อ ข่ า ย ไ ด้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู )

โครงกำรพฒั นำพนื้ ท่สี งู แบบโครงกำรหลวง 83

กิจกรรมสรำ้ งเกษตรกรตน้ แบบปที ี่3 (ต่อเนอื่ ง)

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรท่ีสูง) ดาเนินกิจกรรม
เกษตรกรต้นแบบปีท่ี 3 (ต่อเน่ือง) มีเป้าหมาย 1 ราย เกษตรกรต้นแบบนางมาลี ทองเมธารัตน์ บ้านเลขที่
58/3 หมู่ที่ 5 ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ทาเกษตรกรผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
พ้ืนท่ี 15 ไร่ ประกอบด้วย การปลกู ไม้ผล ไมย้ ืนต้น การปลูกพืชผกั ปลูกข้าวไร่ และเล้ียงสัตว์ ศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี (เกษตรที่สูง) สนับสนุนวัสดุในการเพาะกล้าพืชผัก และ
ทาการเยยี่ มเยียนให้กาลังใจ พรอ้ มทง้ั ใหค้ าแนะนา และสนบั สนนุ เกษตรกรตน้ แบบอย่างสม่าเสมอ

ผลผลิต (Outp u t )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้รับ ก า ร ส่ง เ ส ริม เ พื่อ
เ ป็น เ ก ษ ต ร ก ร ต้น แ บ บ ด้า น
เศรษฐกิจพอ เพีย ง 1 ราย

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เกษตรกร และแปลงของเกษตรกร
ต้น แ บ บ ไ ด้รับ ก า ร พัฒ น า ต า ม
โครงการ โดยทาการเกษตรแบบ
ผสม ผส าน ต าม แ น วท า งปรัช ญ า
เศรษฐกิจพอเพียง จนสามารถเป็น
แหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน ให้กับชุมชน
แ ละผู้อื่นได้ เกษ ต รกรสามารถเป็น
แกนนาในการจัดการถ่ายทอดความรู้
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ แ ก่ เ ก ษ ต ร ก ร เ ค รื อ ข่ า ย ไ ด้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 84

โครงกำรสง่ เสริมกำรปลกู หญำ้ แฝกในกำร
อนุรกั ษ์ดนิ และนำ้ เพ่ือควำมยงั่ ยนื ทำงกำรเกษตร
กิจกรรมถำ่ ยทอดควำมรเู้ รอื่ งกำรปลกู หญำ้ แฝกในกำรอนุรกั ษด์ นิ และนำ้

ศู นย์ ส่ งเสริ มแ ละพั ฒนาอาชี พ
การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรท่ีสูง)
ดาเนินกิจกรรมถ่ายทอดความรู้การปลูกหญ้า
แฝกในการอนุรักษ์ดินและน้า เป้าหมาย 150
ราย ได้ดาเนินการอบรมเกษตรกร จาวน 3 รุ่น
รุ่นท่ี 1 ณ ศาลาประชาคมบ้านแม่แฉลบ หมู่ที่
3 ต.แม่แฉลบ อ.ศรีสวสั ดิ์ จ.กาญจนบุรี รุ่นท่ี 2
ณ ศาลาประชาคมบ้านเวียคาดี้ หมู่ที่ 5
ตาบลหนองลู อาเภอสังขละบุรี จังหวัด
กาญจนบุรี รุ่นท่ี 3 ณ ศาลาประชาคมบ้านทุ่ง
นางครวญ หมู่ที่ 6 ตาบลชะแล อาเภอทองผา
ภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี รวมทั้งสิ้น 160 ราย
โดยมีการสนับสนุนกลา้ หญ้าแฝก และพันธ์ุไม้
ผล ใหเ้ กษตรกรในพน้ื ทกี่ ารเกษตรของตนเอง

ผลผลิต (Outp u t )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้รับก าร ฝึก อบ ร ม
ถ่ายทอดคว าม รู้ 160 ราย

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เกษต รกร ที่เ ข้า รับ ก า ร ฝึก อ บ ร ม มีค ว า ม รู้ค ว า ม เ ข้า ใ น ใ น ก า ร ใ ช้ห ญ้า แ ฝ ก ใ น ก า ร
อนุรักษ์ดินแ ละนา้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู )

โครงกำรส่งเสรมิ กำรปลกู หญำ้ แฝกในกำร 85

อนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ เพอื่ ควำมยง่ั ยนื ทำงกำรเกษตร
กจิ กรรมสง่ เสรมิ กำรจดั ทำหมบู่ ำ้ นนำรอ่ งกำรปลกู หญำ้ แฝกรว่ มกบั ไมผ้ ลไมย้ นื ตน้

ศู นย์ ส่ งเสริ มแ ละพั ฒนาอาชี พ
การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรที่สูง)
ดาเนินกิจกรรมการส่งเสริมการจัดทาหมู่บ้าน
นาร่องการปลูกหญ้าแฝกร่วมกับไม้ผลไม้ยืน
ต้น โดยมีเป้าหมาย 3 ไร่ ดาเนินการในพื้นที่
ชุมชนบ้านทุ่งนางครวญ ตาบลชะแล อาเภอ
ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี เกษตรกรเข้า
ร่วม 21 ราย โดยสารวจความต้องการชนิดไม้
ผลไม้ยืนต้นสาหรับปลูกร่วมกับแฝก และ
ดาเนินการสนับสนุน กล้าพันธุ์ทุเรียน จานวน
210 ต้น และกล้าหญ้าแฝก 63,000 กล้า
พ้ืนท่ีปลูกรวม 8.4 ไร่ ใช้ โดยช้ีแจงรูปแบบ
การปลูกท่ีเหมาะในแต่ละสภาพพ้ืนที่ให้แก่
เกษตร เพื่อให้สามารถดาเนินการปลูกไม้
ผลไมย้ นื ตน้ ร่วมกับแฝกได้อย่างเหมาะสมและ
เกอ้ื กูลกนั

ผลผลิต (Outp u t )
หมู่บ้านนาร่องก า รป ลู กหญ้ าแ ฝก ร่ ว มกับ ไ ม้ ผล ไม้ยืนต้น 1 หมู่บ้าน พื้นที่ 8.4 ไร่

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เกษ ต ร ก ร ที่มีค ว า ม ส น ใ จ ไ ด้รับ ค ว า ม รู้ป ร ะ โ ย ช น์ข อ ง ห ญ้า แ ฝ ก รูป แ บ บ ก า ร ป ลูก
แ ฝกท่ีเหมาะสมต า ม

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 86

โครงกำรสง่ เสรมิ กำรปลูกหญำ้ แฝกในกำร
อนุรกั ษด์ นิ และนำ้ เพอ่ื ควำมยง่ั ยนื ทำงกำรเกษตร

กิจกรรมสรำ้ งเกษตรกรตน้ แบบปที ี่1 (รำยใหม)่

ศู นย์ ส่ งเสริ มแ ละพั ฒนาอาชี พ
การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรท่ีสูง)
ดาเนินกิจกรรม สร้างเกษตรกรต้นแบบปีที่ 1
เป้าหมาย 1 ราย ได้แก่ นายสุพล สังขโศภา
เกษตรกรดาเนินกิจกรรมการปลูกหญ้าแฝก
ร่วมกับไม้ผลในแปลงเกษตร จานวนพื้นท่ี 6
ไร่ เพ่ือพัฒนาแปลงเกษตรให้เหมาะสมตาม
สภาพพื้นท่ีซึ่งเป็นพื้นที่ลาดชัน พร้อมเรียนรู้
และฝกึ ปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง

ผลผลิต (Outp u t )
เ ก ษ ต ร ก ร ต้น แ บ บ ปีที่ 2 ( ต่อ เ นื่อ ง )
1 ราย

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้อ ง ค์ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร ใ ช้
ประโยช น์จากก ารปลูกหญ้าแ ฝกใน
พื้นท่ีเกษต รขอ งต น

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 87

โครงกำรสง่ เสรมิ กำรปลกู หญำ้ แฝกในกำร
อนุรกั ษด์ นิ และนำ้ เพอื่ ควำมยงั่ ยนื ทำงกำรเกษตร

กจิ กรรมสรำ้ งเกษตรกรตน้ แบบปที ่ี2 (ตอ่ เนอ่ื ง)

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรที่สูง) ดาเนินกิจกรรม
สร้างเกษตรกรต้นแบบปีที่ 2 เป้าหมาย 1 ราย ได้แก่ นางจาเริญ วรรณากาญจน์ เกษตรกรดาเนิน
กจิ กรรมการปลูกหญ้าแฝก ร่วมกับไม้ผลในแปลงเกษตร จานวนพื้นท่ี 2 ไร่ เพ่ือพัฒนาแปลงเกษตร
ให้เหมาะสมตามสภาพพื้นที่ซึ่งเป็นพ้ืนทีล่ าดชัน พรอ้ มเรียนร้แู ละฝกึ ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง

ผลผลิต (Outpu t )
เกษต รกรต้นแ บบ ปีท่ี 2 (ต่อเนื่อง ) 1 ราย

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้อ ง ค์ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร ใ ช้ป ร ะ โ ย ช น์จ า ก ก า ร ป ลูก ห ญ้า แ ฝ ก ใ น พื้น ท่ี
เกษตรของตน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 88

โครงกำรสง่ เสรมิ กำรปลกู หญำ้ แฝกในกำร
อนุรักษ์ดนิ และนำ้ เพอ่ื ควำมยง่ั ยนื ทำงกำรเกษตร

กจิ กรรมสรำ้ งเกษตรกรตน้ แบบปที ี่ 3 (ตอ่ เน่อื ง)

ศู นย์ ส่ งเสริ มแ ละพั ฒนาอาชี พ
การเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรท่ีสูง)
ดาเนินกิจกรรม สร้างเกษตรกรต้นแบบปีท่ี 3
เป้าหมาย 2 ราย ได้แก่เป้าหมาย 2 ราย ได้แก่
นายวีรยทุ ธ ทองผาภูมิปัฐวี และนายวิชัย ทอง
ผาตระหง่าน พื้นที่ดาเนินการ 2 ไร่ เพ่ือ
พัฒนาแปลงเกษตรให้เหมาะสมตามสภาพ
พ้ืนที่ซ่ึงเป็นพื้นที่ลาดชัน พร้อมเรียนรู้และ
ฝึกปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง

ผลผลิต (Outp u t )
เ ก ษ ต ร ก ร ต ้น แ บ บ ป ีที ่ 3
(ต่อเน่ือง ) 2 ราย

ผลลัพธ์ (Outcom e )
พัฒ น า แ ป ล ง เ รีย น รู้ก า ร ป ลูก ห ญ้า
แ ฝก ร่ว ม กับไ ม้ผ ลไ ม้ยืน ต้น ข อ ง
เก ษ ต รก รต้นแ บบสาม ารถเ ป็น จุด
เ รีย น รู้ก า ร ป ลูก ห ญ้า แ ฝ ก ใ ห้แ ก่
เกษต รกร ใน พ้ืนที่

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 89

โครงกำรคลินิกเกษตรเคลอื่ นที่

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี(เกษตรท่ีสูง) ได้ร่วมออกหน่วย
ใหบ้ รกิ าร จานวน 6 ครั้ง ดงั น้ี

ครั้งที่ 1 ออกให้บริการเกษตรกร คลินิกเกษตรเคล่ือนที่ 24 ธันวาคม 2564 สถานท่ี ม.3
ต.ลาดหญ้า อ.เมอื ง จ.กาญจนบุรี ให้บรกิ ารแก่เกษตรกร จานวน 84 ราย

ครั้งท่ี 2 ออกใหบ้ รกิ ารเกษตรกร คลนิ กิ เกษตรเคล่ือนท่ี 4 มกราคม 2565 วัดดอนสว่าง ต.กลอนโด
อ.ดา่ นมะขามเตี้ย จ.กาญจนบรุ ี ใหบ้ รกิ ารแก่เกษตรกร จานวน 72 ราย

ครั้งที่ 3 ออกให้บริการเกษตรกร คลินิกเกษตรเคลื่อนท่ี 11 พฤษภาคม 2565 อบต.ดอนคลัง
อ.ดาเนินสะดวก จ.ราชบุรี ใหบ้ รกิ ารแก่เกษตรกร จานวน 70 ราย

คร้ังท่ี 4 ออกให้บริการเกษตรกร คลินิกเกษตรเคล่ือนที่ 19 พฤษภาคม 2565 หอประชุม
อ.ศรีสวสั ดิ์ จ.กาญจนบุรี ให้บริการแก่เกษตรกร จานวน 106 ราย

คร้ังท่ี 5 ออกให้บริการเกษตรกร คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ 25 กรกฎาคม 2565 สหกรณ์การเกษตร
โพธาราม อ.โพธาราม จ.ราชบุรี ให้บริการแกเ่ กษตรกร จานวน 70 ราย

ครั้งท่ี 6 ออกให้บริการเกษตรกร คลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี 5 สิงหาคม 2565 อบต.สิงห์ อ.ไทรโยค
จ.กาญจนบรุ ี ให้บริการแก่เกษตรกร จานวน 63 ราย

ผลผลิต (Outp u t ) ผลลัพธ์ (Outcom e )
เข้าร่วม โ ครงก ารคลินิก เก ษต ร เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้รับ ค ว า ม รู้จ า ก ง า น
เ ค ลื ่อ น ที ่ ฯ จ า น ว น 6 ค รั ้ง นิท รรศก าร แ ละ ได้รับก ารสนับสนุน
ผู้รับบริก า ร 465 ราย
ปัจจัยการผลิ ต

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 90

โครงกำรพฒั นำชุมชนในเขตรกั ษำพนั ธ์ุสตั วป์ ำ่
และอทุ ยำนแหง่ ชำตจิ งั หวดั กำญจนบรุ ี

กจิ กรรมสรำ้ งแปลงตน้ แบบกำรปลกู ไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ ผสมผสำน

1.1 คัดเลือกเกษตรกรผผู้ า่ นการฝกึ อบรม โดยการประเมินท่ีมีศักยภาพทั้งทางด้านความรู้ และพื้นท่ี
การเกษตร ทม่ี คี วามเหมาะสม เพอื่ จัดทาแปลงต้นแบบให้กับชุมชนุ ทั้ง 2 กลุ่มบา้ น จานวน 2 แปลง ได้แก่

แปลงนายคมสันต์ พิทักษ์ชาติคิรี พ้ืนท่ี 6 ไร่บ้านสาลาวะ หมู่ที่4 ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี
จงั หวัดกาญจนบุรี

แปลงนายไผท กิตติขจรพงไพร พื้นที่ 5 ไร่ บ้านไล่โว่ หมู่ท่ี4 ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัด
กาญจนบุรี

1.2 สง่ เสรมิ และเยีย่ มเยียน เกษตรกรต้นแบบพร้อมให้คาแนะนาในการจัดการแปลงไม้ผลแบบผสมผสาน
อย่างสมา่ เสมอ และไดส้ นับสนนุ กลา้ ไมผ้ ลไม้ยืนต้นแก่แปลงต้นแบบ ดังต่อไปนี้

1) กลา้ ทุเรยี นหมอนทอง จานวน 50 ตน้

2) ตน้ อโวกาโด บธู 7 จานวน 50 ตน้ ผลผลิต (Outp u t )
3) ตน้ กล้าเงาะโรงเรยี น จานวน 35 ต้น เกษตรก รได้รับก ารส่งเสริม แ ล ะพัฒน า
4) ตน้ กลา้ มังคดุ จานวน 35 ต้น แ ป ล ง เ ป ็น แ ห ล ่ง เ ร ีย น รู ้แ ก ่ช ุม ช น
5) ตน้ กลา้ สม้ โอขาวน้าผึ้ง จานวน 20 ตน้ จานวน 2 แ ปลง

ผลลัพธ์ (Outcom e )
แ ปลงต้น แ บบไ ด้รับก า รพัฒน า ต่อยอ ด
เ พื่อ เ ป็น ต้น แ บ บ แ ล ะ แ ห ล่ง เ รีย น รู้
เ รื ่อ ง ก า ร จ ัด ก า ร ส ว น ไ ม ้ผ ล แ บ บ
ผส ม ผ ส าน แ ก่เ กษ ต ร ก รใ น ชุม ช น

เก ษ ต รก รแ ปล ง ต้น แ บบได้รับก า ร
พัฒ น า ค ว า ม รู้เ รื่อ ง ก า ร จัด ก า ร ส ว น ไ ม้
ผลแบบผสมผสา นโดยเป็นมิตรกับ
สิง แ ว ดล้อม แ ละ ทาก าร เก ษต รโ ดย ยึด
หลักปรัช ญาขอ งเ ศ ร ษฐกิจ พอ เพีย ง

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 91

โครงกำรพฒั นำชมุ ชนในเขตรักษำพันธส์ุ ตั วป์ ำ่
และอทุ ยำนแหง่ ชำตจิ งั หวัดกำญจนบรุ ี

กิจกรรมสง่ เสรมิ กำรปลกู ไม้ผลไมย้ นื ตน้

ถา่ ยทอดความรู้เร่ืองการปลูกดแู ลรกั ษา และการขยายพนั ธุไ์ มผ้ ลไม้ยืนตน้ จานวน 3 ครงั้

ครั้งที่ 1 ในวันที่ 16 ธันวาคม 2565 ณ บ้านไล่โว่ ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี โดยมี
ผู้เข้าร่วม กิจกรรม 26 ราย ประกอบด้วย เกษตรกรต้นแบบ ครัวเรือนขาดแคลน เกษตรกรผู้สนใจ ครู และ
นักเรียนโรงเรียนบ้านกองม่องทะ สาขาไล่โว่ การถ่ายทอดความรู้ประกอบด้วยหัวข้อ การปลูกและดูแลไม้
ผลไม้ยืนต้น วิธีการเพาะกล้าทุเรียน วิธีการเลือกยอดทุเรียนพันธุ์ดีเพ่ือใช้เปล่ียนยอด และฝึกวิธีการเปล่ียน
ยอดพันธุ์ทเุ รียน

ครั้งที่ 2 วันท่ี 17-18 มิถุนายน 2565 จัดการฝึกอบรมหลักสูตรการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นเศรษฐกิจ
ณ บ้านสาลาวะตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีผู้เข้าร่วม 16 ราย ประกอบด้วย เกษตรกร
ต้นแบบ ครัวเรือนขาดแคลน เกษตรกรผู้สนใจ 16 ราย การถ่ายทอดความรู้การปลูกและดูแลไม้ผลไม้ยืนต้น
การขยายพนั ธุ์ไมผ้ ลไม้ยนื ต้น และมอบปัจจัยการผลิตแก่กล้าพันธ์ุไม้ผลไม้ยืนต้นแก่กลุ่มครัวเรือนขาดแคลน
เพอื่ ปลกู ไวบ้ รโิ ภคเปน็ การลดรายจ่ายในครัวเรอื น

คร้ังที่ 3 วันท่ี 22-23 มิถุนายน 2565 จัดการฝึกอบรมหลักสูตรการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นแบบผสมผสาน
ณ บ้านไล่โว่ ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี โดยมีผู้เข้าร่วม 16 ราย ประกอบด้วย เกษตรกร
ต้นแบบ ครัวเรือนขาดแคลน เกษตรกรผู้สนใจ การถ่ายทอดความรู้การปลูกและดูแลไม้ผลไม้ยืนต้น
การขยายพนั ธ์ุไมผ้ ลไมย้ นื ต้น และมอบปัจจัยการผลิตแก่กล้าพันธุ์ไม้ผลไม้ยืนต้นแก่กลุ่มครัวเรือนขาดแคลน
เพอ่ื ปลูกไวบ้ รโิ ภคเปน็ การลดรายจ่ายในครัวเรอื น

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 92

โครงกำรพฒั นำชมุ ชนในเขตรกั ษำพันธุส์ ตั วป์ ำ่
และอทุ ยำนแหง่ ชำตจิ งั หวดั กำญจนบรุ ี

กิจกรรมสง่ เสรมิ กำรปลกู ไมผ้ ลไมย้ นื ตน้

2.2 ส่งเสริมการปลกู ไมผ้ ลไม้ยนื ตน้ จานวน 8 ราย พ้ืนท่ี 12 ไร่

คัดเลือกเกษตรกรผู้ผ่านการถ่ายทอดความรู้การปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นแบบผสมผสาน เพื่อจัดทาแปลง
ส่งเสริมการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นแบบผสมผสาน โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมจานวน 8 ราย รวมพื้นท่ี 12 ไร่
ประกอบด้วยเกษตรกรบ้านสาลาวะ 4 ราย เกษตรกรบ้านไล่โว่ 4 ราย พร้อมสนับสนุนกล้าไม้ผลไม้ยืนต้น
ดงั นี้
ผลผลิต (Outp u t )
1) กล้าทุเรยี นหมอนทอง จานวน 64 ต้น เก ษ ต ร ก ร ได้รับก า ร ส่ง เ สริม ก าร ป ลูก
2) ตน้ อโวกาโด บูธ 7 จานวน 64 ตน้
ไ ม้ผ ล ไ ม้ยืน ต้น 8 ร า ย พื้น ที่ร ว ม ทั้ง
3) ต้นกลา้ เงาะโรงเรยี น จานวน 64 ตน้
ส้ิน 12 ไร่

4) ต้นกล้ามังคุด จานวน 64 ตน้ ผลลัพธ์ (Outcom e )
5) ต้นกล้าสม้ โอขาวนา้ ผึ้ง จานวน 16 ตน้ ครัวเ รือ น เก ษ ต ร ก ร ล ด รา ย จ่า ยแ ล ะ
มีผล ผ ลิต ไ ว้บริโ ภ ค ใน ค รัวเ รือน แ ล ะ
เ พิ่ม พูน ค ว า ม รู้เ รื่อ ง ก า ร จัด ก า ร ส ว น
ไม้ผลอย่าง ถูก วิธี ต ามหลั ก วิ ช าก า ร

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 93

โครงกำรพฒั นำชุมชนในเขตรกั ษำพันธ์ุสตั วป์ ำ่
และอทุ ยำนแหง่ ชำตจิ งั หวัดกำญจนบรุ ี

กจิ กรรมสง่ เสรมิ กำรผลติ และใชส้ ำรชวี ภำพ(น้ำสม้ ควนั ไม)้

ดาเนินการถ่ายทอดความรู้เร่ืองการป้องกันกาจัดศัตรูพืช การผลิตและการใช้น้าส้มควันไม้เพ่ือ
ป้องกันกาจัดศัตรูพืชจานวน 2 คร้ัง ประกอบด้วยเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟและเกษตรผู้ปลูกผักอินทรีย์ พร้อม
ตดิ ตามการผลิตนา้ ส้มควันไม้เพือ่ ใชน้ าชุมชน และให้คาแนะนาการใช้น้าส้มควันไม้เพ่อื การเกษตร

คร้ังท่ี 1 ระหว่างวันท่ี 23- 24 มกราคม 2565 ณ บ้านสาลาวะ และ บ้านไล่โว่ หมู่ที่ 4 ตาบลไล่โว่
อาเภอสงั ขละบรุ ี จังหวดั กาญจนบุรี จานวน 58 ราย โดยดาเนินการถ่ายทอดความรู้เรื่องการป้องกันกาจัดมอด
เจาะผลกาแฟ พร้อมสาธิต และฝึกปฏิบัติการทากับดักมอดกาแฟ เพื่อควบคุมการระบาดของมอดกาแฟ และ
การใชน้ า้ สม้ ควันไม้เพ่ือป้องกนั ศตั รูพืชทางการเกษตร

ครั้งท่ี 2 วันที่5 สิงหาคม 2565 ณ บ้านไล่โว่ หมู่ท่ี 4 ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
จานวน 30 ราย โดยดาเนินการถ่ายทอดความรู้เรื่องการผลิตและใช้น้าส้มควันไม้เพื่อการเกษตร และ
การป้องกันกาจดั มอดเจาะผลกาแฟ

ผลผลิต (Outp u t ) ผลลัพธ์ (Outcom e )
เ ก ษ ต ร ก ร ไ ด้ รั บ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง เ ก ษ ต ร ก ร มี ก า ร ผ ลิ ต น้า ส้ ม ค วั น ไ ม้ ใ ช้ ใ น ชุ ม ช น
แ ล ะ มี ก า ร ใ ช้ น้า ส้ ม ค วั น ไ ม้ เ พื่ อ ป้ อ ง กั น กา จั ด
ก า ร ผ ล ิต แ ล ะ ใ ช ้น้ า ส ้ม ค ว ัน ไ ม ้เ พื ่อ ศัตรูพืชในแปลงเกษตรของตนเอง เช่น แปลง
การเกษต ร 30 ราย แ ละมีเต าเผาเพื่อ
ผลิตนา้ ส้มควันไม้ในชุมชน 2 จุด ผักอินทรีย์ แปลงไม้ผล เป็นต้น

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 94

โครงกำรพฒั นำชมุ ชนในเขตรักษำพันธส์ุ ตั วป์ ำ่
และอทุ ยำนแหง่ ชำตจิ งั หวดั กำญจนบรุ ี

กิจกรรมจดั ทำแปลงเรยี นรกู้ ำรผลติ พชื ปลอดภยั ในโรงเรยี น

โดยดาเนินการในโรงเรียนบ้าน

กองม่องทะ สาขาบ้านสาลาวะ และ
โรงเรียนบ้านกองม่องทะ สาขาบ้านไล่โว่
โดยร่วมกาหนดตารางการเรียนรู้ และ
ช่วงเวลาในการทากิจกรรมของนักเรียน
ท้ัง 2โรงเรียน ร่วมกับครูผู้รับผิดชอบ
ด้านการเกษตรของโรงเรียน พร้อมมอบ
วั ส ดุ ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร เ พ่ื อ ใ ช้ ใ น
การทากจิ กรรม

ผลผลิต (Outp u t )
ม ีแ ป ล ง เ ร ีย น รู ้ก า ร ผ ล ิต ผ ัก
ปล อดภัยใน โ รงเรียน จาน วน 2
โ ร ง เ รี ย น

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เ ย า ว ช น บ น พื้น ที่สูง ไ ด้รับ ก า ร ถ่า ย ท อ ด ค ว า ม รู้เ รื่อ ง ก า ร ป ลูก ผัก ป ล อ ด ภัย
จากสารพิษ แ ละมีอาหารที่ป ลอดภั ยบ ริโภค

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั กำญจนบรุ ี(เกษตรท่ีสงู ) 95

โครงกำรพฒั นำแหล่งทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร

กิจกรรมพฒั นำศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ำรเปน็ ศนู ยส์ ำธติ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร

กิจกรรมพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการเป็นศูนย์
สาธิตท่องเท่ียวเชิงเกษตร เป้าหมาย 1 แหล่ง
งบประมาณ 20,000 บาท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนา
อาชีพการเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี (เกษตรท่ีสูง)
ได้ดาเนินการพัฒนาศูนย์ เพ่ือให้เป็นศูนย์เรียนรู้
ง า น วิ ช า ก า ร แ ล ะ ศู น ย์ บ ริ ก า ร นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ท่ี มี
คุณภาพโดยดาเนินดังน้ี การปรับภูมิทัศน์จัดทา
จุด Check in จานวน 1 การจัดทาปา้ ยพนั ธ์ุพืช

ผลผลิต (Outp u t )
ศูน ย์ได้รับ ก า รพัฒน าเ ป็น ศูน ย์ส าธิต
ท่องเท่ียวเชิ งเ กษ ต ร 1 แ หล่ง

ผลลัพธ์ (Outcom e )
มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรบนพื้นที่สูงที่ มีมาตรฐาน และคุณภาพ เป็นที่พึงพอใจ
แก่นักท่องเท่ียว

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เยำวชนเกษตรอำเซียน จงั หวดั กำญจนบรุ ี 96

โครงกำรส่งเสริมกำรเพำะเลีย้ งและ
แปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ้ิงหรดี เพอื่ เพิม่ มูลค่ำ

ศูนย์ส่งเสริมเยาวชนเกษตรอาเซียน จังหวัดกาญจนบุรี มีภารกิจในการส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้
ทางการเกษตร อีกทั้งยังมีจุดเรียนรู้และบุคลากรท่ีมีความชานาญในการเพาะเลี้ยงและการแปรรูป
ผลติ ภัณฑ์จ้ิงหรีด โดยท่ีผ่านมาศูนย์ฯ ได้ดาเนินการฝึกอบรมหลักสูตรการเพาะเล้ียงและการแปรรูปจิ้งหรีด
ทง้ั ในโครงการ ทศ่ี ูนย์ฯ รบั ผิดชอบ ไดแ้ ก่ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพทางการเกษตร โครงการพัฒนา
เกษตรกรปราดเปรื่อง (smart farmer) และโครงการเกษตรกรรุ่นใหม่ รวมถึงการสนับสนุนเจ้าหน้าที่
ศูนย์ฯ เป็นวิทยากรฝึกอบรมให้กับหน่วยงานภายนอก เพื่อฝึกอบรมให้แก่กลุ่มยุวเกษตรกร เกษตรกร และ
ประชาชนทว่ั ไป นอกจากนย้ี งั มีการออกหนว่ ยใหบ้ ริการเคล่ือนท่ีเพ่ือให้ความรู้แก่เกษตรกร และบุคคลอื่น ๆ

ที่มีความสนใจเร่ืองจิ้งหรีดอีกด้วย ดังนั้น ศูนย์ฯ จึงได้จัดทาโครงการส่งเสริมการเพาะเล้ียงและแปรรูป
ผลิตภัณฑ์จิ้งหรีดเพ่ือเพิ่มมูลค่า เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมเกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้ท่ีสนใจ
ในการเลยี้ งจิ้งหรดี และสามารถพัฒนาผลติ ภณั ฑ์แปรรูปจากจ้ิงหรดี ให้มคี วามหลากหลายมากข้ึน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เยำวชนเกษตรอำเซียน จงั หวดั กำญจนบรุ ี 97

โครงกำรส่งเสริมกำรเพำะเลย้ี งและ
แปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ง้ิ หรีดเพ่อื เพ่ิมมูลค่ำ

ผลผลิต (Outp u t )
1. ได้สื่อถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบคลิปวิดีโอเพื่อเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ของศูนย์ฯ
จานวน 1 เรื่อง แ ละแ ผ่นพับประช าสัมพันธ์ความรู้ในการเพาะเลี้ยงแ ละแ ปรรูปจิ้งหรีด
จานวน 1,500 แผ่น สามารถส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้ในการเพาะเลี้ยงและแ ปรรูป
จิ้งหรีดให้แก่เยาวชน เกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้ท่ีสนใจ ไม่น้อยกว่า 300 ราย
2. ได้จิ้งหรีดพันธุ์ทองดาและพันธุ์ทองแดงลาย จานวน 300 กิโลกรัม สาหรับนาไปแปรรูป
เป็นผลิต ภัณฑ์จากจิ้งหรีด ได้แ ก่ จิ้งหรีดแช่แข็ง จิ้งหรีดทอดสมุนไพร ข้าวเกรียบจิ้งหรีด
พร้อมทอด ข้าวเกรียบจิ้งหรีดพร้อมรับประทาน และขนมดอกจอกจิ้งหรีด สามารถส่งเสริม
ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ย ง แ ล ะ แ ป ร รูป จิ้ง ห รีด แ ล ะ ใ ห้บ ริก า ร ต า ม ค ว า ม ต้อ ง ก า ร แ ก่ผู้ป ร ะ ก อ บ ก า ร
เกษตรกร และผู้ท่ีสนใจ

ผลลัพธ์ (Outcom e )
1. เยาวชน เกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้ที่สนใจ เข้าใจวิธีการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดให้ได้
ผลผลิตที่มีคุณภาพ และแนวทางการแปรรูปจิ้งหรีดเพ่ือเพิ่มมูลค่า
2. เยาวชน เกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้ที่สนใจ ได้นาองค์ความรู้ในการเพาะเลี้ยงและ
การแปรรูปจิ้งหรีดไปปฏิบัติและปรับใช้ในการประกอบอาชีพของตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ
10 จากจานวนผู้ท่ีเข้ามาเรียนรู้ท้ังหมด
3. จุดเ รีย นรู้กา รเ ลี้ยง จิ้ง หรีดข อง ศูน ย์ฯ ได้รับ กา รป รับ ปรุงแ ล ะพัฒน าใ ห้พ ร้อ มสาห รับ
การให้บริการและเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดความรู้แก่เยาวชน เกษตรกร ผู้ประกอบการ
และผู้ท่ีสนใจ
4. เงินรายได้ตามระเบียบกรมส่งเสริมการเกษตรว่าด้วยการใช้จ่ายเงินรายได้จาก
กา ร ดา เ นิน ง า น ส่ง เ ส ริม ด้า น ก า ร เ ก ษ ต ร พ . ศ . 2 5 6 2 ไ ด้ขับ เ ค ลื่อ น ก่อ ใ ห้เ กิด ป ร ะ โ ย ช น์
ต่อ เ ก ษ ต ร ก ร แ ล ะ ร ะ บ บ ง า น ส่ง เ ส ริม ก า ร เ ก ษ ต ร ใ น พื้น ที่ ซึ่ง ต ร ง กับ ค ว า ม ต้อ ง ก า ร ข อ ง
เกษตรกร


Click to View FlipBook Version