The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จังหวัดราชบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wdoae2015, 2022-11-21 23:13:24

รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จังหวัดราชบุรี

รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จังหวัดราชบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เยำวชนเกษตรอำเซียน จงั หวดั กำญจนบรุ ี

98

โครงกำรเตรยี มควำมพรอ้ มทหำรกองประจำกำร
สู่กำรเป็นทำยำทเกษตรรนุ่ ใหม่ ประจำปี 2565

กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
และสหกรณ์ ได้มอบหมายให้ศูนย์ส่งเสริมเยาวชน 1. มีทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ และ Young
เกษตรอาเซียน จังหวัดกาญจนบุรี ให้มีการเตรียม Smart Farmer เ พิ่ ม ขึ้ น เ ป็ น ก า ลั ง ส า คั ญ
ความพร้อมทหารกองประจาการซึ่งเป็นบุตรหลาน ในการพัฒนาการเกษตรของประเทศในอนาคต
เกษตรกรให้มีความรู้ ทักษะด้านการเกษตร การใช้ 2. เกิดความร่วมมือในการทางานร่วมกันของ
เทคโนโลยีทางการเกษตร การบริหารจัดการ และ
การตลาดสินค้าเกษตร เพ่ือสร้างทายาทเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและ
รุ่นใหม่ พัฒนาสู่การเป็น Young Smart Farmer สห กร ณ์ แ ล ะ กร มเ สมี ยน ต รา ส านั กง า น
และสืบทอดอาชีพการเกษตรต่อไป ศูนย์ส่งเสริม ปลัดกระทรวงกลาโหม เพื่อการพัฒนาทหารกอง
เยาวชนเกษตรอาเซียน จังหวัดกาญจนบุรี จึงได้ ประจาการเตรียมความพร้อมด้านอาชี พ
จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ท ห า ร ก อ ง ก่อนปลดประจาการ
ประจาการ สู่การเป็นทายาทเกษตรรุ่นใหม่
ประจาปีงบประมาณ 2565

ผลลัพธ์ (Outcom e )
ทหารกองประจาการ จานวน 20 คน มีความรู้
ทักษะด้านการเกษตร สามารถนาไปประกอบ
อาชีพ สร้างรายไดภ้ ายหลงั ปลดประจาการ

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เยำวชนเกษตรอำเซียน จงั หวดั กำญจนบรุ ี

โครงกำรเตรียมควำมพรอ้ มผนู้ ำเยำวชนเกษตร 99

เพื่อไปฝกึ งำนตำมขอ้ ตกลงควำมรว่ มมอื กบั สภำกำร
แลกเปล่ยี นทำงกำรเกษตรของญ่ปี นุ่ (JAEC) ปี 2565

ศูนย์ส่งเสริมเยาวชนเกษตรอาเซียน จังหวัด ผลผลิต (Outp u t )
กาญจนบุรี รับผิดชอบดาเนินการฝึกอบรมเยาวชน เยาว ช นสั งกัด กรม การ ข้าว กร มส่ง เสริ ม
เกษตรเพื่อเตรียมความพร้อมทั้งด้านภาษา การเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมปศุสัตว์
วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในแบบญี่ปุ่น สานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม และ
ตลอดจนฝึกวินัย และความแข็งแรงของสุขภาพ สถาบันวิจัยและพัฒนาพ้ืนท่ีสูง (องค์การ
ร่างกาย ศูนย์ส่งเสริมเยาวชนเกษตรอาเซียน จังหวัด มหาชน) ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ภาษาญี่ปุ่น
กาญจนบุ รี จึ งได้ ศึกษาปั ญหาอุปสรรคจาก วั ฒ น ธ ร ร ป ร ะ เ พ ณี ญ่ี ปุ่ น แ ล ะ ทั ก ษ ะ ท า ง
การดาเนินโครงการในปีท่ีผ่านมา แล้วพัฒนา การเกษตร จานวน 20 คน
ปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรมให้เหมาะสมและ

เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เยาวชนเกษตรท่ีเข้ารับการ ผลลัพธ์ (Outco m e )
อบรม จัดทาเป็นโครงการเตรียมความพร้อมผู้นา เย า ว ช น สั ง กั ดก ร ม ก า ร ข้ า ว ก ร ม ส่ ง เ ส ริ ม
เยาวชนเกษตรเพื่อไปฝึกงานตามข้อตกลงความ การเกษตร กรมสง่ เสริมสหกรณ์ กรมปศุสัตว์ และ
ร่วมมือกับสภาการแลกเปลี่ยนทางการเกษตรของ สถาบันวิจยั และพัฒนาพน้ื ท่ีสูง (องค์การมหาชน)
ญีป่ นุ่ (JAEC) ปี 2565
ท่ี เ ข้ า รั บ ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม มี ค ว า ม รู้ ภ า ษ า ญี่ ปุ่ น

วัฒนธรรมประเพณี และสามารถนาความรู้และ

ทักษะไปใช้ในการสื่อสารกับครอบครัวเกษตรกร

ญ่ีปุ่นได้ ตามจานวนโควต้าท่ีประเทศญ่ีปุ่นตกลง

กบั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เยำวชนเกษตรอำเซียน จงั หวดั กำญจนบรุ ี

โครงกำรค่ำยเยำวชน...รกั ษพ์ งไพร 100

เฉลมิ พระเกยี รติ 60 ปพรรรษะจำ ำสปมเงีดบจ็ พประรเทะพมรำตั ณนรำช2สดุ5ำฯ65
สยำมบรมรำชกมุ ำรี”

ศูนย์ส่งเสริมเยาวชนเกษตรอาเซียน จังหวัด ผลผลิต (Outp u t )
กาญจนบุรี สังกัดกรมส่งเสริมการเกษตร ได้ร่วม 1) เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญ
ดาเนินตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 ในการร่วมเป็น และประโยชน์ของพืชในทอ้ งถิน่
วิทยากรอบรมให้ความรู้ในโครงการ “ค่ายเยาวชน 2) เยาวชนสามารถแปรรูปอาหารจากพืช
...รกั ษพ์ งไพร เฉลิมระเกียรติฯ” แก่เยาวชนในหัวข้อ ในท้องถิน่ ได้
“พืชในท้องถ่ินของหนู” เพ่ือให้เยาวชนเกิดความ 3) เยาวชนมีวฒั นธรรมและภูมิปัญญาท่ีดีงามของ
ต ร ะ ห นั ก แ ล ะ มี จิ ต ส า นึ ก ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ทอ้ งถ่นิ สามารถช่วยเหลือตนเองได้

ทรัพยากรธรรมชาติและพืชในท้องถิ่นของตนเอง ผลลัพธ์ (Outcom e )
ในปีงบประมาณ 2565 มูลนิธิสวนสมเด็จพระนาง 1) เยาวชนท่ีเข้าร่วมโครงการ จานวน 64 คน
เจ้าสิริกิต์ิฯ ได้กาหนดจัดกิจกกรม “ค่ายเยาวชน... มีความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญและ
รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จ ประโยชน์ของกลว้ ยได้
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ” 2) เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ จานวน 64 คน
ที่ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าเขาน้าพุ สามารถแปรรูปอาหารจากกล้วย 2 เมนู คือ
กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช อาเภอศรี โรลกลว้ ยหอม และ เฟรนฟรายกลว้ ยหอม
สวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งศูนย์ส่งเสริมเยาวชน 3) เยาวชนท่ีเข้าร่วมโครงการ ได้รับการ
สนับสนนุ กล้วยพนั ธ์ุดี จานวน 20 ตน้
เกษตรอาเซียน จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับมอบหมาย
ให้ร่วมเป็นวิทยากรในหลักสูตร “กล้วยพืชใน
ท้องถ่ินของหนู” และ “การแปรรูปอาหารจากพืชใน
ท้องถิ่น” จานวน 2 รุ่น ซ่ึงหลักสูตรดังกล่าวจะเป็น
การบูรณาการร่วมกับหน่วยงานกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เยำวชนเกษตรอำเซียน จงั หวดั กำญจนบรุ ี 101

โครงกำรคลินกิ เกษตรเคลอื่ นที่

ศูนยส์ ง่ เสริมเยาวชนเกษตรอาเซียน จังหวัด ผลลัพธ์ (Outcom e )
ก า ญ จ น บุ รี บู ร ณ า ก า ร ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง 1) 22 ธันวาคม 2564 โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา
ห น่ ว ย ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ จ.ราชบุรี เขา้ รับบรกิ าร 53 ราย
พัฒนาการเกษตร การจัดต้ังคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ 2) 24 ธันวาคม 2565 ศาลาอเนกประสงค์บ้านทุ่งนา
เป็นวธิ ที ่ีสามารถให้การบริการทางวิชาการและการ นางหรอก จ.กาญจนบุรี เขา้ รับบรกิ าร 76 ราย
ถ่ายทอดเทคโนโลยีบรรลุผลสาเร็จถึงตัวเกษตรกร 3) 4 มีนาคม 2565 วัดดอนสว่าง จ.กาญจนบุรี
ได้โดยตรงตามที่มุ่งหวัง โดยอาศัย เคร่ืองมือ เข้ารบั บรกิ าร 74 ราย
อุปกรณ์ เข้าช่วยเหลือพร้อมให้คาแนะนาในการ 4) 16 มีนาคม 2565 วัดแหลมทอง จ.ราชบุรี
ปฏิบัติงานที่เหมาะสม เข้าไปได้ทุกจุดแม้ในพ้ืนท่ี เข้ารับบรกิ าร 51 ราย
ห่างไกล สร้างแรงดึงดูดใจจากเกษตรกรส่วนใหญ่ 5)11 พฤษภาคม 2565 ศาลาอเนกประสงค์องค์การ
ในพ้ืนท่ีเป้าหมาย กระตุ้นเกษตรกรให้เกิดการ บรหิ ารส่วนจ.ราชบุรี เขา้ รบั บรกิ าร 50 ราย
ตื่นตวั และยอมรับนวัตกรรมใหม่ๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 6) 19 พฤษภาคม 2565 หอประชุมอาเภอศรีสวัสดิ์
จ.กาญจนบุรี เข้ารบั บริการ 63 ราย
ผลผลิต (Outpu t ) 7) 25 กรกฎาคม 2565 สหกรณ์การเกษตรโพธาราม
1) เพ่ือให้เกษตรกรที่มีปัญหาด้านการเกษตรใน จากัด จ.ราชบรุ ี เขา้ รบั บรกิ าร 68 ราย
พื้นท่ีห่างไกล สามารถเข้าถึงการบริการทาง 8) 31 กรกฎาคม 2565 ลานอเนกประสงค์เรือนไทย
วชิ าการ และได้รับการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร โพธสุธน จ.สุพรรณบุรี เข้ารับ9) 5 สิงหาคม 2565
อยา่ งครบวงจรในคราวเดยี วกนั ศาลาอเนกประสงค์องค์การบริหารส่วนตาบลสิงห์
2) เพื่อบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จ.กาญจนบรุ ี เขา้ รบั บริการ 60 ราย
วิชาการ หน่วยงานส่งเสริมและศูนย์บริการ 10) 19 สิงหาคม 2565 สานักงานเทศบาลตาบล
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจาตาบล ใน ปราณบรุ ี จ.ประจวบครี ีขนั ธ์
การให้บริการและแก้ไขปัญหาทางการเกษตร
รว่ มกัน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เยำวชนเกษตรอำเซียน จงั หวดั กำญจนบรุ ี

102

ส่งเสรมิ กำรทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตร
ตำมหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ปงี บประมำณ 2565

การจัดทาโครงการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ภายในศูนย์ฯ เพื่อเป็น 1. แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรของศูนย์ส่งเสริม
เยาวชนเกษตรอาเซียน จ.กาญจนบุรี ท่ีได้รับการ
แหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตเชิงเกษตรแก่นักท่องเท่ียว พฒั นา พรอ้ มใหบ้ ริการนักทอ่ งเทยี่ วได้
เกษตรกรและบุคคลท่ัวไป โดยได้รับงบประมาณ 2. แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรของศูนย์ส่งเสริม
ในการดาเนินงานโครงการฯ ทั้งส้ิน 20,000 บาท เยาวชนเกษตรอาเซียน จ.กาญจนบุรี และแหล่ง
(สองหมื่นบาทถ้วน) เพื่อส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวได้ ท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงได้รับการประชาสัมพันธ์
เรียนรู้วิถีการทาเกษตรกรรมตามหลักเศรษฐกิจ ผา่ นสื่อในช่องทางตา่ งๆ
พอเพียง ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
และเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างรายได้ ผลลัพธ์ (Outcom e )
ใหแ้ ก่คนในชุมชน โดยดาเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ -ปี 2565 แหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตรท่ีเชื่อมโยง
มีนักท่องเท่ียว เกษตรกร และบุคคลท่ัวไป สนใจ
บริเวณจุดต้อนรับ และจัดทาป้ายประชาสัมพันธ์ เขา้ ศกึ ษาดงู านอยา่ งต่อเนื่อง เชน่
การท่องเท่ียวเชิงเกษตร หลังจากดาเนินการ 1.วิสาหกิจชุมชนบ้านไร่ห่มรัก จานวน 500 - 600
ปรับปรุงภูมิทัศน์เรียบร้อยแล้ว ได้มีประชาชน คน ต่อปี
เยาวชน และนักเรียนท่ีสนใจเข้ามาใช้บริการ และ 2.สวนองุ่นคณุ บี จานวน 150 - 200 คน ตอ่ ปี
ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ฝึกงานแก่เยาวชนเกษตร ทั้งน้ี 3.วิสาหกิจชุมชนเอิร์ธเฮ้าส์ จานวน 100 - 150 คน
ศูนย์ฯ ยงั ได้มกี ารเชื่อมโยงเส้นทางการท่องเท่ียวกับ ต่อปี
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วใกลเ้ คียงอื่นๆ ในพื้นที่ เช่น วิสาหกิจ
ชุมชน กลุ่มผู้ปลูกองุ่น ที่สามารถผลิตและแปรรูป
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ ร ว ม ทั้ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ท่ี ย ว

ทางวัฒนธรรมอนื่ ๆ อีกดว้ ย

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร

โครงกำรสง่ เสรมิ กำรเพม่ิ ประสิทธิภำพ 103
กำรผลติ สมุนไพร

ผลผลิต (Outp u t ) ปัจจุบันสมุนไพรไทยยังคงเป็นที่
แ ป ล ง ข ย า ย พัน ธุ์ส มุน ไ พ ร พัน ธุ์ดีแ ล ะ ส มุน ไ พ ร ต้องการอย่างมากของตลาด ท้ังยาสมุนไพร
พ้ืนบ้าน จานวน 1 แ ปลง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม และเครื่องสาอาง
สมุนไพรกาลังมาแรงในตลาด การพัฒนา
ผลลัพธ์ (Outco m e ) ส มุ น ไ พ ร เ พื่ อ ก า ร ส่ ง อ อ ก ใ น ยุ ค น้ี เ รี ย ก ว่ า
1.เป็นแหล่งรวบรวมและขยายพันธ์ุพืชสมุนไพรพันธุ์ดี ตอบสนองต่อตลาดได้อย่างดี และสอดคล้อง
และพชื สมุนไพรพน้ื บ้าน และสนับสนุนพันธุ์สมุนไพรแก่ กับความต้องการตามแนวโน้มของตลาดเรื่อง
เกษตรกรผู้สนใจ สุ ข ภ า พ สิ่ ง เ ห ล่ า นี้ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ส มุ น ไ พ ร
2.เป็นแหลง่ เรยี นรู้ด้านการผลติ การพัฒนาคุณภาพ และ ถูกนาไปใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท
การแปรรูปสมุนไพรเบ้ืองต้น สาหรับเกษตรกรและ ทาให้เกิดความต้องการใช้สมุนไพรเพ่ิมมาก
ผู้สนใจ ข้ึน แต่ปัจจุบันการผลิตสมุนไพรของเกษตรกร
3.ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จาก ยังมี ชนิด ปริมาณ และคุณภาพของผลผลิต
สมุนไพร ไม่ตรงตามความต้องการของตลาด เน่ืองจาก
เกษตรกรยังขาดความรู้ ทักษะในการผลิต
การจัดการผลผลิต การควบคุมคุณภาพ
การบริหารจัดการ และการเพ่ิมมูลค่า
ตลอดจนขาดการเช่ือมโยงระหว่างผู้ผลิต
ผู้ค้า ผู้บริโภค และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ซึ่งศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร
จั ง ห วั ด ส มุ ท ร ส า ค ร ไ ด้ รั บ ส นั บ ส นุ น
งบประมาณปี 2565 โดยได้ดาเนินกิจกรรม
ดังน้ี

1) จัดทาแปลงขยายพันธุ์สมุนไพรพันธุ์ดีและ
สมุนไพรพ้ืนบ้าน เพื่ออนุรักษ์ เป็นแหล่ง
รวบรวมพันธ์ุ แหลง่ พันธดุ์ ี

2) ให้บริการความรู้ เร่ือง สมุนไพรใกล้ตัว
การปลูกและ การแปรรูปสมุนไพร ตะไคร้
หอมและไพล

3) ผลิต/ขยายพันธ์ุสมุนไพร พร้อมสนับสนุน
ให้แก่หนว่ ยงาน และประชาชนที่สนใจ

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร 104

โครงกำรส่งเสริมกำรเพ่มิ ประสิทธิภำพ
กำรผลติ ไมด้ อกไม้ประดับ

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
จังหวัดสมุทรสาคร มีภารกิจด้านการผลิตไม้ดอกไม้ 1) แปลงรวบรวมพันธ์ุใหม่ท่ีเป็นความต้องการ
ประดบั คุณภาพ พร้อมสนับสนุนเกษตรกรผู้ผลิตไม้ ของตลาด พนั ธุ์ใหมท่ ่ีเหมาะสมกับพื้นท่ี และแปลง
ดอกไม้ประดับให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนา แม่พันธุท์ ่ีมีความหลากหลาย จานวน 1 แปลง
เทคโนโลยีด้านการผลิต โดยเกษตรกรผู้ผลิตไม้ 2) จัดประชุมเชื่อมโยงและสร้างความเข้มแข็ง
ด อ ก ไ ม้ ป ร ะ ดั บ ส่ ว น ใ ห ญ่ ยั ง ผ ลิ ต ป ริ ม า ณ องคก์ รไมด้ อกไมป้ ระดับ จานวน 8 คร้ัง
และคุณภาพของสินค้าไม่ตรงตามความต้องการ

ของตลาด สืบเน่ืองจากหลายสาเหตุ เช่น ผู้ผลิตขาด
ความรู้ความเข้าใจเรื่องการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพ
และปลอดภัย ขาดการพัฒนาพันธุ์ใหม่ ต้นทุน
ปั จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต ท่ี มี แ น ว โ น้ ม เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น
ปัญหาจากสภาพอากาศแปรปรวน ขาดความรู้
ในการวางแผนการผลิตที่สอดคล้องกับตลาด
โดยเฉพาะตลาดปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงความ
นิยมในสินค้าไม้ดอกไม้ประดับอย่างรวดเร็ว จึงมี
ภารกิจในการรวบรวมพันธุ์พืชไม้ประดับท่ีมีแนว

โน้นทางเศรษฐกิจ ศึกษาเทคโนโลยีการผลิต
ท่ีเหมาะสมลดต้นทุน พร้อมส่งเสริมและถ่ายทอด
เทคโนโลยกี ารผลิตแกเ่ กษตรกร

ผลลัพธ์ (Outcom e )
มีแหล่งเรียนรู้การผลิตไม้ดอกไม้ประดับในชุมชน
ท่ีสามารถศึกษาดูงานได้ เกิดเทคโนโลยีการผลิต
ไ ม้ ด อ ก ไ ม้ ป ร ะ ดั บ ท่ี ช่ ว ย ล ด ต้ น ทุ น เ ก ษ ต ร ก ร
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมท้ังไม้ดอกไม้ประดับ

ของประเทศไทยมีคุณภาพดี และสามารถแข่งขัน
ในตลาดระดับสากลได้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร 105

โเกคษรงตกรำอรัจสฉง่ เรสิยระิมและพฒั นำตน้ แบบ

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
จังหวัดสมุทรสาคร ได้รับงบประมาณ สาหรับ
จัดทาแปลงเรียนรู้ระบบบริหารจัดการแปลง 1. ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัด
เกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ โดยดาเนินการ สมุทรสาคร เกิดแปลงต้นแบบการเรียนรู้ระบบ
ในแปลงเรียนรู้กล้วยไม้สกุลหวาย ภายใต้ บริหารจดั การแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ
โรงเรือนขนาดพ้ืนที่ 200 ตารางเมตร พร้อมจัด กลว้ ยไม้หวายตดั ดอก
อบรมถ่ายทอดความรู้ เร่ืองการส่งเสริมและ 2. ถ่ายทอดองค์ความรู้เร่ือง การส่งเสริมและพัฒนา
พั ฒ น า ต้ น แ บ บ ร ะ บ บ เ ก ษ ต ร อั จ ฉ ริ ย ะ ต้นแบบระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense)
จานวน 3 ครั้ง ผไู้ ด้รบั การถา่ ยทอด 70 ราย
(HandySense) พร้อมสาธิตให้คาแนะนาการใช้
ระบบควบคุมเกษตรอัจฉริยะ (HandySense)
แก่ผู้สนใจและผู้เข้าเยี่ยมชมในแปลงต้นแบบ
เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ และสร้างความเข้าใจแก่ผู้
เ ข้ า รั บ ก า ร อ บ ร ม ใ น ก า ร น า เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ป
ประยกุ ต์ใช้ในพ้นื ท่ี

ผล ลัพ ธ์ (Outcom e )
เกษตรกรและเจ้าหน้าที่นาความรู้และทักษะไป
ประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วย
ระบบเกษตรอัจฉริยะ ที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่
เกิดประสิทธิภาพในการผลิตและใช้ทรัพยากรอย่าง
ค้มุ คา่

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร

106

โครงกำรสง่ เสรมิ และพัฒนำ
วสิ ำหกจิ ชุมชน (ทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร)

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
จังหวัดสมุทรสาคร เป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร 1. จัดทาป้ายประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเท่ียว
ท่ีใกล้กรุงเทพมหานคร ให้บริการข้อมูลวิชาการ จานวน 2 ปา้ ย
และองค์ความรู้ด้านการเกษตรแก่เกษตรกรและ 2 . ป รั บ ป รุ ง ฐ า น เ รี ย น รู้ ไ ม้ ด อ ก ไ ม้ ป ร ะ ดั บ
บุคคลทั่วไป โดยมีแปลงเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ จานวน 1 ฐาน
ด้านการเกษตร ได้แก่ การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้สกุล
ต่าง ๆ การขยายพันธ์ุไม้ดอกไม้ประดับและไม้ผล 3. ปรับปรุงป้าย Check in ศสพ.สค และตกแต่ง
การปลูกเล้ียงไม้ฟอกอากาศและแค คตัส ป้ายจุดเรียนรูใ้ ห้สวยงามจานวน 5 จดุ

การเพาะเห็ดครบวงจรและการแปรรูป การเลี้ยง
ไส้เดือนเพ่ือผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือน และการเล้ียง
ชั นโรง อี กท้ั งยังมี การจัดอบรมฝึ กอาชี พ
ทางการเกษตรท่ีสามารถนาไปต่อยอดสร้าง
รายได้อีกด้วย นอกจากนั้นยังสามารถเยี่ยมชม
วิสาหกิจชุมชนใกล้เคียงในพื้นท่ีได้ โดยมี
เกษต รกรที่มีความรู้ ความเชี่ ยวชาญด้าน
การเกษตรให้คาปรึกษาแนะนาเป็นอย่างดี และมี

สนิ ค้าเกษตรคณุ ภาพพร้อมจาหนา่ ยตลอดทัง้ ปี

ผลลัพธ์ (Outcom e )
ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง เ ก ษ ต ร ข อ ง
หน่วยงานให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายมากยิ่งข้ึนและ
พัฒนาฐานเรียนรู้ของหน่วยงานให้มีความพร้อม
ในการใหบ้ รกิ ารถ่ายทอดความรู้

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร 107

โครงกำรคลนิ กิ เกษตรเคล่ือนที่
ในพระรำชำนเุ ครำะห์

สมเดจ็ พระบรมโอรสำธริ ำชฯ สยำมมกฎุ รำชกมุ ำร

การให้บริการคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี
เ ป็ น วิ ธี ก า ร ด า เ นิ น ง า น อ ย่ า ง ห นึ่ ง ท่ี ส า ม า ร ถ
ท า ใ ห้ บ ริ ก า ร ท า ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด
เทคโนโลยีทางการเกษตรของกระทรวงเกษตร
แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ บ ร ร ลุ ผ ล ส า เ ร็ จ ต า ม ภ า ร กิ จ
ท่ีรับผิดชอบโดยเป็นการปฏิบัติงานในเชิงรุกที่
ทาให้เกษตรกรในพ้ืนที่เป้าหมายท่ีมีปัญหา
ให้ได้รับบริการทางการเกษตรอย่างรวดเร็วท่ัวถึง
และครบถ้วน โดยสามารถเคล่ือนที่เข้าไปได้ถึง
ในระดับตาบล เพื่อให้เกษตรกรสามารถเข้ารับ
บริการทางการเกษตรได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
ทกุ ด้านในคราวเดยี วกนั

ผลผลิต (Outp u t )
1. เกษตรกร 30,800 ราย ได้รับบริการทาง
ด้านการเกษตร และแก้ไขปัญหาด้านเกษตรอย่าง
ครบวงจรในคราวเดียวกัน
2. เกิดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ีบูรณาการให้บริการ
ด้านการเกษตร และแก้ไขปัญหาทางการเกษตร
ให้กับเกษตรกร

ผลลัพธ์ (Outcom e )
เ ก ษ ต ร ก ร ที่ มี ปั ญ ห า ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ
ด้านการเกษตรได้รับคาแนะนา การบริการ
การแก้ไขปัญหา ทางด้านการเกษตรท่ีรวดเร็วและ
ทันเวลา ซ่ึงเป็นการนาความรู้อย่างถูกต้องตามหลัก
วิชาการทางการเกษตรไปปฏิบัติต่อพื้นที่ของตนเอง
เกิดผลตอบแทนและรายได้จากการประกอบอาชีพ

ท่มี ั่นคง

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร

โครงกำรปลกู ผกั บริเวณจงั หวดั เรอื ยนต์หลวง108
904 อำเภอปำกเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี

โครงการปลูกผักบริเวณจังหวัดเรือยนต์ ผลผลิต(Outpu t)
ปลูกพืชผักหมนุ เวียนรวมจานวน 49 ชนดิ
หลวง 904 อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 1) พืชผักล้มลุก (อายุส้ัน) จานวน 22 ชนิด ได้แก่
เปน็ โครงการท่ีกรมส่งเสริมการเกษตร มอบหมาย ผักคะน้า ผักคะน้าเห็ดหอม ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้ง
ให้ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ฮ่องเต้ ผักกวางตุ้งดอก ผักกาดขาวไดโตเกียว
จังหวัดสมุทรสาคร เป็นหน่วยงานหลักในการ ต้นหอม ผักกาดหอม ผักกาดหอมแดง ผักกาดหัว
ปฏิบัติงานรับผิดชอบในพื้นท่ีจานวน 8 ไร่ แดง ผักกาดหัว ผักปวยเล้ง ผักโขม ผักบุ้งจีน ผักบุ้ง
โดยรับผิดชอบผลิตพืชผัก วางแผนการปลูก นา ผักชีไทย ผักชุนฉ่าย กะหล่าปลี บร็อคโคลี่
การเตรียมแปลงปลูก การดูแลรักษา เก็บเกี่ยว
ผลผลิต สนับสนุนปัจจัยในการผลิตผักและ ขึน้ ฉา่ ย กุยชา่ ย ข้าวโพดขา้ วเหนียว
2) พืชผักต้นพุ่มเตี้ย จานวน 10 ชนิด ได้แก่ พริก
ส นั บ ส นุ น พื ช ผั ก ส ว น ค รั ว ต า ม ท่ี ไ ด้ รั บ แ จ้ ง ขี้หนู มะเขือยาวเขียว มะเขือยาวม่วง มะเขือไข่เต่า
เจ้าหน้าที่จากกองบัญชาการทหารมหาดเล็ก มะเขือพวง มะเขือเปราะ กะเพรา โหระพา กระเจ๊ียบ
ราชวัลลภรักษาพระองค์ เป็นผู้นาผลผลิต เขยี ว กระเจ๊ยี บแดง
ไปทาความสะอาด คัดแยก และบรรจุผลผลิต 3) พืชผักเลื้อย (บนดิน) จานวน 3 ชนิด ได้แก่
ส่งจาหน่ายให้แก่ ร้านโกลเด้น เพลส สาขาถนน แตงกวา ฟกั เขยี ว ฟกั ทอง
สุโขทัย โดยผลผลิตที่ได้มีการสุ่มตรวจเพื่อ 4) พชื ผกั เลอ้ื ย (ข้นึ ค้าง) จานวน 6 ชนิด ได้แก่ บวบงู
วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ร พิ ษ ต ก ค้ า ง โ ด ย เ จ้ า ห น้ า ที่ ก ร ม
วิชาการเกษตร บวบเหล่ียม บวบหอม มะระจีน มะระขนี้ ก ถั่วฝักยาว
5) พชื ผกั อายยุ นื จานวน 8 ชนิด ได้แก่ หม่อน มะตูม
แขก ต้นทูน เตยหอม ตะไคร้ กล้วยหอม กล้วยน้าว้า
มะละกอ

ผลลัพธ์ (Outcom e )
ผู้บริโภคได้รับประทานผักมีคุณภาพ สะอาด

ปลอดสารพษิ ปนเป้ือน ส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีสุขภาพ
ท่ดี ี

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร 109

ใโคนรพงกรำะรตปำหลนูกผักกัทปวีวลัฒอนดสำ ำรพษิ

โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในพระ ผลผลิต(Outpu t)
ตาหนักทวีวัฒนาเป็นโครงการที่กรมส่งเสริม
การเกษตร มอบหมายให้ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนา ปลูกพืชผักหมุนเวียนตลอดท้ังปี รวมจานวน 37
อ า ชี พ ก า ร เ ก ษ ต ร จั ง ห วั ด ส มุ ท ร ส า ค ร ชนิด
เป็นหน่วยงานหลักในการปฏิบัติงานรับผิดชอบ 1) พืชผักล้มลุก (อายุสั้น) จานวน 21 ชนิด ได้แก่
ในพ้ืนท่ีจานวน 8 ไร่ โดยรับผิดชอบผลิตพืชผัก ผักคะน้า ผักคะน้าเห็ดหอม ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้ง
ฮ่องเต้ ผักกวางตุ้งดอก ผักกาดขาวไดโตเกียว
วางแผนการปลูก การเตรียมแปลงปลูก การดูแล ต้นหอม ผักกาดหอม ผักกาดหอมแดง ผักกาดหัว
รักษา สนับสนุนปัจจัยในการผลิตผักและ แดง ผักกาดหัว ผักปวยเล้ง ผักโขม ผักบุ้งจีน ผักชี
สนับสนนุ พืชผักสวนครัวตามท่ีได้รับแจ้ง การเก็บ ไทย ผักชุนฉ่าย กะหล่าปลี บร็อคโคลี่ ข้ึนฉ่าย
เก่ียวผลผลิตกองบัญชาการทหารมหาดเล็ก กุยช่าย ข้าวโพดขา้ วเหนียว
ราชวัลลภรักษาพระองค์ เป็นผู้เก็บเก่ียวผลผลิต
เพื่อส่งไปทาความสะอาด คัดแยก และบรรจุ 2) พชื ผกั ต้นพุม่ เต้ีย จานวน 8 ชนิด ได้แก่ พริกขี้หนู
ผลผลิตส่งจาหน่ายที่ร้านโกลเด้น เพลส สาขา มะเขือยาวเขียว มะเขือยาวม่วง มะเขือไข่เต่า มะเขือ
ถนนสุโขทัย โดยผลผลิตท่ีได้มีการสุ่มตรวจเพื่อ พวง มะเขอื เปราะ กะเพรา โหระพา
3) พืชผักเลื้อย (บนดิน) จานวน 2 ชนิด ได้แก่
วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ร พิ ษ ต ก ค้ า ง โ ด ย เ จ้ า ห น้ า ท่ี ก ร ม แตงกวา ฟกั ทอง
วชิ าการเกษตร 4) พืชผักเลือ้ ย (ขึ้นค้าง) จานวน 2 ชนิด ได้แก่ มะระ
ขีน้ ก ถั่วฝกั ยาว
5) พืชผักอายุยืน จานวน 4 ชนิด ได้แก่ เตยหอม

ตะไคร้ กลว้ ยหอม กล้วยนา้ วา้

ผล ลัพ ธ์ (Outcom e )
ผู้บริโภคได้รับประทานผักมีคุณภาพ สะอาด ปลอด
สารพิษปนเป้ือน สง่ เสรมิ ใหผ้ ้บู รโิ ภคมสี ุขภาพท่ดี ี

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร

110

โครงกำรปลูกผกั ในพนื้ ที่ควบคุม
ในพระองค์ 904 (พระทน่ี ั่งอัมพรสถำน)

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
จังหวดั สมุทรสาคร มหี น้าที่สนับสนุนปัจจัยในการ ปลูกพืชผักหมุนเวยี นรวมจานวน 56 ชนดิ
ผลติ ผักและสนับสนุนพืชผักสวนครัว ตามท่ีได้รับ 1) พืชผกั ลม้ ลุก (อายุสนั้ ) จานวน 20 ชนิด ได้แก่ ผัก
แจ้งจากแผนกพระราชอุทยาน 904, กองร้อย สลัดเรดโอ๊ค ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักกาดคอส ผักเรด
กิจการวังพิเศษ กองบัญชาการทหารมหาดเล็ก คอรัล ผักเคลบัตเตอร์เฮด ผักคะน้า ผักคะน้า
ราชวัลลภรักษาพระองค์ โดยพื้นท่ีรับผิดชอบ
จานวน 2 ไร่ เห็ดหอม ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ ผักกวางตุ้ง
ดอก ผักกาดขาวไดโตเกียว ต้นหอม ผักกาดหอม
ผลลัพธ์ (Outcom e ) ผักกาดหอมแดง ผักกาดหัวแ ดง ผักกาดหัว
ผ ลิต ผัก ที่มีคุณ ภ า พ ป ล อ ด ส า ร พิษ แ ล ะ ผักปวยเลง้ ผักโขม ต้นออ่ นพืช
ป ร ะ ดับ ต ก แ ต่ง บ ริเ ว ณ พ ร ะ ตา ห นัก ใ ห้ 2) พืชผักต้นพุ่มเตี้ย จานวน 18 ชนิด ได้แก่ พริก
เรียบร้อยส วย ง าม สม พ ร ะเกีย ร ติ ขี้หนู พริกหนุ่ม พริกกะเหรี่ยง มะเขือยาวเขียว
มะเขือยาวม่วง มะเขือยาวขาว มะเขือจานม่วง มะเขือ
ไข่เต่า มะเขือเปราะ มะเขือเทศ กะเพรา โหระพา
แมงลัก สะระแหน่ ชะพลู ผักแพว กระเจี๊ยบเขียว

กระเจย๊ี บแดง
3) พืชผักเล้ือย (บนดิน) จานวน 3 ชนิด ได้แก่
แตงกวา ฟกั เขียว ฟักทอง
4) พืชผักเลื้อย (ขึ้นค้าง) จานวน 10 ชนิด ได้แก่
บวบงู บวบเหล่ียม บวบหอม มะระจีน มะระขี้นก
มะระขน้ี กเจไดท์ ถ่วั ฝักยาว ถว่ั ฝักยาวมว่ ง แตงร้าน
5) พชื ผักอายยุ นื จานวน 5 ชนิด ได้แก่ มะละกอ เตย
หอม ตะไคร้ โรสแมรี่ ทาร์รากอน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร 111

โพครระงตกำำหรปนลกั ูกหผนกั ว่ สยวบนนิ คเรดัวโบชรชิเยัวณ3

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
จังหวัดสมุทรสาคร มหี น้าท่ีสนับสนุนปัจจัยในการ ปลูกพืชผักในกระถาง/กระถางแขวน หมุนเวียน
ผลิตผักและสนับสนุนพืชผักสวนครัวในกระถาง/ ตลอดท้งั ปี รวมจานวน 35 ชนดิ
กระถางแขวน ตามที่ได้รับแจ้งจากแผนกพระราช 1) พืชผักลม้ ลุก (อายุสัน้ ) จานวน 18 ชนิด ได้แก่ ผัก
อุ ท ย า น 9 0 4 , ก อ ง ร้ อ ย กิ จ ก า ร วั ง พิ เ ศ ษ สลัดเรดโอ๊ค ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักกาดคอส ผักเรด
กองบัญชาการทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษา คอรัล ผักเคลบัตเตอร์เฮด ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง
ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ ผักกวางตุ้งดอก ผักกาดขาว
พระองค์ โดยพนื้ ทรี่ ับผิดชอบจานวน 1 ไร่
ไดโตเกียว ต้นหอม ผักกาดหอม ผักปวยเล้ง ผักโขม

ผลลัพธ์ (Outcom e ) ข้ึนฉา่ ย ตน้ หอม ผักชีใบเล่ือย

ผ ลิต ผัก ที่มีคุณ ภ า พ ป ล อ ด ส า ร พิษ แ ล ะ 2) พืชผักต้นพุ่มเต้ีย จานวน 16 ชนิด ได้แก่ พริก
ป ร ะ ดับ ต ก แ ต่ง บ ริเ ว ณ พ ร ะ ตา ห นัก ใ ห้ ข้ีหนู พริกหนุ่ม พริกกะเหรี่ยง มะเขือยาวเขียว
มะเขอื ยาวม่วง มะเขือยาวขาว มะเขือจานม่วง มะเขือ
เรียบร้อยส ว ย ง าม สม พ ร ะเกีย ร ติ
ไข่เต่า มะเขือเปราะ มะเขือเทศ กะเพรา โหระพา

แมงลัก สะระแหน่ ผักแพว ชะพลู

3) พชื ผักอายยุ นื จานวน 1 ชนดิ ได้แก่ เตยหอม

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร 112

โครงกำรปลูกผักสวนครวั วังศโุ ขทยั

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
จังหวัดสมุทรสาคร มีหน้าที่วางแผนการปลูก ปลกู พชื ผกั หมุนเวยี นรวมจานวน 63 ชนดิ
การเตรียมแปลงปลูก การดูแลรักษาพืชผักสวน 1) พืชผักล้มลุก (อายุสั้น) จานวน 27 ชนิด ได้แก่
ครัว สนับสนุนปัจจัยในการผลิตผักและสนับสนุน ผักคะน้า ผักคะน้าเห็ดหอม ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้ง
พืชผักสวนครัว ตามท่ีได้รับแจ้งจากแผนกพระ ฮ่องเต้ ผักกวางตุ้งดอก ผักกาดขาว ผักกาดขาว
ราชอุทยาน 904, กองร้อยกิจการวังพิเศษ ไดโตเกียว ผักกาดหอม ผักกาดหอมแดง ผักกาดหัว
กองบัญชาการทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษา แดง ผักกาดหัว ผักปวยเล้ง ผักโขม ผักบุ้งจีน ผักชี
พระองค์ โดยพ้นื ทร่ี บั ผิดชอบจานวน 1 งาน
ไทย ผักสลัดเรดโอ๊ค ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักกาดคอส
ผลลัพธ์ (Outcom e ) ผักเรดคอรลั บัตเตอรเ์ ฮด ผักเคล ต้นหอม ผักชุนฉ่าย
ผ ลิต ผัก ที่มีคุณ ภ า พ ป ล อ ด ส า ร พิษ แ ล ะ กะหลา่ ปลี บร็อคโคลี่ ขึ้นฉา่ ย กุยฉ่าย
ป ร ะ ดับ ต ก แ ต่ง บ ริเ ว ณ พ ร ะ ตา ห นัก ใ ห้ 2) พืชผักต้นพุ่มเต้ีย จานวน 19 ชนิด ได้แก่ พริก
เรียบร้อยส ว ย ง าม สม พ ร ะเกีย ร ติ ขี้หนู พริกหนุ่ม พริกกะเหร่ียง มะเขือยาวเขียว
มะเขอื ยาวม่วง มะเขือยาวขาว มะเขือจานม่วง มะเขือ
ไข่เต่า มะเขือพวง มะเขือเปราะ มะเขือเทศ กะเพรา
โหระพา แมงลัก สะระแหน่ ผักแพว กระเจี๊ยบเขียว

กระเจีย๊ บแดง ชะพลู
3) พืชผักเล้ือย (บนดิน) จานวน 2 ชนิด ได้แก่
แตงกวา ฟกั เขยี ว
4) พืชผักเลื้อย (ขึ้นค้าง) จานวน 10 ชนิด ได้แก่
บวบงู บวบเหล่ียม บวบหอม มะระจีน มะระขี้นก
มะระขี้นกเจไดท์ ถ่ัวฝักยาว ถั่วฝักยาวม่วง แตงร้าน
ตาลึง
5) พืชผักอายยุ ืน จานวน 5 ชนิด ได้แก่ มะละกอ เตย
หอม ตะไคร้ โรสแมรี ทาร์รากอน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร

113

โครงกำรปลกู ผกั ผลไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ

ท่พี กั เขตพระรำชฐำนในพระองค์ 904 (ติวำนนท์)

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
จังหวัดสมุทรสาคร มีหน้าที่วางแผนการปลูก 1) ปลูกไม้ดอกไม้ประดับหมุนเวียนตลอดท้ังปี
การเตรียมแปลงปลูก การดูแลรักษา พืชผักสวน บริเวณพระบรมฉายาลักษณ์และบริเวณรอบท่ีพัก
ครัว ไม้ดอกไม้ประดับ สนับสนุนปัจจัยในการ เขตพระราชฐานฯ ได้แก่ ฟ้าประทานพร ผกากรอง
ผลิตพืช ตามที่ได้รับแจ้งจาก บก.ที่พักเขต ดาวเรือง โกสน พุดพิชญา เตยด่าง ว่านกาบหอย
พระราชฐานในพระองค์ 904 (ติวานนท์) ไทรอินโด โมก แพรเซ่ียงไฮ้ และกล้วยไม้ชนิดต่างๆ
โดยพ้ืนท่รี ับผิดชอบจานวน 39 ไร่ เปน็ ต้น
2) ปลูกพืชผักหมุนเวียนตลอดทั้งปี รวมจานวน 19
ผลลัพ ธ์ (Outcom e ) ชนดิ
1) ใช้ประดับตกแต่งโดยรอบอาคาร สร้างความ
สวยงาม สดชื่น ผ่อนคลายให้แก่ผู้พักอาศัยในท่ี - พืชผักล้มลุก (อายุสั้น) จานวน 2 ชนิด
พักเขตพระราชฐานฯ ไดแ้ ก่ ผกั คะนา้ ผักกวางตุ้ง
2) ผู้บริโภค ได้รับประทา นผักมีคุณภา พ
ปลอดสารพิษ และยังใช้เป็นผักสวนครัวประดับ - พืชผักต้นพุ่มเต้ีย จานวน 9 ชนิด ได้แก่
ต ก แ ต่ ง บ ริ เ ว ณ ที่ พั ก ใ ห้ เ รี ย บ ร้ อ ย ส ว ย ง า ม พริกข้ีหนู พริกกะเหร่ียง มะเขือยาวเขียว มะเขือยาว
ตลอดเวลา ม่วง กะเพรา โหระพา แมงลกั สะระแหน่ ผกั แพว

- พืชผักอายุยืน จานวน 8 ชนิด ได้แก่
มะละกอ เตยหอม ตะไคร้แกง ตะไคร้หอม มะนาว
กลว้ ยหอม กลว้ ยน้าว้า และหม่อน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร

โครงกำรปลกู ผกั สวนครวั 114

พระตำหนักสิรินภำลัยสว่ นแยกธนำซติ ี้

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลผลิต (Outp u t )
จังหวัดสมุทรสาคร มีหน้าที่วางแผนการปลูก
การเตรียมแปลงปลูก การดูแลรักษาพืชผักสวน ปลูกพืชผกั หมนุ เวียนรวมจานวน 64 ชนดิ
ครัว สนับสนุนปัจจัยในการผลิตผักและสนับสนุน 1) พืชผักล้มลุก (อายุสั้น) จานวน 27 ชนิด ได้แก่
พืชผักสวนครัว ตามที่ได้รับแจ้งจากแผนก ผักคะน้า ผักคะน้าเห็ดหอม ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้ง
พระราชอทุ ยาน 904 โดยพนื้ ทร่ี ับผิดชอบ จานวน ฮ่องเต้ ผักกวางตุ้งดอก ผักกาดขาว ผักกาดขาว
3 ไร่ ไดโตเกียว ผักกาดหอม ผักกาดหอมแดง ผักกาดหัว
แดง ผักกาดหัว ผักปวยเล้ง ผักโขม ผักบุ้งจีน
ผลลัพ ธ์ (Outcom e ) ผกั สลัดเรดโอ๊ค ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักกาดคอส ผักเรด
ผลิต ผัก ที่มีคุณ ภ า พ ป ล อ ด ส า ร พิษ แ ล ะ คอรัล บัตเตอร์เฮด ผักเคล ต้นหอม ผักชุนฉ่าย
ป ร ะ ดับ ต ก แ ต่ง บ ริเ ว ณ พ ร ะ ตา ห นัก ใ ห้
เรียบร้อยส ว ย ง าม สม พ ร ะเกีย ร ติ กะหล่าปลี บร็อคโคลี่ ขึ้นฉ่าย กุยฉ่าย ข้าวโพดข้าว
เหนยี ว
2) พืชผักต้นพุ่มเต้ีย จานวน 18 ชนิด ได้แก่ พริก
ขี้หนู พริกหนุ่ม พริกกะเหรี่ยง มะเขือยาวเขียว
มะเขือยาวม่วง มะเขือยาวขาว มะเขือจานม่วง มะเขือ
ไข่เต่า มะเขือพวง มะเขือเปราะ มะเขือเทศ กะเพรา
โหระพา แมงลัก สะระแหน่ ผักแพว กระเจ๊ียบเขียว
กระเจีย๊ บแดง
3) พืชผักเล้ือย (บนดิน) จานวน 3 ชนิด ได้แก่

แตงกวา ฟกั เขียว ฟักทอง
4) พืชผักเลื้อย (ข้ึนค้าง) จานวน 10 ชนิด ได้แก่
บวบงู บวบเหลี่ยม บวบหอม มะระจีน มะระข้ีนก
มะระขี้นกเจไดท์ ถ่ัวฝักยาว ถ่ัวฝักยาวม่วง แตงร้าน
ตาลงึ
5) พืชผักอายุยืน จานวน 6 ชนิด ได้แก่ เตยหอม
ตะไคร้ ข่า มะกรดู โรสแมร่ี ทาร์รากอน

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นำอำชีพกำรเกษตร จงั หวดั สมทุ รสำคร

โครงกำรปลูกพืชผักสวนครัว สมนุ ไพร 115
พระตำหนักท่ีประทับ 907

พ้ืนที่เขตพระรำชฐำนในพระองค์ 904 ทำ่ เรอื พำยพั (พ้ืนท่ี 021)

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร
จังหวัดสมุทรสาคร มีหน้าท่ีวางแผนการปลูก
การเตรียมแปลงปลูก การดูแลรักษาพืชผักสวน
ครัว สนับสนุนปัจจัยในการผลิตผักและสนับสนุน
พืชผักสวนครัว ตามท่ีได้รับแจ้งจากแผนก
พระราชอุทยาน 904 โดยพื้นท่ีรับผิดชอบจานวน
1 งาน

ผลผลิต (Outpu t ) ผลลัพธ์ (Outcom e )
ปลูกพืชผักหมุนเวียนตลอดทั้งปี รวมจานวน 27 ผ ลิต ผัก ที่มีคุณ ภ า พ ป ล อ ด ส า ร พิษ แ ล ะ
ชนิด ป ร ะ ดับ ต ก แ ต่ง บ ริเ ว ณ พ ร ะ ตา ห นัก ใ ห้
2.1) พืชผักล้มลุก (อายุส้ัน) จานวน 8 ชนิด เรียบร้อยส ว ย ง าม สม พ ร ะเกีย ร ติ
ได้แก่ ผักสลัดเรดโอ๊ค ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักกาด
คอส ผักเรดคอรัล ผักเคล บัตเตอร์เฮด บร็อคโคล่ี
ผักกวางตุง้
2.2) พืชผักต้นพุ่มเต้ีย จานวน 12 ชนิด ได้แก่
พริกข้ีหนู มะเขือเปราะ มะเขือเทศ กะเพรา
โหระพา แมงลัก ผักชีฝรั่ง สะระแหน่ ถั่วพลู

ผกั แพว ชะพลู ยห่ี รา่
2.3) พืชผักเล้ือย (ขึ้นค้าง) จานวน 1 ชนิด ได้แก่
อัญชนั
2.4) พืชผักอายุยืน จานวน 6 ชนิด ได้แก่
เตยหอม ตะไคร้แกง ขา่ กระชาย มะกรูด โรสแมรี่

ศนู ยข์ ยำยพนั ธุพ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 116

โครงกำรผลติ พชื พนั ธุ์ดเี พอ่ื สำรองใช้

กรณชี ว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ กำรเกษตรกรผู้ประสบภยั และ
ใชใ้ นภำรกจิ ของกรมเกษตร

ศนู ย์ขยายพนั ธ์ุพชื ท่ี 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ผลผลิต (Outp u t )
กรมส่งเสริมการเกษตรมีพืชพันธุ์ดีสารอง
ได้ดาเนินโครงการผลิตพืชพันธุ์ดีเพื่อสารองใช้
ในกรณีช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยและใช้ใน เพอ่ื ใช้สนับสนนุ ในกรณีเกดิ ภัยพบิ ตั ไิ ด้ทนั ท่วงทีและ
ภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร โดยการผลิต ใชใ้ นภารกิจของกรมสง่ เสริมการเกษตร ได้แก่
1.ต้นพั นธุ์พื ช ผัก /พื ช อา หาร จา นว น
เมล็ดพันธ์ุพืชพันธ์ุดีและต้นพันธ์ุพืชพันธ์ุดีเพ่ือ
สารองไว้เตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ 245,000 ต้น ต้นพันธ์ุไม้ผล/ไม้ยืนต้น จานวน
ภยั พบิ ตั ิตา่ ง ๆ เพ่อื ให้สามารถช่วยเหลือเกษตรกร 25,200 ต้น รวมต้นพันธุ์พืชพันธ์ุดี จานวน
และผู้ที่ได้รับผลกระทบได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อ 254,800 ตน้
2.เ ม ล็ ด พั น ธ์ุ ก ร ะ เ จี๊ ย บ เ ขี ย ว ธ ร า ธิ ป แ ล ะ
สถานการณ์และเป็นการส่งเสริมการผลิตเพื่อการ
บริโภคในครัวเรือน เพ่ือสร้างความมั่นคง มะเขือเปราะคางกบ ศรีษะเกษ 2 พร้อมบรรจุซอง
ด้านอาหารในระดับครัวเรือนและชุมชนตามแนว จานวน 45,000 ซอง

ทางการดาเนินงานของกรมส่งเสริมการเกษตร ผลลัพธ์ (Outcom e )
ประจาปี 2564 โดยสนับสนุนให้กับสานักงาน 1. กรมส่งเสริมการเกษตรสามารถให้การสนับสนุน
เกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ต้นพันธุ์พืชพันธ์ุดีและเมล็ดพันธุ์ผักพื้นบ้าน
อา่ งทอง ชยั นาท และอทุ ยั ธานี
เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนให้กับ

เกษตรกรและประชาชนท่ัวไปที่ได้รับผลกระทบ

จากภยั พบิ ตั ิ

2. กรมส่งเสริมการเกษตรสามารถสนับสนุนการลด

ต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกร แรงงานคืนถ่ิน และ

ประชาชนท่ัวไปที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์

การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโค โรนา 2019

(COVID-19) และกอ่ ใหเ้ กิดการสรา้ งรายได้ตอ่ ไป

ศนู ยข์ ยำยพนั ธพุ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 117

โกครระงทกอ่ ำมรผพลนั ิตธแ์ุดลี ะขยำยต้นกลำ้

ผลิตต้นกล้ากระท่อมพันธ์ุดี จากการ ผลผลิต (Outp u t )
เพาะเมล็ดและเพาะเมล็ดในอาหารปลอดเชื้อด้วย มีต้นกล้ากระท่อมพันธ์ุดี สนับสนุนให้กับศูนย์เรียนรู้
เทคนิคการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือพืช จานวน 20,000 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)
ต้น เพ่ือสนับสนุนต้นกล้ากระท่อมพันธ์ุดี ให้กับ ศูนย์หลัก และวิสาหกิจชุมชน/Young Smart Farmer
ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า (YSF)/SmartFarmer(SF)/อ า ส า ส มั ค ร เ ก ษ ต ร
เกษ ต ร ( ศพ ก . ) ศู นย์ หลั ก แ ล ะวิ สา หกิ จ (อกม.)/ หน่วยงานราชการท่ีมีภารกิจในการส่งเสริม
ชุมชน/Young Smart Farmer (YSF)/ Smart อาชพี การเกษตร และเกษตรกรที่สนใจ จานวน 20,000
Farmer(SF)/อา ส าส มั คร เ ก ษต ร ( อ กม . ) / ต้น

หนว่ ยงานราชการท่ีมีภารกิจในการส่งเสริมอาชีพ ผลลัพธ์ (Outcom e )
การเกษตร และเกษตรกรที่สนใจ เ ก ษ ต ร ก ร แ ล ะ เ จ้ า ห น้ า ท่ี น า ค ว า ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ไ ป
ประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบ
เ ก ษ ต ร อั จ ฉ ริ ย ะ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ภ า พ พ้ื น ที่
เกิดประสิทธิภาพในการผลิตและใช้ทรัพยากรอย่าง
ค้มุ คา่

ศนู ยข์ ยำยพนั ธพุ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 118

ฟโคำ้ รทงะกลำรำผยลโจติ รขยำยต้นพนั ธุ์

ศนู ยข์ ยายพนั ธุ์พชื ท่ี 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ผลผลิต (Outp u t )
ได้รับมอบหมายในการผลิตต้นพันธ์ุฟ้าทะลาย สนับสนุนต้นพันธุ์ฟ้าทะลายโจร ในพื้นที่ความ
โจร เพ่ือสารองไว้ให้บริการแก่เกษตรกรและ รับผิดชอบ จานวน 13 จังหวัด ได้แก่ สุพรรณบุรี
ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป ท่ี เ ข้ า ม า ใ ช้ บ ริ ก า ร ข อ ง ศู น ย์ ชั ย น า ท น ค ร ป ฐ ม ก า ญ จ น บุ รี ร า ช บุ รี
ขยายพันธุ์พืช และสนับสนุนให้สานักงานเกษตร พระนครศรีอยุธยา ประจวบคีรีขันธ์ อ่างทอง สิงห์บุรี
จังหวัดในเขตพื้นท่ีท่ี รับผิดชอบ กระจาย สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี และอุทัยธานี
สู่เกษตรกรและประชาชนท่ัวไป เพ่ือส่งเสริมการ
ใช้พืชสมุนไพร “ฟ้าทะลายโจร” เป็นยาสามัญ และมารับต้นพันธ์ุ ณ ศูนย์ขยายพันธุ์พืชท่ี ๙ จังหวัด
สุพรรณบุรี จานวน 200,000 ตน้
ประจาบ้าน ช่วยในการป้องกันและรักษาอาการ
ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

ผลลัพธ์ (Outcom e )

1. กรมส่งเสริมการเกษตร มีต้นพันธ์ุฟ้าทะลายโจร
ให้บริการแก่เกษตรกรที่มาใช้บริการของศูนย์
ขยายพันธ์พุ ืช และสานกั งานเกษตรจังหวดั
2. เกษตรกรและประชาชนท่ัวไป ได้รับสนับสนุนต้น
พันธุ์ฟ้าทะลายโจรสาหรับใช้เป็นยาสามัญประจา
บ้ า น เ พื่ อ ป้ อ ง กั น แ ล ะ รั ก ษ า อ า ก า ร ติ ด เ ช้ื อ ไ ว รั ส
โควดิ – 19
3. เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่ได้รับต้นพันธ์ุฟ้า
ทะลายโจร สามารถผลิตและขยายพันธุ์โดยการตัด
ชาอย่างง่ายได้ไม่น้อยกว่าสองเท่าของต้นพันธุ์
ท่ีได้รับการสนับสนุน และต้นพันธุ์ฟ้าทะลายโจร
สามารถเป็นแม่พันธ์ุเพ่ือผลิตเมล็ดพันธุ์ดีขยายผล
ต่อไป

ศนู ยข์ ยำยพนั ธุพ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

119

โครงกำรคลินิกเคลอื่ นทใี่ นพระรำชำนเุ ครำะห์

สมเดจ็ พระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกฎุ รำชกมุ ำร

คลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี เป็นวิธีการ ผลผลิต(Outpu t)
ดาเนินงานอย่างหนึ่งท่ีสามารถทาให้การบริการ 1. ไตรมาสท่ี 1 ร่วมจัดนิทรรศการให้ความรู้ และ
ทางวิชาการ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการ บริการทางการเกษตรร่วมกับสานักงานเกษตร
เกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์บรรลุผล จังหวัดในพื้นท่ีรับผิดชอบ จานวน 2 ครั้ง สนับสนุน
ส า เร็ จต าม ภา รกิ จท่ี รั บ ผิ ด ช อ บ โด ยเ ป็ น ต้นพันธุ์พืช จานวน 9,000 ต้น และเมล็ดพันธุ์ผัก
การปฏบิ ัติงานในเชิงรุกที่ทาให้เกษตรกรในพื้นที่ จานวน 600 ซอง
เป้าหมายที่มี ปัญหา ให้ได้ รับบริการทาง
การเกษตรอย่างรวดเร็ว ทว่ั ถึงและครบถ้วน 2. ไตรมาสท่ี 2 ร่วมจัดนิทรรศการให้ความรู้ และ
บริการทางการเกษตรร่วมกับสานักงานเกษตร
ผลลัพ ธ์ (Outcom e ) จังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ จานวน 3 ครั้ง สนับสนุน
1 . เ ก ษ ต ร ก ร ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง ก า ร บ ริ ก า ร ท า ง ต้นพันธุ์พืช จานวน 2,200 ต้น และเมล็ดพันธ์ุผัก
วิ ช า ก า ร แ ล ะ ไ ด้ รั บ ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า จานวน 900 ซอง
ด้านการเกษตรอยา่ งครบวงจรในคราวเดียวกัน 3. ไตรมาส 3 ร่วมจัดนิทรรศการให้ความรู้ และ
2.บูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน บริการทางการเกษตรร่วมกับสานักงานเกษตร
วิชาการ หน่วยงานส่งเสริม และศูนย์เรียนรู้การ จังหวัดในพื้นท่ีรับผิดชอบ จานวน 1 ครั้ง สนับสนุน
เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)
ในการให้บริการและแก้ไขปัญหาทางการเกษตร ต้นพันธุ์พืช จานวน 2,510 ต้น และเมล็ดพันธุ์ผัก
ร่วมกนั จานวน 1,700 ซอง
4. ไตรมาส 4 ร่วมจัดนิทรรศการให้ความรู้ และ
บริการทางการเกษตรร่วมกับสานักงานเกษตร
จังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบ จานวน 2 คร้ัง สนับสนุน
ต้นพันธ์ุพืช จานวน 4,250 ต้น และเมล็ดพันธุ์ผัก
จานวน 1,200 ซอง

ศนู ยข์ ยำยพนั ธุพ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

เโพครอื่ งเกพำิม่รผปลริตะแสทิละธขภิ ยำำพยกพำืชรผพลนั ิตธภุด์ ำี คเกษตร120

กเพิจื่อกผรรลมติ ผพลชื ติ สแรลำ้ งะรขำยยำไยดพแ้ ชืลพะขนั ยธำด์ุยีผกลิจงกำนรรวมจิ ยยั อ่ขยองผหลนติ ว่แยลงะำขนยำยพนั ธพุ์ ชื จำกกำรเพำะเลยี้ งเนอื้ เยอื่

ศู น ย์ ฯ มี ภ า ร กิ จ ใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ผลผลิต (Outp u t )
ขยายพันธ์พุ ืชพันธ์ุดีท่ีมีคุณภาพและได้มาตรฐาน 1.มีแม่พันธุ์ (ช้ันพันธ์ุหลัก) และขยายเป็นแม่พันธุ์
ซ่ึงจะเน้นพืชใน 4 สายการผลิต ได้แก่ 1) ต้น พืชพันธุ์ดี (ช้ันพันธ์ุขยายการผลิตขยายแม่พันธ์ุ)
พันธ์ุ 2) ท่อนพันธ์ุ 3) เมล็ดพันธ์ุ และ 4) การ แม่พนั ธพ์ุ ชื พนั ธ์ดุ ี กล้วยในห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยง
เพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ เพื่อส่งเสริมและให้บริการตาม เนอ้ื เย่อื จานวน 2,000 ต้น
ความต้องการของเกษตรกร และสนับสนุนงาน 2.ได้ต้นพันธุ์พืชพันธ์ุดีจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ส่งเสริมการเกษตรในพื้นท่ี รวมทั้งการถ่ายทอด จานวน36,000 ต้น

เทคโนโลยีด้านการผลิตและขยายพันธุ์พืชพันธุ์ดี

แก่เกษตรกรและผู้สนใจทั่วไป ในเขตพื้นที่ ผลลัพธ์ (Outcom e )
รับผิดชอบ ๑๓ จังหวัด โดยเฉพาะการเพาะเลี้ยง ศูนย์ขยายพันธุ์พืชท่ี 9 จังหวัดสุพรรณบุรี มีความ
เนื้อเย่ือนั้น ดาเนินการผลิตพืชพันธ์ุดีเพ่ือ พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ผ ลิ ต พั น ธุ์ พื ช คุ ณ ภ า พ ดี ส า ม า ร ถ
สนับสนุนงานโครงการต่าง ๆ และเป็นแหล่ง ตอบสนองความตอ้ งการในการผลิตของเกษตรกรได้
เรยี นรทู้ างวชิ าการ วัสดุ อุปกรณ์ห้องปฏิบัติการจึง
มีความจาเป็นอย่างมาก เพ่ือทาให้กระบวนการ อย่างมีประสิทธิภาพ เกษตรกรผู้ปลูกและผู้ที่สนใจ
ดาเนินงานทางานได้ต่อเนื่อง และพร้อมสาหรับ สามารถเข้าถึงต้นพันธ์ุพืชพันธุ์ดี รวมถึงเป็นแหล่ง
การสนับสนนุ พันธพ์ุ ืชพันธุ์ดีแก่เกษตรกรได้อย่าง เรียนรู้กระบวนการผลิตพืชด้วยวิธีการเพาะเลี้ยง
เนื้อเย่อื
มีประสทิ ธภิ าพ

ศนู ยข์ ยำยพนั ธุพ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

โเพครือ่ งเกพำิ่มรผปลรติะแสทิละธขิภยำำพยกพำืชรผพลันติ ธภ์ุดำี คเกษตร121

กิจกรรมผลติ และขยำยตน้ พนั ธ์ุพชื ผกั /พชื อำหำร

ศนู ย์ขยายพันธ์ุพืชที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี
ส นั บ ส นุ น ต้ น พั น ธุ์ พื ช ผั ก / พื ช อ า ห า ร
ตามศักยภาพการผลิตของศูนย์ฯ ให้แก่โครงการ
ฟ า ร์ ม ตั ว อ ย่ า ง ใ น เ ข ต พ้ื น ท่ี จั ง ห วั ด ท่ี ศู น ย์ ฯ
รับผิดชอบ และเพ่ือสนับสนุนงานส่งเสริม
การ เก ษต ร เพื่ อม อบ แ ก่ เก ษต รก รต่ อไ ป
โดยมีวัตถุประสงค์สาคญั ในการเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตของเกษตรกร และลดตน้ ทุนการผลติ

ผลผลิต (Outp u t )
1. ต้นพชื ผกั จานวน 35,000 ต้น ไดแ้ ก่
1.1 พริกข้หี นพู ันธ์ซุ ุปเปอร์ฮอท จานวน 17,475 ต้น
1.2 มะเขอื เปราะพันธหุ์ ยาดทิพย์ จานวน 17,525 ตน้

ผลลัพ ธ์ (Outcom e )
1. เกษตรกรมพี ชื พนั ธ์ดุ ใี นการผลิตพชื ทม่ี คี ุณภาพ
2. ประชาชนมีผักสวนครัวสาหรับการบริโภค
ในครวั เรือน สามารถลดรายจ่ายในครัวเรอื นได้

ศนู ยข์ ยำยพนั ธพุ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

โเพคร่ืองเกพำ่ิมรผปลรติะแสิทละธขภิ ยำำพยกพำืชรผพลันติ ธภุด์ ำี คเกษตร122

กจิ กรรมผลติ และขยำยตน้ พนั ธไุ์ มผ้ ล

ศูนย์ขยายพันธพ์ุ ชื ท่ี 9 จังหวัดสุพรรณบุรี
ผลิตและขยายต้นพันธ์ุไม้ผล/ไม้ยืนต้น หรือพืช
เศรษฐกิจ เพื่อเตรียมความพร้อมปัจจัยการผลิต
ต้นพันธ์ุไม้ผล/ไม้ยืนต้น หรือพืชเศรษฐกิจ
(พันธุ์ดี) สาหรับรองรับนโยบายของภาครัฐและ
สถานการณ์ภัยธรรมชาติ เพ่ือสนับสนุนงาน
ส่งเสริมการเกษตร

ผลผลิต (Outp u t )
1.ผลิตและขยายต้นพันธุ์ไม้ผล/ไม้ยืนต้น หรือ
พชื เศรษฐกิจ

1.1 มะนาว จานวน 1,000 ต้น
1.2 ฝร่งั กิมจู จานวน 500 ตน้
1.3 มะขามเทศ จานวน 500 ต้น

ผลลัพธ์ (Outcom e )
มพี นั ธ์ุพืชเตรียมความพร้อมปัจจัยการผลิต ต้นพันธุ์
พืชผัก/พืชอาหาร (พันธ์ุดี) สาหรับรองรับนโยบาย
ของภาครัฐและสถานการณ์ภัยธรรมชาติ เพื่อ
สนบั สนนุ งานส่งเสริมการเกษตร

ศนู ยข์ ยำยพนั ธพุ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

โเพครื่องเกพำมิ่รผปลรติะแสิทละธขภิ ยำำพยกพำืชรผพลนั ติ ธภุด์ ำี คเกษตร123

กจิ กรรมผลติ และขยำยตน้ พนั ธไ์ุ มผ้ ล/ไมย้ นื ตน้ หรือพชื เศรษฐกจิ

ศูนยข์ ยายพนั ธ์ุพชื ที่ 9 จงั หวัดสุพรรณบุรี
การดาเนินการผลิตและขยายพืชพันธุ์ดี พร้อม
จัดส่งให้กับเกษตรกรใน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด
กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และ
จงั หวัดอุทยั ธานี จานวน 22,800 ต้น

ผลผลิต (Outp u t )
ผลิตและขยายพืชพันธ์ุดีพร้อมจัดส่งให้กับเกษตรกร
ใน 5 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ราชบุรี อุทัยธานี
เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ จานวน 22,800 ต้น
ไดแ้ ก่
1.สบั ปะรดทานผลสด จานวน 9,000 ต้น
2.หน่อไม้ฝรั่ง จานวน 2,100 ตน้
3.กล้วยนา้ ว้า จานวน 4,500 ตน้
4.กล้วยหอมทอง จานวน 7,200 ต้น

ผลลัพธ์ (Outcom e )
ศู น ย์ ข ย า ย พั น ธ์ุ พื ช ท่ี 9 จั ง ห วั ด สุ พ ร ร ณ บุ รี
มีความพร้อมในการผลิตพันธุ์พืชคุณภาพดีสามารถ
ตอบสนองความต้องการในการผลิตของเกษตรกร
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกษตรกรผู้ปลูกและ
ผู้ท่ีสนใจสามารถเข้าถึงปัจจัยการผลิตคุณภาพดีได้
อยา่ งทวั่ ถึง

ศนู ยข์ ยำยพนั ธพุ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

โเพคร่ืองเกพำมิ่รผปลรติะแสิทละธขิภยำำพยกพำชืรผพลันติ ธภด์ุ ำี คเกษตร124

โครงกำรกำรจดั กจิ กรรมจดุ บรกิ ำรพนั ธพ์ุ ชื Doae

ศูนย์ขยายพันธ์ุพืชที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี
กาหนดจัดงานการจัดกิจกรรมจุดบริการพันธ์ุพืช
Doae เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตขยายพันธ์ุ
พืชพันธุ์ดี วันที่ 24 ธันวาคม 2564 - 15 กันยายน
2565 ภายในงานประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังน้ี
นิทรรศการการผลิตพืชพันธุ์ดีพันธ์ุเด่นของศูนย์ฯ
จุดเรียนรู้ จุดจาหน่ายพืชพันธ์ุดีของศูนย์ฯ และ
จุดท่องเที่ยว/เช็คอิน โดยมีผู้เข้าร่วมงาน จานวน
1,200 ราย และมีการประเมินกิจกรรม สรุปผลการ
ดาเนินงานในการจัดงานให้กองขยายพันธุ์พืชทราบ
ตอ่ ไป

ผลผลิต (Outp u t )
มีผู้เข้าร่วมงาน จานวน 1,357 ราย (ยอดผู้มา
รับบริการต้ังแต่วันท่ี 24 ธันวาคม 2564 - วันที่
5 กนั ยายน 2565)

ผลลัพธ์ (Outcom e )
1.หน่วยงานต่าง ๆ และเกษตรกรให้รับความรู้
ด้านการผลติ ขยายพนั ธุพ์ ชื พนั ธ์ุดี
2.เพ่ือเป็นแหลง่ เรยี นรู้พืชพนั ธ์ดุ ีท่เี กษตรกรสามารถ
เข้าถึงได้

ศนู ยข์ ยำยพนั ธพุ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

เโพครือ่ งเกพำ่มิรผปลริตะแสทิละธขภิ ยำำพยกพำชืรผพลันิตธภ์ุดำี คเกษตร125

กำรถ่ำยทอดควำมรู้เพอ่ื สรำ้ งและพฒั นำเครอื ขำ่ ยดำ้ นกำรผลติ และขยำยพชื พนั ธุ์ดี

ศูนย์ขยายพันธ์ุพืชที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ผลผลิต (Outp u t )
ดาเนินการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือถ่ายทอด 1. อบรมผ่านระบบออนไลน์ Application Zoom
ความรู้ในการสร้าง และพัฒนาเครือข่ายด้านการผลิต Meeting ในวันท่ี 1 มีนาคม 2565 ระยะเวลา 1 วัน
และขยายพืชพันธุ์ดีเพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิต จานวน 1 ครง้ั
ให้เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 2. เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานด้านการผลิตและขยาย
การผลิต ภาคเกษตร สาหรับเพ่ิมศักยภาพและขีด พืชพันธุ์ดีของสานักงานส่งเสริมและพัฒนาการ
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ผ ลิ ต ข ย า ย พื ช พั น ธุ์ ดี เกษตรเขตท่ี 2 จานวน 1 ราย สานักงานเกษตร
ทั้ง 4 สายการผลิต (ต้นพันธ์ุ ท่อนพันธ์ุ เมล็ดพันธุ์ จังหวัดหรือสานักงานเกษตรอาเภอ 13 จังหวัด
จานวน 13 ราย และเจ้าหน้าที่กองขยายพันธ์ุพืช
และพันธ์ุพืชจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ) ให้มีคุณภาพ จานวน 2 ราย รวมจานวน 16 ราย
และได้มาตรฐานของภาครัฐ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้
ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานด้านการผลิตและ ผลลัพธ์ (Outcom e )
ขยายพชื พันธดุ์ ขี องแตล่ ะหนว่ ยงาน สาหรับเป็นกาลัง 1. สร้างและพัฒนาเครือข่ายผู้ผลิตขยายพันธุ์พืช
สาคัญในการขับเคล่ือนงานผลิตและขยายพืชพันธุ์ดี พันธด์ุ ีรว่ มกบั เจา้ หน้าท่ีส่งเสรมิ การเกษตรในพื้นที่
แ ล ะ ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ก า ร ท า ง า น ใ น พื้ น ที่ ร่ ว ม กั บ 2. พัฒนาองค์ความรู้ให้กับเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ
สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 2 งานด้านการผลิตและขยายพืชพันธุ์ดีของแต่ละ
และสานักงานเกษตรจังหวัด หรือสานักงานเกษตร หน่วยงาน สาหรับเป็นกาลังสาคัญในการขับเคล่ือน
อาเภอ จานวน 13 จงั หวัด งานผลิตและขยายพืชพันธ์ุดีและสร้าง เครือข่ายการ
ทางานในพ้ืนที่

ศนู ยข์ ยำยพนั ธพุ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

โเพครอื่ งเกพำ่มิรผปลรติะแสิทละธขิภยำำพยกพำืชรผพลนั ติ ธภด์ุ ำี คเกษตร126

แปลงผลติ เมลด็ พนั ธผ์ุ กั พนื้ บำ้ นพนั ธผ์ุ สมเปดิ (OP)

ศูนย์ขยายพันธ์ุพืชที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี
จดั ทาแปลงเมลด็ พนั ธ์ุผักพื้นบ้านพันธ์ุผสมเปิด (OP)
พริกหอมสุพรรณ จานวน 1 ไร่ (เนื่องจากพริก
เกิดความเสียหายจากสภาพอากาศแปรปรวน
จึงได้เปลี่ยนแปลงเป็นมะเขือเปราะคางกบ และถ่ัวพู
จานวน 1 ไร่ เพ่ือเป็นแหล่งเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ
และได้มาตรฐาน เป็นแหล่งเรียนรู้และสามารถให้
ข้อมูลแก่เกษตรกรเพ่ือนาไปสู่อาชีพการเกษตรที่
ยงั่ ยืน มีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ีขึน้

ผลผลิต (Outp u t )
เ ม ล็ ด พั น ธ์ุ ผั ก พ้ื น บ้ า น พั น ธ์ุ ผ ส ม เ ปิ ด ( OP)
จานวน 30,000 ซอง

ผลลัพธ์ (Outcom e )
1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้แก่เกษตรกรและใช้ใน
ภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อลดปัญหา
การขาดแคลนเมลด็ พนั ธุ์
2. เกษตรกรสามารถเข้าถึงเมล็ดพืชพันธุ์ดี และ
มีคุณภาพได้อย่างท่ัวถึง

ศนู ยข์ ยำยพนั ธพุ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 127

โครงกำรสง่ เสริมและพัฒนำต้นแบบ
เกษตรอัจฉรยิ ะ

ศูนย์ขยายพันธ์ุพืชท่ี 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ผลผลิต (Outp u t )
ไดร้ ับมอบหมายจากกรมส่งเสริมการเกษตรในการ 1. เกิดต้นแบบแปลงเรียนรู้ระบบบริหารจัดการ
พัฒนาแปลงต้นแบบใหเ้ ป็นจุดเรียนรู้และถ่ายทอด แปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะในศูนย์เรียนรู้
เทคโนโลยีการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วย การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร และ
ระบบเกษตรอัจฉริยะ (Handy Sense) จานวน 1 ศูนย์ปฏิบตั ิการสังกัดกรมส่งเสรมิ การเกษตร
จุด โดยจะดาเนินการในพ้ืนท่ีโรงเรือนอนุบาล 1 2. เกษตรกรและเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตร
เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้การอนุบาลพันธ์ุพืช ได้รับการพัฒนาความรู้ทักษะการบริหารจัดการ
จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือโดยใช้ระบบบริหาร แปลงเกษตรดว้ ยระบบเกษตรอจั ฉริยะ
จัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ 3. ผลการศึกษาการใช้ประโยชน์ระบบบริหาร
จัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอจั ฉริยะ
( Handy Sense) แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ สาหรับนามาประยุกต์ใช้ในการผลิตสินค้าเกษตร
สู่เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ เศรษฐกจิ ได้อยา่ งเหมาะสมกบั สภาพพืน้ ที่
และประชาชนทส่ี นใจ จานวน 70 ราย
ผลลัพธ์ (Outcom e )
1. เกษตรกรและเจ้าหน้าท่ีนาความรู้และทักษะ
ไปประยกุ ต์ใช้ในการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วย
ระบบเกษตรอัจฉริยะ ท่ีเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี
เกิดประสิทธิภาพในการผลิตและใช้ทรัพยากรอย่าง
คุ้มค่า สามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้
เร่ืองการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบ
เกษตรอจั ฉริยะ
2. ข้อมูลการศึกษาเบ้ืองต้นระบบบริหารจัดการ
แปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอจั ฉริยะ

ศนู ยข์ ยำยพนั ธุพ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

โครงกำรส่งเสรมิ และพฒั นำ 128

วสิ ำหกิจชุมชน (ท่องเทย่ี วเชิงเกษตร)

ศูนยข์ ยายพนั ธุ์พชื ที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ผลผลิต (Outp u t )
จัดทาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยมีพรรณไม้ 1 . มี จุ ด ส า ห รั บ นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว เ พ่ิ ม ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
ต่าง ๆ เพ่ือให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไปได้เข้า จานวน 1 จดุ
มาศึกษาเรียนรู้และนาไปประกอบอาชีพได้ 2. มีนักท่องเท่ียว จานวนไม่น้อยกวา่ 10,000 ราย

ในปีท่ีผ่านมามีนั กท่องเที่ ยวเข้าเยี่ยมช ม ผลลัพธ์ (Outcom e )
ภายในศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี 1.เปน็ สถานทพ่ี กั ผอ่ น สาหรับประชาชนทวั่ ไป
ปีละไม่ต่ากว่า 10,000 ราย สร้างรายได้ให้กับ 2 . ป ร ะ ช า ช น บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ เ คี ย ง มี ร า ย ไ ด้ เ พิ่ ม ข้ึ น
จังหวัดสุพรรณบุรีเปน็ อย่างมาก จากการทอ่ งเทย่ี ว
3.มีนักท่องเที่ยว ประชาชน นักเรียนนักศึกษา
ได้รู้จักศูนย์ขยายพันธ์ุพืชท่ี 9 จังหวัดสุพรรณบุรี
เพิม่ มากข้นึ

ศนู ยข์ ยำยพนั ธุพ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 129

โครงกำรเข้ำร่วมงำนเทศน์มหำชำติ

ถวำยเปน็ พระรำชกศุ ลแด่

พระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลำ้ นภำลยั

ศูนย์ขยายพันธ์พุ ชื ท่ี 9 จังหวัดสุพรรณบุรี
ดาเนินการในกิจกรรมการสนับสนุนต้นกล้าพันธุ์
พชื จานวน 1 ชนิด ได้แก่ ต้นกล้าพริกมันบางช้าง
จานวน 4,000 ต้น ให้แก่ผู้ที่เข้าชมนิทรรศการ
พริกบางช้าง และการสนับสนุนต้นกล้าพริกบาง
ช้าง เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปและ
เป็นการขยายพ้ืนท่ีปลูกให้พริกบางช้างไม่สูญ
หายไป

ผลผลิต (Outp u t )
ต้นกล้าพริกมันบางช้าง จานวน 4,000 ต้น
จัดเป็นชุด โดย 1 ชุด ประกอบด้วย ต้นกล้าพริกมัน
บางช้าง จานวน 2 ตน้ จานวน 2,000 ชดุ

ผลลัพธ์ (Outcom e )
1. ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงาน
โครงการพระราชดาริ
2. ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์พริกพันธุ์ท้องถ่ิน
ของจังหวดั สมทุ รสงครามใหเ้ ปน็ ทีร่ ู้จกั มากขึน้
3. ประช าช นมีผลผลิต พริกบางช้ างสาหรับ
การบริโภคในครัวเรือน และสามารถอนุรักษ์พืช
ท้องถ่ินได้

ศนู ยข์ ยำยพนั ธุพ์ ืชท่ี 9 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

โครงกำรกำรศึกษำกำรขยำยพันธ์ุและ 130
ส่งเสรมิ พืชกระทอ่ มพนั ธด์ุ ีสพู่ ชื เศรษฐกจิ

สานักงานคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติด (สานักงาน ป.ป.ส.)
อ นุ มั ติ ใ ห้ ทุ น อุ ด ห นุ น โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย แ ก่
มหาวิ ทยาลัยขอนแก่ น เรื่ อง “การศึกษา
การขยายพันธ์ุและส่งเสริมพืชกระท่อมพันธุ์ดี
สู่พืชเศรษฐกิจ” โดยมหาวิทยาลัยขอนแก่นขอใช้
สถานท่ีของศูนย์ขยายพันธ์ุพืชที่ 9 จังหวัด
สุพรรณบุรี เป็นสถานที่ในการวิจัยและขอความ
อ นุ เ ค ร า ะ ห์ บุ ค ล า ก ร เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย
มเี ป้าหมายการผลิตกระทอ่ ม จานวน 9,000 ตน้

ผลผลิต (Outp u t )
ผลิตต้นพันธุก์ ระท่อม จานวน 9,000 ตน้

ผลลัพธ์ (Outcom e )
1.ไดบ้ ูรณาการงานร่วมกับมหาวิทยาลยั ขอนแกน่
2.ศูนย์ฯ เป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและสนับสนุน
ให้กับหน่วยงานและประชาชนในหมู่บ้านกองทุน
แมข่ องแผน่ ดิน ตลอดจนประชาชนผสู้ นใจ

คณะผจู้ ัดทำ

ท่ีปรกึ ษา ผอู้ านวยการสานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จังหวัดราชบรุ ี
ผอู้ านวยการกลุ่มยทุ ธศาสตรแ์ ละสารสนเทศ
นางธัญธิตา บุญญมณีกลุ
นางสาวเชาวนีฐ์ โคมแกว้

จดั ทาข้อมลู
1. กลุ่มยทุ ธศาสตร์และสารสนเทศ สานกั งานสง่ เสริมและพฒั นาการเกษตรที่ 2 จังหวดั ราชบุรี
2. กลมุ่ สง่ เสริมและพัฒนาเกษตรกร สานกั งานสง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตรท่ี 2 จงั หวัดราชบุรี
3. กลุ่มสง่ เสรมิ และพัฒนาการผลิต สานักงานสง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตรที่ 2 จงั หวัดราชบุรี
4. กลุ่มพฒั นาบุคลากร สานักงานสง่ เสรมิ และพฒั นาการเกษตรท่ี 2 จงั หวดั ราชบุรี
5. ฝ่ายบริหารทั่วไป สานกั งานสง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตรที่ 2 จังหวัดราชบุรี
6. ศนู ย์สง่ เสริมเทคโนโลยกี ารเกษตรดา้ นอารกั ขาพืช จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
7. ศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชพี การเกษตร จังหวัดเพชรบุรี
8. ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตร จงั หวัดกาญจนบรุ ี (เกษตรทีส่ ูง)
9. ศูนย์สง่ เสริมเยาวชนเกษตรอาเซยี น จงั หวดั กาญจนบุรี
10. ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพการเกษตร จงั หวดั สมุทรสาคร
11. ศนู ย์ขยายพันธพุ์ ืชท่ี 9 จังหวดั สุพรรณบรุ ี

ออกแบบและเรียบเรยี ง
นายสนั ติ วงั วารี นักวิชาการสง่ เสรมิ การเกษตรปฏิบัติการ
กลมุ่ ยทุ ธศาสตร์และสารสนเทศ
สานักงานสง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตรท่ี 2 จงั หวดั ราชบุรี

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรที่ 2 จงั หวดั รำชบรุ ี


Click to View FlipBook Version