The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

‘ตำบลรองรับสังคมสูงวัย’ ไปไกลกว่า ‘สงเคราะห์สูงอายุ’
ถอดความรู้พื้นที่ตัวแบบ 30 ตำบล ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อรองรับสังคมสูงวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Poonato Head, 2022-06-08 00:15:39

เรื่องเล่าจากตำบล รองรับสังคมสูงวัย

‘ตำบลรองรับสังคมสูงวัย’ ไปไกลกว่า ‘สงเคราะห์สูงอายุ’
ถอดความรู้พื้นที่ตัวแบบ 30 ตำบล ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อรองรับสังคมสูงวัย

รองรบั สงั คมสงู วยัเรอ่ื งเลา่ จากตำ� บล

‘ตำ� บลรองรบั สงั คมสงู วยั ’ ไปไกลกวา่ ‘สงเคราะหผ์ สู้ งู อาย’ุ

ถอดความรู้พ้ืนที่ตัวแบบ 30 ต�ำบล ขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะเพื่อรองรับสังคมสูงวัย



รองรบั สงั คมสงู วยัเรอื่ งเลา่ จากตำ� บล

‘ตำ� บลรองรบั สงั คมสงู วยั ’ ไปไกลกวา่ ‘สงเคราะหผ์ สู้ งู อาย’ุ

ถอดความรู้พืน้ ที่ตวั แบบ 30 ตำ� บล
ขบั เคลอื่ นนโยบายสาธารณะเพือ่ รองรบั สงั คมสูงวัย

สำ� นกั งานประสานนโยบายสาธารณะรองรบั สังคมสูงวัย (สป.สว.)

เร่อื งเลา่ จากต�ำบลรองรับสงั คมสูงวยั
‘ต�ำบลรองรบั สังคมสูงวัย’ ไปไกลกว่า ‘สงเคราะหผ์ ู้สงู อายุ’
ถอดความร้พู น้ื ทตี่ ัวแบบ 30 ตำ� บล ขบั เคลื่อนนโยบายสาธารณะเพ่ือรองรับสงั คมสูงวยั

ที่ปรกึ ษา กรรณิการ์ บรรเทิงจติ ร
บรรณาธิการ พลินี เสริมสินสิริ
ประสานงานและอ�ำนวยการ สัมพนั ธจ์ ิตร ภกั ดีนอก
จัดทำ� โดย สำ� นกั งานประสานงานนโยบายสาธารณะรองรบั สงั คมสงู วยั (สป.สว.)
สนบั สนนุ โดย สำ� นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)
มกราคม 2565

คำ� น�ำ

หนงั สอื “เรอ่ื งเลา่ จากตำ� บลรองรบั สงั คมสงู วยั ” เปน็ การสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรแู้ ละบทเรยี นของพน้ื ท่ี 30 ตำ� บล
ทีร่ ่วมเปน็ พ้นื ท่ตี ้นแบบ ภายใตก้ ารขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะรองรับสงั คมสูงวัยในภาวะวิกฤติโควดิ -19 ซึง่ ได้รับการ
สนบั สนนุ จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.)
เนื้อหาในหนังสือเล่มน้ีท�ำให้ผู้อ่านได้เห็น ระบบกลไกการท�ำงาน จากการขับเคลื่อนการสังคมสูงวัยใน 4 มิติ
ไดแ้ ก่ มติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ สภาพแวดลอ้ ม สขุ ภาพ และสงั คม รวมถงึ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย จากประสบการณก์ ารทำ� งาน
ในพน้ื ที่รูปธรรม 30 พนื้ ท่ี ในการคน้ หาแนวทาง วธิ ีการท�ำงานท่ีเหมาะสม สามารถนำ� ไปต่อยอดขยายผลโครงการใหก้ บั
พ้ืนที่อนื่ ตอ่ ไป
ขอขอบคุณ หนว่ ยงาน ภาคเี ครอื ข่าย นกั วิชาการ และท่สี ำ� คญั พน้ื ที่ต้นแบบ 30 พืน้ ท่ี ในการใหข้ อ้ มลู ทีเ่ ป็น
ประโยชนจ์ ากการดำ� เนินงานทผี่ ่านมา

ส�ำนกั งานประสานนโยบายสาธารณะรองรบั สงั คมสงู วัย (สป.สว.)

สารบญั

เปิดเร่ืองเลา่ ที่มาของ 30 ต�ำบล 5

เคลด็ ลับขบั เคลอ่ื นรองรับสังคมสงู วัย 8

‘ต�ำบลรองรบั สงั คมสงู วยั ’ ไปไกลกว่า ‘สงเคราะห์ผ้สู งู อาย’ุ 16

• มติ ิเศรษฐกจิ 17

• มิติสภาพแวดลอ้ ม 20

• มติ ิสุขภาพ 23

• มิตสิ ังคม 26

รูปธรรมความส�ำเรจ็ 28

ความท้าทายในยา่ งกา้ วตอ่ ไป 57

เรอื่ งเลา่ จากต�ำบลรองรับสงั คมสงู วัย

30เปิดเรื่องเล่าของ

ต�ำบล

5

เปดิ เรอ่ื งเลา่ ของ 30 ต�ำบล

ส�ำนักงานประสานนโยบายสาธารณะรองรับสังคมสูงวัย (สป.สว.) ได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ให้ด�ำเนินโครงการสนับสนุนการพัฒนานโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาวะรองรับ
สังคมสูงวยั ของประเทศไทยระยะเวลา 3 ปี ตั้งแตเ่ ดอื นกนั ยายน 2559 ถงึ กรกฎาคม 2562 เพ่ือสนับสนนุ การพัฒนา
นโยบายสาธารณะเพอ่ื สขุ ภาวะแบบมสี ว่ นรว่ ม รองรบั สงั คมสงู วยั ของประเทศไทยครอบคลมุ ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สภาพแวดลอ้ ม
สขุ ภาพ และสงั คม ทเ่ี นน้ การทำ� งานรว่ มกนั ในรปู แบบการอภบิ าลโดยเครอื ขา่ ย และในระยะตอ่ มาไดม้ กี ารจดั ทำ� โครงการ
เสรมิ พลงั เครอื ขา่ ย ขบั เคลอ่ื นนโยบายรองรบั สงั คมสงู วยั ในภาวะวกิ ฤติ โควดิ -19 (Empowerment for Driving Ageing
Policy Network on COVID-19 Situation) โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ จากสำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ ง เสรมิ สขุ ภาพ
(สสส.) เช่นกัน ตง้ั แตว่ นั ที่ 15 มิถนุ ายน 2563 ถงึ 30 ธันวาคม 2564 โดยสาระสำ� คัญ คอื เสริมพลงั เครือขา่ ยและ
กระบวนการเรยี นรขู้ องชุมชนในการขบั เคลอื่ นนโยบายสาธารณะเพอื่ รองรับสังคมสงู วัยในภาวะวิกฤตโิ ควดิ - 19 โดยมี
การจดั การความรู้เพอื่ ให้ไดต้ วั แบบของพน้ื ที่ท่ีมกี ารขบั เคลือ่ นสังคมสงู วยั โดยมีเป้าหมายของโครงการ ดังน้ี

1. สร้างกระบวนการเรียนรู้เพ่ือเสริมพลังเครือข่ายในการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
ในภาวะวิกฤตโิ ควดิ -19 จำ� นวน 30 ตำ� บล

2. พัฒนาพื้นที่ตัวแบบการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย ในภาวะวิกฤติ โควิด - 19
จำ� นวน 30 ต�ำบล

3. จัดการความรู้และสังเคราะห์บทเรียนของเครือข่ายในการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะรองรับสังคมสูงวัย
ในภาวะวิกฤติโควดิ -19

4. สานพลังภาคีองค์กรภาคียุทธศาสตร์และเครือข่ายขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะ เพ่ือรองรับสังคมสูงวัย
ในภาวะวิกฤติโควิด -19

เขบั เคลอ่ื นต�ำบลตน้ แบบรองรบั สงั คมสงู วยั
น้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมพลังของเครือข่ายในการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะเพื่อรองรับ
สงั คมสงู วยั ในภาวะวกิ ฤติ โควดิ -19 จำ� นวน 30 ตำ� บล โดยสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มจากภาคสว่ นตา่ งๆ ทงั้ ระดบั
ส่วนกลางและพน้ื ที่ ทำ� ให้ได้พืน้ ที่ตวั แบบการขับเคลอื่ นนโยบายสาธารณะเพอ่ื รองรับสงั คมสูงวัย ในภาวะ
วกิ ฤติโควดิ -19 รวมทั้งการถอดบทเรียนเพอ่ื สังเคราะหอ์ งค์ความรู้ ตลอดจนการสอื่ สารเพอ่ื สร้างความเขา้ ใจกบั สังคม
ในประเด็นการขบั เคลอ่ื นรองรบั สังคมสูงวัยไปพรอ้ มกนั โดยมงุ่ ให้เกิดผลผลิตและผลลพั ธ์ส�ำคัญ ซงึ่ มีกลมุ่ เป้าหมายและ
พื้นทพ่ี ัฒนาตัวแบบ 30 ต�ำบล ทเ่ี ลอื กจากพ้นื ทีเ่ ดมิ ในโครงการทผี่ า่ นมา 190 ต�ำบล ใน 16 จังหวดั โดยต�ำบลท่เี ลอื ก
ต้องมยี ทุ ธศาสตร์ ธรรมนญู รองรับสังคมสูงวยั แผนงานหรือโครงการเกย่ี วกบั สังคมสูงวยั ท่คี รอบคลมุ 4 มิติ หรอื มติ ใิ ด
มิติหน่ึง และหนว่ ยงานองคก์ รภาคียุทธศาสตร์ท่ีเครือข่ายทำ� งานดา้ นการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะเพ่อื รองรับสงั คม
สงู วัย 40 องค์กร/เครอื ข่าย

6

เรื่องเล่าจากต�ำบลรองรับสังคมสงู วยั

จดั กระบวนการเพอ่ื ให้ถงึ เปา้ หมาย

1. การเสรมิ พลงั เครอื ขา่ ยในการขบั เคลอ่ื นนโยบายสาธารณะเพอ่ื รองรบั สงั คมสงู วยั ในภาวะวกิ ฤตโิ ควดิ -19 โดยมี
กิจกรรมท่ดี ำ� เนนิ งาน ได้แก่ เตรยี มแนวคดิ การจัดท�ำเอกสารแนวทางการขับเคล่ือนสงั คมสูงวยั ระดับต�ำบล การประชุม
แกนนำ� พนื้ ท่พี ร้อมพีเ่ ลีย้ งจงั หวัด/เครือขา่ ยดว้ ยระบบ Online เพ่อื ท�ำความเขา้ ใจการท�ำงานขับเคล่ือนสังคมสงู วยั และ
การพฒั นาศกั ยภาพแกนนำ� พืน้ ท่ี โดย สป.สว.ร่วมกับสำ� นักงานคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ (สช.) และสถาบันพัฒนา
องค์กรชุมชน (พอช.) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร สช.และ แกนเครือข่ายเกี่ยวกับการพัฒนา
นโยบายสาธารณะรองรบั สงั คมสงู วยั โดยไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ จากสำ� นกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ (สช.)
และความรว่ มมอื จากสถาบันพัฒนาองคก์ รชมุ ชน

2. การพฒั นาพน้ื ที่ตวั แบบการขบั เคลอ่ื นนโยบายสาธารณะรองรับสงั คมสูงวัยในภาวะวิกฤติโควิด-19 โดยการ
สนับสนุนงบประมาณการดำ� เนินงานของพนื้ ท่ตี �ำบล จ�ำนวน 30 ต�ำบล พร้อมติดตามการดำ� เนนิ งานของพนื้ ท่ี

3. สังเคราะห์องค์ความรู้และถอดบทเรียนของเครือข่ายในการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะ เพ่ือรองรับสังคม
สูงวัยในภาวะวิกฤติโควิด-19 ส�ำหรับใช้ในการขยายผลในพื้นที่อื่น โดยการประชุมนักวิชาการผู้ท�ำหน้าที่ถอดบทเรียน
พื้นที่ตัวแบบทง้ั 30 พ้นื ท่ี การจดั เวทสี าธารณะ และการสงั เคราะหเ์ นอื้ หาจากรายงานผลการด�ำเนนิ งานของพื้นทตี่ ำ� บล
และการถอดความรู้โดยนักวชิ าการ

7

เคลด็ ลบั ขบั เคลอื่ น

สงู วยัรองรับสังคม

8

เรอ่ื งเลา่ จากตำ� บลรองรับสงั คมสงู วัย

กลไกการขบั เคล่ือนสงั คมสูงวยั ในระดบั พน้ื ที่

ารด�ำเนินงานในแต่ละพ้ืนท่ี มีการขับเคล่ือนโดยกลไกต่างๆ ที่แตกต่างกันไป ท้ังในส่วนของการ
ขบั เคลอื่ นงานโดยกลไกทมี่ คี ำ� สง่ั แตง่ ตงั้ ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบมาจากหลายภาคสว่ น เชน่ ภาคประชาสงั คม

กองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ท้องท่ี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำ� บล หรอื รพ.สต. กลมุ่ /ชมรม

ผสู้ งู อายุ โรงเรยี น วดั แตก่ พ็ บวา่ บางพน้ื ทแ่ี มว้ า่ จะมกี ารแตง่ ตงั้ คณะทำ� งานขน้ึ มาแลว้ แตใ่ นการทำ� งานจรงิ ไมไ่ ดเ้ คลอื่ นงาน
โดยกลไกที่ตั้งข้ึนแบบองค์รวม หากแต่มีบางฝ่ายเป็นกลไกหลักในการเคล่ือนงาน ซ่ึงโดยส่วนใหญ่มักจะเป็นผู้น�ำหรือ
เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนท้องถ่ินร่วมกับภาคประชาสังคม เช่น สภาองค์กรชุมชน เครือข่ายชุมชน โรงพยาบาล
ส่งเสรมิ สขุ ภาพตำ� บล ผนู้ �ำชมรมผู้สูงอายุ เปน็ ต้น บางพ้ืนท่เี ป็นการขบั เคลือ่ นงานโดยภาคประชาสังคมร่วมกบั ท้องถนิ่
และหน่วยงานรัฐในพื้นท่ี และก็ยังพบว่ามีบางส่วนกลไกจังหวัดและสถาบันการศึกษาเป็นพ่ีเล้ียงสนับสนุน รวมทั้งมี
หนว่ ยงานสนบั สนนุ การทำ� งานในพนื้ ที่ สามารถบรู ณาการงบประมาณ องคค์ วามรู้ และทรพั ยากรอนื่ ๆ ทำ� งานรว่ มกนั ได้
เชน่ องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สำ� นกั งานเกษตรอำ� เภอ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)
โรงพยาบาลประจำ� อำ� เภอ สำ� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ สถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน)
สำ� นกั งานสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ทำ� ใหง้ านในพน้ื ทด่ี ำ� เนนิ ไปไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยสามารถสรปุ กลไกนำ� ในการขบั เคลอื่ น
นโยบายเพือ่ รองรับสงั คมสูงวัยในระดบั พื้นที่ได้ดงั น้ี
1. การขับเคล่ือนทนี่ �ำโดยกลไกท้องถิ่น รว่ มกับภาคประชาสังคม และหน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ ง เป็นโครงสร้าง
กลไกแบบมีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าที่ ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่มีทุนและทรัพยากรในการสนับสนุนการขับเคล่ือนงาน เช่น
ต�ำบลน้�ำไคร้ จังหวัดอุตรดิตถ์ น�ำโดยกลไกท้องถิ่น คือ องค์การบริหารส่วนต�ำบลน้�ำไคร้ ท่ีมีศักยภาพในการใช้ข้อมูล
ทุกมิติท่ีเก่ียวข้องในการขับเคล่ือนพัฒนาข้อบัญญัติเพื่อดูแลช่วยเหลือคนในชุมชน ผ่านการจัดท�ำโครงการและ
แผนงานต่างๆ เช่น การปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิต การประสานความร่วมมือหน่วยงานองค์กรที่
เก่ียวขอ้ ง สนบั สนุนงบประมาณ ก�ำลังคน เคร่ืองมือ เพอ่ื สง่ เสริมสุขภาพ และจดั ทำ� แผนพัฒนา ใหก้ ารดแู ลช่วยเหลอื
คนในตำ� บล โดยทอ้ งถนิ่ ไมส่ ามารถเคลอื่ นงานไดเ้ พยี งลำ� พงั หากแตม่ กี ารประสานความรว่ มมอื กบั ภาคสว่ นตา่ งๆ ในพน้ื ท่ี
เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ในการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาทักษะด้านการดูแลสุขภาพให้กับ
คนในชุมชน การพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุ ผู้น�ำชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแล พัฒนากติกาข้อตกลง จัดท�ำ
แผนพฒั นาชมุ ชน จดั กจิ กรรม ประสานองคก์ รในการชว่ ยเหลอื ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครวั สนบั สนนุ ดแู ลชว่ ยเหลอื ในครอบครวั
สนบั สนนุ การจดั ตงั้ กองทนุ สวสั ดกิ าร จดั กจิ กรรมอบรม พฒั นาครอบครวั กลมุ่ อาสาสมคั รและดแู ล ศนู ยพ์ ฒั นาและฟน้ื ฟู
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ ท�ำหน้าท่ีก�ำหนดนโยบาย วางแผนงานและกิจกรรมส�ำหรับผู้สูงอายุ ต�ำบลคอรุม
จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ การขบั เคลอ่ื นงานมคี ณะกรรมการขบั เคลอ่ื นทมี่ าจากผนู้ ำ� ทอ้ งถน่ิ ทอ้ งท่ี หนว่ ยงานภาครฐั กลมุ่ องคก์ ร
ในพนื้ ท่ี และสถาบนั วชิ าการ มารว่ มขบั เคลอ่ื นโดยแตง่ ตงั้ เปน็ คำ� สงั่ เพอื่ รองรบั การทำ� งานแบบมสี ว่ นรว่ ม ตำ� บลลำ� ประดา
จังหวัดพิจิตร ก็ได้มีการแต่งต้งั คณะทำ� งานรองรบั สังคมสงู วัย เพื่อด�ำเนินกิจกรรมตามโครงการ ภายใต้การทำ� งานของ
สภาองค์กรชุมชนต�ำบลล�ำประดา ประกอบด้วยคณะท�ำงานจ�ำนวน 16 คน โดยมีองค์ประกอบหลัก ได้แก่ ประธาน
สภาองค์กรชมุ ชนต�ำบลล�ำประดา เป็นประธาน ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำ� บลลำ� ประดา และ สมาชิก
องค์การบริหารสว่ นตำ� บล เปน็ รองประธานคณะท�ำงาน นกั พัฒนาชมุ ชน เป็นเลขานุการ เลขาชมรมผู้สงู อายเุ ป็นผูช้ ่วย
เลขานุการ และมีคณะท�ำงานที่มาจากหลายฝ่าย ได้แก่ รองนายก อบต.ล�ำประดา ประธานและคณะกรรมการชมรม
ผู้สงู อายุ ประธานชมรม อสม. ผูด้ แู ลผูส้ ูงอายุ บุคลากรองคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบล เช่น นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน

9

ผชู้ ่วยนกั พัฒนาชมุ ชน บุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ตำ� บลกระแชง จงั หวัดปทมุ ธานี มีคณะทำ� งานพฒั นา
ธรรมนูญสขุ ภาพต�ำบลกระแซงว่าดว้ ยการรองรับสังคมสงู วัย ประจำ� ปงี บประมาณ 2562 โดยมีการสนบั สนนุ จากนายก
องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลร่วมผลกั ดันให้เกดิ ธรรมนูญสุขภาพต�ำบลกระแซงว่าด้วยการจัดการรองรบั สงั คมสูงวัย ตำ� บล
บางปรอก จังหวัดปทุมธานี มีการจัดต้ังคณะท�ำงานพัฒนาธรรมนูญสุขภาพต�ำบลบางปรอก ว่าด้วยการจัดการรองรับ
สังคมสูงวัย ประจ�ำปีงบประมาณ 2562 ต�ำบลนาชุมเห็ด จังหวัดตรัง มีกลไกคณะท�ำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยท่ี
มาจาก 3 ภาคสว่ น ได้แก่ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ชมรมหรอื โรงเรียนผสู้ งู อายุ และรพสต./ อสม. เป็นแกนนำ� หลกั
ในการขบั เคลอ่ื นรองรบั สงั คมสงู วยั เครอื ขา่ ยทส่ี นใจ ผนู้ ำ� ทอ้ งถน่ิ แกนนำ� สภาองคก์ รชมุ ชน แกนนำ� สตรี และแกนนำ� กลมุ่
วสิ าหกจิ เพาะชำ� กลา้ ไม้ โดยมหี นว่ ยงานภาคสี นบั สนนุ การทำ� งานของพน้ื ท่ี เชน่ Node Flagship จงั หวดั ตรงั ศนู ยส์ ง่ เสรมิ
นวตั กรรมสภาพแวดลอ้ มสงั คมสงู วยั UDC-PSU คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตตรงั
2. การขับเคล่ือนท่ีน�ำโดยประชาสังคมร่วมกับท้องถิ่นและหน่วยงานในพ้ืนที่ ภาคประชาสังคมในที่น้ี เช่น
คณะทำ� งานขบั เคลอ่ื นธรรมนญู ตำ� บล คณะทำ� งานธรรมนญู สขุ ภาพ สภาองคก์ รชมุ ชน คณะทำ� งานสวสั ดกิ ารชมุ ชน ชมรม
ผู้สงู อายุ กลุ่มอาชีพ สถาบนั การเงิน/ธนาคารชมุ ชน เป็นต้น ทีร่ วมตวั กนั เปน็ แกนหลกั ในการขับเคลื่อนงานรองรบั สงั คม
ผสู้ งู วยั รว่ มกบั หนว่ ยงานทอ้ งถนิ่ และหนว่ ยงานภาครฐั ทอ่ี ยใู่ นพน้ื ท่ี เชน่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล/ เทศบาล โรงพยาบาล
ส่งเสริมสขุ ภาพต�ำบล โรงพยาบาลอำ� เภอ สำ� นักงานเกษตรอ�ำเภอ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
(กศน.) เป็นตน้ เชน่ ตำ� บลวงั ยาง จงั หวดั กำ� แพงเพชร ทจ่ี ดั ตงั้ คณะกรรมการพฒั นาสุขภาพระดบั ต�ำบล ประกอบด้วย
ท้องที่ ท้องถน่ิ อสม. รพ.สต. เจา้ อาวาสวัสต่างๆ ในต�ำบล เพอื่ ดูแลสขุ ภาพของคนในต�ำบล เป้าประสงค์ “สุขภาพดี
อยู่ 100 ปี อย่างสมบูรณ์ @ วังยาง” ต�ำบลโนนโหนน จังหวัดอุบลราชธานี ท่ีขับเคลื่อนงานโดยใช้กลไกเดิม คือ
อบต.โนนโหนน รว่ มกบั รพ.สต.นาโหนนนอ้ ย และวทิ ยาลยั แพทยศาสตรแ์ ละการสาธารณสขุ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี
เปน็ กลไกหลกั ในการขบั เคลอื่ นงาน ตำ� บลแสนสขุ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ขบั เคลอื่ นโดยภาคประชาสงั คมดำ� เนนิ การรว่ มกบั
เทศบาลต�ำบลแสนสุขและภาคี โดยมีเคร่ืองมือสนับสนุนการท�ำงานในพ้ืนที่ท่ีส�ำคัญ คือ การใช้งานวิจัยและวิชาการ
นำ� โดยอาศยั ความร่วมมอื กบั ภาควี ชิ าการเข้ามาเปน็ ผจู้ ดั ท�ำขอ้ มูลและพฒั นารว่ มกับผู้นำ� แกนน�ำ และจิตอาสาในพ้ืนที่
เกิดกิจกรรมในการพัฒนาระบบรองรับสังคมสูงวัยร่วมกันในชุมชน ต�ำบลหนองเหล็ก จังหวัดมหาสารคาม กลไกภาค
ประชาสงั คม โดยสภาฮกั แพงเบง่ิ แงงคนมหาสารคาม รว่ มกบั กลไกระดบั อำ� เภอ ฮกั แพงเบงิ่ แงงคนโกสมุ พสิ ยั ทำ� งานรว่ ม
ระหวา่ งภาคราชการและประชาชน เพอื่ สรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคที กุ ภาคสว่ นในการขบั เคลอื่ นประเดน็ ผสู้ งู อายุ ทง้ั ดา้ นการ
ดูแลสุขภาวะผู้สูงอายุในด้านต่างๆ รวมถึงใช้พลังจากเครือข่ายผู้สูงอายุมารวมเป็นพลังในการขับเคลื่อนสังคม
เพอื่ สนบั สนนุ การพฒั นาใหเ้ กดิ รปู ธรรมในพนื้ ทแ่ี ละเกดิ การพฒั นานโยบายสาธารณะรองรบั สงั คมสงู วยั ทง้ั 4 ดา้ น ตำ� บล
นาขา จังหวัดชมุ พร เดมิ มกี ารขบั เคลอื่ นดว้ ยสภาองคก์ รชมุ ชน จนน�ำมาสูก่ ารจดั ต้งั กลไกคณะท�ำงานเพ่อื รองรบั สงั คม
สขุ ภาวะรองรับสูงวยั ต�ำบลนาขาขึน้ ในปี 2562 โดยมผี ู้แทนของสภาองค์กรชุมชนเปน็ ประธาน มนี ายกองค์การบริหาร
ส่วนตำ� บลนาขา ก�ำนันตำ� บลนาขา และเลขาสภาองคก์ รชมุ ชนเปน็ ทปี่ รึกษา มผี ู้แทนจาก รพ.สต. อสม. สมาชิก อบต.
โรงเรียน ชมรมผู้สูงอายุ โดยสภาองคก์ รชมุ ชนเปน็ แกนหลักในการขับเคลื่อนงานตา่ งๆ ในตำ� บล เชน่ การผลกั ดนั เรอ่ื ง
แผนรองรับสังคมสูงวัยเข้าบรรจุในแผนพัฒนาของท้องถิ่น ขับเคลื่อนเรื่องการออมต้นไม้ส่งเสริมการปลูกต้นไม้ และ
ประสานกับภาคส่วนต่างๆ เช่น รพ.สต. ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอในการแก้ไขปัญหาลดสารเคมีในร่างกาย การลดใช้
สารเคมใี นการเกษตร สง่ เสรมิ การทำ� เกษตรอนิ ทรยี ์ รวมทง้ั จะนำ� เรอ่ื งตา่ งๆ ไปผลกั ดนั ตอ่ หนว่ ยงาน กลไกทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่
การผลกั ดนั ให้ อสม. ทำ� บทบาททค่ี รอบคลมุ การดแู ลสขุ ภาพของคนในชมุ ชนในมติ อิ นื่ ๆ ดว้ ย เชน่ การจดั สภาพแวดลอ้ ม
ดแู ลสภาพความเปน็ อยู่ เปน็ ตน้ ตำ� บลเขาแกว้ จังหวัดนครศรธี รรมราช ดำ� เนินงานผ่านกลไก คณะท�ำงานตา่ งๆ ได้แก่

10

เรือ่ งเล่าจากต�ำบลรองรับสังคมสูงวัย

สภาองค์กรชุมชนกองทุนสวัสดิการชุมชน โรงเรียนผู้เชี่ยวชาญชีวิต สถาบันการเงินชุมชน อบต. รพ.สต. และกลุ่มคน
3 วยั รว่ มใจพฒั นา โดยมหี นว่ ยงานภายนอกทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ เชน่ โรงพยาบาลลานสกา สำ� นกั งานเกษตรอำ� เภอลานสกา

ขมหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ์ และสถาบนั พัฒนาองค์กรชมุ ชน (องค์การมหาชน)
ณะทต่ี ำ� บลโกรกพระ จงั หวดั นครสวรรค์ จดั ตงั้ คณะทำ� งานการขบั เคลอื่ นสงั คมสงู วยั ตำ� บลโกรกพระ
ทม่ี อี งคป์ ระกอบมาจากผนู้ ำ� ทอ้ งท่ี ผนู้ ำ� หมบู่ า้ น ชา่ งชมุ ชน อสม. โรงพยาบาลโกรกพระ โรงเรยี น วดั
โดยมหี นว่ ยงานภาคที ใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ การขบั เคลอื่ นงานในพนื้ ท่ี เชน่ สสส. สช. พอช. และธรรมนญู
สุขภาวะผู้สูงอายุต�ำบลโกรกพระ ต�ำบลสายล�ำโพง จังหวัดนครสวรรค์ ได้มีการขับเคลื่อนงานโดยแต่งตั้งคณะท�ำงาน
โครงการฯ ประกอบดว้ ย นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล กำ� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น รพ.สต. ประธานชมรมผสู้ งู อายุ อสม. กองทนุ
หลกั ประกนั สขุ ภาพตำ� บลสายลำ� โพง โดยมหี นว่ ยงานภาคที เ่ี ขา้ มาใหส้ นบั สนนุ การทำ� งานในพนื้ ท่ี ไดแ้ ก่ สำ� นกั งานพฒั นา
สงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั นครสวรรค์ สถาบนั พฒั าองคก์ รชมุ ชน สสส. และ สป.สว. ตำ� บลเขาไมแ้ กว้ จงั หวดั
ปราจีนบุรี ด�ำเนินงานดว้ ยคณะท�ำงานขบั เคลื่อนธรรมนูญสุขภาพต�ำบลเขาไม้แก้ว ว่าดว้ ยการจดั การรองรบั สังคมสูงวัย
ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีสภาองค์กรชุมชนต�ำบลเขาไม้แก้วเป็นแกนหลักในการขับเคล่ือนรองรับสังคม
สูงวยั ดว้ ยการสร้างชมุ ชนให้เข้มแข็ง เป็นแนวทางการขบั เคลอื่ นตามธรรมนูญสุขภาพต�ำบลเขาไมแ้ ก้ว มงุ่ เนน้ ใหต้ �ำบล
กลายเป็น “เขาไม้แก้วน่าอยู่” “เร่ืองเกษตรอินทรีย์สู่แหล่งอาหารชุมชน” รองรับคนที่กลับมาจากระบบอุตสาหกรรม
ทงั้ เรอื่ งเกษตรอนิ ทรยี ์ การสรา้ งอาชพี ทกั ษะการดำ� รงชวี ติ ตำ� บลโนนภบิ าล จงั หวดั มหาสารคาม อาศยั การดำ� เนนิ งานจาก
คณะทำ� งานเตรยี มความพรอ้ มเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั ทม่ี อี งคป์ ระกอบมาจากสภาองคก์ รชมุ ชนตำ� บลโนนภบิ าล รพ.สต. ทอ้ งที่
ท้องถ่ิน สป.สช. อสม. พชอ.แกดำ� โดยมหี น่วยงานภาคตี า่ งๆ ให้การสนบั สนุน เช่น สภาฮกั แพง จงั หวัดมหาสารคาม,
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพแห่งชาติ (สสส.), ส�ำนักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), และ การปโิ ตรเลยี มแหง่ ประเทศไทย (ปตท.) ต�ำบลสวนหมอ่ น จังหวดั ขอนแก่น การจัดตั้ง
กลไกการขบั เคลอื่ นงานรองรบั สงั คมสงู วยั สภาองคก์ รชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ ทอ้ งที่ รพสต. ชมรมผสู้ งู อายุ ชมรมสตรี กลมุ่ อาชพี
ต�ำบลบางด้วน จังหวัดตรัง จัดต้ังคณะท�ำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ประกอบด้วย ท้องท่ี ท้องถ่ิน ชมรมผู้สูงอายุ
โรงเรยี นผสู้ งู อายุ อสม. รพ.สต. โดยมอี งคก์ รและหนว่ ยงานภายนอกรว่ มสนับสนุนงานของพ้ืนท่ี ไดแ้ ก่ สนง.พฒั นาสังคม
และความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวดั ตรัง กศน.อ�ำเภอปะเหลียน Node Flagship จังหวดั ตรัง สมชั ชาสขุ ภาพจังหวดั ตรงั -
ศูนย์ UDC คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตตรงั
3. การขบั เคลื่อนงานโดยกลไกพ่เี ลีย้ งสนับสนุน ประกอบดว้ ยกลไกการหนนุ เสริมการท�ำงานในระดับจังหวัด
หรืออ�ำเภอที่สนับสนุนการขับเคลื่อนงานรองรับนโยบายสังคมสูงวัยในพื้นที่ ซึ่งพบว่ามีหลายกลไก เช่น กลไกสมัชชา
สุขภาพจังหวัด ซึ่งบางแห่งใช้ธรรมนูญรองรับสังคมสูงวัยมาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนงานต่อ เช่น สมัชชาสุขภาพ
จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ต�ำบลห้วยโป่ง ต�ำบลขุนยวม) สมัชชาสุขภาพจังหวัดนครสวรรค์ (ต�ำบลสายล�ำโพง และต�ำบล
โกรกพระ) สมชั ชาสขุ ภาพจงั หวดั ปทมุ ธานี (ต�ำบลกระแชง ตำ� บลบางปรอก) สมัชชาจังหวดั ตรัง (ตำ� บลกันตรงั ใต้ ต�ำบล
นาชุมเหด็ ตำ� บลบางดว้ น) เป็นต้น
นอกจากนี้ ยงั มกี ลไกสถาบันการศึกษา และกลไกอื่นๆ เช่น มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี ท่ีลงไปทำ� วจิ ัยในพืน้ ท่ี
รว่ มเปน็ พเ่ี ลยี้ ง และใชง้ านวจิ ยั เปน็ เครอื่ งมอื ในการขบั เคลอ่ื นใหก้ บั พนื้ ทตี่ ำ� บลแสนสขุ ตำ� บลบงุ่ หวาย และตำ� บลโนนโหนน
จังหวัดอุบลราชธานี กลไกเครือข่ายเกษตรอินทรีย์จังหวัดปราจีนบุรี ท่ีสนับสนุนการขับเคลื่อนงานเรื่องการท�ำเกษตร
อินทรยี ใ์ นพื้นท่ตี ำ� บลเขาไม้แก้ว และยงั มีการใชธ้ รรมนญู ตำ� บลเขาไม้แกว้ เปน็ แนวทางในการขบั เคลือ่ นงาน เป็นต้น

11

รูปแบบกระบวนการขบั เคล่อื นงานของพืน้ ท่ี

1. คณะทำ� งานที่มีองค์ประกอบจากหลายภาคส่วน ซึ่งประกอบด้วย องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น (เทศบาล
หรอื องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบล) ท้องท่ี (ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) ประชาสงั คมหรอื กล่มุ องค์กรในพน้ื ที่ เชน่ สภาองค์กรชมุ ชน
คณะท�ำงานธรรมนูญตำ� บล/ธรรมนญู สขุ ภาพ ชมรมผ้สู ูงอายุ โรงเรียนผ้สู ูงอายุ วดั โรงเรยี น โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพ
ตำ� บล เปน็ ตน้ แตก่ พ็ บวา่ ในการเคลอ่ื นงานจรงิ มหี ลายพนื้ ทใี่ ชก้ ลไกเดมิ ทม่ี อี ยใู่ นตำ� บลเปน็ แกนกลางในการขบั เคลอื่ นงาน
เชน่ คณะท�ำงานธรรมนญู ต�ำบล คณะท�ำงานธรรมนญู สขุ ภาพ สภาองค์กรชมุ ชน หรือการขบั เคล่ือนโดยองคก์ รปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่นิ บคุ คลท่เี ป็นแกนนำ� หรือเป็นทน่ี า่ เชือ่ ถอื ของคนในชุมชน เนอ่ื งจากไมส่ ามารถเชื่อมประสานทกุ ภาคส่วนมา
ท�ำงานรว่ มได้ หรอื มกี ารจดั ตั้งแล้วไมส่ ามารถเกดิ การทำ� งานรว่ มไดจ้ รงิ
2. การสอื่ สารสรา้ งความเขา้ ใจเรอ่ื งสงั คมสงู วยั โดยเปน็ การสอ่ื สารใน 2 กลมุ่ คอื กลมุ่ คณะทำ� งาน หรอื คนท่ี
เป็นแกนหลกั ในการขับเคลื่อนงานในพ้ืนท่ี โดยการสร้างความเขา้ ใจ เปลี่ยนทัศนคติคนท�ำงาน และกล่มุ เป้าหมายท่ีเป็น
ประชาชนในพ้ืนที่ เพ่ือให้ตระหนักถึงความส�ำคัญ รวมท้ังรับรู้รับทราบแนวคิด แนวทาง รวมทั้งเน้ือหาสาระของการ
ขับเคล่ือนเพ่ือรองรับนโยบายสังคมสูงวัย และวางแผนการขับเคล่ือนงานได้สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของ
คนในพ้ืนที่ เช่น ต�ำบลหว้ ยโปง่ จงั หวัดแม่ฮ่องสอน ไดม้ กี ารจัดประชุมช้แี จงท�ำความเข้าใจแนวทางการพัฒนานโยบาย
สาธารณะรองรบั สังคมสูงวยั โดยมีผเู้ ขา้ รว่ มประกอบด้วย ผู้น�ำที่มีอายตุ ้ังแต่ 18 – 59 ปี ผู้สงู อายทุ มี่ ีอายุ 60 ปีขึน้ ไป
และผทู้ ่ไี ดร้ ับผลกระทบจากโควดิ -19 ท่ีกลบั จากการทำ� งานในเมอื งใหญ่ ซึ่งจากการประเมนิ พบว่าแกนนำ� มีความเขา้ ใจ
เรื่องของสงั คมสงู วัยเพมิ่ มากขึน้ เรยี นรสู้ ภาพปญั หาของชมุ ชนทง้ั 4 มิติ น�ำมาค้นหาปญั หาในชมุ ชน วิเคราะห์จดุ ออ่ น
จุดแขง็ วางแผนแก้ไขปญั หาร่วมกนั ได้ อนั จะเป็นการพัฒนาชมุ ชนทย่ี งั่ ยืนและสามารถพ่งึ พาตนเองได้
3. การสำ� รวจ รวบรวม และวเิ คราะหข์ ้อมลู ของพ้นื ท่ีตำ� บล เชน่ ข้อมลู ประชากร/ผู้สูงอายใุ นพืน้ ท่ี ขอ้ มูล
ด้านเศรษฐกจิ สภาพแวดล้อมในชมุ ชน สุขภาพ และสังคม เพื่อน�ำมาวิเคราะห์ และวางแผนการท�ำงาน การจัดกิจกรรม
ขับเคลื่อนงานให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หา และสถานการณ์ในพนื้ ท่ี
4. การใชง้ านวจิ ัยเปน็ ขบวนการนำ� ไปสู่การเคลือ่ นเร่ืองสังคมสูงวัย ในบางพน้ื ท่ี เชน่ ตำ� บลแสนสุข จงั หวัด
อบุ ลราชธานี ทม่ี นี กั วชิ าการจากวทิ ยาลยั แพทยศาสตรแ์ ละสาธารณสขุ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี เขา้ ไปสรา้ งกระบวนการ
เรียนรู้ใช้กระบวนการของงานวิจัย โดยการท�ำงานร่วมกับชมรมผู้สูงอายุขับเคล่ือนงานของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต
เพ่ือรองรบั สังคมสงู วยั ของตำ� บลแสนสุข
5. การสร้างความร่วมมือจากภายใน ประสานความร่วมมือจากภายนอก ท้งั เอกชนและราชการ เช่น การ
ขบั เคลอื่ นศนู ยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เพอื่ รองรบั สงั คมสงู วยั ตำ� บลแสนสขุ จงั หวดั อบุ ลราชธานี โดยมกี ลไกหลกั ทท่ี ำ� ใหศ้ นู ย์
เคล่อื นไปได้ ประกอบด้วยกลไกภายใน คือ ชมรมผู้สูงอายใุ นต�ำบลแสนสขุ ทมี่ อี ยู่ 20 หม่บู า้ น ส่วนกลไกภายนอก คอื
นักวิชาการที่เข้ามาท�ำงานในพ้ืนที่ผ่านกระบวนการวิจัยท้องถิ่น ของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์และสาธารณสุข
มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี เชน่ เดยี วกบั ตำ� บลบงุ่ หวาย จงั หวดั อบุ ลราชธานี ทมี่ กี ารขบั เคลอ่ื นเรอื่ งชา่ งชมุ ชน และมกี ารจดั ตงั้
กองทนุ ชา่ งชมุ ชน โดยเปน็ การทำ� งานรว่ มของภาคประชาสงั คม ชา่ งชมุ ชนคนในพน้ื ทใี่ นการปรบั ปรงุ บา้ น และภาคเอกชน
เช่น ร้านค้าวสั ดุก่อสรา้ ง ในการสมทบวสั ดกุ อ่ สรา้ ง และงบประมาณ นอกจากยังมภี าควี ชิ าการทีส่ นับสนนุ องค์ความรู้
และเครอ่ื งมอื ในการคดั เลือกบ้านทจ่ี ะปรบั ปรุงซอ่ มแซมและองค์ความรู้ในการพัฒนาศักยภาพช่างชุมชน

12

เรอ่ื งเลา่ จากต�ำบลรองรับสังคมสงู วยั

ใชก้ จิ กรรมหรือทนุ ทีม่ อี ยใู่ นชุมชนเป็นตัวขับเคล่อื นงาน
เป็นการต่อยอดกิจกรรมการขับเคล่ือนงานเดิมในพน้ื ท่ี
เพอ่ื ให้เกดิ การเคลื่อนงานรองรับสงั คมสงู วยั ในมิติตา่ งๆ
เชน่ การขับเคลอื่ นมิติเศรษฐกิจผา่ นการส่งเสริม
เร่อื งอาชพี สรา้ งรายได้ใหก้ ับคนในชมุ ชน

6. ใช้กิจกรรมหรือทุนท่ีมีอยู่ในชุมชนเป็นตัวขับเคล่ือนงาน เป็นการต่อยอดกิจกรรมการขับเคล่ือนงานเดิม
ในพ้ืนท่ี เพื่อให้เกิดการเคลื่อนงานรองรับสังคมสูงวัยในมิติต่างๆ เช่น การขับเคลื่อนมิติเศรษฐกิจผ่านการส่งเสริมเรื่อง
อาชพี สร้างรายได้ใหก้ บั คนในชุมชน การออมผ่านธนาคารตน้ ไม้ การปรับสภาพแวดล้อมทอี่ ยอู่ าศยั ใหเ้ หมาะสมกบั การ
อยู่อาศยั ของคนทุกช่วงวัย การใช้ธรรมนูญสขุ ภาพ/ธรรมนญู ตำ� บล เปน็ เครื่องมือ

• การสง่ เสริมดา้ นอาชพี รายได้ ให้กบั กลมุ่ อาชพี ต่างๆ ทีม่ อี ยใู่ นชมุ ชน เช่น กลุ่มทำ� ถว่ั เนา่ แผ่น ดอกไม้จนั ทน์
สมนุ ไพร ต�ำบลหว้ ยโป่ง จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน, การสง่ เสริมการท่องเท่ยี วโดยชุมชน การตอ่ ยอดผ้าทอกะเหรีย่ ง
การจดั ทำ� แผนธรุ กจิ ชมุ ชน ตำ� บลขนุ ยวม จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน, การสง่ เสรมิ การจดั การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน และ
การส่งเสริมพัฒนาแผนธุรกิจชุมชน ต�ำบลวังยาง จังหวัดก�ำแพงเพชร, กลุ่มอาชีพปลูกผักปลอดสาร ต�ำบล
ราชสถิตย์ จังหวัดอ่างทอง, การส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพร การท�ำไม้กวาด ต�ำบลบ่อแร่จังหวัดชัยนาท,
การปลูกผกั ปลอดสารรมิ ร้ัว การปลูกและปรรปู สมุนไพร ต�ำบลวงั ตะเคียน จงั หวัดปราจีนบุรี, การทำ� เกษตร
อนิ ทรยี ์ ต�ำบลเขาไม้แก้ว จงั หวดั ปราจนี บรุ ี, กาดชมุ ชนวถิ ีไทยวน ตำ� บลคบู วั จงั หวัดราชบรุ ี, วสิ าหกจิ ชุมชน
ไม้ดอกไม้ประดบั ตำ� บลแสนสุข จงั หวดั อบุ ลราชธาน,ี การท่องเท่ียวโดยชมุ ชน ธนาคารปู ตำ� บลบางมะพรา้ ว
จังหวดั ชมุ พร

• การออมตน้ ไม้ เพ่อื เปน็ การส่งเสรมิ ใหค้ นทุกช่วงวัยไดม้ ีการออมผ่านการปลูกต้นไม้ เช่น ต�ำบลนางวิ้ จังหวดั
ขอนแกน่ , ต�ำบลนาขา จังหวดั ชุมพร, ตำ� บลเขาแก้ว จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ ตน้

• การปรับปรุงซ่อมแซมบ้าน/ปรับสภาพแวดล้อมของบ้านให้เหมาะสมกับการอยู่อาศัยของคนทุกช่วงวัย เช่น
ต�ำบลโกรกพระ จงั หวดั นครสวรรค์, ต�ำบลบ่อแร่ จงั หวัดชยั นาท, ต�ำบลบุ่งหวาย จังหวัดอุบลราชธาน,ี ต�ำบล
บางมะพรา้ ว จงั หวัดชมุ พร, ต�ำบลบางดว้ น ต�ำบลนาชมุ เหด็ และต�ำบลกันตรงั ใต้ จงั หวัดตรัง เป็นต้น

13

• การดแู ลทางดา้ นสขุ ภาพ สว่ นใหญเ่ ปน็ เรือ่ งของการดแู ลส่งเสรมิ สขุ ภาพของคนทกุ ช่วงวยั การลดใชส้ ารเคมี
หรือการปลูกผักปลอดสารพิษ การส่งเสริมด้านการออกก�ำลังกาย การดูแลป้องกันในช่วงสถานการณ์โควิด
ตวั อยา่ งเชน่ การจดั ตงั้ ชมรมรกั ษส์ ขุ ภาพเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพคนทกุ กลมุ่ วยั ตำ� บลหว้ ยโปง่ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน,
การสง่ เสรมิ สขุ ภาพชมุ ชน รณรงคไ์ มใ่ ช้สารเคมี ปลกู ผกั ปลอดภัย/ผักอนิ ทรีย์ ตำ� บลลำ� ประดา จงั หวดั พจิ ติ ร
ต�ำบลวังยางจังหวัดก�ำแพงเพชร ต�ำบลวังตะเคียน ต�ำบลเขาไม้แก้ว จังหวัดปราจีนบุรี ต�ำบลนาง้ิว จังหวัด
ขอนแก่น ต�ำบลโนนโหนน จังหวัดอุบลราชธานี ต�ำบลหนองเหล็ก จังหวัดมหาสารคาม, การจัดกิจกรรม
ออกกำ� ลงั กายในพนื้ ทต่ี ำ� บลขนุ ยวม จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ตำ� บลลำ� ประดา จงั หวดั พจิ ติ ร ตำ� บลโนนโหนน จงั หวดั
อุบลราชธานี ต�ำบลบางด้วน ต�ำบลนาชุมเห็ด จังหวัดตรัง, ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ การคัดกรองในช่วง
สถานการณ์โควิด เชน่ เขาไมแ้ กว้ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี ตำ� บลกระแชง จังหวดั ปทุมธานี เป็นตน้

• ใชธ้ รรมนญู สขุ ภาพ/ ธรรมนญู ตำ� บล เป็นเครอื่ งมือในการขบั เคลอื่ นงานของตำ� บล เช่น ตำ� บลหว้ ยโปง่ ตำ� บล
ขนุ ยวม จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ตำ� บลสายลำ� โพง ตำ� บลโกรกพระ จงั หวดั นครสวรรค์ ตำ� บลกะแชง ตำ� บลบางปรอก
จังหวดั ปทมุ ธานี ตำ� บลบางดว้ น ต�ำบลกันตรงั ใต้ และต�ำบลนาชุมเหด็ จังหวัดตรัง เป็นต้น

7. การเชอ่ื มโยงกลไกจากภายนอกมาสนบั สนนุ พนื้ ทสี่ ามารถบรู ณาการงานขบั เคลอ่ื นรองรบั สงั คมสงู วยั เขา้ กบั
กลไกภายนอกท่มี าสนับสนุน เช่น

• การเช่ือมโยงกับ สป.สช. ในการปรับปรุงท่ีอยู่อาศัยให้เหมาะสมกับคนในบ้าน ผ่านการคัดกรองตามความ
สามารถในการประกอบกจิ วัตรประจำ� วนั (Activities of Daily Living หรือ ADL) และเคร่อื งมอื การจ�ำแนก
การท�ำงาน สุขภาพและความพิการ (International Classification of Functioning, Disability and
Health หรอื ICF) มกี ารดำ� เนนิ การในพนื้ ทต่ี ำ� บลโกรกพระ จงั หวดั นครสวรรค,์ ตำ� บลโนนโหนน ตำ� บลบงุ่ หวาย
จงั หวัดอบุ ลราชธานี

• การเชื่อมโยงกับสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ท่ีสนับสนุนการพัฒา
ศกั ยภาพช่างชมุ ชนโดยการน�ำแนวคิดการปรบั ปรุงบา้ นใหเ้ หมาะสมกับคนทกุ วัย (Universal Design : UD)
ในพน้ื ทต่ี ำ� บลกนั ตรงั จงั หวดั ตรงั , คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้
การออกแบบ/การปรับปรงุ บา้ นในลักษณะอารยะสถาปัตย์ (Universal Design : UD) แก่ตำ� บลบางปรอก
จังหวดั ปทมุ ธานี

• การเชอ่ื มโยงกบั สสส.ส�ำนัก 6 ปรบั ปรงุ พืน้ ทใ่ี นวดั เพอื่ รองรับสังคมสงู วัยในพื้นท่ีจงั หวดั ตรงั
• สถาบนั พฒั นาองคก์ รชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนนุ งบประมาณโครงการบ้านพอเพียง เปน็ เครอื่ งมือใน

การปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมบา้ นใหเ้ หมาะสมกบั คนทกุ ชว่ งวยั เชน่ ตำ� บลบอ่ แร่ จงั หวดั ชยั นาท นบั ตง้ั แตป่ ี 2560-2564
จ�ำนวน 58 หลังคาเรือน, ต�ำบลโนนภิบาล จังหวัดมหาสารคาม นับจากปี 2561-2562 ได้รับงบประมาณ
สนบั สนุน 15 ครัวเรือน เป็นตน้

14

เรื่องเล่าจากต�ำบลรองรับสังคมสงู วยั

• องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด สนับสนนุ งบประมาณแกห่ น่วยงานทอ้ งถ่ิน/ภาคประชาสงั คม เช่น งบประมาณ
การปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมที่อยูอ่ าศัย การดแู ลสขุ ภาพคนในชมุ ชน

• หน่วยงานอืน่ ๆ เช่น ส�ำนกั งานพฒั นาชมุ ชน ส�ำนกั งานเกษตรอ�ำเภอ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย (กศน.) เข้ามาสนับสนุนพัฒนาส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ เช่น ต�ำบลบ่อแร่
จงั หวดั ชยั นาท มหี นว่ ยงานระดบั อำ� เภอหลายฝา่ ยตามทก่ี ลา่ วขา้ งตน้ เขา้ มาสนบั สนนุ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
ของคนในพ้นื ที่ การฝึกอบรมและสง่ เสรมิ ด้านอาชีพต่างๆ ให้กบั คนในชุมชน เชน่ กลุม่ จักสาน กลมุ่ ไม้กวาด
ดอกหญา้ ไมก้ วาดทางมะพรา้ ว กลมุ่ สานตระกรา้ จากเสน้ พลาสตกิ กลมุ่ ขนมไทย การปลกู พชื สมนุ ไพร บางราย
มอี าชพี เสริมจากการเลย้ี งกบ เลีย้ งไก่ ฯลฯ

• ภาคเอกชน/กลุ่มองค์กร/ภาคีอ่นื ๆ ทีอ่ ย่ใู นพนื้ ท่ตี �ำบลและจังหวดั มสี ่วนสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมขบั เคลอ่ื น
งานของพนื้ ที่ เชน่ ตำ� บลเขาไมแ้ ก้ว จังหวดั ปราจนี บุรี ในชว่ งสถานการณโ์ ควดิ มีฟารม์ ปศุสตั ว์ บริษทั เอกชน
หา้ งรา้ นในพนื้ ท่ี รวมถงึ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฏร รว่ มสนบั สนนุ การดแู ลสขุ ภาพ การจดั ศนู ยพ์ กั คอย และการ
กินการอยใู่ นชว่ งประสบสถานการณโ์ ควดิ -19

8. การใช้กลไกสมัชชาสุขภาพจังหวดั หรือ กลไกสภาองคก์ รชมุ ชน เป็นพ่เี ล้ยี งในการ “พาท�ำ” เป็นการ
สนับสนุนจากกลไกจังหวัดที่ลงท�ำงานกับพื้นท่ี โดยการท�ำงานร่วมกับกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนท่ี เพ่ือให้เกิดเป้าหมาย
ในระดับจังหวัด ในการผลักดันขับเคล่ือนเรื่องที่เก่ียวข้องกับการรองรับสังคมสูงวัยอยู่ในแผนยุทธศาสตร์/วาระจังหวัด
เชน่ สมชั ชาสุขภาพจังหวดั แม่ฮ่องสอน สมชั ชาสุขภาพจังหวัดนครสวรรค์ สมชั ชาสขุ ภาพจังหวัดตรงั เปน็ ต้น
9. ผลกั ดนั การขบั เคลอ่ื นการรองรบั สงั คมสงู วยั ใหเ้ ปน็ นโยบายหรอื วาระของทอ้ งถนิ่ ระดบั ตำ� บลและจงั หวดั
เพ่ือให้เกิดการขับเคล่ือนนโยบายรองรับสังคมสูงวัยอย่างต่อเน่ือง เช่น การบรรจุเรื่องการรองรับสังคมสูงวัยไว้ในแผน
พฒั นาขององค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บล เทศบาล หรือองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั รวมทั้งแผนยุทธศาสตร์จังหวัด เปน็ ตน้
เพื่อให้หน่วยงานระดับจังหวัดสามารถจัดทรัพยากรสนับสนุนการขับเคล่ือนงานในระดับพื้นท่ีได้ เช่น ต�ำบลคอรุม
จงั หวัดอตุ รดิตถ์ เกิดนโยบายรองรบั สังคมสูงวยั การปรับสภาพแวดล้อมที่บ้านบรรจุ เปน็ เทศบัญญัตขิ ององคก์ ารบริหาร
ส่วนตำ� บลคอรุม

15

‘ตำ� บลรองรบั สงั คมสงู วยั ’ ไปไกลกวา่

‘สงเคราะห์ผู้สูงอายุ’

16

เร่อื งเล่าจากต�ำบลรองรับสงั คมสงู วัย

การขับเคล่อื นงานรองรับผสู้ ูงวยั ใน 4 มติ ิ

มิติเศรษฐกิจ

1) สร้างการพฒั นาสง่ เสรมิ เศรษฐกิจใหก้ บั คนในชุมชน โดยการส่งเสรมิ สร้างอาชพี ใหก้ ับคนทุกชว่ งวัยร่วมเป็น
สว่ นหนงึ่ ในการสรา้ งรายได้ ลดรายจา่ ยใหก้ บั คนในครอบครวั รวมถงึ การสรา้ งเศรษฐกจิ ใหก้ บั ชมุ ชน เชน่ การสรา้ งอาชพี
เสรมิ ผา่ นกลมุ่ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ การปลกู ผกั ปลอดสาร ผกั สวนครวั หรอื ปลกู ผกั อนิ ทรยี ์ ซงึ่ มกี ารขบั เคลอ่ื นในเรอื่ งนห้ี ลายพน้ื ที่
เช่น ต�ำบลวังยาง จังหวัดก�ำแพงเพชร, ต�ำบลราชสถิตย์ จังหวัดอ่างทอง, ต�ำบลวังตะเคียน จังหวัดปราจีนบุรี, ต�ำบล
โนนภิบาล จงั หวดั มหาสารคาม เปน็ ต้น มีบางพน้ื ทีไ่ ดม้ กี ารสง่ เสรมิ เรอื่ งน้ีใหเ้ ป็นอาชพี หลกั ของคนในต�ำบล โดยเฉพาะ
คนทก่ี ลบั คนื ถนิ่ จากสถานการณโ์ ควดิ -19 และยงั เปน็ การมองการณไ์ กลถงึ ในอนาคตทจี่ ะเปน็ อาชพี รองรบั คนวยั แรงงาน

กและคนปลดเกษียณจากโรงงานอุตสาหกรรมกลับมาอยู่บา้ น เช่น ต�ำบลเขาไมแ้ ก้ว จังหวดั ปราจีนบุรี
ารส่งเสริมการท�ำอาชีพหรือกิจกรรมอื่นตามบริบทชุมชน เช่น การท�ำถ่ัวเน่าแผ่น ดอกไม้จันทร์
ปลกู สมนุ ไพร ของตำ� บลหว้ ยโปง่ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน, การทำ� ไมก้ วาด การประดษิ ฐด์ อกไมจ้ ากวสั ดุ
เหลอื ใชข้ องต�ำบลน้�ำไคร้ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์, การท�ำไมก้ วาด การปลูกสมุนไพรในพ้ืนท่ตี ำ� บลบอ่ แร่
จังหวัดชัยนาท, การแปรรูปอาหารของต�ำบลวัดแก้ว จังหวัดราชบรุ ี ซง่ึ เป็นผลผลติ ของตำ� บล เชน่ ฝรงั่ ที่คดั ท้งิ ขายไม่ได้
ราคามาเพมิ่ มลู คา่ โดยการแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ นเปน็ สนิ คา้ OTOP ของตำ� บล เปน็ ตน้ , รวมถงึ การสง่ เสรมิ ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว
โดยใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และทนุ ทางวฒั นธรรมในพน้ื ที่ เชน่ การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน การตอ่ ยอด
ผลิตภณั ฑ์ผ้าทอกะเหรย่ี งของเทศบาลต�ำบลขุนยวม จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน, การสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชน ดว้ ยการ
พฒั นาเครอื ขา่ ยอาชพี โดยใชภ้ มู ิปัญญาพน้ื บา้ น วิถีชีวิตวฒั นธรรมชมุ ชน ท่ีมีความหลากหลายทางชาตพิ ันธุ์ ตำ� บลวงั ยาง
จงั หวดั กำ� แพงเพชร, การสง่ เสรมิ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วชมุ ชน ตำ� บลกระแชง จงั หวดั ปทมุ ธาน,ี การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วชมุ ชน
การทำ� ธนาคารปู ต�ำบลบางมะพร้าว จังหวัดชุมพร เปน็ ตน้

• ตำ� บลคอรมุ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ไดม้ กี ารดำ� เนนิ งานรว่ มกบั ศนู ยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และสง่ เสรมิ อาชพี (ศปอส.)
ส�ำนักส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) พัฒนาชุมชนอ�ำเภอ ชมรมผู้สูงอายุ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ จดั ท�ำกิจกรรมพัฒนาอาชพี สรา้ งงาน การพัฒนาและต่อยอดกระบวนการคิด
เพอ่ื ใหม้ กี ารขบั เคลอื่ นตำ� บลแบบองคร์ วม เชน่ การสรา้ งงานในโรงเรยี นผสู้ งู อายุ สรา้ งงานในตลาดชมุ ชน สรา้ งงาน
ในร้านค้าสวัสดกิ ารชุมชน OTOP หนุนเสริมให้เกิดการรวมกลมุ่ อาชพี เป็นตน้

• ตำ� บลนำ�้ ไคร้ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ การขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ทม่ี งุ่ ตอบสนองความตอ้ งการของคนในชมุ ชนเรอื่ งการ
สร้างอาชีพ ก่อให้เกดิ การพัฒนาคน งาน เงนิ ทีน่ ำ� ไปส่กู ารสรา้ งเศรษฐกิจหมุนเวียนภายในชุมชน จากการมี
แกนนำ� คนเกง่ ดา้ นอาชพี มคี วามรทู้ กั ษะความชำ� นาญดา้ นการแปรรปู อาหารจากวตั ถดุ บิ ทรพั ยากรธรรมชาติ
ในพ้ืนที่มาแปรรูป สร้างอาชีพใหม่ให้คนในต�ำบล เกิดรายได้และลดหนี้สินในครัวเรือน มีแหล่งเงินทุนที่
สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ อาชพี ในชมุ ชน คอื กลมุ่ ขนมกระยาสารท กลมุ่ หมอนฟกั ทอง กลมุ่ นำ�้ พรกิ เครอื่ งปรงุ กลมุ่ นำ้� ยา
เอนกประสงค์ กลมุ่ เพาะเหด็ นางฟา้ กลมุ่ สานหมวกไมไ้ ผ่ กลมุ่ นวดแผนไทยและยาสมนุ ไพร กลมุ่ ทอผา้ พนื้ เมอื ง
กล่มุ ปลูกมะนาวนอกฤดูกาล กลุม่ ปยุ๋ หมกั ชีวภาพ กลมุ่ กองทนุ ออมทรพั ย์ กลุ่มกองทนุ สวสั ดิการชมุ ชนต�ำบล

17

• ต�ำบลเขาไม้แก้ว จังหวัดปราจีนบุรี มีการออกแบบต�ำบลเขาไม้แก้วท่ีจะท�ำให้เกิดความเหมาะสมในการ
อยอู่ าศยั ในสถานการณป์ จั จบุ นั ทีร่ องรบั ลูกหลานท่ถี ูกเลิกจา้ งหรือพกั งานจากสถานการณ์ โควดิ -19 รวมทง้ั
มีการวางแผนการเตรียมอาชีพรองรับแรงงานรับจ้างในภาคอุตสาหกรรมท่ีจะกลับมาอยู่บ้านท้ังในส่วนของ
คนหนมุ่ สาว และคนวัยปลดเกษียณจากโรงงาน ท้ังเรื่องการท�ำเกษตรอนิ ทรีย์ การค้าขาย รวมท้ังเร่ืองทกั ษะ
การดำ� รงชวี ิต เป็นต้น

• ตำ� บลแสนสขุ จงั หวดั อบุ ลราชธานี มกี ารจดั ทำ� โครงการสรา้ งรายไดจ้ าก “ผลติ ภณั ฑแ์ สนสขุ ” เพอ่ื สรา้ งรายได้
ให้คนในชุมชน รวมทั้งสร้างระบบการออม และเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ทุกกลุ่มผ่านระบบการสร้าง
รายได้จากวสิ าหกิจชมุ ชน มรี ะบบการลงหุ้น การปันผล เรม่ิ ตน้ จากการรวมกลมุ่ ทุกช่วงวัย และการหาตลาด
เพอ่ื สง่ เสริมการขายผลติ ภัณฑ์ของคนในตำ� บล

• ต�ำบลสวนหม่อน จงั หวัดขอนแกน่ กลมุ่ อาชพี มบี ทบาทในการผลิตสินคา้ ท่หี ลากหลาย กระจายรายไดใ้ น
ชมุ ชน มกี ลุ่มผลติ ภัณฑ์ต่างๆ 20 กล่มุ กล่มุ เกษตรอินทรยี ์ เลย้ี งปลา จักสาน แปรรปู เกษตร นอกจากนี้ยังได้
มีการพัฒนาช่องทางการตลาดให้ชุมชนสามารถขายสินค้า ได้แก่ การสร้างตลาดสีเขียวขายพืชผักสวนครัว
ปลอดภัย ผลผลิตจากรายครวั เรอื น และ อบต. จัดสรรพ้นื ท่ีให้สมาชกิ 50 ครัวเรือน ใน 14 หม่บู ้าน ปลูกพชื
สวนครัว และการสรา้ งโครงข่ายตลาดชมุ ชน ระดบั ต�ำบล อำ� เภอ และจงั หวดั

2) การสง่ เสริมเศรษฐกิจในชมุ ชนสกู่ ารจัดต้ังวิสาหกิจชมุ ชน (SE) เปน็ การพฒั นายกระดบั การประกอบอาชพี
หรือกิจกรรมของคนในชุมชนไปสู่วิสาหกิจชุมชน หรือธุรกิจขนาดเล็ก เพ่ือสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนเพิ่มมากข้ึน
เชน่ การต่อยอดผลิตภณั ฑผ์ ้าทอกะเหรยี่ ง ผ้าทอ การเย็บผ้าท�ำกระเป๋าของเทศบาลต�ำบลขนุ ยวม จงั หวัดแม่ฮ่องสอน
การสง่ เสริมอาชีพปลกู ไม้ดอกไมป้ ระดบั โดยกลมุ่ คนทย่ี ้ายกลบั จากเมอื งมาอยู่บา้ น จนนำ� มาสูก่ ารจัดต้งั วสิ าหกิจชมุ ชน
ไม้ดอกไม้ประดับต�ำบลแสนสุข จังหวัดอุบลราชธานี นอกจากน้ียังมีบางกิจกรรม เช่น ช่างชุมชน ท่ีจะสามารถพัฒนา
ยกระดับเป็นอาชีพหรือการประกอบการเพื่อสังคมได้ในอนาคตหากได้รับการส่งเสริมอย่างจริงจัง ซึ่งมีหลายพื้นท่ี
ทสี่ ามารถขบั เคลอื่ นเรอื่ งนไี้ ด้ เนอื่ งจากมที นุ เดมิ คอื องคค์ วามรู้ จติ อาสา และรวมตวั หาทนุ มาปรบั ปรงุ บา้ นใหก้ บั คนใน
ชุมชนมาอยา่ งต่อเนอ่ื ง เช่น ชา่ งชุมชนตำ� บลโกรกพระ จังหวดั นครสวรรค์ ช่างชมุ ชนต�ำบลบงุ่ หวาย จงั หวดั อุบลราชธานี
การแปรรูปสมุนไพรของต�ำบลวงั ตะเคียน จังหวัดปราจนี บรุ ี การปลูกผกั อินทรยี ์ การท�ำสร้างตลาดสีเขยี ว เชอ่ื มโยงการ
ทอ่ งเทย่ี วของต�ำบลวงั ตะเคยี น จังหวดั ปราจีนบรุ ี เป็นตน้
3) สง่ เสรมิ การออมทง้ั รปู แบบตวั เงนิ และไมใ่ ชต่ วั เงนิ เพอ่ื รองรบั สงั คมสงู วยั และเปน็ บำ� เหนจ็ บำ� นาญในอนาคต

3.1) การออมเงนิ ผา่ นกองทนุ กลมุ่ ออมทรพั ย์ หรอื สถาบนั การเงนิ ชมุ ชน/รฐั เชน่ ตำ� บลลำ� ประดา จงั หวดั พจิ ติ ร,
ต�ำบลสายล�ำโพง จังหวดั นครสวรรค์ ตำ� บลราชสถิตย์ จังหวดั อ่างทอง ตำ� บลบอ่ แร่ จังหวดั ชัยนาท ตำ� บล
เขาแก้ว จังหวัดนครศรธี รรมราช ตำ� บลบางดว้ น และตำ� บลนาชุมเห็ด จงั หวดั ตรัง นอกจากน้ียังมบี างพื้นท่ี
เชน่ ต�ำบลบางด้วน จงั หวดั ตรัง ซง่ึ มธี นาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาหาดเลา เข้ามา
ส่งเสริมการออมทุกหมู่บ้าน ประชาชนจะน�ำเงินมาฝากเป็นประจ�ำทุกเดือน ซึ่งคณะท�ำงานฯ ได้มีการ
เชิญชวนให้ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายเขา้ รว่ มโครงการออมเตรียมรองรับสังคมสูงวยั ดว้ ย

18

เรื่องเลา่ จากต�ำบลรองรับสังคมสูงวัย

จากการสงั เคราะหข์ ้อมลู จากพ้ืนท่ีพบว่า เรือ่ งการ
ปรับสภาพแวดลอ้ มของบา้ นเปน็ มิติทไี่ ดร้ ับความส�ำคญั
เป็นอันดับตน้ โดยเกอื บทุกพนื้ ทีไ่ ดม้ ีการปรับปรงุ
ทอ่ี ย่อู าศยั ใหมใ่ ห้มคี วามมนั่ คง ปลอดภัย
เหมาะสมกับการใชช้ วี ติ ของผ้อู ยอู่ าศยั

3.2) การออมต้นไม้ และธนาคารตน้ ไม้ เช่น ต�ำบลนาขา และตำ� บลบางมะพร้าว จังหวัดชมุ พร ตำ� บลเขาแกว้
จังหวัดนครศรีธรรมราช ตำ� บลลำ� ประดา จังหวดั พจิ ิตร ตำ� บลโนนโหนน จังหวดั อบุ ลราชธานี ตำ� บลนางิ้ว
จังหวัดของแกน่ ต�ำบลโนนภบิ าล และต�ำบลหนองเหลก็ จังหวัดมหาสารคาม

ตัวอย่างธนาคารต้นไม้ต�ำบลนาขา จังหวัดชุมพร เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนต�ำบลนาขาได้เป็นกลไกหลัก
ของการส่งเสริมการปลูกต้นไม้รองรับสังคมสูงวัย โดยให้ลงมือปลูกด้วยตนเองต้ังแต่วัยเด็กหรือหนุ่มสาว ซึ่งได้ต่อยอด
การท�ำธนาคารตน้ ไม้ เปน็ การออมท่ไี ม่ต้องนำ� เงินไปฝากธนาคาร แต่สร้างมูลค่าเพม่ิ จากการปลูกต้นไม้ลงดนิ เมื่อเขา้ สู่
ผู้สูงวัยจะทันได้ใช้ประโยชน์ เป็นการสร้างสวัสดิการให้กับตนเอง โดยท�ำกิจกรรมการแจกต้นไม้ คนละ 9 ต้น ให้แก่
เด็กแรกเกิด มีกิจกรรมปลูกต้นไม้ในวันเกิด หรือวันส�ำคัญต่างๆ ส่งเสริมให้คนในต�ำบลปลูกต้นไม้ตามหัวไร่ปลายนา
ในที่สวนของตนเอง โดยทางกล่มุ ไดร้ บั ลงทะเบียนต้นไม้ เพอื่ เป็นหลกั ประกันทางเศรษฐกิจ เม่ือตน้ ไมม้ อี ายเุ พม่ิ มากขน้ึ
มูลค่าของต้นไม้ก็จะเพ่ิมตามไปด้วยถึงหลักหม่ืนหลักแสน พันธุ์ท่ีนิยมปลูก เช่น ตะเคียนทอง จ�ำปาทอง สะเดาเทียม
จากการคำ� นวณพบวา่ ไมแ้ ตล่ ะตน้ จะมมี ลู คา่ เพม่ิ ขนึ้ วนั ละ 3 บาท 1 ปี ประมาณ 1,000 บาท 10 ปปี ระมาณ 10,000 บาท
และ 30 ปปี ระมาณ 30,000 บาท เป็นต้น
ตัวอย่างธนาคารต้นไม้ต�ำบลนาง้ิว จังหวัดขอนแก่น มีการจัดท�ำธนาคารต้นไม้ โดยที่ผ่านมาได้มีการจัดท�ำ
โครงการปลูกป่าชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นท่ีเป็นประจ�ำทุกปี เพ่ือเป็นการสร้างแหล่งอาหารในชุมชนให้มีความ
อุดมสมบูรณ์ ส�ำหรับการปลูกป่าตามหัวนาน้ันก็ได้มีการรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกป่าใช้หน้ีหรือธนาคารต้นไม้
โดยเร่ิมต้งั แต่ ปี 2563 เป็นต้นมา ได้มกี ารปลูกไม้เศรษฐกิจตามหวั ไร่ปลายนาเพ่อื สร้างความอุดมสมบรู ณ์และสามารถ
ที่จะสร้างรายไดต้ อ่ ไปในอนาคต

19

4) ยกระดบั การจดั การกองทนุ สวสั ดกิ ารชมุ ชนไปสกู่ ารรองรบั สงั คมสงู วยั พฒั นาระบบกองทนุ สวสั ดกิ ารชมุ ชนท่ี
เปน็ การดแู ลคนทกุ ชว่ งวยั ตงั้ แตเ่ กดิ แก่ เจบ็ ตาย เชน่ กองบญุ ลำ� ดวนวยั ใสตำ� บลคอรมุ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ กองทนุ สวสั ดกิ าร
ชมุ ชนตำ� บลวงั ตะเคยี นจงั หวดั ปราจนี บรุ ี กองทนุ สวสั ดกิ ารชมุ ชนตำ� บลโนนภบิ าล จงั หวดั มหาสารคาม ตำ� บลนางว้ิ จงั หวดั
ขอนแก่น ตวั อยา่ งเชน่ ต�ำบลนาง้ิว จังหวดั ขอนแกน่ มีการออมเพื่อจดั สวัสดกิ าร (กองบุญสจั จะเพอื่ จดั สวัสดกิ ารชมุ ชน)
ให้กับคนทุกกลุ่มวัย ซ่ึงผู้สูงอายุได้เป็นสมาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลนางิ้ว เพื่อเป็นการจัดสวัสดิการเบ้ืองต้นใน
กรณีท่ีมีการเจ็บป่วยนอนโรงพยาบาล เพ่ือเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับบุตรหลานและเป็นการสร้างความเอื้ออาทร
และความรกั
มิตสิ ภาพแวดลอ้ ม
1) การปรับเปลย่ี นวธิ ีคิดของการปรบั สภาพแวดล้อมเพ่อื ความปลอดภัยและรองรบั กบั คนทุกชว่ งวยั มกี ารปรบั
วธิ คี ดิ ใหม่ของการปรับสภาพแวดล้อม โดยใช้แนวคดิ Universal Design มาใชม้ ากขึ้น เช่น การปรบั พ้นื ให้มลี ักษณะ
เป็นพืน้ เรียบ ไมข่ รุขระ และไม่ขัดมันจนลืน่ ทำ� ราวเกาะไวร้ อบๆ ห้องนำ�้ /ห้องส้วม ปรบั จากส้วมซมึ ท่ีต้องนงั่ ยองๆ เปน็
โถสว้ มแบบนง่ั ราบแทน การตดิ ตงั้ ราวจบั ทมี่ น่ั คงเพอ่ื ใหส้ ะดวกในการยดึ เกาะเดนิ ขน้ึ ลง ปรบั บนั ไดในแตล่ ะขนั้ ใหม้ คี วาม
สงู เสมอกนั และไมช่ ันมากจนเกนิ ไป การจัดใหม้ แี สงสวา่ งทเ่ี พียงพอโดยเฉพาะบรเิ วณบันได ห้องน้�ำ ประตู และทางเดิน
การปรบั ปรงุ ให้ไม่มธี รณปี ระตเู พราะเป็นสาเหตขุ องการสะดุดหกลม้ หรอื จดั หอ้ งนอนใหอ้ ย่ใู นพ้นื ท่ีท่มี ีอากาศถา่ ยเทได้
สะดวก ไม่รอ้ นอบอา้ วจนเกินไป มีแสงสวา่ งเพยี งพอ เป็นตน้
จากการสังเคราะห์ข้อมูลจากพ้ืนท่ีพบว่า เรื่องการปรับสภาพแวดล้อมของบ้านเป็นมิติท่ีได้รับความส�ำคัญเป็น
อันดับต้น โดยเกือบทุกพ้ืนที่ได้มีการปรับปรุงท่ีอยู่อาศัยใหม่ให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เหมาะสมกับการใช้ชีวิตของ
ผูอ้ ย่อู าศัย โดยนำ� แนวคดิ Universal Design มาผนวกใชใ้ นการขบั เคลื่อนงานของชุมชน/ต�ำบล ทีไ่ ด้รับการสนบั สนุน
งบประมาณกบั หนว่ ยงานภาครฐั อนื่ เชน่ โครงการบา้ นพอเพยี งทสี่ ภาองคก์ รชมุ ชนตำ� บลไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณ
จากสถาบันพฒั นาองคก์ รชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน) การสนับสนุนงบประมาณจากทอ้ งถน่ิ รวมถงึ พน้ื ท่โี ครงการวจิ ัยของ
สถาบนั การศกึ ษาเกี่ยวกับการออกแบบปรับปรุงบ้าน และมบี างพืน้ ทใ่ี ช้งบประมาณของ สป.สว.มาด�ำเนนิ การปรับปรงุ
ซ่อมแซมบ้าน เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยมีความปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ตัวอย่างพ้ืนที่ด�ำเนินการเร่ืองนี้ เช่น ต�ำบล
หว้ ยโป่งและต�ำบลขนุ ยวม จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ต�ำบลคอรุมและต�ำบลน้ำ� ไคร้ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ต�ำบลวดั ขวางและตำ� บล
ลำ� ประดา จงั หวดั พจิ ติ ร ตำ� บลวงั ยาง จงั หวดั กำ� แพงเพชร ตำ� บลสายลำ� โพงและตำ� บลโกรกพระ จงั หวดั นครสวรรค์ ตำ� บล
วังยาง จังหวดั กำ� แพงเพชร ต�ำบลราชสถิตย์ จังหวดั อา่ งทอง ตำ� บลบอ่ แร่ จงั หวัดชัยนาท ต�ำบลวังตะเคยี นและต�ำบล
เขาไม้แก้ว จังหวัดปราจนี บุรี ต�ำบลกระแชงและต�ำบลบางปรอก จงั หวัดปทมุ ธานี ต�ำบลโนนโหนน ตำ� บลบงุ่ หวาย และ
ตำ� บลแสนสขุ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ตำ� บลนางว้ิ และตำ� บลสวนหมอ่ น จงั หวดั ขอนแกน่ ตำ� บลโนนภบิ าล และตำ� บลหนองเหลก็
จงั หวดั มหาสารคาม ตำ� บลนาขา และต�ำบลบางมะพร้าว จังหวัดชุมพร ต�ำบลเขาแกว้ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ตำ� บล
บางด้วน ต�ำบลนาชุมเหด็ และต�ำบลกนั ตรงั ใต้ จงั หวดั ตรัง โดยตัวอยา่ งการด�ำเนินการดงั กลา่ วในพนื้ ที่ เชน่

20

เร่อื งเล่าจากตำ� บลรองรบั สังคมสูงวยั

• ตำ� บลโกรกพระ จงั หวดั นครสวรรค์ มกี ารปรบั ปรงุ ทอี่ ยอู่ าศยั ใหเ้ หมาะสมกบั การอยอู่ าศยั โดยใชง้ บประมาณ
โครงการบา้ นพอเพยี งจากสถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชนเปน็ ตวั ตงั้ ตน้ และการตอ่ ยอดงบประมาณจากโครงการ
ของ สป.สว. ในการนำ� มาปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มภายในบ้านเพิ่ม จ�ำนวน 14 ครัวเรอื น โดยชา่ งชุมชนจ�ำนวน
12 คน ซ่ึงได้มีการด�ำเนินการปรับราวบันได จัดท�ำราวเกาะภายในบ้าน ปรับพ้ืนที่ต่างระดับบริเวณบ้าน
ปรบั ประตบู ้านให้กว้างกว่าเดิม ทำ� เตียงนอน จดั ระเบยี บอปุ กรณ์สิ่งของภายในบ้าน เปน็ ตน้

• ตำ� บลบอ่ แร่ จังหวัดชยั นาท อาศัยการใชท้ นุ จากการทีต่ �ำบลได้รับงบประมาณโครงการบ้านพอเพยี งชนบท
จากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน มาใส่แนวคิดเรื่องการปรับปรุงที่อยู่อาศัยให้มีความปลอดภัยและเหมาะสม
ตอ่ การอยู่อาศัยของกลมุ่ คนวัยตา่ งๆ โดยเฉพาะการปรบั ปรงุ บา้ นเพื่อรองรบั หรอื เอ้ืออ�ำนวยต่อกลมุ่ คนสูงวยั
และผพู้ กิ าร โดยการปรบั ปรงุ พนื้ หอ้ งนำ�้ ไมใ่ หล้ น่ื ปรบั ประตหู อ้ งนำ้� กลอนประตใู หส้ ะดวกและปลอดภยั ตอ่ การ
ใชง้ านและการใหก้ ารชว่ ยเหลอื กรณเี กดิ อบุ ตั เิ หตใุ นหอ้ งนำ้� เปลย่ี นโถสว้ มจากนงั่ ยองมาเปน็ โถสว้ มแบบนง่ั ราบ
การปรับบริเวณบ้านชั้นล่างเป็นห้องพกั อาศยั ของผูส้ งู อายุแทนการพกั อาศัยบรเิ วณชั้นบนของบ้าน เปน็ ต้น

• ตำ� บลนางว้ิ จังหวัดขอนแกน่ การพัฒนาท่อี ยู่อาศัย (ซอ่ มแซม/ปรบั ปรุงบ้าน) ในดา้ นการพฒั นาที่อยูอ่ าศัย
ต�ำบลนาง้ิวได้รับการสนับสนุนการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยในโครงการบ้านพอเพียง จากสถาบันพัฒนาองค์กร
ชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน) พอช. ให้กบั ผสู้ งู อายุ ผพู้ ิการ ผดู้ อ้ ยโอกาส ซึง่ เป็นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ดา้ นทอี่ ยู่
อาศัยให้ม่นั คงแข็งแรงและมีความปลอดภยั ในการใช้ชวี ิตเพ่ิมข้นึ

2) การปรบั สภาพแวดลอ้ มในพน้ื ทส่ี าธารณะ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการไปใชบ้ รกิ ารแกค่ นทกุ วยั โดยเฉพาะ
ผู้สงู อายุและผู้พิการ เช่น ตำ� บลคอรุม จงั หวดั อตุ รดิตถ์ มีการปรับปรุงพื้นที่จดุ เสยี่ งในวัด ตำ� บลวงั ยาง จังหวัดกำ� แพงเชร
จดั ใหม้ อี ปุ กรณ์ สง่ิ อำ� นวยความสะดวกบรเิ วณอาคาร พนื้ ทสี่ าธารณะ สำ� หรบั บรกิ ารคนทกุ กลมุ่ วยั ของชมุ ชนตา่ งๆ ตำ� บล
ลำ� ประดา จงั หวัดพิจติ ร มกี ารจัดทำ� “ราวรักษ์สูงวยั ” ไปติดต้ังบริเวณห้องน�้ำในวัด 8 แหง่ และสถานทีร่ าชการ ไดแ้ ก่
องค์การบริหารส่วนต�ำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล วิทยาลัยชุมชน ต�ำบลบ่อแร่ จังหวัดชัยนาท และต�ำบล
เขาไม้แก้ว จังหวัดปราจีนบุรี มีการปรับปรุงพื้นท่ีโดยการท�ำราวจับ ทางลาดส�ำหรับผู้ใช้รถเข็นข้ึนศาลาการเปรียญ
เมรุเผาศพ เป็นตน้
3) กลไกการท�ำงานใหม่โดยการรวมตัวของอาสาสมัครช่างชุมชนแบบมีส่วนร่วม ในการปรับปรุงท่ีอยู่อาศัย
ได้มีการพัฒนาช่างชุมชน ช่างอาสา ให้มีความรู้ด้านอารยสถาปัตย์ (Universal Design) หรือการออกแบบเพ่ือคน
ทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้สูงอายุ คนปกติ ผู้พิการ เพ่ือเป็นผู้ด�ำเนินการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านให้กับคนในชุมชนด้วย เช่น
ชา่ งชมุ ชนปรบั ปรงุ บา้ นในโครงการบา้ นพอเพยี ง ทด่ี ำ� เนนิ การโดยสภาองคก์ รชมุ ชน ในหลายพน้ื ทไี่ ดม้ กี ารรบั การสนบั สนนุ
งบประมาณจากสถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน ตวั อยา่ งเชน่ ตำ� บลโกรกพระ จงั หวดั นครสวรรค์ ตำ� บลบอ่ แร่ จงั หวดั ชยั นาท
ต�ำบลเขาไม้แก้ว จังหวัดปราจีนบุรี เป็นต้น การรวมตัวของช่างชุมชนผ่านกระบวนการงานวิจัยของสถาบันการศึกษา
ในพนื้ ท่ี เชน่ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี การปรบั ปรงุ ทอ่ี ยอู่ าศยั ใหแ้ กก่ ลมุ่ คนเปราะบาง ผสู้ งู อายุ ผพู้ กิ าร และผดู้ อ้ ยโอกาส
ผ่านเคร่ืองมือการคดั กรองตามความสามารถในการประกอบกิจวตั รประจำ� วัน (Activities of Daily Living หรือ ADL)
และเครอ่ื งมอื การจำ� แนกการทำ� งาน สขุ ภาพและความพกิ าร (International Classification of Functioning, Disability
and Health หรือ ICF) ในพื้นที่ต�ำบลบุ่งหวาย ต�ำบลโนนโหนน จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีกลไกการท�ำงานร่วมกับ
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำ� บล อสม. ชา่ งในชมุ ชน และผ้นู ำ� ทอ้ งที่ นอกจากนยี้ งั มีการพัฒนาช่างในตำ� บลกันตรังใต้

21

ตำ� บลนาชมุ เหด็ และตำ� บลบางดว้ น โดยการใหค้ วามรู้ การศกึ ษาดงู านดา้ นการออกแบบปรบั สภาพแวดลอ้ มบา้ นและพนื้ ที่
สาธารณะใหป้ ลอดภยั เหมาะสมกบั คนทกุ วยั โดย Universal Design Center มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตตรงั

• ตำ� บลโนนโหนน จงั หวอั อบุ ลราชธานี มกี จิ กรรมปรบั สภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภยั สำ� หรบั ผสู้ งู อายุ ผพู้ กิ าร และ
คนทกุ วยั รวมทง้ั สภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภยั ในทสี่ าธารณะ เชน่ วดั ศาลากลางบา้ น สถานทรี่ าชการ โดยมจี ติ อาสา
ช่างชุมชนตำ� บลโนนโหนน ซึง่ ไดจ้ ดั ตั้งจิตอาสาชา่ งชุมชนทุกหมบู่ า้ นๆ ละ 2 คน ใน 12 หมบู่ ้าน รวม 24 คน
เมื่อต้นปี 2563 และในปี 2564 มีการขับเคล่ือนงานต่อโดยการจัดต้ังชมรมช่างชุมชนต�ำบลโนนโหนน
เพอ่ื จดั หาทนุ ในการทำ� งานปรบั สภาพแวดลอ้ มบา้ นพกั อาศยั ของผสู้ งู อายแุ ละคนทกุ วยั ใหเ้ หมาะสมและอาศยั
อยู่อยา่ งปลอดภยั

4) การเกดิ กองทุนช่างชมุ ชน เพือ่ นำ� มาใชใ้ นการปรับสภาพบา้ น โดยไม่ไดอ้ าศัยเงนิ จากภาครฐั เปน็ การระดม
เงินเปน็ ครงั้ ๆ ผา่ นกิจกรรมทเี่ กิดขึน้ ภายในชมุ ชน เชน่ งานศพ การทอดผา้ ป่า การขอสบทบงบประมาณจากภาคเอกชน
ในรปู แบบการทำ� CSR ซง่ึ เปน็ แนวคดิ ทไี่ มไ่ ดห้ วงั พง่ึ รฐั เพยี งอยา่ งเดยี ว แตเ่ ปน็ การดำ� เนนิ การโดยชมุ ชนเพอ่ื ชมุ ชน อนั เปน็
รปู แบบการพ่ึงตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ เช่น ตำ� บลบงุ่ หวาย จังหวัดอุบลราชธานี มกี องทุนช่างชุมชน เป็นการรวมกลมุ่ ของ
ชา่ งชมุ ชนทเ่ี ปน็ ผนู้ ำ� ชมุ ชน จติ อาสา ชา่ งทมี่ อี าชพี สรา้ งบา้ น ในตำ� บลบงุ่ หวาย ซงึ่ เปน็ การขบั เคลอื่ นรว่ มกบั อบต. รพ.สต.
และชาวบา้ นในพ้นื ที่
5) แหล่งทุนที่สนบั สนนุ การปรับปรุงที่อยอู่ าศัย มีมาจากหลายหนว่ ยงาน โดยเปน็ การบรู ณางาน งบประมาณที่
พื้นท่ีได้รับการสนับสนุนจากแหล่งงบประมาณต่างๆ เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เช่น โครงการบ้านพอเพียง ที่ด�ำเนินการโดย
สถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน โครงการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม/สรา้ งบา้ นใหก้ บั ผดู้ อ้ ยโอกาส กลมุ่ คนเปราะบางทด่ี ำ� เนนิ การโดย
สำ� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั หนว่ ยงานทอ้ งถนิ่ เชน่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เทศบาล หรอื
องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบล สภากาชาดจงั หวดั โรงไฟฟ้า ภาคธุรกจิ เอกชนในพ้ืนท่ี รวมทัง้ แหล่งทนุ อนื่ ๆ เปน็ ตน้

• ตำ� บลเขาแกว้ จงั หวดั นครศรธี รรมราช สภาองคก์ รชมุ ชนตำ� บลเขาแกว้ ซงึ่ เปน็ หนงึ่ ในองคก์ รทขี่ บั เคลอื่ นเรอ่ื ง
สงั คมสงู วยั และการขบั เคลอื่ นงานพฒั นาเรอ่ื งตา่ งๆ ในพนื้ ท่ี ไดข้ อรบั งบประมาณโครงการบา้ นพอเพยี งชนบท
จากสถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชนซอ่ มแซมบา้ นให้แกผ่ ูเ้ ดือดร้อนและผูย้ ากไร้ ปี 2564 จ�ำนวน 20 ครัวเรอื น
งบประมาณรวม 400,000 บาท มกี ารจดั ทำ� ราวยึดเกาะ ปรบั ปรุงซอ่ มแซมห้องน้�ำ ใหเ้ หมาะสมกับผสู้ งู อายุ/
ผู้พิการ เกิดความสะดวกปลอดภัยภายในบริเวณบา้ น อีกทั้งยงั มีการบรู ณาทนุ จากภายใน เชน่ การกองทนุ
สวสั ดกิ ารชมุ ชน มาสนบั สนุนการปรับปรุงที่อย่อู าศยั ในชมุ ชนได้เพ่ิมอีก 3 ครวั เรือน เปน็ เงนิ 23,000 บาท
กองทุนหมุนเวยี นบา้ นพอเพยี ง จำ� นวน 3 ครวั เรอื น จ�ำนวน 47,000 บาท

22

เร่ืองเล่าจากตำ� บลรองรับสงั คมสงู วยั

6) การผลักดันเชิงนโยบายเรื่องการปรับสภาพแวดล้อมในพ้ืนที่สาธารณะ คณะท�ำงานท่ีขับเคล่ือนเร่ืองสังคม
สูงวัย/กลุ่มองค์กรในพื้นท่ี ได้มีการจัดท�ำข้อเสนอต่อหน่วยงานท้องถ่ิน หน่วยงานที่เก่ียวข้องในการสนับสนุนการปรับ
สภาพแวดล้อมในพ้นื ทีส่ าธารณะของชุมชน ให้มีความปลอดภัย เหมาะสมกับการใช้ชวี ิตของคนทุกคน

• ต�ำบลนาขา จังหวัดชุมพร ในปี 2562 สภาองค์กรชุมชนต�ำบลนาขา ได้จัดท�ำข้อเสนอต่อองค์การบริหาร
ส่วนต�ำบลนาขา ให้มีการจัดท�ำทางลาด ราวจับในห้องน�้ำ การเปลี่ยนโถสุขภัณฑ์แบบชักโครก ในโรงเรียน
วดั สถานที่ราชการ

• ต�ำบลเขาแก้ว จังหวัดนครศรีธรรมราช มีการส�ำรวจข้อมูลต�ำบล น�ำมาวิเคราะห์จัดท�ำแผนรองรับสังคม
สูงวยั ในชุมชน การเสนอใหม้ ีการจัดทำ� ราวยึดเกาะสำ� หรับผู้สงู วัย การดูแลเด็กไปพร้อมกบั การดแู ลผ้สู ูงอายุ

มติ ิสุขภาพ
1) การส่งเสริมสุขภาพชุมชนโดยแนวคิด “สร้าง น�ำ ซ่อม” ดูแลคนทุกกลุ่มวัย เป็นการท�ำงานร่วมกันของ
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รพ.สต. อสม. อาสาสมคั รดแู ลผสู้ งู อายุ ทมี สหวชิ าชพี ในชมุ ชน จดั บรกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั
คนทัว่ ไป ผสู้ งู อายุ และบุคคลอ่นื ท่ีมภี าวะพึ่งพงิ ผ่านกิจกรรมการตรวจสขุ ภาพ การดูแลสุขภาพผ้สู ูงอายตุ ามหลัก 5 อ.
การส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันโรคติดต่อไม่เรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
กิจกรรมการเยยี่ มบ้านผู้สูงอายุ การตั้งชมรมรักษส์ ุขภาพ การจดั ตงั้ ศูนย์ฟนื้ ฟูผสู้ งู อายุ เช่น

• ต�ำบลห้วยโป่ง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีการจัดต้ังชมรมรักษ์สุขภาพ เพื่อส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย มีผู้ดูแล
ผู้สูงอายุออกปฏิบัติงานดูแลผู้สูงอายุครอบคลุมพื้นที่ในต�ำบลห้วยโป่งแห่งละ 2 สัปดาห์ มีการเย่ียมบ้าน
ผู้สงู อายุ โดยทีมสหวชิ าชพี ผ้ดู แู ลผสู้ ูงอายแุ ละองค์กรในพน้ื ทตี่ �ำบล

• ตำ� บลคอรมุ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ จากการตรวจพบสารตกคา้ งในเลอื ดของคนในชมุ ชน และการแพรร่ ะบาดของโรค
น�ำมาสู่การตื่นตัวในการรวมกันดูแลสุขภาพ ร่วมกันเฝ้าระวังโรคในชุมชน โดยการบูรณาการท�ำงานร่วมกัน
ระหวา่ งโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บลนำ้� ไคร้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ศนู ยฟ์ น้ื ฟคู ณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ
กองทนุ หลักประกนั สุขภาพตำ� บล (สปสช.) และหนว่ ยงานองค์กรทเ่ี ก่ยี วข้อง ในการดำ� เนินการเพ่ือใหค้ นใน
ตำ� บลมสี ภุ าพอนามยั ทดี่ ี เชน่ การตรวจสขุ ภาพทว่ั ไป ใหค้ วามรดู้ า้ นการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค สง่ เสรมิ
การออกกำ� ลงั กาย พฒั นาระบบโภชนาการทเ่ี หมาะสม การพฒั นาใหม้ กี ารนำ� แพทยพ์ น้ื บา้ นและแพทยแ์ ผนไทย
มาใช้ในการดแู ลสขุ ภาพของประชาชนในตำ� บล

• ตำ� บลวงั ยาง จงั หวดั กำ� แพงเพชร การขบั เคลอื่ นงานแบบมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ภายใตส้ โลแกน “สขุ ภาพดี
อยรู่ อ้ ยปี อยา่ งสมบรู ณ์ @ วงั ยาง” โดยโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บลทำ� งานรว่ มกนั เปน็ อยา่ งดกี บั เทศบาล
ตำ� บลวงั ยาง เครอื ขา่ ยชมรมผสู้ งู อายุ เจา้ อาวาสวดั ตา่ งๆ ในพนื้ ท่ี โรงเรยี น องคก์ รชมุ ชน และสภาองคก์ รชมุ ชน
ตำ� บล สง่ ผลใหเ้ กดิ การผลกั ดนั เชงิ นโยบาย เปน็ พนื้ ทต่ี น้ แบบในการจดั การสขุ ภาพ ในการปอ้ งกนั สง่ เสรมิ การ
ลดโรคของคนทกุ กลมุ่ วยั ในตำ� บล ซง่ึ ไดพ้ ยายามสง่ เสรมิ การดแู ลสขุ ภาพตง้ั แตเ่ ดก็ ใหท้ ง้ั เดก็ คนวยั ทำ� งาน และ

23

การสง่ เสริมสุขภาพชมุ ชนโดยแนวคิด “สรา้ ง นำ� ซ่อม”
ดูแลคนทุกกลมุ่ วยั เปน็ การทำ� งานร่วมกันขององคก์ ร
ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ รพ.สต. อสม. อาสาสมัครดแู ล
ผู้สงู อายุ ทีมสหวิชาชีพในชมุ ชน จัดบริการสาธารณสขุ
ส�ำหรับคนทวั่ ไป ผสู้ ูงอายุ และบุคคลอนื่ ทีม่ ภี าวะพึ่งพิง

ผสู้ งู อายมุ สี ขุ ภาพดี โดยชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ คลนี คิ หมอครอบครวั ตำ� บลวงั ยาง คอื ทกุ ครอบครวั จะ
มหี มอประจำ� ตวั 3 คน คอื หมอคนที่ 1 หมอประจำ� บา้ น คอื อสม.เปน็ หมอใกลต้ วั หมอคนที่ 2 หมอสาธารณสขุ
คือ บุคลากรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ให้การรักษาและส่งต่อ รวมถึงดูแลสุขภาพให้ค�ำแนะน�ำ
ประชาชนในทุกมิติ และหมอคนที่ 3 หมอครอบครัว คือ แพทย์ในโรงพยาบาล นอกจากน้ี รพ.สต.วังยาง
ยงั จดั ให้มศี นู ย์สุขภาพ และสมรรถภาพทางการแพทย์ เพือ่ ลดการแออัดของผปู้ ่วยระยะกลางในโรงพยาบาล
ระดับอ�ำเภอ ระดับจังหวัด มีการบูรณาการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับต�ำบล เพ่ือท�ำหน้าท่ีเป็นหน่วย
ปฏิบตั กิ าร บูรณการกิจกรรม และทรพั ยากรในตำ� บลใหเ้ ช่อื มโยงดา้ นสุขภาพ
• ตำ� บลราชสถติ ย์ จงั หวดั อา่ งทอง มีการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ดแู ลผ้สู งู อายุ กลุ่มคนตดิ บา้ น ติดเตียง สนับสนุน
การเข้าถงึ บริการสขุ ภาพ
• ตำ� บลโนนภบิ าล จังหวดั มหาสารคาม กจิ กรรม “ชมุ ชนสรา้ งสุข สขุ กาย สุขใจ สุขเงิน สุขสามคั คี” ให้คนใน
ชุมชนมีเกราะป้องกันตนเองและครอบครัว เช่น การส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก “เย่ียมแม่ดูแลลูก”
กองทุนเกลือไอโอดีนชุมชน การส�ำรวจการใช้สารเคมีในชุมชนผ่าน Application อสม. Online คัดกรอง
กลุม่ เสย่ี งเบาหวาน มีนวตั กรรม “สมุดรกั สขุ ภาพท�ำดี ลดเส่ยี ง ลดโรค” อบรม อสม. อสค. เร่ืองการปอ้ งกนั
โรคโควิด 19
• ตำ� บลนางว้ิ จงั หวดั ขอนแกน่ มกี ารสง่ เสรมิ การจดั การสขุ ภาพรว่ มกบั ทอ้ งถน่ิ และ รพ.สต. ผา่ นระบบกองทนุ
สุขภาพต�ำบล เป็นต้น

24

เรือ่ งเลา่ จากต�ำบลรองรับสังคมสงู วัย

2) การสง่ เสรมิ ดา้ นการออกกำ� ลงั กาย มกี ารสง่ เสรมิ การออกกำ� ลงั กายแกบ่ คุ คลทว่ั ไป ในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ การใช้
วัฒนธรรมพ้ืนถ่นิ การวงิ่ เดนิ ป่ันจักรยาน แอโรบิค เตน้ บาสโลบ การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ เป็นต้น มพี ้นื ทด่ี ำ� เนินการ
ในเรื่องน้ีตัวอย่างเช่น ต�ำบลล�ำประดา จังหวัดพิจิตร ได้มีการประยุกต์ร�ำวงพื้นบ้านมาเป็นกิจกรรมการออกก�ำลังกาย
ตำ� บลบอ่ แร่ จงั หวดั ชยั นาท จดั กจิ กรรมปน่ั เยย่ี มเพอื่ น โดยชวนคน 3 วยั มาออกกำ� ลงั กายดว้ ยการขจี่ กั รยานไปเยย่ี มบา้ น
ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านท่ีอยู่ในต�ำบล ต�ำบลโนนโหนน จังหวัดอุบลราชธานีได้มีการส่งเสริมการออกก�ำลังกายภายใต้
โครงการทูบีนัมเบอร์วัน ต�ำบลแสนสุข จังหวัดอุบลราชธานี ส่งเสริมการออกก�ำลังกายเพ่ือเสริมสร้างความแข็งแรง
สร้างการเคลื่อนไหว เช่น การออกก�ำลังกายด้วยยางยืด การเต้นบาสโลบ โยคะ การยืดเหยียดกล้ามเน้ือเพ่ือป้องกัน
การหกล้ม ตำ� บลนาชุมเหด็ จังหวดั ตรงั ส่งเสรมิ การออกก�ำลงั กายดว้ ยการเต้นบาสโลป แอโรบิค การเดิน ว่งิ ในพน้ื ที่
สาธารณะในชุมชน เปน็ ตน้
3) การจดั การดา้ นสขุ ภาพในสถานการณโ์ ควิด-19 ของชมุ ชน ในช่วงสถานการณ์โควิด หลายพื้นที่มีการเตรียม
ความพร้อมในการดูแลช่วยเหลือผู้คนในชุมชนผ่านกิจกรรมต่างๆ ทั้งในเรื่องการคัดกรองผู้ติดเชื้อ การส่งเสริมความรู้
ปอ้ งกนั โควดิ -19 โดยชมุ ชน การเยยี่ มบา้ นผอู้ ยใู่ นภาวะเสย่ี งและผตู้ ดิ เชอ้ื เชน่ เทศบาลตำ� บลขนุ ยวม จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน
ตำ� บลกระแชง จงั หวดั ปทุมธานี บางพน้ื ทนี่ อกจากจะมกี ารคดั กรองแลว้ ยงั มกี ารจัดท�ำศนู ย์พักคอยในพ้ืนท่ี เช่น ต�ำบล
เขาไม้แกว้ จงั หวดั ปราจนี บุรี รวมถงึ การสนับสนุนฟืน้ ฟูการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตภายใต้สถานการณ์โควดิ -19 ของต�ำบล
ห้วยโปง่ จังหวัดแมฮ่ ่องสอน มีบางพ้ืนทีจ่ ัดตัง้ กองทุนเพือ่ ดแู ลชว่ ยเหลอื กัน เชน่ ตำ� บลโนนภิบาล จังหวัดมหาสารคาม
ได้มีการจัดตง้ั กองทนุ ปนั สขุ บรรเทาทกุ ข์ชาวแกดำ� เพอื่ ชว่ ยเหลอื ผ้ทู ี่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด -19
ตัวอย่างการขับเคลื่อนงานในพ้นื ท่ี เชน่

• ต�ำบลเขาไม้แก้ว จังหวัดปราจีนบุรี มมี าตรการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน และควบคมุ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการคัดกรอง จัดต้งั ศนู ย์พักคอย (Community Isolation หรอื CI) 3 จุด
คือ 1) CI ส�ำหรับรองรบั ผ้ปู ่วยติดเช้ือ ผู้ปว่ ยกล่มุ สเี ขยี ว 2) CI ส�ำหรบั ผ้สู มั ผัสผ้ตู ิดเชื้อ (เสย่ี งสงู ) เพอ่ื สังเกต
อาการ มีการส่ือสารสรา้ งความเขา้ ใจส�ำหรับการเดนิ ทางเข้าพน้ื ท่ีต�ำบลเขาไม้แก้ว และ 3) CI สำ� หรับผู้ที่เดนิ
ทางมาจากพน้ื ทสี่ ีแดงเข้ม

4) การสรา้ งความมนั่ คงดา้ นอาหาร สง่ เสรมิ พฒั นาระบบการผลติ อาหารปลอดภยั โดยการรณรงคไ์ มใ่ ชส้ ารเคมี
ในการเกษตร ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ สมุนไพรรักษาโรค การสร้างพ้ืนท่ีความม่ันคงทางอาหาร
ใหก้ ับชมุ ชน เชน่ ตำ� บลคอรุม จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ต�ำบลล�ำประดา จงั หวดั พิจิตร ต�ำบลวังยาง จงั หวดั กำ� แพงเพชร ตำ� บล
วงั ตะเคยี น ต�ำบลเขาไมแ้ กว้ จงั หวดั ปราจีนบุรี ตำ� บลนางิว้ จงั หวดั ขอนแก่น ต�ำบลโนนภบิ าล ต�ำบลหนองเหลก็ จงั หวัด
มหาสารคาม ต�ำบลนาขา และตำ� บลบางมะพรา้ ว จงั หวัดชุมพร เปน็ ตน้ ตัวอย่างรายละเอียดกิจกรรม เช่น

• ตำ� บลคอรุม จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ โดยสำ� นกั งานเกษตรต�ำบลน้ำ� ไคร้ พฒั นาชุมชน รว่ มกบั องค์กร หนว่ ยงานและ
แกนนำ� ชมุ ชน รณรงคใ์ หม้ กี ารลดละเลกิ การใชส้ ารเคมใี นการทำ� เกษตรกรรม สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารปลกู ผกั สวนครวั
รว้ั กนิ ได้ และเปน็ แกนหลกั ในการสง่ เสรมิ เกษตรอนิ ทรยี ์ และมตี ลาด รา้ นคา้ ขายสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ใ์ นชมุ ชน

25

• ต�ำบลโนนภิบาล จังหวัดมหาสารคาม การจัดต้ัง “ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแหล่งเรียนรู้และ
ภูมปิ ัญญาของชุมชน เรอ่ื งวิถีชีวติ การผลติ เกษตรดั้งเดิม การเตรียมความพร้อมเขา้ สู่สงั คมผู้สงู วัยใช้ฐานเรื่อง
การทำ� เกษตรอินทรีย์ ตามวิถีเศรษฐกจิ พอเพยี ง การปลูกพืชในครัวเรือน พืชรายได้ พชื สมนุ ไพร พชื สมุนไพร
ปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ชื การปลกู พชื อาหารสตั ว์ พชื ใชส้ อย และยงั มกี ารตอ่ ยอดไปสกู่ ารขบั เคลอ่ื นอาหารปลอดภยั
14 หมู่บา้ น โดยการสนบั สนุนของ ปตท.ในการปลกู ผกั สวนครวั ต่อยอดเปน็ สมนุ ไพรฟา้ ทะลายโจร สนับสนุน
พันธุก์ ลา้ 1,000 ต้น และขยายไปได้ 2,000 ตน้ เพอ่ื ให้ครวั เรือนต้นแบบ 24 ครวั เรอื น จาก 24 หมบู่ ้าน

• ตำ� บลนาขา จงั หวดั ชมุ พร จากขอ้ มลู ทวี่ า่ คนในตำ� บลนาขามสี ารพษิ ในรา่ งกายเปน็ จำ� นวนมาก จงึ เปน็ สาเหตุ
หน่งึ ท่ที ำ� ให้เกดิ การพดู คยุ เร่อื งเกษตรอนิ ทรยี ์ เกษตรกรรมยั่งยนื เกษตรผสมผสาน การไม่ใช้สารเคมี แต่กย็ งั
ไมเ่ ปน็ ผลเทา่ ใดนกั จงึ ไดข้ ับเคล่อื นเรื่องสมาพนั ธเ์ กษตรอนิ ทรยี ใ์ ห้เปน็ เครอื ขา่ ยเกษตรอินทรีย์เพอ่ื ให้มคี วาม
เป็นรปู ธรรม ดงั น้ัน สภาองค์กรชุมชนตำ� บลนาขาจึงไดข้ บั เคล่อื นเรอื่ งสขุ ภาพ การตรวจเลอื ด ความดนั และ
การท�ำเกษตรอินทรีย์ การจัดเวทีสัญจร โดยเชิญผู้ที่มีองค์ความรู้ ความเช่ียวชาญ มาให้ความรู้เร่ืองเกษตร
อินทรยี ์ เร่อื งสารชวี ภัณฑ์ เพ่อื ใหเ้ กษตรกรใช้แทนปุย๋ เคมี มีหนว่ ยงาน เช่น สำ� นกั งานเกษตรอ�ำเภอ ไดใ้ ห้การ
สง่ เสริมและสนบั สนนุ อยา่ งการตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์ ทำ� ใหค้ นในชมุ ชนมีการเตรียมความพรอ้ มรองรับ
สังคมสงู วยั ด้วย “สุขภาพท่แี ขง็ แรง ไมเ่ ปน็ โรคเบาหวาน ความดัน ตอนอายุ 60 ป”ี

มติ ิสงั คม
1) การขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชนและผู้สูงอายุ โดยเป็นการท�ำงานผ่านศูนย์การเรียนรู้
รองรับสังคมสูงวัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพชีวิตเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย ชมรมผู้สูงอายุ ที่เปิดโอกาสให้คนวัยท�ำงานเข้ามา
เป็นสมาชิกได้ และศูนย์สามวัย เช่น การขับเคลื่อนเรื่องศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตเพ่ือรองรับสังคมสูงวัยต�ำบลแสนสุข
จังหวดั อุบลราชธานี ที่ใชก้ ลไกภายใน คือ ชมรมผสู้ ูงอายขุ ับเคลื่อนงานรว่ มกับนกั วิชาการผา่ นกระบวนงานวิจัยท้องถิน่
จากวทิ ยาลัยแพทยศาสตรแ์ ละสาธารณสุข มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี ในการสรา้ งกระบวนการเรยี นรูจ้ นทำ� ให้สามารถ
เคลอื่ นงานไปได้ ตำ� บลคอรมุ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ สรา้ งกลไกความรว่ มมอื ภายในและภายนอกในการขบั เคลอ่ื นงานเชงิ พนื้ ท่ี
ผ่านยทุ ธศาสตร์การพัฒนาตำ� บลแบบองคร์ วม มีการออกแบบการพัฒนาตำ� บลทุกกลุ่มวัย เน้นการมีสว่ นรว่ มการพัฒนา
ของคนสามวัยเป็นหลัก
2) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การรวมกลมุ่ และกจิ กรรมของคนในชมุ ชนและผสู้ งู อายุ โดยการจดั ตง้ั ชมรมผสู้ งู อายุ โรงเรยี น
ผสู้ งู อายุ ทเี่ ปดิ โอกาสใหค้ นวยั ทำ� งานเขา้ มาเปน็ สมาชกิ ชมรมได้ การจดั กจิ กรรมสบื สานประเพณวี ฒั นธรรม เชน่ โรงเรยี น
ลำ� ดวนวยั ใสตำ� บลคอรมุ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ โรงเรยี นมเหศกั ดวิ์ ยั ใสตำ� บลนำ�้ ไคร้ โรงเรยี นผเู้ ชยี่ วชาญชวี ติ ตำ� บลบางมะพรา้ ว
จังหวัดชุมพร ชมรมผสู้ งู อายุ และโรงเรียนผู้สงู อายตุ ำ� บลนาชมุ เห็ด จังหวัดตรัง ซึ่งมีการขยายฐานสมาชกิ ชมรมผ้สู งู อายุ
ตำ�่ กวา่ 60 กลมุ่ เปา้ หมายอายุ 40-50 ปี สามารถสมัครเขา้ ชมรมผ้สู งู อายุได้ ตำ� บลบางด้วน จังหวดั ตรัง เปิดโอกาสขยาย
กลุ่มเปา้ หมายให้ประชาชนอายุ 40-59 ปี เข้าโรงเรยี นผ้สู งู อายไุ ด้

26

เรื่องเล่าจากต�ำบลรองรับสงั คมสูงวัย

3) การจดั ท�ำธรรมนญู เพือ่ เปน็ ทิศทางการพัฒนาในระดับพ้นื ท่คี รอบคลุมทุกมติ ิ และรองรับนโยบายขบั เคล่ือน
สงั คมสูงวยั เช่น ธรรมนูญสขุ ภาพรองรับสงั คมสงู วยั ตำ� บลนำ้� ไคร้ การจดั ท�ำธรรมนญู ตำ� บลจดั การตนเอง แผนสุขภาพ
ต�ำบลเพื่อกลุ่มเปราะบางและสังคมผู้สูงวัยต�ำบลวังยาง (ต้นน�้ำ กลางน�้ำ ปลายน้�ำ) ต�ำบลจัดการคุณภาพเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตให้ประชาชนต�ำบลวังยางมีสุขภาพดี อยู่ 100 ปี และธรรมนูญสุขภาพต�ำบลกระแซงว่าด้วยการจัดการ
รองรบั สงั คมสงู วยั เปน็ ตน้ มบี างพน้ื ทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ จากการทำ� แผน/ธรรมนญู การขบั เคลอ่ื นรองรบั สงั คมสงู วยั เชน่
เกิดนโยบายรองรับสังคมสูงวัย การปรับสภาพแวดล้อมที่บ้านบรรจุเป็นเทศบัญญัติ ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลคอ
รมุ จังหวดั อุตรดิตถ์
4) การให้เด็ก เยาวชน คนวยั ท�ำงาน ได้เรยี นร้สู บื สานภูมิปญั ญาจากรุ่นสรู่ นุ่ สง่ เสริมกระบวนการเรยี นรู้ บรรจุ
หลกั สตู รการเรยี นเขา้ สรู่ ะบบโรงเรยี น รวมถงึ การสรา้ งกระบวนการเรยี นรกู้ บั คนสามวยั การสรา้ งกระบวนการเรยี นรตู้ าม
หลกั บวร บา้ น วดั โรงเรยี น เพอ่ื สรา้ งเสรมิ ระบบความเขม้ แขง็ ของครอบครวั ชมุ ชน และการเรยี นรคู้ นสามวยั เชน่ ตำ� บล
น้ำ� ไคร้ จังหวดั อุตรดิตถ์ โรงเรียนมเหสักขว์ ยั ใส มีการถ่ายทอดถูมปิ ัญญาใหก้ บั ลูกหลาน ต�ำบลลำ� ประดา จงั หวัดพิจิตร
มกี ารสง่ เสรมิ โรงเรยี นผสู้ งู อายเุ ปน็ พนื้ ทแี่ หลง่ เรยี นรถู้ า่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาจากรนุ่ สรู่ นุ่ ตำ� บลบอ่ แร่ จงั หวดั ชยั นาท การสรา้ ง
คุณค่าให้กับผสู้ ูงวัย ผ่านกจิ กรรม “ผู้เฒ่าเล่าขาน” นำ� เรอื่ งราวท่ีผู้สูงวยั มีติดตัวแต่โบราณมา จากปู่ สู่ พ่อ ต่อมาจนถงึ
คนทยี่ งั อยู่ ณ ปจั จบุ นั มาเลา่ ใหก้ บั เดก็ และเยาวชนคนรนุ่ ใหมไ่ ดฟ้ งั ตำ� บลเขาไมแ้ กว้ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี โดยองคก์ ารบรหิ าร
ส่วนต�ำบลเขาไม้แก้วร่วมกับโรงเรียนเขาไม้แก้ว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน จัดกิจกรรมเยี่ยมเยียนให้ก�ำลังใจ
ผสู้ งู อายขุ อง “หมอนวดนอ้ ย” (อาสาสมคั รตวั นอ้ ย) ไปรว่ มพดู คยุ ใหก้ ำ� ลงั ใจ และนวดใหก้ บั ผสู้ งู อายใุ นชว่ งวนั เสาร-์ อาทติ ย์
โดย อบต. สนับสนุนงบประมาณให้กับ รพ.สต. ในการจัดอบรมให้ความรู้สอนนวดแผนไทยให้กับนักเรียนอาสาสมัคร
ตวั นอ้ ย รุ่นละประมาณ 40 คนด�ำเนนิ การมาต้งั แต่ปี 2558 มีนักเรียนทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรม จ�ำนวน 200 กว่าคน ต�ำบล
สวนหม่อน จงั หวดั ขอนแกน่ มกี ารถ่ายทอดภมู ปิ ัญญาของผสู้ ูงอายใุ ห้แกค่ นรุ่นลูก หลาน เปน็ การสานสัมพนั ธ์คน 3 วัย
5) การเสรมิ พลงั เครอื ขา่ ยและการสรา้ งกลไกชมุ ชน (“บวร” บ้าน วัด โรงเรียน และรพ.สต.) เพื่อรองรบั สงั คม
สงู วยั เชน่ การสง่ เสรมิ จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพทางปญั ญาหรอื จติ วญิ ญาณ การยดึ มน่ั ในหลกั ศาสนา
และวฒั นธรรมทด่ี ีงาม ลด ละ เลกิ พฤติกรรมทเี่ สย่ี งท�ำใหเ้ กิดอันตรายต่อสุขภาพ

27

รูปธรรม

ความส�ำเร็จ

28

เรื่องเล่าจากตำ� บลรองรบั สงั คมสงู วยั

‘ห้วยโปง่ ’
เดนิ หนา้ 4 ด้าน สร้างชุมชนน่าอยู่

ต�ำบลห้วยโป่งเตรียมความพร้อมขับเคล่ือน/พัฒนานโยบายสาธารณะเป็นไปตาม “ธรรมนูญสุขภาพ& ต�ำบล
/ชุมชน สุขภาวะรองรับสังคมสูงวัย” มาตั้งแต่ปี 2562-2563 และต่อมาเห็นปัญหาจ�ำนวนผู้สูงอายุท่ีมีจ�ำนวนมากขึ้น
จงึ นำ� มาสู่การขบั เคลอื่ นการรองรบั ชุมชนสูงวยั โดยเนน้ ที่กลุ่มอายุ 30-59 ปี ทงั้ คนในพ้ืนท่ี และหนมุ่ สาวท่กี ลบั คืนถิ่น
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ระดมสมองเพื่อร่วมประเมินความเสี่ยง และมองอนาคตของตนเองใน
10-30 ปขี า้ งหนา้ ใน 4 มิติ ทงั้ สขุ ภาพ เศรษฐกจิ สงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม ซึ่งเป็นกลมุ่ ท่ไี ด้รบั ผลกระทบมากทีส่ ุด รวมถึง
รว่ มกนั จดั ทำ� แผน “การพฒั นาและขบั เคลอ่ื นตำ� บล/ชมุ ชนสขุ ภาวะรองรบั สงั คมสงู วยั ตำ� บลหว้ ยโปง่ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั
แม่ฮอ่ งสอน ประจ�ำปงี บประมาณ 2564”

29

‘ขุนยวม’ สรา้ งแกนน�ำชุมชนขับเคล่อื น 4 มติ ิ

ส‘ธรรมนูญสุขภาพ’ รบั สงั คมสงู วัย-สู้ภยั โควดิ
รรหาผพู้ ร้อมจะเปน็ แกนน�ำชมุ ชน วยั ทำ� งาน (อายุ 30-59 ปี) ร้อยละ 80 และผ้สู งู อายุ (อายุ 60 ปี
ขึ้นไป) กับกลุ่มเด็ก-เยาวชน อีกร้อยละ 20 เข้ารับการพัฒนาศักยภาพ เพ่ือมีส่วนร่วมในการ
ขับเคล่ือนการด�ำเนินงานโครงการตั้งแต่ต้นน้�ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ ท่ีเชื่อมโยงกับภาคีต่างๆ
และทีมหนุนระดับต�ำบลติดตามสนับสนุนงาน มีชุดข้อมูลสถานการณ์ของต�ำบล ที่ได้จากกระบวนการการจัดประชุม
แบบสว่ นรว่ ม โดยใชฐ้ านข้อมลู มกี ารวเิ คราะห์ สังเคราะห์ จดั ล�ำดบั ความส�ำคัญของปญั หา จากข้อมูลมือ 1 และมอื 2
ทมี่ ใี นพนื้ ทเี่ พอื่ รว่ มกนั วางแผนการทำ� งาน เชอ่ื มโยงกบั ภาคตี า่ งๆ และตดิ ตามสนบั สนนุ งาน อยา่ งตอ่ เนอื่ งและเปน็ ระบบ

30

เรือ่ งเลา่ จากตำ� บลรองรับสังคมสูงวัย

วัดขวางวางกลไก
บ้าน-วดั -ราชการ สรา้ งผสู้ งู วัยสุขภาพแขง็ แรง

ตำ� บลวดั ขวาง จดั ทำ� โครงการแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพหลายโครงการ อาทิ โครงการ “บา้ นใหมไ่ รพ้ งุ ” ชมุ ชนตน้ แบบ
การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพตามหลกั 3อ3ส ใชพ้ น้ื ทห่ี มู่ 6 เปน็ หมบู่ า้ นตน้ แบบ ใชแ้ ผนทางเดนิ ยทุ ธศาสตรโ์ ครงการ
“แผนทส่ี ขุ ภาพ” คดั เลอื กพน้ื ทท่ี ดลองใชน้ วตั กรรมแผนทส่ี ขุ ภาพ ซงึ่ ทมี สขุ ภาพตำ� บลวดั ขวาง เลอื กพน้ื ทห่ี มู่ 6 บา้ นใหม่
ตำ� บลวัดขวาง เปน็ พน้ื ท่ีทดลองใชน้ วัตกรรม เนอ่ื งจากเป็นพืน้ ที่ทม่ี ผี ู้นำ� ชมุ ชน แกนน�ำ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำ
หมู่บ้าน มศี ักยภาพ ท�ำงานเป็นทมี เปน็ แบบอย่างทด่ี ีในชุมชน
วัดขวางมีจุดแข็งจากภาคี “บวร” หมายถึง “บ้าน (ชุมชน)” ผู้น�ำชุมชนมีบทบาทส�ำคัญในการขับเคล่ือน
กจิ กรรมเพอื่ สขุ ภาพทง้ั กายและใจ “วดั ” ดำ� เนนิ งานผา่ นการจดั กจิ กรรมทางศาสนาเพอื่ ดแู ลสภาพจติ ใจคนในชมุ ชนและ
“ราชการ” มี รพ.สต.วัดขวาง เป็นแกนหลกั น�ำขอ้ มูลสขุ ภาพของประชากรในต�ำบลมาวิเคราะห์เพื่อออกแบบกิจกรรม
ส่งเสริมสขุ ภาพหรอื กิจกรรมอื่นท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน นอกจากน้ียังวางเป้าหมายตอ่ ไปคอื “พัฒนาศกั ยภาพแกนน�ำ
เด็กและเยาวชน” ให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ เพื่อจะได้มาร่วมกันดูแลผู้ป่วย ติดบ้าน ติดเตียง และผู้สูงอายุ
ในชุมชนดว้ ย

31

‘สายล�ำโพง’
ม่งุ สู่สขุ ภาพดี 4 มติ ิ รองรับสงั คมสูงวยั

ต�ำบลสายล�ำโพงมี “โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุของต�ำบล
สายลำ� โพง” ผา่ นการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ดำ� เนนิ การระหวา่ งเดอื น ก.ค. 2563- เม.ย. 2564 แบง่ กลมุ่ เปา้ หมาย
เป็น “กลุ่มผู้สูงอายุ” อายุ 60 ปีข้ึนไป นอกจากน้ันยังมี “กลุ่มแกนน�ำดูแลผู้สูงอายุ” ท้ังที่เป็นผู้สูงอายุด้วยกันเอง
และท่ีเป็นประชากรวัยท�ำงาน ขับเคล่ือน 4 มิติ ได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจ : ส่งเสริมการสร้างรายได้ การออมต้นไม้
2) ดา้ นสภาพแวดล้อม : ส่งเสริมดา้ นการปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมบา้ นใหก้ บั ผูด้ ้อยโอกาส ผู้พิการ และผสู้ ูงอายทุ ่ยี ากจน
3) ด้านสุขภาพ : ส่งเสริมด้านการปรับเปล่ียนพฤติกรรมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นับเป็นกิจกรรมเด่นในพื้นท่ีต�ำบล
สายลำ� โพง 4) ด้านสงั คม : ส่งเสริมการปฏิบตั ิตามมาตรการทางสงั คมในชุมชน

32

เร่อื งเลา่ จากต�ำบลรองรับสงั คมสูงวัย

‘โกรกพระ’ ปรับสภาพแวดลอ้ มรบั สงั คมสูงวัย
‘ชา่ งชมุ ชน-กระบวนการมีส่วนร่วม’ กลไกส�ำคัญ

โกรกพระด�ำเนินงานภายใต้ธรรมนูญสุขภาวะผู้สูงอายุต�ำบลโกรกพระ ประกาศใช้เม่ือวันท่ี 12 ก.ย. 2562
ใช้เป็นเป้าหมายทิศทาง ข้อตกลงและกติการ่วมกันของหน่วยงาน ข้อท่ี 14 บัญญัติไว้ว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ฝ่ายปกครองท้องท่ี ปราชญ์ชาวบ้านและช่างชุมชน พึงให้ความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมการออกแบบและปรับปรุง
สภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัยและส่ิงแวดล้อมในที่สาธารณะให้เหมาะสมปลอดภัยและอ�ำนวยความสะดวกต่อการใช้ชีวิต
ประจำ� วนั ของผสู้ งู อายุ “การปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ ม” จงึ เปน็ เรอื่ งทต่ี อ้ งดำ� เนนิ การเปน็ วาระแรก โดยเฉพาะในครวั เรอื น
ที่ยากจนและผสู้ ูงอายุอาศัยอยู่เพียงล�ำพัง จ�ำนวน 14 หลัง โดยมชี า่ งชมุ ชนท่ีทำ� งานด้วยจิตอาสาแล้ว การด�ำเนินงาน
ยังใช้หลักการเรื่องการมสี ่วนรว่ ม มีการประชมุ แกนน�ำชมุ ชนเพ่ือก�ำหนดบา้ นเปา้ หมายทตี่ อ้ งการปรับปรงุ

33

ล�ำประดาขบั เคลือ่ นต�ำบลจดั การตนเองแกป้ ัญหา
‘สิ่งแวดลอ้ ม-สงั คม’ เช่อื มโยง ‘เศรษฐกิจ-สุขภาพ’

ตำ� บลลำ� ประดา บรหิ ารจดั การตามแนวทาง “ตำ� บลจดั การตนเอง” มาตง้ั แตป่ ี 2553 เรม่ิ จากแนวคดิ ทว่ี า่ “ปญั หา
ของคนลำ� ประดา คนลำ� ประดากต็ อ้ งแกไ้ ขเอง” โดยเปดิ “เวทวี าระประชาชน” รว่ มกบั ชาวบา้ นเปดิ เวทรี บั ฟงั ความคดิ เหน็
อยา่ งรอบดา้ นนำ� ไปสคู่ วามยงั่ ยนื ทกุ วนั ที่ 16 ของเดอื น ไดร้ วบรวมประเดน็ ปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ ในตำ� บลลำ� ประดาและสามารถ
แก้ไข ปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรม เช่ือม่ันว่า การมุ่งเน้นแก้ปัญหาส่ิงแวดล้อมและสังคม หากท�ำได้จะส่งผลเช่ือมโยง
ไปถึงการแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจและสุขภาพด้วย โดยมีตัวอย่างโครงการด้านส่ิงแวดล้อมที่ด�ำเนินการเป็นรูปธรรม
หลากหลายโครงการ อาทิ หา้ มจบั งสู งิ หแ์ ละนกทกี่ นิ หนนู า สรา้ งความเขา้ ใจเรอื่ งการคดั แยกขยะ การปรบั ปรงุ บา้ นเรอื น
ซ่ึงมสี ภาพทรดุ โทรม เปน็ ตน้

34

เรอื่ งเล่าจากตำ� บลรองรับสังคมสงู วยั

พอช. พฒั นา
ชมุ ชน
กศน. เกษตรอ�ำเภอ
อบต.
ชลประทาน สหกรณ์ ล�ำประดา กำ� นัน/ พัฒนาที่ดิน
ผู้ใหญบ่ า้ น

อปพร. โรงเรยี น

คณะกรรมการ กลุม่ สตรี วัด ศูนยช์ ยั
สง่ เสรมิ วสิ าหกจิ พฒั นาฯ

ชุมชน

สนง. ชมรม ภาคีเครอื ขา่ ย รพ.สต. สสว. 8
ยุตธิ รรม อสม.
ชมรม ลำ� ประดาโมเดล สายตรวจฯ
ผู้พกิ าร ต�ำบลจดั การตนเอง

สปสช. ชมรม ศูนย์ ขบวนองค์กร
ผสู้ ูงอายุ เด็กเลก็ ฯ ชุมชน

สสส. สเยภแาาลวเะชดนก็ กองทนุ ศนู ย์
กลุ่ม หม่บู า้ น คณุ ธรรม
โรงปยุ๋ โรงสี ออมทรพั ย์
ชมุ ชน
มสช. วสิ าหกิจ
ชมุ ชน
สนง. จ.พิจิตร
วฒั นธรรม พมจ.

35

‘วงั ยาง’
มุ่งสู่สุขภาพดีอยู่ 100 ปอี ย่างสมบูรณ์

ต�ำบลวังยาง ตระหนักถึงภาวะสังคมสูงวัย โดยเห็นสัญญาณจากพีระมิดประชากรมีลักษณะเป็นฐานแคบ
ตรงกลางพองออก ยอดแคบ 2 ชว่ ง แสดงใหเ้ หน็ วา่ จาํ นวนคนเกดิ และคนตายลดลง จงึ มยี ทุ ธศาสตร์ “สขุ ภาพดี อยู่ 100 ปี
อยา่ งสมบรู ณ์ @ วังยาง” แบง่ การด�ำเนนิ การเป็น
“ดา้ นสขุ ภาพ” โดยจดั ใหม้ ศี นู ยฟ์ น้ื ฟสู ขุ ภาพ สรา้ งกลไกตามแนวคดิ หมอครอบครวั เนน้ ปอ้ งกนั โรคในเบอ้ื งตน้
เพอื่ ลดการแออดั ของผปู้ ว่ ยระยะกลางในโรงพยาบาลระดบั อำ� เภอ และระดบั จงั หวดั นำ� นวตั กรรมทชี่ ว่ ยดแู ลสขุ ภาพของ
คนในต�ำบลมาใช้ เชน่ BP Station (จุดวดั ความดนั ) และ DTX Station (จดุ วดั ระดบั น้�ำตาล) ลดปจั จัยเสยี่ งการเสยี ชวี ิต
กอ่ นวยั อันควรและโรคเรอื้ รัง
“ดา้ นเศรษฐกจิ ” ประกอบด้วย การพฒั นากองทนุ สวสั ดิการชมุ ชนต�ำบลวงั ยาง และบูรณาการระบบการออม
เพื่อยามสูงวัย การส่งเสริม และสนับสนุนคนในชุมชนวัยท�ำงานที่พักอาศัยในต�ำบลวังยาง ท้ังที่เป็นกลุ่มท่ีไม่ใช่ลูกจ้าง
และกลมุ่ ลกู จา้ งเตรยี มความพรอ้ ม เพอื่ การเขา้ สกู่ ารใชช้ วี ติ ยามสงู วยั ในอนาคต การกำ� หนดใหม้ มี าตรการบงั คบั การออม
ของแตล่ ะบคุ คล และจะทยอยคืนใหเ้ จา้ ของเงินพรอ้ มดอกผล และเงนิ สมทบของรฐั
“ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม” จัดให้มีอุปกรณ์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก หรือบริการ ในอาคาร สถานที่ หรือ
บริการสาธารณะอ่นื เพอ่ื ให้กลุ่มผ้เู ปราะบาง (เชน่ ผสู้ ูงอายุ ผ้พู ิการ) สามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้

36

เรื่องเล่าจากตำ� บลรองรับสงั คมสงู วัย

ต�ำบลราชสถติ ย์

รยำ�้ สูงวยั ไมใ่ ช่ภาระ..แตเ่ ปน็ พลังของชุมชน
าชสถิตย์ก่อตง้ั “ชมรมผู้สูงอายตุ �ำบลราชสถติ ย์” ขึ้นในปี 2557 ทำ� ใหก้ ารรวมกลุ่มท�ำกจิ กรรมของ
ผู้สูงอายุในชุมชนที่มีอยู่แล้วเป็นระบบขึ้น มีการวางกฎระเบียบกฎเกณฑ์ รวมถึงก�ำหนดสวัสดิการ
ต่างๆ ปัจจุบันชมรมผู้สูงอายุต�ำบลราชสถิตย์มีสมาชิกเข้าร่วมเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องจากทุกหมู่บ้าน
จ�ำนวน 317 คน ครอบคลุมร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุในต�ำบล นอกจากน้ันยังมี “โรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลราชสถิตย์”
ก่อตง้ั ขึน้ ในปี 2559 รุ่นแรกมีนกั เรยี นประมาณ 100 คน ด้วยเล็งเหน็ วา่ ผูส้ ูงอายทุ สี่ ขุ ภาพแขง็ แรง ตอ้ งมคี วามพร้อม
และสามารถดำ� รงชวี ติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ และไมเ่ ปน็ ภาระพง่ึ พงิ ดว้ ยเปา้ หมาย “รจู้ รงิ ปฏบิ ตั ไิ ด้ ถา่ ยทอดเปน็ ”
นวัตกรรมหน่ึงที่เด่นชัดของโรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลราชสถิต คือการจัดให้มีกิจกรรมอบรมฝึกอาชีพให้กับผู้สูงอายุ
ท�ำให้เกิดกลุม่ อาชีพตา่ งๆ เช่น กลุ่มอาหารแปรรูปปลารา้ สบั สมุนไพร กลุ่มขนมไทย กลมุ่ จกั สาน กลุ่มผกั ปลอดสารพิษ
เปน็ ต้น ชว่ ยให้มรี ายได้เพิ่มขน้ึ จนสามารถดูแลตนเองได้ ลดการพง่ึ พิงคนในครอบครัว

37

“บอ่ แร่” เนน้ ปูพ้ืนฐาน
ท่อี ย-ู่ สขุ ภาพ-สิ่งแวดล้อมดีรบั สังคมสงู วยั

บอ่ แรด่ ำ� เนนิ งาน “มติ ดิ า้ นสงั คม” ดงั น้ี 1) โครงการซอ่ มแซมบา้ นผดู้ อ้ ยโอกาสหมทู่ ่ี 1-7 ตำ� บลบอ่ แร่ โดยประสาน
ของบประมาณสนับสนุนโครงการบ้านพอเพียงชนบท จากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เพ่ือช่วยเหลือรวม 58
หลงั คาเรอื น เปน็ เงนิ ทง้ั สนิ้ 981,000 บาท “มติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ ” ดงั น้ี 1) มกี ารดำ� เนนิ โครงการสนบั สนนุ กลมุ่ อาชพี ภายใน
หมู่บ้าน หมู่ที่ 1-7 การให้ความรู้ในด้านการประกอบอาชีพให้กับประชาชนคนในต�ำบลร่วมถึงผู้สูงอายุ เพื่อสร้างงาน
สร้างอาชีพ สร้างรายได้ “มิตดิ า้ นสุขภาพ” ดงั น้ี 1) โครงการสนบั สนุนกิจกรรมผ้สู ูงอายุและผดู้ อ้ ยโอกาส ผูพ้ ิการและ
ประชาชนทุกช่วงวัยทัง้ ตำ� บล การดูแล สง่ เสรมิ สขุ ภาพผ้สู งู อายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พกิ ารและประชาชนในต�ำบลทุกช่วงวัย
อยา่ งครอบคลมุ ทกุ ดา้ นให้มีสขุ ภาพรา่ งกายที่แข็งแรง “มิติด้านสง่ิ แวดล้อม” ดงั น้ี 1) โครงการแกไ้ ขปัญหาภยั แล้งและ
ปญั หาอทุ กภยั เนอื่ งจากเปน็ พน้ื ทร่ี บั นำ้� ปา่ ทไี่ หลหลากมาจากจงั หวดั อทุ ยั ธานี 2) โครงการธนาคารตน้ ไม้ เบอ้ื งตน้ ตอ่ ยอด
มาจากผทู้ ี่ได้รับการชว่ ยเหลอื ในการซ่อมแซมบ้าน จะเป็นตน้ แบบในการปลูกต้นไม้ “เพอ่ื พอ่ ” หลังละ 3 – 5 ตน้ โดยมี
ทง้ั หมด 5 สายพนั ธ์ุ

38

เร่ืองเล่าจากตำ� บลรองรบั สังคมสงู วัย

เขาไม้แกว้ จบั มือผุด
“ธรรมนูญสขุ ภาพ” สู้ปญั หารอบด้าน

เขาไม้แก้วใช้ “ธรรมนูญสุขภาพต�ำบลเขาไม้แก้ว” เป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชน เพ่ือผลักดันสู่การเป็น
“เรอื นตาย” ของคนในชมุ ชนอยา่ งแทจ้ รงิ โดย “ดา้ นสขุ ภาพ” มี “อาสาสมคั รบรบิ าลทอ้ งถน่ิ ” “ดา้ นสงั คม” ทางโรงเรยี น
รว่ มกับรพ.สต.อบรม “หมอนวดน้อย” คอยเยี่ยมเยอื น คลายความเหงา เยียวยาจิตใจของผู้สูงอายุในวันเสาร์-อาทติ ย์
“ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม” แบ่งออกเป็น 2 สว่ นคอื 1) การพลกิ ฟืน้ ธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม : เสรมิ ประชากรหนั กลบั ใช้เกษตร
อนิ ทรยี แ์ ทนเกษตรเคมี 2) การปรบั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การใชช้ วี ติ ของผสู้ งู อายอุ ยา่ งปลอดภยั : โดยปรบั ปรงุ บา้ นพกั
ให้เหมาะสมและถูกสุขลักษณะในการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุอย่างปลอดภัยด้านเศรษฐกิจ” ได้มีการส่งเสริมอาชีพและ
การมีงานท�ำโดยเร่มิ ต้นจากการพัฒนาคนทกุ กลุ่ม เชน่ “วัยเด็ก” มีการปลูกฝงั ทกั ษะการดำ� รงชีวิต การรจู้ ักทรัพยากร
ในถนิ่ อาหารพน้ื ถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เพอื่ ใหเ้ กดิ การเตบิ โตแบบชมุ ชนทม่ี รี าก รจู้ กั รากเหงา้ ของตน สว่ น “วยั ผสู้ งู อาย”ุ
ได้มีการจดั ต้งั โรงเรยี นผสู้ งู อายุ เพื่อเปน็ พ้ืนท่แี ลกเปลยี่ นรู้ พบปะสังสรรค์ และทำ� กิจกรรมนันทนาการตา่ งๆ เพือ่ คลาย
ความเหงา ใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์

39

‘กระแซง’ ขับเคลือ่ นรองรบั สังคมสูงวัย
ตามธรรมนญู สุขภาพกระแซง แตแ่ ผนสะดุดเพราะโควดิ -19

ตำ� บลกระแชงวางแผนเคล่ือนงานสังคมสูงวัยภายใต้ “ธรรมนญู สุขภาพกระแซง” ไดม้ กี ารจัดประชุมวิเคราะห์
สถานการณแ์ ละรา่ งแผนปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ การขบั เคลอื่ นธรรมนญู สขุ ภาพตำ� บลกระแชง วา่ ดว้ ยการจดั การรองรบั สงั คมสงู วยั
มีความครอบคลุมในทุกมิติของการจัดการรองรับสังคมสูงวัย ทั้งมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ
แต่ในทางปฏิบัติกลับได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ท�ำให้บางกิจกรรม
ทม่ี กี ารรวมกลมุ่ คนจำ� นวนมากกวา่ ตามทคี่ ณะกรรมการควบคมุ โรคตดิ ตอ่ จงั หวดั ปทมุ ธานกี ำ� หนด ไมส่ ามารถดำ� เนนิ การได้
กิจกรรมที่เข้าข่ายการฝึกอบรม เช่น การอบรมหลักสูตรการให้สัญญาณจราจร ส�ำหรับพนักงานร้านอาหารในพ้ืนที่
ท่ที �ำหนา้ ที่ชว่ ยอ�ำนวยการจราจร การประชุมเพอ่ื ให้คำ� แนะน�ำเรอ่ื งการพัฒนาผลติ ภัณฑแ์ ละการเพิ่มชอ่ งทางการตลาด
แบบออนไลน์ การให้สขุ ศึกษาแกเ่ ดก็ และเยาวชนในพน้ื ที่ ในการคุมกำ� เนดิ และการป้องกนั โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์

40

เรื่องเลา่ จากตำ� บลรองรบั สังคมสงู วยั

‘บางปรอก’ เตรียมแผนรบั สังคมสงู วยั
ภายใตธ้ รรมนูญสุขภาพบางปรอก

มีการจัดประชุมประเมินสถานการณ์และจัดท�ำแผนปฏิบัติการการขับเคล่ือนธรรมนูญสุขภาพต�ำบลฯ แต่การ
ดำ� เนนิ โครงการเสรมิ พลงั เครอื ขา่ ยขบั เคลอ่ื นนโยบายรองรบั สงั คมสงู วยั ในภาวะวกิ ฤติ โควดิ -19 ตำ� บลบางปรอก อำ� เภอ
เมืองปทมุ ธานี จังหวดั ปทมุ ธานี ไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 มากพอ
สมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดประชุมแบบ Onsite ไม่สามารถจัดได้เนื่องจากจังหวัดปทุมธานีเป็นพื้นที่สีแดงเข้ม
ส่วนกิจกรรมท่ีสามารถด�ำเนินการได้โดยไม่ต้องมีการฝึกอบรม เช่น การลงพื้นที่ของกองช่าง เทศบาลเมืองปทุมธานี
ซง่ึ ออกปรบั ปรงุ หรือให้คำ� แนะนำ� ในการปรบั ปรุงบา้ น ยงั คงด�ำเนินการได้ตามปกติ

41

‘วดั แก้ว’ สงู วยั มคี ุณภาพชีวติ ดี
ปรับปรงุ สภาพแวดล้อม-เศรษฐกจิ พึง่ ตนเอง

ตำ� บลวดั แกว้ จดั ทำ� ธรรมนญู สขุ ภาพตำ� บลวดั แกว้ เปน็ ขอ้ ตกลงหรอื กตกิ าชมุ ชน ทเ่ี กดิ จากกระบวนการมสี ว่ นรว่ ม
ของคนในต�ำบลวดั แก้ว โดยมเี จตนารมณ์ร่วมกนั ท่ีจะก�ำหนดความต้องการ และแนวปฏบิ ตั ิเพื่อนำ� ไปสู่ ตำ� บลแห่งความ
อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มทดี่ ี และวถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ตำ� บลทป่ี ระชาชน
ทุกช่วงวยั มคี วามพรอ้ ม สามารถรองรบั การเปลีย่ นแปลงสูส่ ังคมสงู วยั

42

เรื่องเล่าจากต�ำบลรองรบั สังคมสงู วยั

‘คูบวั ’ วางฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง
รองรับสงั คมสงู วยั

คบู วั มพี น้ื ฐานของความหลากหลายทางชาตพิ นั ธ์ุ ไดต้ ั้งคณะทำ� งานทมี่ ีส่วนรว่ มจากทกุ ฝา่ ย และขบั เคล่ือนการ
รองรับสงั คมสงู วยั ทัง้ 4 มิติ ดา้ นเศรษฐกจิ : มีการปลกู ผกั ปลอดสารพิษ เศรษฐกจิ พอเพียง นำ� ผลผลิตออกจ�ำหนา่ ย
สร้างมาตรการสง่ เสรมิ การออม เช่น ออมเงิน ออมต้นไม้ ส่งเสริมใหผ้ สู้ ูงอายมุ งี านท�ำ เชน่ การทอผา้ ตนี จก การจกั สาน
การปลูกผกั ปลอดสารพษิ เศรษฐกจิ พอเพียง น�ำผลผลติ ออกจำ� หน่ายกาดวถิ ีชุมชนส่งเสรมิ รายไดส้ ่งเสรมิ การทอ่ งเท่ียว
ฯลฯ ด้านสภาพแวดลอ้ ม : มกี ารปรับสภาพบ้านผูส้ ูงอายุ ปรับสภาพแวดล้อมบา้ น ถนนหนทาง การเดินทาง อาคาร
และสถานท่ีสาธารณะ ด้านสุขภาพ : ชาวบ้านใหม่ ร่วมใจลดภัยความเส่ียงจากโรคเร้ือรังและข้อเข่าเส่ือมในผู้สูงอายุ
เยี่ยมดแู ลผู้สงู อายทุ ม่ี ีภาวะพง่ึ พงิ มกี ารจดั ตัง้ ทีมหมอครอบครัว

43

โนนโหนน

อเน้น “ออมสามช่วงวัย” เพอื่ เกษียณมีสขุ
บต.โนนโหนนเห็นปัญหาของจ�ำนวนผู้สูงวัยท่ีมีจ�ำนวนมากข้ึน ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชุมชน
จึงจัดตั้งคณะท�ำงานเพ่ือขับเคลื่อนรองรับสังคมสูงวัย มีกลุ่มเป้าหมายการท�ำงานตั้งแต่แรกเกิด
ถงึ ผู้สูงอายุ โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั “การออม” ซึง่ เปน็ ส่วนหนึ่งของดา้ นเศรษฐกจิ อยา่ งมาก อาทิ
โครงการ “ออมตน้ ไม”้ สบื เนอื่ งจากปี 2558 ชมุ ชนไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) โดย อบต.โนนโหนน ร่วมกบั ชุมชน โรงเรยี น ศาสนสถาน
ก่อต้ังศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถ่ินตาบลโนนโหนน มีการจัดท�ำฐานข้อมูลต้นไม้ พันธุ์ไม้ เพื่อเป็นฐาน
ทรัพยากรในในชุมชน ทำ� ใหค้ นในชมุ ชนมคี วามร้เู ก่ียวกับต้นไม้มากข้ึน

44

เรื่องเล่าจากต�ำบลรองรับสังคมสงู วยั

‘บุ่งหวาย’ เตรียมรับสงั คมสงู วยั
‘ช่างชมุ ชน-ออมต้นไม้’ พงึ่ ตนเอง-ชุมชนช่วยเหลอื กันได้

บุ่งหวายมีการก่อต้ัง “กลุ่มช่างชุมชนต�ำบลบุ่งหวาย” เน่ืองจากผู้น�ำชุมชนมากกว่ากึ่งหน่ึงจากทั้งหมด 20
หมู่บ้าน มีพืน้ ฐานอาชพี และทักษะดา้ นงานชา่ งมาก่อน สามารถซอ่ มแซมบา้ นเรือนดว้ ยตนเองได้ อีกทัง้ ยังมชี าวบ้านที่
ประกอบอาชีพผลติ เฟอร์นเิ จอรม์ ที กั ษะการใชเ้ คร่อื งมือ วัสดแุ ละอุปกรณ์งานชา่ ง งานไม้ ท่ีผา่ นมาเคยมผี ลงานเด่น คือ
การซอ่ มสะพานขวั ฮกั แพงกนั เองโดยไมใ่ ชง้ บประมาณรฐั แตเ่ กดิ จากจดุ รว่ มในการทำ� ประโยชนเ์ พอ่ื สาธารณะและความ
มงุ่ มนั่ ศรทั ธาในการทำ� บญุ ขณะเดยี วกนั “การออมตน้ ไม”้ กไ็ ดร้ บั ความสนใจจากคนในชมุ ชนอยา่ งมาก การสำ� รวจขอ้ มลู
การออมต้นไม้ของชุมชน

45

‘แสนสุข’ ต้งั ศนู ยส์ ง่ เสริมคณุ ภาพชีวิตขับเคล่อื น 3 มิติ
‘กาย-ใจ-เศรษฐกจิ ’ รบั สงั คมสงู วยั

“สงั คมสูงวัย” จดุ ประกายขบั เคลือ่ น 3 มิติ
มกี ารก่อตง้ั “ศนู ยส์ ่งเสรมิ คุณภาพชวี ิตเพือ่ รองรบั สงั คมสูงวยั ตำ� บลแสนสขุ ” โดยศนู ยฯ์ มกี ารจัดกจิ กรรมใน
3 มิติ ได้แก่
1. มติ ริ า่ งกาย เนน้ การออกกำ� ลงั กายดว้ ยยางยดื เพมิ่ ใหช้ มรมนางรำ� เขา้ มามสี ว่ นรว่ มออกกาลงั กายโดยใชท้ า่ รำ�
ประกอบ กจิ กรรมเขา้ จงั หวะ อาหารและเครื่องด่ืมใหเ้ นน้ จากสมุนไพรทอ่ี ยู่ในสวนสมนุ ไพรภายในวัด

2. มติ จิ ติ ใจ กิจกรรมสวดมนต์ ไหวพ้ ระ น่งั สมาธิ แผเ่ มตตา และใน 1 เดอื น ทา่ นเจ้าอาวาสจะมาสอนธรรมะที่
ศูนยฯ์ อยา่ งนอ้ ย 1 ครั้ง บรเิ วณวดั แสนสุข มีจดุ ให้พักผ่อนหย่อนใจ จัดสวนสมุนไพร เพอื่ เป็นสวนสมนุ ไพรและพชื ผัก
ของชุมชน ทสี่ ามารถนeไปใช้ประโยชน์ รวมท้ังจัดทำ� ตน้ ไม้พูดได้ คตธิ รรมสอนใจ จัดสถานท่ีในการสามารถท�ำกจิ กรรม
ได้สำ� หรับผสู้ งู อายุ โดยบริเวณหนา้ องค์พระโตโคตมะจะเปน็ ทฟ่ี งั ธรรมและเดินจงกรม
3. มติ ิเศรษฐกิจ ยังด�ำเนินตอ่ เน่อื งจากศนู ยส์ ่งเสริมคณุ ภาพชีวติ เดิม แตใ่ หม้ ีผู้ดูแลหลกั แต่ละผลติ ภัณฑ์ และจะ
รว่ มกนั ออกกฎระเบยี บเกย่ี วกบั การจดั ทาและการเบกิ จา่ ยกนั อกี ครง้ั รวมถงึ การสง่ เสรมิ การออมทจี่ ะจดั ทำ� ใหเ้ ปน็ ระบบ

ใมากขึ้น
นมิตดิ า้ นเศรษฐกิจ ยังมีโครงการพัฒนาต่อยอดในพ้นื ท่หี มู่ 6 และหมู่ 7 ประกอบดว้ ย 1) สร้างกิจกรรม
การรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ ได้แก่ การต่อยอดผลิตภัณฑ์พรมเช็ดเท้า ผลิตภัณฑ์จากห่วงถุงเท้า
2) ส่งเสริมตลาดให้กับผลิตภัณฑ์ในชุมชน เช่น การประชาสัมพันธ์ การสร้างช่องทางการขาย เป็นต้น
และ 3) จัดกิจกรรมการอบรมพัฒนาศักยภาพของกลุ่มอาชีพในชุมชน รวมท้ังการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่ามากขึ้น
นอกจากนี้ ศูนย์ฯ ยังจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือถ่ายทอดกิจกรรมสู่ชุมชน สร้างการรับรู้เก่ียวกับสังคมสูงวัยกับคน
ในชุมชน ตลอดจนถ่ายทอดภูมิปัญญาไปสู่เด็กและเยาวชน

46

เรอื่ งเล่าจากต�ำบลรองรบั สงั คมสูงวัย

‘นาง้ิว’ ตน่ื ตวั
ไปไกลกว่าผู้สูงอายุ

ต�ำบลนาง้วิ แตง่ ตั้งคณะทำ� งานจากหลายภาคส่วน (ท้องถ่นิ ทอ้ งที่ หน่วยงาน ประชาสงั คม สภาองค์กรชมุ ชน
ภาคเอกชน ผ้นู ำ� ศาสนา ท�ำความเข้าใจเร่ืองสงั คมสงู วยั กบั คณะท�ำงาน จากน้นั ค้นหากลมุ่ เป้าหมาย 30-59 ปี (80%)
และกลุม่ 60 ปขี น้ึ ไป (20%) จากตวั แทนแกนนำ� ทกุ หมู่บา้ น ประมาณ 50-80 คน เพอื่ สรา้ งความเข้าใจท่ตี รงกันเก่ยี วกับ
การขบั เคลอ่ื นเรอ่ื งสงั คมสงู วยั ทงั้ 4 มติ ิ และพบวา่ ชุมชนไดเ้ สนอแผนการทำ� งาน ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นเศรษฐกจิ เกษตรอนิ ทรยี ์
การทำ� ตลาดสเี ขยี ว 2) ดา้ นสงั คม ขบั เคลอ่ื นกองทนุ สวสั ดกิ ารต่างๆ 3) ด้านส่ิงแวดล้อม ตง้ั คณะกรรมการดูแลปา่ ชมุ ชน
ต้ังคณะบ้านพอเพียงชนบท และ 4) ดา้ นสขุ ภาพ ใชก้ องทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพต�ำบล ธรรมนญู สขุ ภาพ ตลอดจนค้นหา
ปัญหา ความเสี่ยงของกลุ่มเป้าหมายในอนาคต น�ำปัญหาและความเส่ียงของกลุ่มเป้าหมายร่วมกันวางแผนการท�ำงาน
ให้เปน็ จรงิ ตามแผนปฏบิ ัติการ สรปุ การท�ำงานและถอดบทเรียนรว่ มกัน

ตำ� บลนางว้ิ ใชก้ ลไก “โรงเรยี นผสู้ งู อาย”ุ ขบั เคลอ่ื นการแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ ของผสู้ งู อายแุ ละคนในชมุ ชน อาทิ
“การออมเพอ่ื จดั สวสั ดกิ าร (กองบญุ สจั จะเพอื่ จดั สวสั ดกิ ารชมุ ชน)” รวมถงึ “ธนาคารตน้ ไม/้ ปลกู ปา่ ใชห้ น”้ี จดั ทำ� โครงการ
ปลกู ป่าชุมชนร่วมกบั หน่วยงานในพ้ืนที่เปน็ ประจ�ำทุกปี เพ่อื เปน็ การสร้างแหล่งอาหารในชุมชน ใหม้ คี วามอดุ มสมบรู ณ์

47

สวนหมอ่ นเชอื่ มโยงสู่
“ตลาดแบบใหม่ สร้างรายไดส้ ชู่ ุมชน”

ตำ� บลสวนหมอ่ น มตี น้ ทนุ ดา้ นทรพั ยากรทดี่ ี จงึ ไดม้ กี ารวางแผนทจ่ี ะเตรยี มความพรอ้ มเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั โดยการ
ไปศกึ ษาดงู าน และเปดิ เวทปี ระชมุ แลกเปลีย่ น คน้ หาแกนนำ� วางแผนให้เกิดรูปธรรม โดยสร้างเครอื ข่ายเชอ่ื มโยงการ
ตลาดให้กลุ่มผู้ผลิตและกลุ่มผู้บริโภคท่ีอยู่ในท้องถ่ินเดียวกันและต่างถิ่นสามารถท�ำการค้าขายกันได้เพ่ือสร้างโอกาสใน
การแลกเปลย่ี นสนิ คา้ ใหก้ ว้างขวางขึ้น
“การปลูกผักเช่ือมโยงไปสู่การสร้างตลาดสีเขียวริมทาง” น�ำรูปธรรมความส�ำเร็จมาต่อยอดท่ีเร่ิมจากระบบ
เศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมีศนู ย์เรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งเป็นแหล่งเพาะบม่ ความรู้ รวมคนมาขายในทีเ่ ดยี ว เพอ่ื ลกู ค้ามา
กจ็ ะไดม้ สี นิ คา้ ทเ่ี ดยี วกนั และมที กุ อยา่ ง โดยไมแ่ ตเ่ ฉพาะการขายใหค้ นในตำ� บล แตร่ วมถงึ ผคู้ นสญั จรผา่ นไปมากซ็ อ้ื ขายได้
ในอนาคตจะมรี ะบบการวางแผนการออมเงินเพ่อื เตรียมความพร้อมเขา้ สู่สังคมสงู วัยทีจ่ ะมาถึงในอีก 10 ข้างหนา้

48


Click to View FlipBook Version