เร่ืองเล่าจากตำ� บลรองรบั สังคมสูงวัย
‘โนนภิบาล’ ผลกั ดัน ‘อาหารปลอดภยั ’
อดูแลคนทกุ ชว่ งอายุ...สสู่ ังคมสูงวยั สขุ ภาพดี
บต.โนนภบิ าล และภาคเี ครอื ขา่ ย เลอื กผลกั ดนั “อาหารปลอดภยั ” เปน็ วาระเรง่ ดว่ น เพราะไมว่ า่
วยั ใดลว้ นตอ้ งการบรโิ ภคอาหารทปี่ ลอดภยั อกี ทงั้ ยงั ลดโอกาสเจบ็ ปว่ ยของเดก็ -เยาวชน ตลอดจน
คนวยั ทำ� งาน ซงึ่ เปน็ วา่ ทผ่ี สู้ งู อายใุ นอนาคตดว้ ย จงึ เกดิ เปน็ โครงการ “การสรา้ งเครอื ขา่ ยพลเมอื ง
อาหารเพ่ือลดความเหล่อื มล�้ำในการเขา้ ถึงอาหารปลอดภยั ” โดยวิเคราะห์ปญั หาของผเู้ ก่ียวขอ้ ง 4 ฝา่ ย ประกอบด้วย
1) ผู้ผลติ ไมม่ ีบทบาทการทำ� งานในชุมชน ไมม่ กี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้ เข้าไมถ่ งึ ปัจจยั การผลติ ไม่มกี ารรับรองผลผลติ
พ้ืนที่การผลิตมีจ�ำกัด ไม่มีการสร้างและจัดการรายได้ 2) ผู้จ�ำหน่าย ไม่มีช่องทางการจ�ำหน่ายท่ีหลากหลาย ผลผลิต
ไม่เพียงพอ เข้าไม่ถึงแปลงผลิตของเกษตรกร ขาดความเช่ือมั่นและไม่มีการรับรองสินค้า 3) ผู้บริโภค ไม่มีทางเลือก
ในการเข้าถึงอาหารปลอดภัย ไม่ได้รับการสร้างการรับรู้ที่มาของอาหาร ไม่มีการตรวจสอบติดตามเร่ืองอาหาร และ
4) หน่วยงานสนับสนุน พบการท�ำงานทับซ้อนในเรื่องเดียวกัน แต่ละองค์กรเน้นเฉพาะภารกิจขององค์กรเป็นหลัก
การข้ึนทะเบียนรับความชว่ ยเหลอื มีเง่ือนไข ขาดการติดตามน�ำเสนอข้อมลู อย่างมีสว่ นรว่ ม
จงึ มกี ารสร้างแกนนำ� เครอื ขา่ ยพลเมอื งอาหารปลอดภยั แบง่ เป็นตัวแทนผ้ผู ลิต 3 คน ผจู้ ำ� หน่าย 3 คน และ
ผู้บริโภคในส่วนของประชาชนท่ัวไป 3 คน นอกจากนี้ยังมีผู้บริโภคซึ่งเป็นหน่วยงานในพื้นท่ี เช่น อบต. โรงพยาบาล
สง่ เสริมสขุ ภาพต�ำบล โรงเรยี น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เปน็ ต้น จากน้ันมีการศึกษาตัวชวี้ ดั จนเกดิ เปน็ “ธรรมนูญต�ำบล”
นำ� ไปสู่
1. การสรา้ งการรบั รแู้ ละสรา้ งความตระหนกั ทง้ั การเกบ็ ขอ้ มลู แปลงการผลติ ปลอดภยั แลกเปลย่ี นความรอู้ าหาร
ปลอดภยั สรา้ งขอ้ ตกลงการซื้อขายอาหารปลอดภยั และสร้างมาตรฐานอาหารปลอดภัยรว่ มกัน
2. การสรา้ งรปู ธรรมการเขา้ ถึงอาหารปลอดภยั เชน่ ปลกู อาหารปลอดภยั ในครวั เรอื น ตลาดออนไลนอ์ าหาร
ปลอดภยั และรถเรอ่ าหารปลอดภัย นอกจากน้ี ยงั สนบั สนนุ ให้ผู้ย้ายกลบั ภมู ลิ ำ� เนาไดป้ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมอยา่ ง
ปลอดภัย ผา่ นการมอบรมการปลูกพืชระยะสั้นและเหมาะสมกบั ฤดูกาล และให้ความรู้เกี่ยวกบั การท�ำสารไล่แมลงจาก
วัตถุดิบธรรมชาติแทนการใชส้ ารเคมี
ชาวต�ำบลโนนภิบาลเชื่อว่าเป็นการสร้างความปลอดภัยจากอาหาร ท�ำให้คนทุกวัยมีสุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี
เศรษฐกิจกิจดี น�ำไปสผู่ ู้สูงวยั ทคี่ ณุ ภาพชีวิตท่ีดีในอนาคตด้วย
49
50
เรอื่ งเลา่ จากต�ำบลรองรับสังคมสูงวยั
‘หนองเหลก็ ’
ฟน้ื ‘สัมพันธช์ ุมชน’ คนทกุ วัย
วางแผน “บันได 5 ข้นั ” เตรยี มความพร้อมรองรับสงั คมผสู้ งู วยั ประกอบด้วย 1) รับรู้ ตระหนัก โดยประชมุ
ปรบั กระบวนทศั นจ์ ากผู้สูงอาย/ุ สังคมสงู วยั 2) จัดทำ� ข้อมูล โดยรวบรวมขอ้ มูลโครงสร้างพ้นื ฐาน สถานการณเ์ ศรษฐกจิ
สังคม และวัฒนธรรม ทุนทางสังคม 3) จัดต้ังกลไกขับเคล่ือนรองรับสังคมสูงวัย โดยตั้งคณะกรรมการ/คณะท�ำงาน
โดยเฉพาะ 4) จัดกระบวนการ โดยกระบวนการเก็บข้อมูล/ท�ำแผนงานหรือธรรมนูญแบบมีส่วนร่วม ประชุมติดตาม
แลกเปล่ียนเรียนรู้ การดูงาน และ 5) นโยบายรองรับสังคมผู้สูงวัย โดยยุทธศาสตร์ ธรรมนูญต�ำบล ธรรมนูญชุมชน
แผนงาน โครงการ มาตรการ โดยพัฒนาขอ้ เสนอในการจดั กจิ กรรมให้คนในชมุ ชนได้สรา้ งกลไกความสัมพนั ธ์ขน้ึ มาใหม่
เพือ่ ดำ� เนินงานสงั คมสงู วยั ประกอบดว้ ย ครู พระ สภาเด็กเยาวชน สาธารณสขุ ผนู้ ำ� ชมุ ชน หรืออบต. เน่อื งจากความ
สัมพันธ์ในชุมชนเดิมสูญหาย จึงต้องสร้างความสัมพันธ์ใหม่ ในลักษณะกลไกการท�ำงานระดับพื้นท่ี มาช่วยกันแก้ไข
ปัญหาสังคมสูงวัย และจัดความสัมพันธ์ใหม่ภายใต้สถานการณ์ปัจจุบัน นอกจากนี้ ควรพัฒนาข้อเสนอในการค้นหา
ต้นแบบการใช้ชีวิต ท่ีจะสอนให้ลูกหลานรู้ เพ่ือน�ำมาเป็นแบบอย่างในการเผยแพร่ เทคนิค วิธีการ ให้กับผู้สูงอายุ
รายอ่ืนที่สนใจ เนื่องจากปัจจุบันการใช้ชีวิตของเด็ก เยาวชน ได้เปล่ียนไป จึงจ�ำเป็นอย่างย่ิงจะต้องค้นหาต้นแบบ
ผู้สูงอายุทมี่ กี ารถา่ ยทอดการใชช้ วี ติ ให้กับลูกหลานไดด้ ี
51
‘นาขา’ มงุ่ ปลกู ต้นไม้
นสร้างบำ� นาญรองรบั สังคมสงู วยั
าขา เดินหน้าแก้ไขปัญหา 1) ด้านเศรษฐกิจและทุนชุมชน การขับเคลื่อนงานด้านสังคมสูงวัย
สง่ เสรมิ อาชพี ที่เหมาะสม ส่งเสริมการออมทกุ ชว่ งวยั สง่ เสริมการปลูกตน้ ไมเ้ พอ่ื เป็นบ�ำนาญชีวิต
มีส่ิงอ�ำนวยความสะดวก กิจกรรม อาชีพเสริมและการถ่ายภูมิปัญญา สนับสนุนกิจกรรมประชุม
สญั จรชมรมผูส้ งู อายุ และ ส่งเสรมิ สนับสนุนกจิ กรรม “บวร” ออนทวั ร์ 2) ดา้ นสงั คม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถ่นิ
มีกจิ กรรมการถา่ ยทอดภมู ิปญั ญาดา้ นตา่ งๆ เชน่ อาหาร การเกษตร ประเพณีวฒั นธรรม ท�ำกิจกรรมปนิ่ โตหว่ งใยผกู ใจ
ลูกหลานทุกวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือน มีการประชุมสัญจรทุกหมู่บ้าน 3) ด้านสุขภาพ กิจกรรมลองเทอมแคร์ผู้ป่ว
ยติดเตียง คัดกรองเบาหวาน โดยมีกิจกรรม ส่งเสริมให้มีการจัดต้ังศูนย์พัฒนาผู้สูงอายุประจ�ำหมู่บ้านซ่ึงประกอบด้วย
พยาบาล จติ อาสา อสม.อยปู่ ระจ�ำ สง่ เสริม แพทยแ์ ผนไทย 4) ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เตรยี มสถานที่
ในสถานท่ีสาธารณะ ไดแ้ ก่ โรงเรียน วดั สถานทร่ี าชการตา่ งๆรว่ มถงึ ท่อี ยูอ่ าศัย จดั ใหม้ ีทางลาดเพอ่ื อ�ำนวยความสะดวก
หอ้ งนำ�้ มรี าวจบั และโถส้วมแบบชกั โครก
52
เรื่องเลา่ จากต�ำบลรองรับสังคมสงู วัย
‘บางมะพร้าว’ วางแผนกอ่ นเกษียณ
สปลูกตน้ ไม้-เพิ่มรายได้ เนน้ การสร้างชมุ ชนต้นแบบ
ภาองค์กรชมุ ชนตำ� บลบางมะพรา้ ว ส่งเสรมิ ธนาคารตน้ ไมต้ ามทด่ี ินของตนเอง ที่สาธารณะรกรา้ ง
ว่างเปลา่ เสนอต่อหนว่ ยงานของรฐั ให้เป็นรปู ธรรม เป็นอกี หนึ่งรปู ธรรมต่อการรองรับสงั คมสูงวยั
และสามารถทำ� ใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ ปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ รวมทง้ั การปลกู ตน้ ไม้ คอื ความสขุ ทางใจ ความสขุ
ท่ีได้จากการคืนความงดงามแก่ธรรมชาติ รวมทั้งหากค�ำนวณไปอีก 15 ปีข้างหน้า รวมท้ังคัดเลือก “ชุมชนต้นแบบ”
ตามโครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสงั คมรายตำ� บลแบบบรู ณา มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ จ.นครศรธี รรมราช สอดคลอ้ ง
กบั แผนการด�ำเนินงานของ อบต.บางมะพร้าว (พ.ศ.2561-2564) ทมี่ ุง่ พัฒนาดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
และการพฒั นาการท่องเทยี่ ว
53
‘บางด้วน’
เคลอ่ื นรองรบั สังคมสูงวยั 4 มติ ิ
การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของต�ำบลบางด้วน โดยแกนน�ำหลักประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนต�ำบล
บางดว้ น โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บลบางดว้ น ทมี อสม ผนู้ ำ� ทอ้ งที่ ผนู้ ำ� ทอ้ งถน่ิ ชมรมผสู้ งู อายุ และโรงเรยี นผสู้ งู อายุ
กำ� หนดขับเคลอื่ นทั้ง 4 มติ ิ ประกอบดว้ ย มติ ิดา้ นสุขภาพ มติ ดิ า้ นสงั คม มติ ิดา้ นเศรษฐกจิ และมติ ปิ รบั สภาพแวดล้อม
54
เรอ่ื งเล่าจากต�ำบลรองรับสงั คมสูงวัย
‘นาชมุ เห็ด’ ดแู ลผู้สงู อายุ
พรอ้ มชวนวยั ท�ำงานเตรียมตวั กอ่ นเกษยี ณ
“ดา้ นสขุ ภาพ” มกี ลไกกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพ อบต.นาชมุ เหด็ มรี ะบบดแู ลสขุ ภาพระยะยาวดา้ นสาธารณสขุ
ส�ำหรบั ผูส้ งู อายุทมี่ ีภาวะพงึ่ พงิ ในพื้นท่ี (long term care) มี care giver 8 คน และอาสาบริบาล 2 คน ส่งเสริมการออก
กำ� ลงั กาย ไดแ้ ก่ การเต้นบาสโลป แอโรบคิ การเดิน-วง่ิ บรเิ วณพน้ื ที่สาธารณะในชมุ ชน
“ด้านเศรษฐกิจ” มีกลุ่มองค์กรการเงินในชุมชนท่ีส่งเสริมการออมภายในต�ำบล มีกลุ่มเป้าหมายหลักคือ
วยั ทำ� งานตอนกลายถงึ ตอนปลาย อายุ 40-59 ปี และกลุ่มเปา้ หมายรองคอื ผู้สงู อายุ อายุ 60 ปขี น้ึ ไป มกี ล่มุ เปา้ หมาย
เตรยี มรองรับสงั คมสูงวัยอายุระหวา่ ง 40-59 ปี
“ด้านสังคม” มศี ูนย์พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและคนพกิ ารตำ� บลนาชมุ เห็ด มโี รงเรียนผู้สงู อายตุ ำ� บลนาชุมเหด็ และ
ชมรมผสู้ งู อายุ 3 ชมรม เปน็ กลไกในการสง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ การจดั กจิ กรรมและพฒั นาศกั ยภาพผสู้ งู อายุ รวมถงึ กองทนุ
สวสั ดกิ ารต�ำบลนาชุมเห็ดทีจ่ ดั สวัสดกิ ารสงั คมเกิด เจ็บ ตาย ใหส้ มาชิก
“ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม” มกี ลไกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลนาชมุ เหด็ ในการประสานชว่ ยเหลอื การปรบั สภาพบา้ น
ผสู้ งู อายคุ นยากลำ� บากในชมุ ชนกบั หนว่ ยงานภายนอก เกดิ ชา่ งชมุ ชนอาสาทม่ี คี วามรกู้ ารปรบั สภาพบา้ นปลอดภยั 1 คน
มีการสำ� รวจและออกแบบเพอ่ื ปรบั บ้านผู้สูงอายุ 8 หลัง
55
‘กนั ตงั ใต้’
รับสังคมสูงวยั ‘ปรับสภาพแวดล้อม’ วาระเร่งดว่ น
ตำ� บลกนั ตงั ใต้ เลอื กใหค้ วามสำ� คญั กบั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ วาระเรง่ ดว่ นในการขบั เคลอ่ื น โดยออกแบบกจิ กรรม
ประกอบดว้ ย กจิ กรรมการพฒั นากลไกคณะทำ� งาน ไดแ้ กก่ ารประชมุ คณะทำ� งาน กจิ กรรมการพฒั นาชดุ ขอ้ มลู สถานการณ์
เตรียมรองรับสงั คมสงู วยั กจิ กรรมการพฒั นาการปรบั สภาพแวดล้อม ไดแ้ ก่ การพัฒนาหอ้ งตัวอยา่ ง (Mock up rMom)
การปรบั จดุ เสย่ี งบา้ นผู้สงู อายุ และกจิ กรรมสรปุ บทเรยี นการด�ำเนินงาน โดยมอบหมายใหท้ างฝ่ายท้องถิน่ โดยเจา้ หน้าที่
กองสวัสดิการตำ� บลเป็นผูป้ ระสานงาน และได้รับการสนับสนุนดา้ นวิชาการจาก ศนู ยส์ ่งเสริมนวตั กรรมสภาพแวดล้อม
UDC-PSU คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตตรัง) ในการการปรับสภาพแวดล้อม
สนับสนุนสถานท่ีไปศึกษาดงู านท่ีศูนย์ UDC และมีวิทยากรมาถ่ายทอดความรูใ้ ห้กับช่างชมุ ชนและอาสาสมคั รในชุมชน
56
เรอื่ งเลา่ จากตำ� บลรองรับสงั คมสูงวัย
ความทา้ ทาย
ในย่างก้าวต่อไป
57
ข้อค้นพบจากการขับเคล่ือนงานในพน้ื ที่
1) กลไกการขบั เคล่อื นงานที่สำ� คัญ คอื กลไกท้องถ่นิ เนอื่ งจากเปน็ หนว่ ยงานท่ีอยใู่ กล้ชิดกบั พน้ื ที่ มีบทบาท
ภารกิจและงบประมาณในการสนับสนุนการขับเคล่ือนงานผ่านแผนงานงบประมาณประจ�ำปี โดยรองลงมา คือ
ภาคประชาสงั คม ซงึ่ เปน็ องคก์ รกลางในการประสานเชอื่ มโยงหลายฝา่ ยใหม้ าทำ� งานรว่ มกนั เชน่ สภาองคก์ รชมุ ชน สมชั ชา
สสขุ ภาพ ชมรมผสู้ งู อายุ เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี งั มี โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพชมุ ชน อสม. วดั โรงเรยี น เปน็ ผเู้ สรมิ หนนุ ทดี่ ี
2) การขบั เคลอื่ นงานไมส่ ามารถขบั เคลอ่ื นงานโดยหนว่ ยงานหรอื กลมุ่ ใดกลมุ่ หนง่ึ ได้ แตต่ อ้ งมกี ลไกกลาง ใชก้ าร
ประสานความร่วมมือจากหลายฝ่ายท่ีมีเครื่องมือและงบประมาณมาท�ำงานร่วม และหากมี “พี่เล้ียง”ในระดับจังหวัด
หรอื ภาควี ชิ าการมาหนุนเสรมิ การท�ำงานในพ้นื ที่ จะทำ� ใหก้ ารขับเคล่อื นงานดำ� เนินการไดด้ ีย่งิ ข้ึน
3) ถงึ แมจ้ ะมกี ารทำ� บนั ทกึ ความรว่ มมอื เรอื่ งการรองรบั สงั คมสงู วยั ทม่ี กี ารลงนามรว่ มกนั ระหวา่ งสถาบนั พฒั นา
องคก์ รชมุ ชน (พอช.) สภาองคก์ รชมุ ชน สช. และ สป.สว. ซง่ึ เปน็ ขอ้ ตกลงรว่ มกนั วา่ สภาองคก์ รชมุ ชนและ พอช. สนบั สนนุ
การเคลอ่ื นงานในเชิงนโยบาย แต่ในการปฏิบตั ิข้นึ อยกู่ บั ตัวกลไกของพน้ื ท่ี ซึ่งพบวา่ หากแกนนำ� มคี วามเข้าใจ สามารถ
น�ำไปประยุกตห์ รอื บูรณางานของตัวเองเข้าไป ทำ� ใหส้ ามารถยกระดับการท�ำงานได้ เชน่ ช่างชมุ ชน ทีอ่ าจขยายผลไปสู่
ธุรกิจวสิ าหกจิ ชมุ ชน (social enterprise) ได้
4) การให้ความส�ำคัญกับกลไกในพ้ืนท่ีจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ และหากคนท�ำงาน หรือ Key Actor องค์กร ภาคี
มีความเขา้ ใจ ใหค้ วามสำ� คัญ และตระหนักว่าสถานการณ์สงั คมสูงวัยเป็นปญั หาหรือเป็นภาวะวิกฤติและตอ้ งออกแบบ
เพอื่ รองรับสงั คมสูงวัย สามารถบรู ณาการ เช่ือมโยงงานปกติที่มีอยไู่ ปสูค่ ณุ ภาพใหม่ได้ เช่น การเช่ือมโยงการทำ� งานกับ
เครื่องมือหรืองบประมาณของ พอช. ได้แก่ การส่งเสริมเรื่องเศรษฐกิจและทุนชุมชน ผ่านการจัดท�ำแผนธุรกิจชุมชน
การส่งเสริมเรื่องอาชีพ การออมต้นไม้ สถาบันการเงินชุมชน การปรับปรุงบ้านพอเพียงให้เหมาะสมรองรับกับการ
อยู่อาศัยของคนทกุ ช่วงวยั เรือ่ งสวสั ดกิ ารชุมชนดูแลการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ของคนทุกช่วงวยั เป็นตน้
5) กลไกจงั หวดั มคี วามสำ� คญั ทจี่ ะแปลงแผนนำ� งบจงั หวดั มาเคลอื่ นงานได้ เชน่ พมจ. สมชั ชาสขุ ภาพ สภาองคก์ ร
ชมุ ชน เป็นต้น
6) “ผปู้ ระสาน”หรอื “ตัวต่อ”มคี วามสำ� คญั เปน็ อย่างยิ่งทีจ่ ะเป็นคนขบั เคลื่อนใหเ้ กิดความเชื่อมโยงการท�ำงาน
ในระดับพื้นท่ี ซ่ึงตอ้ งเป็นคนที่มลี กั ษณะการท�ำงานติดตามอยา่ งตอ่ เน่อื ง สามารถเขา้ ถงึ และเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยตา่ งๆ ได้
และมคี วามเข้าใจในการขบั เคลอ่ื นระบบรองรบั สังคมสงู วยั เป็นอยา่ งดถี ึงจะท�ำใหส้ ามารถเคลอ่ื นงานในพื้นท่ไี ด้
58
เรอ่ื งเล่าจากต�ำบลรองรบั สงั คมสงู วัย
7) มิติท่ีโดดเด่นในการขับเคลื่อนงาน ได้แก่ มิติเศรษฐกิจ มีการส่งเสริมการออมและการหารายได้ให้กับ
คนในชุมชนทุกช่วงวัยผ่านกลุ่ม/การส่งเสริมเร่ืองอาชีพต่างๆ และการออมซ่ึงมีท้ังในรูปของการออมเงินและไม่ใช่
ตวั เงนิ เพอ่ื เปน็ การสะสมเงนิ ทรพั ยส์ นิ ไวใ้ ชย้ ามแกเ่ ฒา่ เชน่ การออมตน้ ไม/้ ธนาคารตน้ ไม้ รองลงมา คอื มติ ดิ า้ นการปรบั
สภาพแวดล้อมของทอ่ี ยอู่ าศยั โดยใช้เครอื่ งมอื และงบประมาณจากหนว่ ยงานรฐั เชน่ บา้ นพอเพียง สว่ นมิตเิ รอ่ื งสุขภาพ
เปน็ การส่งเสริมสนบั สนนุ ตามบทบาทภารกิจของหน่วยงานในพืน้ ท่ี เช่น รพ.สต. และ อสม.เปน็ หลกั สว่ นกจิ กรรมดา้ น
สงั คม นอกจากเรอื่ งการจดั สวสั ดกิ ารดแู ลคนทกุ ชว่ งวยั แลว้ โดยสว่ นใหญจ่ ะมงุ่ เนน้ ไปทก่ี ารสง่ เสรมิ กจิ กรรมของผสู้ งู อายุ
เปน็ หลกั มสี ว่ นน้อยทจ่ี ะค�ำนงึ ถงึ กิจกรรมของคนวยั อืน่
8) การดำ� เนนิ งานในมติ ติ า่ งๆ ไมส่ ามารถแยกมติ กิ ารทำ� งานไดโ้ ดยเดด็ ขาด เพราะมคี วามเชอ่ื มโยงของแตล่ ะมติ ิ
กันอยู่ ดังนน้ั คนทำ� งานต้องท�ำใหเ้ หน็ ภาพรวม ดงั คำ� กลา่ วทวี่ ่า “เหน็ ช้างท้งั ตัว”
9) การมแี ผนขบั เคลอื่ นรองรบั สงั คมสงู วยั เปน็ สงิ่ สำ� คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะกำ� หนดทศิ ทางและเหน็ ภาคใี นการทำ� งาน
ร่วม ซง่ึ พบว่าการจัดทำ� แผนพัฒนาของพืน้ ที่ เชน่ แผนต�ำบล ธรรมนูญสขุ ภาพ หรือธรรมนูญตำ� บล รวมถึงแผนพฒั นา
ของทอ้ งถน่ิ ยงั เปน็ การสนบั สนนุ หรอื ผลกั ดนั การขบั เคลอื่ นงานในเรอื่ งของผสู้ งู อายเุ ปน็ หลกั ยงั ไมเ่ ปน็ แผนทรี่ องรบั สงั คม
สูงวัยอย่างชัดเจน แตม่ ีบางพนื้ ที่ทีพ่ ยายามผลกั ดนั เรื่องสังคมสูงวยั ในแผนพัฒนาของทอ้ งถ่นิ แตก่ ็ยงั มีน้อย
10) เกดิ การขยายผลของโครงการหลงั จากมกี ารเคลอื่ นงานในระดบั ตำ� บล 1) โดยมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั อตุ รดติ ถ์
ได้รบั งบประมาณจากหน่วยงานอนื่ ในการพัฒนาเร่อื งรองรบั สังคมสูงวยั โดยการทำ� วจิ ยั ในพ้นื ที่ 3 จงั หวัด คอื อตุ รดติ ถ์
แพร่ และนา่ น จำ� นน 13 ตำ� บล โดยใช้กลไกท้องถน่ิ เปน็ หลกั และมกี ารพัฒนานวัตกรแกนหลกั (Capacity Building)
และมีการขับเคลอื่ นงานตามแนวทางของโครงการ 2) การขับเคลอื่ นงานของ สสส.ส�ำนัก 6 เรอ่ื งสังคมสูงวยั ระยะท่ี 2
ซึ่งเปน็ การด�ำเนินงานต่อจากปีทีผ่ ่านมาในพน้ื ท่ีจังหวดั ตา่ งๆ เชน่ จังหวัดตรงั จังหวดั เชยี งใหม่ เปน็ ตน้ ซ่งึ เป็นโอกาสท่ี
หนว่ ยงานทเ่ี ปน็ แหลง่ ทนุ สามารถสนบั สนนุ การขบั เคลอ่ื นรองรบั สงั คมสงู วยั ในพนื้ ทไี่ ดด้ ว้ ยโอกาสทพี่ น้ื ทม่ี กี ารดำ� เนนิ การ
รองรับมาแลว้ ระดบั หนึง่
11) ข้อค้นพบอกี ประการที่ส�ำคัญ คือ การปรับเปลีย่ นแนวคดิ และมุมมองของช่างชุมชน ทจี่ ากเดิมมุ่งเนน้ สรา้ ง
บา้ นที่มัน่ คง แขง็ แรง ปลอดภัยเปน็ หลัก หลงั จากเข้ารว่ มแลว้ มีการคำ� นึงถึงเรือ่ งการปรับปรงุ บา้ นที่เหมาะสมกบั ผู้พกิ าร
และผูส้ งู อายุ ขยายความคดิ สกู่ ารออกแบบท่ีอย่อู าศัยที่ค�ำนึงถงึ คนทุกช่วงวยั
12) การใช้ภูมิปัญญาด้ังเดิมในการขับเคลื่อนงานรองรับสังคมสูงวัย สร้างแนวร่วมในการด�ำเนินงานของคน
ทกุ ช่วงวัยในชมุ ชนผา่ นวิถีวัฒนธรรมและภมู ิปัญญาดัง้ เดมิ ในชมุ ชน
13) พื้นที่ที่มีกลุ่ม/ชมรมผู้สูงอายุท่ีเข้มแข็ง จะสามารถเคลื่อนงานได้เร็ว เน่ืองด้วยหลายพื้นที่ที่มีกลุ่มชมรม
ผูส้ ูงอายุ หรอื โรงเรยี นผูส้ ูงอายอุ ยจู่ ะขับเคล่ือนรว่ มกับท้องถิ่นซงึ่ มภี ารกจิ ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ กลมุ่ ดงั กลา่ ว เพยี งแต่
มกี ารขยายผลการดำ� เนนิ งานทมี่ ากกวา่ กจิ กรรมผสู้ งู อายเุ ปน็ การคำ� นงึ ถงึ คนทกุ ชว่ งวยั โดยอาศยั กลไกเดมิ เปน็ ผขู้ บั เคลอื่ น
59
ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย
1. เสนอให้ผลักดันเร่ืองการขับเคลื่อนการรองรับสังคมสูงวัย เปน็ นโยบายหรือวาระของจงั หวัดให้ ครอบคลมุ
ทุกจงั หวัด เพื่อใหเ้ กิดการขับเคล่ือนนโยบายรองรับสงั คมสงู วัยอยา่ งตอ่ เนื่อง ซึ่งจะเช่อื มโยงกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี
แผนปฏิรปู ดา้ นสังคม แผนผ้สู งู อายุ โดยการขับเคลอื่ นจากระดบั ฐานราก (ชมุ ชนทอ้ งถิน่ จงั หวัด) ท่มี คี วามเชื่อมโยงกบั
ระดบั ชาติ
2. เสนอให้เกิดการปรับเปลยี่ นแนวทาง แผนงานของทกุ หน่วยงานในทกุ ระดบั จากการมงุ่ เนน้ ทก่ี ล่มุ เปา้ หมาย
ผสู้ ูงอายุ เป็นแนวทางแผนงานทค่ี รอบคลมุ ถึงระบบการรองรับสังคมสูงวยั
3. เสนอให้หน่วยงานในระดับพ้ืนท่ี โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ บรรจุเร่ืองระบบการรองรับ
สงั คมสงู วัยเป็นหนง่ี ในภารกิจของหน่วยงาน เนอ่ื งด้วยเปน็ หน่วยงานปฏิบัตกิ ารในระดับพน้ื ที่ มภี ารกิจและงบประมาณ
ในการด�ำเนินงาน
4. เสนอใหม้ ีการจดั ทำ� คูม่ ือแนวทางการขับเคลื่อนระบบรองรับสงั คมสูงวัยของท้องถน่ิ ใหก้ ับหนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ
หรือหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง เพือ่ เปน็ เครื่องมอื ในการขยายพื้นทขี่ ับเคล่ือนงานไดพ้ รอ้ มกันทว่ั ประเทศ
5. เสนอใหม้ กี ลไกกลางทงั้ ระดบั พน้ื ทแี่ ละจงั หวดั ทม่ี คี วามเขา้ ใจและเปน็ ทย่ี อมรบั เปน็ ผปู้ ระสานเชอื่ มโยงความ
รว่ มมอื จากหลายฝา่ ยมาสนบั สนนุ และขบั เคลอื่ นงานรว่ ม โดยใหม้ กี ารแตง่ ตง้ั อยา่ งเปน็ ทางการ ซง่ึ การขบั เคลอ่ื นในระดบั
พ้ืนท่ี จำ� เปน็ ต้องหากลไกหรอื แกนน�ำท่ีมีความเขา้ ใจเรือ่ งนี้ และตอ้ งตอกย�้ำอย่บู อ่ ยๆ มีการสนบั สนนุ ตดิ ตามเสริมพลงั
และให้กำ� ลงั ใจอยา่ งต่อเนื่อง
6. เสนอให้มีการเช่ือมกับกลุ่มองค์กรภาคีในพื้นที่เข้ามาร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อน อาทิเช่น สภาองค์กร
ชุมชน ในการท�ำให้เกิดชา่ งชุมชนเตม็ พ้ืนท่ี โดยผ่านกลไกชา่ งชุมชนของ พอช.
60
สำ� นักงานประสานนโยบายสาธารณะรองรับสงั คมสงู วยั (สป.สว.)
88/39 หมู่ 4 อาคารสขุ ภาพแหง่ ชาติ 14 ถนนติวานนท์ อำ� เภอเมอื ง นนทบรุ ี 11000
เพจ: เครือข่ายสงั คมสงู วัย