The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR ขั้นพื้นฐาน รร.ชุมชนดิฏฐอำรุง 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by matong.phornphi, 2023-07-20 02:54:07

SAR ขั้นพื้นฐาน รร.ชุมชนดิฏฐอำรุง 2565

SAR ขั้นพื้นฐาน รร.ชุมชนดิฏฐอำรุง 2565

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก


ก รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ค าน า การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ได้ให้ความส าคัญการน าผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาของหน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยก าหนด ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยการก าหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนดฯ ตลอดทั้งเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ดังนั้น โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ได้ด าเนินการตามหลักการของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทุกปีการศึกษา และได้จัดท ารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โดยใช้ข้อมูลจากการประเมินตนเอง ตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ในปีการศึกษา 2565 เสนอต่อเขตพื้นที่การศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาเพื่อให้ทราบผลผลิตและผลลัพธ์ที่ เกิดขึ้นตามแผนและตามระบบประกันคุณภาพของสถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาได้ใช้ประโยชน์ในการ ปรับปรุงแผนและระบบประเมินคุณภาพภายในและน าเสนอผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อหน่วยงานต้น สังกัดและสาธารณชนได้รับทราบและรองรับการประกันคุณภาพภายนอกต่อไป โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ขอขอบคุณ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ที่ให้ความร่วมมือและช่วยกันพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาของโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ให้บรรลุเป้าหมายตามที่ก าหนดไว้เป็นอย่างดี นายศราวุฒิ สุพัฒน์ ผู้อ านวยการโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง


ข รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก สารบัญ เรื่อง หน้า ค าน า ก สารบัญ ข ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๑ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 23 มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน 23 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ 33 มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 39 บทสรุปส าหรับผู้บริหาร 44 ภาคผนวก ประกาศโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ค าสั่งโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ปีการศึกษา 2564 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง เลขที่ 1/5 หมู่ 3 ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 เปิดสอนระดับชั้น อนุบาลปีที่ 2 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีเนื้อที่ 6 ไร่ 7 งาน 58 ตารางวา มีนักเรียนในเขตพื้นที่บริการได้แก่ หมู่ที่ 1,2,3 และหมู่ที่ 4 ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ประวัติโรงเรียน โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง หมู่ที่ 3 ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เดิม ชื่อ โรงเรียนวัดมะตูม 2 วัดไผ่ขอน้ า แยกออกจากโรงเรียนประชาบาลโรงเรียนวัดมะตูม 1 วัดมะตูม ซึ่ง ปัจจุบันคือโรงเรียนวัดมะตูม พระครูดิษฐ เจ้าอาวาสวัดไผ่ขอน้ าเป็นผู้ริเริ่มสร้างอาคารเรียน เพื่อเป็นประโยชน์ทาง การศึกษาสร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2481 โดยราษฎรในหมู่บ้านร่วมกันบริจาคเป็นเงินมูลค่า 1,724 บาท เป็นอาคารหลังแรกและได้ช ารุดมากทางโรงเรียนจึงรวบรวมเงินเพื่อรื้อถอนอาคารหลังแรก ปัจจุบันเป็นอาคารหลังที่ 3 โดยใช้แบบแปลนเดิมของหลวงพ่อดิษฐ อาคารหลังนี้สร้างด้วยเงินบริจาคเป็น เงิน 1 ล้าน 5 แสนบาท สร้างเมื่อปี 2538 แล้วเสร็จในปี 2540 ในปี 2517 ได้รับงบประมาณสร้าง อาคารเรียนแบบ ป.1 ฉ ขนาด 3 ห้องเรียน จ านวน 1 หลัง ในปี 2519 ได้รับงบประมาณสร้าง อาคารเรียนแบบ อ.พล.115 ขนาด 4 ห้องเรียน จ านวน 1 หลัง ต่อมาได้ต่อเติมชั้นล่างให้เป็นห้องเรียน อีก 4 ห้องเรียน ในปี 2522 ได้รับงบประมาณสร้างเรือนเพาะช าแบบ พ.1 จ านวน 1 หลัง ปัจจุบันมี อาคารเรียนทั้งหมด 3 หลัง อาคารเอนกประสงค์จ านวน 1 หลัง บ้านพักครู 2 หลัง มีบุคลากรทาง การศึกษา ทั้งหมด 11 คน เป็นครูชาย 1 คน ครูหญิง 10 คน อัตราจ้าง 1 คน มีธุรการโรงเรียน 1 คน และนักการภารโรง 1 คน รายชื่อผู้ด ารงต าแหน่งครูใหญ่และผู้อ านวยการจนถึงปัจจุบัน 1. นายประชุม ตรงต่อกิจ 7 พฤษภาคม 2475 2. นายฮวด ชลายะนนท์ 9 ตุลาคม 2476 3. นายเฉลียว สุวรรณพักตร์ 16 สิงหาคม 2480 4. นายจั่น อุไรวงษ์ 20 เมษายน 2481 5. นายมาลัย อินนาคกูล 15 มิถุนายน 2482 – 2484 6. นายสอง มากศรทอง 7 เมษายน 2485 – 2485


๒ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 7. นายพราม สุขเกิด 10 กันยายน 2486 – 2512 8. นายแก้ว แตงตรง 30 ธันวาคม 2513 – 2514 9. นายยุทธนา สุวรรณารัตน์ 23 สิงหาคม 2515 – 2522 10.นายสุวรรณ คงคล้าย (รักษาการแทน) 1 สิงหาคม 2523 – 2524 11.นายชุด มามี 26 มีนาคม 2525 – 2549 12.นายบุญเสริม สระทองจันทร์ 13 พฤศจิกายน 2549 – 2558 13.นายบรรพต มีเงิน 22 ธันวาคม 2558 - 2561 14.นายอุดม น่วมบาง 29 ธันวาคม 2561 - 2564 15.นายศราวุฒิ สุพัฒน์ 14 ตุลาคม 2564 - ถึงปัจจุบัน . แผนผังโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง รายละเอียด 1. ซุ้มพระประจ าโรงเรียน 7. อาคารอเนกประสงค์/โรงอาหาร 14. สนามฟุตบอล 2. อาคารเรียนหลวงพ่อดิฏฐ 8. อาคารเรียน ป.1ฉ 15. สนามปิงปอง 3. จุดเช็คอินโรงเรียน 9. บ้านพักครู/สหกรณ์ร้านค้า 16-17. สนามเปตอง 4. โรงจอดรถ 10. สนามเด็กเล่น 18. สนามตะกร้อ 5. สวนเศรษฐกิจพอเพียง 11. อาคารเรียน อพล.004 19. สนามวอลเลย์บอล 6. อาคารพยาบาล 12.-13. ศาลารับ-ส่งนักเรียน ทางเข้า ทางเข้า


๓ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ข้อมูลผู้บริหาร ผู้อ านวยการโรงเรียน ชื่อ-สกุล นายศราวุฒิ สุพัฒน์ โทรศัพท์ 099-3692220 e-mail:[email protected] วุฒิการศึกษาสูงสุด ดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ ด ารงต าแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2564 จนถึง ปัจจุบัน 1.2 แนวทางการจัดการศึกษา วิสัยทัศน์ . มุ่งยกระดับการศึกษาสู่สากล เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นเลิศ เสริมทักษะภาษาอังกฤษ ในการสื่อสาร ยึดมั่นคุณธรรมจริยธรรม น้อมน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ พัฒนาสิ่งแวดล้อม น่าอยู่ รู้ทันเทคโนโลยี มีส่วนร่วมของชุมชน ดนตรีพื้นบ้านมังคละ พันธกิจ 1. ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ 2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม 4. จัดการศึกษาโดยน าเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในหลักสูตรสู่การปฏิบัติ จริง 5. พัฒนาสื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 6. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 7. ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสร้างภาคีเครือข่ายเพื่อ สนับสนุนการจัดการศึกษา 8. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ดนตรีมังคละ เป้าประสงค์ 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระอยู่ในระดับดี 2. นักเรียนมีทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกมีสื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถ จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ 4. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวัน 5. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 6. นักเรียนมีทักษะด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ดนตรีมังคละ เอกลักษณ์ “ สืบสานภูมิปัญญาดนตรีพื้นบ้านมังคละ ” . อัตลักษณ์ “ เป็นเลิศทางวิชาการ สืบสานภูมิปัญญา ”


๔ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก สีประจ าโรงเรียน “ สีเหลือง - สีเขียว ” อักษรย่อ “ ด.ร. ” . โครงสร้างการบริหาร ในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมา โรงเรียนได้ด าเนินการบริหารงานในด้านต่าง ๆ ทั้ง 4 งาน เพื่อ พัฒนาการเรียนการสอนได้บรรลุผลดียิ่งขึ้นกว่าปีการศึกษาที่ผ่านมา 1. การบริหารงานวิชาการ งานวิชาการถือเป็นงานหลักของโรงเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนจึงมีการจัดท าหลักสูตร สถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น มีการจัดท าแผนการสอนที่น าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ใน การจัดการเรียนการสอน มีการพานักเรียนไปศึกษาหาความรู้จากห้องพิเศษภายในสถานศึกษาและภายนอก สถานศึกษา ซึ่งได้รับความร่วมมือจากองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต าบลมะตูม ส าหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้าน การเรียนรู้ในสาระต่าง ๆ นั้น ครูมีการสอนซ่อมเสริมให้ดีขึ้น มีการพัฒนาเด็กที่มีความสามารถพิเศษในด้าน การเรียนการสอนคณะครูจะสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และปรัชญาน าเศรษฐกิจพอเพียงมาอบรมและฝึก ปฏิบัติจริงเพื่อให้นักเรียนน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พร้อมทั้งโรงเรียนได้จัดบรรยากาศในห้องเรียนและนอก ห้องเรียนให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นความสะอาดพร้อมใช้งาน สวยงามและปลอดภัย 2. การบริหารงบประมาณ โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยแบ่งเป็นรายหัวก่อนประถมรายหัวละ 1,700 บาท/คนและระดับประถมศึกษาหัวละ 1,900 บาท/คน เมื่อทางโรงเรียนได้รับจัดสรรจาก สพฐ. แล้วทางโรงเรียนได้จัดสรรตามแผนโดยมีคณะกรรมการครู และคณะกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและอนุมัติโครงการที่คณะครูเสนอเน้นการพัฒนาการทางด้านวิชาการ บุคลากร บริหารทั่วไป ให้เป็นไปตามล าดับความส าคัญของแต่ละงานโดย ทางโรงเรียนได้น างบประมาณไป จัดซื้อวัสดุทางการศึกษา ปรับปรุงภูมิทัศน์ ให้สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนการสอน นอกจากนี้ยังได้รับ เงินนอกงบประมาณจาก องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต าบลมะตูม สนับสนุนในด้านกีฬา กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน อาหารเสริมนม อาหารกลางวัน และได้รับเงินสนับสนุนการศึกษานอกสถานที่ยังแหล่งเรียนรู้ศูนย์การ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และยังได้รับงบประมาณจัดสรรซ่อมอาคาร อาคารเรียน ทางโรงเรียนได้น างบมา ซ่อมแซมอาคารเรียนหลังที่ 1 โดยการพัฒนาห้องธุรการและพัฒนาอาคารอเนกประสงค์ในระบบ สาธารณูปโภค จัดท าห้องประกอบอาหารให้ถูกสุขลักษณะมากขึ้น 3. การบริหารงานด้านบุคลากร ทางโรงเรียนได้เห็นความส าคัญของการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการเรียนการ สอน และมีการพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงานมีความเป็นมืออาชีพ ด้วยการส่งเสริมให้ครู เข้าอบรมพัฒนาตามความเหมาะสม ตามที่ทางส านักงานเขตพื้นที่จัดการอบรม และเข้าร่วมอบรมกับ หน่วยงานอื่น ๆ ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากทางโรงเรียนและของตนเอง จนท าให้ครูมีความรู้ ความสามารถ ในการจัดการเรียนการสอน โดยยึดเด็กเป็นส าคัญและน าความรู้ที่ได้มาท าวิทยฐานะทางด้าน วิชาการ ให้สูงขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อนักเรียนในการน านวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนแต่ละ ชั้นท าให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น


๕ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก นอกจากนั้นทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้ครูไปศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อน าความรู้และประสบการณ์ ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการการเรียนการสอนและพัฒนาโรงเรียน ส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นและ ได้รับการประเมินในรอบที่ 3 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของส านักงานการประเมินมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ภายนอก (สมศ.) 4. การบริหารทั่วไป การด าเนินงานตามนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษานั้น จะเน้นเด็กในด้านคุณธรรม จริยธรรม ดังนั้นทางโรงเรียนจึงจัดท าโครงการธรรมศึกษา โดยมี พระมาสอนธรรมให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และได้น านักเรียนไป สอบนักธรรมตรี นักธรรมโท และนักธรรมเอก จนได้รับประกาศนียบัตรนักธรรมตรี นักธรรมโทและนักธรรม เอก มีโครงการประชาธิปไตยในโรงเรียน ฝึกให้นักเรียนเป็นผู้น าที่รับผิดชอบภายในโรงเรียน เช่น การเข้าแถว ให้เป็นระเบียบ การเข้าห้องประชุม การรับผิดชอบและดูแลบริเวณโรงเรียน ซึ่งก็ได้ผลเป็นที่น่าพอใจและเกิด การยอมรับซึ่งกันและกัน ส่วนด้านสุขภาพจัดให้มีอาหารกลางวันและอาหารเสริมนมครบถ้วน ท าให้นักเรียนมี สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ซึ่งมีผลท าให้นักเรียนมีการพัฒนาการทางด้านร่างกาย และสติปัญญาดีขึ้น ซึ่งในส่วนนี้ได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือจากองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต าบลมะตูมและชุมชนเป็นอย่างดี ด้านกีฬาทางโรงเรียน ได้จัดการแข่งขันกีฬาสีภายในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกาย แข็งแรงสมบูรณ์ มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีความรับผิดชอบ รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัยและได้ใช้เวลาให้เกิด ประโยชน์ ซึ่งในส่วนนี้จะเป็นเกราะป้องกันให้เด็กห่างไกลจากสิ่งเสพติด โครงสร้างการบริหารการจัดการศึกษา โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง


๖ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก กรอบงานการบริหารงาน 4 ฝ่าย การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานบริหารทั่วไป 1. การพัฒนาหรือการด าเนินการ 1. การจัดท าแผนงบประมาณและ 1. การวางแผนอัตราก าลัง 1. การพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูล เกี่ยวกับการให้ความเห็นการ ขอตั้งงบประมาณเพื่อเสนอต่อ 2. การจัดสรรอัตราก าลังข้าราชการครู สารสนเทศ พัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น เลขาธิการส านักงานคณะกรรมการ และบุคลากรทางการศึกษา 2. การประสานงานและพัฒนา 2. การวางแผนด้านงานวิชาการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง เครือข่ายสถานศึกษา 3. การจัดการเรียนการสอนใน 2. การจัดท าแผนการใช้จ่ายเงินตามที่ได้ 4. การเปลี่ยนต าแหน่งให้สูงขึ้น 3. การวางแผนการบริหารงาน สถานศึกษา รับจัดสรรงบประมาณจากส านักงาน การย้ายข้าราชการครูและบุคลากร การศึกษา 4. การพัฒนาหลักสูตรในสถานศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทางการศึกษา 4. งานวิจัยเพื่อพัฒนานโยบาย 5. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 3. การอนุมัติการจ่ายงบประมาณที่ 5. การด าเนินการเกี่ยวกับการ และแผน 6. การวัดผล ประเมินผล และ ได้รับจัดสรร เลื่อนขั้นเงินเดือน 5. การจัดระบบการบริหารและ ด าเนินการเทียบโอนผลการเรียน 4. การขอโอนและขอเปลี่ยนแปลง 6. การลาทุกประเภท พัฒนาองค์กร 7. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ งบประมาณ 7. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 6. การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน การศึกษาในสถานศึกษา 5. การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 8. การด าเนินการทางวินัยและ 7. งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 8. การพัฒนาและส่งเสริมให้มี 6. การตรวจสอบ ติดตามและรายงาน การลงโทษ 8. การด าเนินงานธุรการ แหล่งเรียนรู้ การใช้งบประมาณ 9. การสั่งพักราชการและการสั่ง 9. การดูแลอาคารสถานที่และ 9. การนิเทศการศึกษา 7. การตรวจสอบ ติดตามและรายงาน ให้ออกจากราชการไว้ก่อน สิ่งแวดล้อม 10.การแนะแนว การใช้ผลผลิตจากงบประมาณ 10.การรายงานการด าเนินการ 10.การจัดท าส ามะโนประชากร 11.การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ 8. การระดมทรัพยากรและการลงทุน ทางวินัยและการลงโทษ 11.การรับนักเรียน ในและมาตรฐานการศึกษา เพื่อการศึกษา 11.การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ 12.การเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับ 12.การส่งเสริมชุมชนให้มีความ 9. การปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ได้รับมอบ 12.การจัดระบบและการจัดท า การจัดตั้ง การยุบรวมหรือ เข้มแข็งทางวิชาการ หมายเกี่ยวกับกองทุนเพื่อ การศึกษา ทะเบียนประวัติทางการศึกษา เลิกสถานศึกษา 13.การประสานความร่วมมือในการ 10.การบริหารจัดการทรัพยากร 13.การจัดท าบัญชีรายชื่อและการ 13.การประสานงานหรือจัดการศึกษา พัฒนาวิชาการกับสถานศึกษา เพื่อการศึกษา ให้ความเห็นเกี่ยวกับการเสนอขอ ในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย และองค์การอื่น 11.การวางแผนพัสดุ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 14.การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา 14.การส่งเสริมและสนับสนุน 12.การก าหนดรูปแบบรายการหรือ 14.การส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะ 15.การทัศนศึกษา งานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว คุณลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์ ข้าราชการครูและบุคลากรทางศึกษา 16.การส่งเสริมงานกิจการนักเรียน องค์กรหน่วยงาน สถานศึกษา หรือสิ่งก่อสร้างที่ใช้งบประมาณ 15.การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ 17.การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา และสถานประกอบการอื่นที่ เพื่อเสนอต่อเลขาธิการ 16.การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและ 18.การส่งเสริม สนับสนุนและประสาน จัดการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพ งานการจัดการศึกษาของบุคคล 15.การจัดท าระเบียบและแนวปฏิบัติ 13.การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 17.การส่งเสริมวินัย คุณธรรม จริยธรรม องค์กร หน่วยงานและสถาบัน เกี่ยวกับงานด้านวิชาการของ เพื่อการจัดท าและจัดหาพัสดุ ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากร สังคมอื่นที่จัดการศึกษา สถานศึกษา 14.การจัดหาพัสดุ ทางการศึกษา 19.งานประสานราชการส่วนภูมิภาค 16.การคัดเลือกหนังสือแบบเรียน 15.การควบคุมดูแล บ ารุงรักษาและ 18.การริเริ่มส่งเสริมกาขอรับใบอนุญาต และส่วนท้องถิ่น เพื่อใช้ในสถานศึกษา จ าหน่ายพัสดุ ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากร 20.การายงานผลการปฏิบัติงาน 17.การพัฒนาสื่อและการใช้สื่อ 16.การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน ทางการศึกษา 21.การจัดระบบการควบคุมภายใน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 17.การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน 19.การพัฒนาข้าราชการครูและ หน่วยงาน และการจ่ายเงิน บุคลากรทางการศึกษา 22.แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อปรับ 18.การจัดท าบัญชีการเงิน เปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษ 19.การจัดท ารายงานทางการเงินและ นักเรียน งบการเงิน 20.การจัดท าหรือจัดหาแบบพิมพ์ บัญชี ทะเบียนและรายงาน


๗ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก รูปแบบการบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จัดการ เรียนการสอนตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโดยยึดหลักสูตรแกนกลางและด าเนินการตามนโยบายเรียน ฟรี 15 ปี ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา Chumchonditumrung School Model รูปแบบระบบบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ใช้รูปแบบ 3R8C ร่วมกับวงจร คุณภาพ PDCA มีขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ P=Plan ร่วมคิด ร่วมกันวางแผน การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ และแผนปฏิบัติการประจ าปี โดยก าหนดเป้าหมาย จัดท าแผนตามเป้าหมาย แนวทางการด าเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ รับผิดชอบ และการประเมินผล โดย มีการประชุมร่วมกันระหว่าง โรงเรียน ผู้อ านวยการ ครู บุคลากร และ ชุมชน ประกอบด้วย คณะกรรมการ สถานศึกษา และ ผู้น าชุมชน ร่วมกัน D=Do ร่วมท า การด าเนินงานต่อเนื่องจากการวางแผน โดยจัดให้มีการประชุมชี้แจง มอบหมายผู้รับผิดชอบ ให้การ สนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากร บุคลากร และ มีการวางแผนการนิเทศ แนะน า ก ากับ ติดตาม เพื่อให้งาน เป็นไปตามแผนที่ก าหนด


๘ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก C=Check ร่วมรับผิดชอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มีการประเมินผล ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา และสาเหตุที่เกี่ยวข้อง เปรียบเทียบระหว่างเป้าหมายที่ก าหนดกับผลการด าเนินงานตามแผน ร่วมกันหาข้อดีข้อเสีย เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ จากการตรวจสอบเป็นประโยชน์ส าหรับขั้นตอนต่อไป A=Action ร่วมภาคภูมิใจในความส าเร็จหรือความล้มเหลวร่วมกัน ขั้นตอนการด าเนินงานให้เหมาะสม น าผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น จากขั้นตอนที่แล้ว ร่วมกันปรับปรุงแก้ไข ประเมินความส าเร็จของงาน และวางแผนงานส าหรับครั้งต่อไป ให้มีเป้าหมายที่สูงขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาต่อไป โดยใช้วงจรคุณภาพเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ( 3R8C ) Reading อ่านออก (W) Riting เขียนได้ (A) Rithmetic มีทักษะในการค านวณ 8C Critical Thinking and Problem Solving คิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะการแก้ปัญหา Creativity and Innovation ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม Cross-cultural Understanding ด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม Collaboration,Teamwork and Leadership ด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีม ภาวะผู้น า Communications, Information , and Media Literacy ด้านการสื่อสารสารสนเทศ รู้เท่าทันสื่อ Computing and ICT Literacy ด้านทักษะคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ Career and Learning Skills ทักษะอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ Compassinon มีความเมตตากรุณา มีคุณธรรม มีระเบียบวินัย 3R


๙ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 1.3 ข้อมูลบุคลากรปีการศึกษา 2565 1) จ านวนบุคลากรจ าแนกตามต าแหน่ง เพศ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ในต าแหน่ง จ านวนชั่วโมง 1.1 สายการสอนระดับปฐมวัย ที่ ชื่อ - นามสกุล ต าแหน่ง เพศ วุฒิการศึกษา สูงสุด วิทยฐานะ อายุประสบ การณ์ จน.ชม.ที่ สอน/ สัปดาห์ จน.ชม.ที่ได้ พัฒนา/ปี. 2565 ช. ญ. 1. นายศราวุฒิ สุพัฒน์ ผู้บริหาร สถานศึกษา PH.D. การจัดการ ช านาญการพิเศษ 31 ปี 5 20 2. นางกาญจนา เกตุพงษ์ ครู กศ.ม. ช านาญการพิเศษ 16 ปี 2 เดือน 25 45 3. นางนนทิยา ตรงต่อกิจ ครู กศ.ม. ช านาญการ 10 ปี 2 เดือน 25 45 1.2 สายการสอนระดับขั้นพื้นฐาน ที่ ชื่อ - นามสกุล ต าแหน่ง เพศ วุฒิการศึกษา สูงสุด วิทยฐานะ อายุประสบ การณ์ จน.ชม.ที่ สอน/ สัปดาห์ จน.ชม.ที่ได้ พัฒนา/ปี. 2565 ช. ญ. 1. นายศราวุฒิ สุพัฒน์ ผู้บริหาร สถานศึกษา PH.D. การจัดการ ช านาญการพิเศษ 31 ปี 5 20 2. นางสาวส าเริง มั่นดี ครู ค.บ. ช านาญการพิเศษ 34 ปี 7 เดือน 18 20 3. นางกมลฉัตร เนียมหอม ครู ค.บ. ช านาญการพิเศษ 32 ปี 8 เดือน 18 25 4. นางวรพรรณ ศรีกล่ า ครู ค.ม. ช านาญการพิเศษ 31 ปี 4 เดือน 22 20 5. นางสุนันทา แสนโสภณ ครู กศ.บ. ช านาญการ 39 ปี 7 เดือน 25 20 6. นางวัลภา รัตนะทิพย์ ครู ศศ.บ. - 3 ปี 4 เดือน 25 20 7. นางสาวพรพิรุณ เขียวอรุณ ครูผู้ช่วย วท.บ. - 2 ปี 7 เดือน 22 30 8. นางสาวศิริลักษณ์ ค าบุทอง ครูผู้ช่วย ค.บ. - 2 ปี 7 เดือน 22 30 9. นางอัญชิศฐา ผาทอง พนักงานราชการ กศ.ม. - 22 ปี 25 20 10. น.ส.มัจฉาชาติ เนียมหอม ครูอัตราจ้าง บท.บ. - - - - 11. นายชาญ รุ่งฉัตร นักการ ม.ศ.5 - - - - 12. นางสาววรรณา เกิดมุด ธุรการ ศศ.บ. - - - 10 จ านวนครูที่สอนตรงวิชาตรงเอก ..............10................. คน คิดเป็นร้อยละ .........100......... จ านวนครูที่สอนตรงความถนัด .................-.................. คน คิดเป็นร้อยละ ...........-.............. สาขาที่ขาดแคลนครูวิชา ……………………-……………………จ านวน……………....-.....….……..…คน


๑๐ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 1.4 ข้อมูลนักเรียนปีการศึกษา 2565 1) จ านวนนักเรียนจ าแนกตามระดับชั้น เพศ ระดับชั้น เพศ รวม(คน) หมายเหตุ ชาย หญิง (จ านวนห้องเรียนที่เปิด) -อนุบาล 1 (อายุ 3-4 ปี) - - - - -อนุบาล 2 (อายุ 4-5 ปี) 6 7 13 1 -อนุบาล 3 (อายุ 5-6 ปี) 10 8 18 1 รวม 16 15 31 2 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 6 8 14 1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 6 9 15 1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 14 4 18 1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 8 5 13 1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 8 7 15 1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 9 11 20 1 รวม 51 44 95 6 รวมจ านวนนักเรียนทั้งหมด 64 62 126 8 2) จ านวนนักเรียนลักษณะพิเศษปีการศึกษา 2565 จ าแนกตามคุณลักษณะ ระดับชั้น คุณลักษณะ พิการ ด้อยโอกาส ความสามารถพิเศษ - อนุบาล 1 (อายุ 3-4 ปี) - - - - อนุบาล 2 (อายุ 4-5 ปี) - - - - อนุบาล 3 (อายุ 5-6 ปี) - - - รวม - - - - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - - - - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 - - - - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 - - - - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - - - - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - - - - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 - - - รวม - - - รวมทั้งหมด - - -


๑๑ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 1.5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET,NT) ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET, NT) ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ปีที่ 6 จ าแนกตามรายวิชาหรือด้าน ที่ กลุ่มสาระ ผลการประเมิน (ค่าเฉลี่ย) ปี การศึกษา หมายเหตุ (แนวโน้มที่จะเป็นไปได้) 2562 2563 2564 ผลการทดสอบ NT 1 ความสามารถด้านภาษาไทย 54.75 60.59 51.92 ค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดับประเทศ 2 ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ 53.83 63.54 49.07 3 ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 2 ด้าน 54.29 62.06 50.50 ผลการทดสอบระดับชาติพื้นฐาน O-NET 1 กลุ่มสาระภาษาไทย 65.30 59.68 67.43 ค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดับประเทศ 2 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ 40.50 45.47 50.35 3 กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 44.81 37.17 45.36 4 กลุ่มสาระภาษต่างประเทศ 55.00 43.13 48.66 1.6 รางวัลที่โรงเรียนได้รับในรอบปีการศึกษา 2565 ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง 2566 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-net) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศทั้ง 4 และมีคะแนนรวม เป็นอันดับที่ 1 ของเขตพื้นที่ ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 16 มกราคม 2566 รางวัล “ครูดีเด่น” ประจ าปี 2566 นางสาวส าเริง มั่นดี นางกาญจนา เกตุพงษ์ ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3


๑๒ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง 27 มกราคม 2566 รางวัล “ห้องเรียนคุณภาพ” ทุกชั้นเรียน ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 3-5 กุมภาพันธ์ 2566 รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรม การประกวดเล่านิทานคุณธรรม ระดับชั้น ป.4 - ป.6 - เด็กหญิงธัญกานต์ บัวปลี - นางกาญจนา เกตุพงษ์ (ครูผู้สอนนักเรียน) กระทรวงศึกษาธิการ 8 กันยายน 2565 รางวัล “โรงเรียนคุณภาพแก้ไขภาวะ ถดถอยทางการเรียนรู้ส าหรับนักเรียน Learning Loss” ระดับคุณภาพยอด เยี่ยม ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 5 กรกฏาคม 2565 รางวัล “สถานศึกษาปลอดภัย” ประจ าปี พ.ศ.2565 ปีที่ 1 กรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญเงิน การแข่งขันคัดลายมือสื่อภาษาไทย ระดับชั้น ป.1 - ป.3 -เด็กหญิงณฐา ค าภีระไพร -นางวัลภา รัตนะทิพย์ (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3


๑๓ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.4 - ป.6 -เด็กหญิงวิมลนันท์ ตรงต่อกิจ -นางสาวส าเริง มั่นดี (ครูผู้สอนนักเรียน) รางวัล ระดับเหรียญทองแดง การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.1 - ป.3 -เด็กชายพิธิภัทร ถิ่นทับ -นางอัญชิศฐา ผาทอง (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญเงิน การแข่งขันอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ป.4 - ป.6 -เด็กหญิงนุสรา อินทรักษ์ -เด็กหญิงสุพรรษา ตรงต่อกิจ -เด็กชายภวพล แสงสุวรรณ -นางสาวพรพิรุณ เขียวอรุณ -นางอัญชิศฐา ผาทอง (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3


๑๔ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง ชนะเลิศ การประกวดเล่านิทานคุณธรรม ระดับชั้น ป.4 - ป.6 -เด็กหญิงธัญกานต์ บัวปลี -นางกาญจนา เกตุพงษ์ (ครูผู้สอนนักเรียน) รางวัล ระดับเหรียญทอง การประกวดเล่านิทานคุณธรรม ระดับชั้น ป.1 - ป.3 -เด็กหญิงนิชาภา ถินทับ -นางกาญจนา เกตุพงษ์ (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง การประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ป.1 - ป.3 -เด็กหญิงภาพิมล บุตรวงศ์ -เด็กชายพัสกร ภาพเสน่ห์ -นางสาวจิตตรา ตรงต่อกิจ -นางวรพรรณ ศรีกล่ า (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3


๑๕ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง รางวัล ระดับเหรียญเงิน การประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ป.4 - ป.6 -เด็กหญิงพิชญดา ไชโย -เด็กชายอิทธิพล หมีทอง -นางสาวจิตตรา ตรงต่อกิจ -นางวรพรรณ ศรีกล่ า (ครูผู้สอนนักเรียน)


๑๖ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทหญิง ระดับชั้น ป.1 - ป.6 -เด็กหญิงกานต์ธิดา มีชัย -นางสาวจิตตรา ตรงต่อกิจ (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง การแข่งขันสร้างการ์ตูนด้วยโปรแกรม กราฟิก ระดับชั้น ป.1 - ป.3 -เด็กหญิงกมลทิพย์ อัญชาลี -เด็กชายสิทธิโชค แสงโต -นางสาวพรพิรุณ เขียวอรุณ -นางวัลภา รัตนะทิพย์ (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3


๑๗ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง การแข่งขันการใช้โปรแกรมน าเสนอ ระดับชั้น ป.4 - ป.6 -เด็กหญิงวรรณพิมล ตรงต่อกิจ -เด็กชายธนันชัย ชัยณรงค์ (ครูผู้สอนนักเรียน) -นางสาวมัจฉาชาติ เนียมหอม -นางสาวศิริลักษณ์ ค าบุทอง ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันการเล่านิทาน ประเภท นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ป.1 - ป.6 -เด็กชายศุภกร สิทธิศักดิ์ -นางกาญจนา เกตุพงษ์ (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3


๑๘ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ 1 การปั้นดินน้ ามัน ระดับปฐมวัย -เด็กหญิงกมลชนก อัญชาลี -เด็กหญิงญาดา ถินทับ -เด็กหญิงศุภิสรา ด ามินเศก -นางนนทิยา ตรงต่อกิจ -นางอัญชิศฐา ผาทอง (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 14-15 ธันวาคม 2565 รางวัล ระดับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ 2 การแข่งขันการประดิษฐ์งานใบตอง ประเภทบายศรีปากชาม ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ป.1 - ป.6 -เด็กหญิงกัญญาณัฐ ค าคง -เด็กหญิงพรรัมภา เกียวซี ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3


๑๙ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง -เด็กชายศักฑกานต์ ชาญส าโรง 14-15 ธันวาคม 2565 -นางอัญชิศฐา ผาทอง -นางสาวพรพิรุณ เขียวอรุณ (ครูผู้สอนนักเรียน) ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 9 กันยายน 2566 รางวัล ชนะเลิศ กีฬาแข่งขันกีฬา เครือข่ายพรหมพิราม 2 การแข่งขันกรีฑา รุ่นอายุ 9 ปี ระยะทาง 80 เมตร (หญิง) 1. เด็กหญิงนิตย์ชาภัค มายิ้ม เครือข่ายโรงเรียน อ าเภอพรหมพิราม 2 9 กันยายน 2566 รางวัล ชนะเลิศ กีฬาแข่งขันกีฬา เครือข่ายพรหมพิราม 2 การแข่งขันกรีฑา รุ่นอายุ 12 ปี ระยะทาง 80 เมตร (ชาย) 1. เด็กชายภวพล แสงสุวรรณ เครือข่ายโรงเรียน อ าเภอพรหมพิราม 2


๒๐ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปี รางวัล หน่วยงาน หลักฐานอ้างอิง 9 กันยายน 2566 รางวัล ชนะเลิศ กีฬาแข่งขันกีฬา เครือข่ายพรหมพิราม 2 การแข่งขันกรีฑา รุ่นอายุ 12 ปี ระยะทาง 80 เมตร (หญิง) 1. เด็กหญิงนุสรา อินทรักษ์ เครือข่ายโรงเรียน อ าเภอพรหมพิราม 2 9 กันยายน 2566 รางวัล ชนะเลิศ กีฬาแข่งขันกีฬา เครือข่ายพรหมพิราม 2 การแข่งขันกรีฑา รุ่นอายุ 9 ปี ระยะทาง 100 เมตร (หญิง) 1. เด็กหญิงนิตย์ชาภัค มายิ้ม เครือข่ายโรงเรียน อ าเภอพรหมพิราม 2 9 กันยายน 2566 รางวัล ชนะเลิศ กีฬาแข่งขันกีฬา เครือข่ายพรหมพิราม 2 การแข่งขันกรีฑา รุ่นอายุ 12 ปี ระยะทาง 100 เมตร (หญิง) 1. เด็กหญิงนุสรา อินทรักษ์ เครือข่ายโรงเรียน อ าเภอพรหมพิราม 2 9 กันยายน 2566 รางวัล ชนะเลิศ กีฬาแข่งขันกีฬา เครือข่ายพรหมพิราม 2 การแข่งขันกรีฑา รุ่นอายุ 12 ปีผลัด 4×100 เมตร (ชาย) 1. เด็กชายภวพล แสงสุวรรณ 2. เด็กชายพิพิธน สุขสุวรรณ 3. เด็กชายอภิวิชญ์ ธรรมโลกา 4. เด็กชายณัฐดนัย นวนเกิด เครือข่ายโรงเรียน อ าเภอพรหมพิราม 2 9 กันยายน 2566 รางวัล ชนะเลิศ กีฬาแข่งขันกีฬา เครือข่ายพรหมพิราม 2 การแข่งขัน เปตอง รุ่นอายุ 12 ปี (ชาย) เครือข่ายโรงเรียน อ าเภอพรหมพิราม 2 9 กันยายน 2566 รางวัล ชนะเลิศ กีฬาแข่งขันกีฬา เครือข่ายพรหมพิราม 2 การแข่งขัน ฟุตบอล รุ่นอายุ 9 ปี (ชาย) เครือข่ายโรงเรียน อ าเภอพรหมพิราม 2


๒๑ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 1.7 ข้อมูลอาคารสถานที่ ข้อมูลอาคารสถานที่ ประกอบด้วย จ านวนอาคาร จ านวนห้องประกอบ อาคารเรียนจ านวน 3 หลัง อาคารประกอบจ านวน 1 หลัง ห้องน้ า 15 ห้อง สนามเด็กเล่น 1 สนาม สนามฟุตบอล 1 สนาม สนามวอลเล่ย์บอล 1 สนาม 1.8 ข้อมูลงบประมาณ ที่ แหล่งงบประมาณ จ านวน 1 งบประมาณในระบบ เงินอุดหนุนทั่วไปโครงการเรียนฟรี 15 ปี (สพฐ.) 274,423 บาท ปัจจัยพื้นฐานเด็กยากจน 12,000 บาท 2 งบประมาณนอกระบบ เงินรายได้สถานศึกษา 128,000 บาท รวมงบประมาณปีการศึกษา 2565 414,423 บาท 1.9 สภาพชุมชนโดยรวม 1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับวัดไผ่ขอน้ าและชุมชน หมู่ที่ 3 ทิศตะวันออกติดกับแม่น้ าน่าน ทิศใต้ติดกับชุมชนหมู่ที่ 2 บ้านท่าไชย ทิศตะวันตกติดกับถนน ในชุมชนหมู่ 2 มีประชากรประมาณ 4,042 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดไผ่ขอน้ า วัด ท่าไชย องค์การบริหารส่วนต าบลมะตูม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลมะตูม อาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ท าบุญกลางบ้าน ท าบุญฉลองแม่โพสพ แข่งขันเรือยาว 2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ชั้นประถมศึกษา อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 15,000 บาท จ านวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว 5 คน 3) โอกาสและข้อจ ากัดของโรงเรียน อยู่ในบริเวณวัดไผ่ขอน้ าและได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากวัด ชุมชน ผู้น าชุมชนและ องค์การบริหารส่วนต าบลมะตูม โดยการสนับสนุนอุปกรณ์การศึกษา ทุนการศึกษา แหล่งเรียนรู้ที่อยู่ ใกล้โรงเรียนได้แก่ สวนป่าวัดท่าไชย องค์การบริหารส่วนต าบลมะตูม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล มะตูม วัดไผ่ขอน้ าและวัดท่าไชย


๒๒ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 1.10 แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ภายใน สถิติการใช้ จ านวนครั้ง/ปี แหล่งเรียนรู้ภายนอก สถิติการใช้ ชื่อแหล่งเรียนรู้ ชื่อแหล่งเรียนรู้ จ านวนครั้ง/ปี 1. ห้องสมุด 40 1. องค์การบริหารส่วนต าบลมะตูม 4 2. ห้องคอมพิวเตอร์ 80 2. วัดท่าไชย 4 3. ห้องภาษาอังกฤษ 200 3. วัดไผ่ขอน้ า 20 4. ห้องวิทยาศาสตร์ 200 4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลมะตูม 2


๒๓ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ส่วนที่ 2 ผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการประเมินในภาพรวม ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ไม่ บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่เป็น 2565 2565 กระบวนการเพื่อพัฒนา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 78.73 84.82 บรรลุ 1.1) มีความสามารถในการอ่าน การ เขียน การสื่อสารและการคิดค านวณ 52.41 58.40 บรรลุ 1.1.1) นักเรียนชั้น ป.3 มีผลการสอบ NT ค่าเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ ร้อยละ 3 52.50 50.50 ไม่บรรลุ - ผลการทดสอบ NT - รายงานผลการ วิเคราะห์ผลการ ทดสอบ NT โครงการยกผลสัมฤทธิ์ ทางวิชาการของผู้เรียน 1.1.2) นักเรียนชั้น ป.3 มีผลการ ประเมินความสามารถด้านภาษา (Literacy) ค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดับชาติร้อยละ 3 55.86 51.92 ไม่บรรลุ - ผลการทดสอบ NT - รายงานผลการ วิเคราะห์ผลการ ทดสอบ NT โครงการยกผลสัมฤทธิ์ ทางวิชาการของผู้เรียน 1.1.3) นักเรียนชั้น ป.3 ผลการประเมิน ความสามารถด้านการค านวณ (Numberacy) ค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดับชาติร้อยละ 3 49.12 49.07 ไม่บรรลุ - ผลการทดสอบ NT - รายงานผลการ วิเคราะห์ผลการ ทดสอบ NT โครงการยกผลสัมฤทธิ์ ทางวิชาการของผู้เรียน 1.1.4) นักเรียนชั้น ป.1 มีผลการ ประเมินความสามารถด้านการ อ่านของผู้เรียน (Reading Test:RT) ค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดับชาติร้อยละ 3 77.28 91.00 บรรลุ - ผลการทดสอบ RT - รายงานผลการ วิเคราะห์ผลการ ทดสอบ RT โครงการยกผลสัมฤทธิ์ ทางวิชาการของผู้เรียน 1.1.5) นักเรียนชั้น ป.6 มีผลการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ค่าเฉลี่ยสูง กว่าระดับชาติร้อยละ 3 39.72 52.95 บรรลุ - ผลการทดสอบ O-NET - รายงานผลการ วิเคราะห์ผลการ ทดสอบ O-NET โครงการยกผลสัมฤทธิ์ ทางวิชาการของผู้เรียน


๒๔ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ไม่ บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่เป็น 2565 2565 กระบวนการเพื่อพัฒนา 1.1.6) นักเรียนร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ การประเมินด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนตาม หลักสูตร 80 100 บรรลุ - แบบสรุปการอ่าน คิด วิเคราะห์และ เขียน - เอกสารการวัดและ ประเมินผลผู้เรียน ปพ.5, ปพ.6 - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทาง วิชาการของผู้เรียน - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมวัดและ ประเมินผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน 1.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา 90 100 บรรลุ 1.2.1) นักเรียนร้อยละ 100 ได้เรียนรู้ แบบ PBL (Project Based Learning) และ STEM และมีผล ผ่านการประเมินในระดับ “พอใช้” ขึ้นไป 100 100 บรรลุ แบบประเมินผลการ จัดการเรียนรู้ตาม แนวทาง STEM Education - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทาง วิชาการของผู้เรียน - กิจกรรมการจัดการ เรียนรู้แบบโครงงาน และ STEM 1.2.2) นักเรียนร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ การประเมินด้านการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนตามหลักสูตร 80 100 บรรลุ - แบบสรุปการอ่าน คิด วิเคราะห์และ เขียน - เอกสารการวัดและ ประเมินผลผู้เรียน ปพ.5, ปพ.6 - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทาง วิชาการของผู้เรียน - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมวัดและ ประเมินผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน - กิจกรรมส่งเสริม ความสามารถในการ อ่าน การเขียน การ สื่อสารและการคิด ค านวณ 1.3 ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 80 83.15 บรรลุ 1.3.1) นักเรียนร้อยละ 80 มีการสร้าง ชิ้นงาน นวัตกรรมการเรียนรู้ใน รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น PBL (Project Base Learning) / STEM กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 80 83.15 บรรลุ - แบบประเมินผล การจัดการเรียนรู้ ตามแนวทาง STEM Education - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทาง วิชาการของผู้เรียน - กิจกรรมการจัดการ เรียนรู้แบบโครงงาน


๒๕ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ไม่ บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่เป็น 2565 2565 กระบวนการเพื่อพัฒนา และ STEM 1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 80 90.16 บรรลุ 1.4.1) นักเรียนร้อยละ 80 มีชิ้นงาน,ภาระ งาน ที่ได้สืบค้นและสรุปสังเคราะห์ โดยใช้อินเทอร์เน็ต หรือ ICT - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 อย่างน้อย 1 ภาระงาน/ภาคเรียน - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 อย่างน้อย 3 ภาระงาน/ภาคเรียน 80 90.56 บรรลุ - แบบสรุปผลการ การประเมินด้าน การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ - ผลงานนักเรียน - โครงการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ - กิจกรรมการจัดการ เรียนการสอนรายวิชา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 1.4.2) นักเรียนร้อยละ 80 มีผลการ ประเมินการใช้เทคโนโลยีตาม หลักสูตร (วิชาวิทยาศาสตร์ สาระ เทคโนโลยี) 80 89.77 บรรลุ - แบบสรุปผลการ ประเมินด้านการใช้ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ - การวัดผล ประเมินผลวิชา วิทยาการค านวณ - ผลงานนักเรียน - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน - กิจกรรมการจัดการ เรียนการสอนรายวิชา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี - กิจกรรมวัดและ ประเมินผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน 1.5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา 70 77.22 บรรลุ 1.5.1) มีค่าเฉลี่ยรวมร้อยละของผลการ ทดสอบทุกลุ่มสาระของสถานศึกษา ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 70 70 77.22 บรรลุ - แบบรายงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปพ.5, ปพ.6 - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน - กิจกรรมการจัดการ เรียนการสอนในชั้น เรียน (ขั้นพื้นฐาน) - กิจกรรมวัดและ ประเมินผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน 1.6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดี ต่องานอาชีพ 100 100 บรรลุ 1.6.1) นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วม กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้/ ชุมนุม/โครงงานอาชีพและผ่าน 100 100 บรรลุ - แบบรายงานสรุป ผลโครงการพัฒนา วิชาชีพในรงเรียน - โครงการพัฒนา วิชาชีพในโรงเรียน - โครงการยกระดับ


๒๖ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ไม่ บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่เป็น 2565 2565 กระบวนการเพื่อพัฒนา เกณฑ์การประเมินในระดับ “พอใช้” ขึ้นไป ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน - กิจกรรมการจัดการ เรียนการสอนในชั้น เรียน (ขั้นพื้นฐาน) - กิจกรรมวัดและ ประเมินผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน 1.6.2) นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วม กิจกรรมชุมนุมและผ่านเกณฑ์การ ประเมินในระดับ “พอใช้” ขึ้นไป 100 100 บรรลุ - แบบรายงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปพ.6 - แบบรายงานสรุป ผลโครงการดนตรี มังคละและ ดุริยางค์ - โครงการดนตรี มังคละและดุริยางค์ - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน - กิจกรรมการจัดการ เรียนการสอนในชั้น เรียน (ขั้นพื้นฐาน) - กิจกรรมวัดและ ประเมินผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 95.50 99.10 บรรลุ 2.1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษาก าหนด 90 100 บรรลุ 2.1.1) นักเรียนร้อยละ 90 ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 90 100 บรรลุ - แบบบันทึก คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียน - แบบรายงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปพ.5, ปพ.6 - โครงการพัฒนา คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ 2.1.2) นักเรียนร้อยละ 90 ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคุณธรรมอัตลักษณ์ของ สถานศึกษา 90 100 บรรลุ - แบบบันทึก การประเมิณ คุณธรรมอัตลักษณ์ ของผู้เรียน - รายงานโครงการ คุณธรรม - โครงการโรงเรียน คุณธรรม สพฐ. ปีการศึกษา 2565 ระดับ 2 ดาว 2.2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็น ไทย 100 100 บรรลุ


๒๗ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ไม่ บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่เป็น 2565 2565 กระบวนการเพื่อพัฒนา 2.2.1) นักเรียนร้อยละ 100 แต่งกายด้วย ชุดพื้นเมืองทุกวันศุกร์ 100 100 บรรลุ - ภาพถ่าย - โครงการพัฒนา คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ 2.2.2) นักเรียนร้อยละ 100 ร่วมกิจกรรม เกี่ยวกับการสืบสานศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่นอย่างน้อย 1 กิจกรรม คือ กิจกรรมดนตรีพื้นบ้านมังคละ 100 100 บรรลุ - แบบรายงานสรุป โครงการดนตรี มังคละและ ดุริยางค์ - แบบรายงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปพ.6 - โครงการดนตรี มังคละและดุริยางค์ 2.2.3) นักเรียนร้อยละ 100 ร่วมกิจกรรม วันส าคัญและประเพณี 100 100 บรรลุ - รายงานการสรุป กิจกรรมวันส าคัญ - ภาพถ่าย - โครงการพัฒนา คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ 2.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ แตกต่างและหลากหลาย 100 100 บรรลุ 2.3.1) นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการฝึก ในบทบาทการเป็นผู้น า ผู้ตามใน รูปแบบสภานักเรียน กิจกรรม ลูกเสือ-เนตรนารี 100 100 บรรลุ - แบบรายงานสรุป โครงการกิจกรรม ลูกเสือ-เนตรนารี - แบบสรุปโครงการ การส่งเสริม ประชาธิปไตยใน โรงเรียน - โครงการกิจกรรม ลูกเสือ-เนตรนารี - โครงการการส่งเสริม ประชาธิปไตยใน โรงเรียน 2.4สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 92 96.42 บรรลุ 2.4.1) นักเรียนร้อยละ 80 มีน้ าหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 85.26 บรรลุ - แบบสรุปและ ประเมินผลภาวะ โภชนาการนักเรียน - งานอนามัย - กิจกรรมส่งเสริม สุขภาพอนามัย - กิจกรรมอาหารเสริม นม - กิจกรรมอาหาร กลางวัน - กิจกรรมประเมิน ภาวะโภชนาการ 2.4.2) นักเรียนร้อยละ 80 มีสมรรถภาพ ทางกายผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 80 96.84 บรรลุ - แบบสรุปผลการ ทดสอบ - กิจกรรมการทดสอบ สมรรถภาพ


๒๘ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ไม่ บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่เป็น 2565 2565 กระบวนการเพื่อพัฒนา สมรรถภาพ นักเรียน 2.4.3) นักเรียนร้อยละ 100 เล่นกีฬา อย่างน้อย 1 ชนิด 100 100 บรรลุ - แบบรายงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปพ.6 - แบบสรุปกิจกรรม การแข่งขันกีฬา ภายในและกลุ่ม เครือข่าย - กิจกรรมกีฬาสี - กิจกรรมกีฬา เครือข่าย - กิจกรรมการจัดการ เรียนการสอนรายวิชา พละศึกษา 2.4.4) นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่นเครื่องดนตรีได้อย่างน้อย 1 ชนิด 100 100 บรรลุ - แบบสรุปโครงการ ดนตรีมังคละและ ดุริยางค์ - แบบวัดประเมินผล การเรียนกิจกรรม ชุมนุมดนตรีมังคละ - โครงการดนตรี มังคละและดุริยางค์ - กิจกรรมชุมนุมดนตรี มังคละ 2.4.5) นักเรียนร้อยละ 100 มีผลงานทาง ศิลปะอย่างน้อย 1 ชิ้น 100 100 บรรลุ - การจัดการเรียน การสอนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ศิลปะ - ผลงานนักเรียน - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ค่าเฉลี่ย 87.11 91.96 ได้มาตรฐานคุณภาพ 2. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ตามศักยภาพของผู้เรียนและเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและก าหนด โครงการ/กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในหลากหลายวิธีการ เช่น กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน กิจกรรมการ แข่งขันทักษะทางวิชาการ กิจกรรมการเขียนเรียงความ กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ การบูรณาการตัวชี้วัด ของการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ร่วมกับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและน าผลการ ประเมินมาปรับปรุงแก้ไขความสามารถในการอ่านคิดวิเคราะห์ การเขียน การสื่อสารและการคิดค านวณ ตาม รูปแบบและวิธีการที่ก าหนดอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการขับเคลื่อนการด าเนินงานแก้ไขภาวะถดถอยทางการ


๒๙ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เรียนรู้ของผู้เรียน Learning Loss นโยบายของเขตพื้นที่ โดยการจัดกิจกรรม สอนเสริม เติมความรู้ ฟื้นฟูภาวะ ถดถอย ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านการอ่าน การค านวณ และการจัดกิจกรรมได้รับรางวัลอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ล าดับที่ 3 ของเขตพื้นที่ มีการส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ผ่านการจัดการ เรียนรู้แบบ Active Learning และ STEM ส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่างเต็มศักยภาพ และ โรงเรียนได้มีการจัดโครงการกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะชีวิตของผู้เรียน เช่น ทักษะอาชีพ มีการจัดกิจกรรม 1 ห้องเรียน 1 อาชีพ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะอาชีพเพิ่มเติมจากการเรียนในรายวิชาหลัก รวมถึงส่งเสริม และเน้นด้านคุณธรรมจริยธรรม ผ่านโครงการโรงเรียนคุณธรรม ระดับ 2 ดาว ส่งผลให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ที่ดีสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โรงเรียนจัดกิจกรรมที่นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการสืบสาน ประเพณี กิจกรรมวันส าคัญทางศาสนาและภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมนุมดนตรีพื้นบ้านมังคละ นอกจากนี้ยังได้รับ การพัฒนาและส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ผ่านส่งเสริมทางด้านกีฬาและศิลปะ ส่งผลให้นักเรียนมี สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีพฤติกรรมที่เหมาะสมห่างไกลยาเสพติดและอบายมุขต่างๆ 3. ผลการด าเนินงาน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและ การคิดค านวณ สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษาก าหนด ซึ่งเป็นผลจากโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรู้ของผู้เรียน กิจกรรมยกระดับผลการทดสอบ RT, NT และ O-NET - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน (Reading Test : RT) ร้อยละ 91.00 ค่าเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบ NT (National Test) ด้านภาษา ร้อยละ 51.92 ด้านการค านวณ ร้อยละ 49.07 และมีค่าเฉลี่ยรวม ร้อยละ 50.50 ต่ ากว่าระดับประเทศ - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ ทั้ง 4 วิชา คือ ภาษาไทย, คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ และมี คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ร้อยละ 52.95 สูงกว่าระดับประเทศ - นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนตามหลักสูตร ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 จาก การประเมินและตัดสินผลการเรียน ซึ่งเป็นผลมาจากจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีนิสัยรักการ อ่าน บันทึกรักการอ่านทั้งห้องเรียนในทุกระดับชั้น กิจกรรมการเรียนการสอนจากการแจกลูก สะกดค าการ เขียนไทย เขียนเรื่องจากภาพ การเขียนเรียงความ การเขียนเรื่องตามจินตนาการ กิจกรรมส่งเสริมการใช้ ห้องสมุด กิจกรรมการศึกษาแหล่งเรียนรู้การเรียนรู้ด้วยโครงงานและกระบวนการกลุ่ม การจัดการเรียนรู้โดย ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และน าเสนอผลงาน กิจกรรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร กิจกรรมค าศัพท์ ภาษาอังกฤษวันละค า บูรณาการภาษาอังกฤษเข้ากับรายวิชาต่างๆ จัดกิจกรรมสนทนาภาษาอังกฤษหน้าเสาธง กิจกรรมภาษาไทยวันละค า และ กิจกรรมการท่องสูตรคูณก่อนเลิกเรียน กิจกรรมคณิตคิดเร็ว กิจกรรมส่งเสริม ความเป็นเลิศทางวิชาการส่งเสริมผู้เรียนเต็มศักยภาพและการขับเคลื่อนการด าเนินงานแก้ไขภาวะถดถอย ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน Learning Loss นโยบายของเขตพื้นที่ โดยการจัดกิจกรรม สอนเสริม เติมความรู้


๓๐ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ฟื้นฟูภาวะถดถอย ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านการอ่าน การค านวณ ส่งผลให้การประเมินตนเอง บรรลุค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ผ่านกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ STEM โดยเน้นกิจกรรมที่เหมาะสมกับช่วงวัย เช่น ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมจรวดจากหลอดพลาสติกและนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เรียนรุ้ผ่านกิจกรรมรถพลังงานลม และกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน การสอนโดย เน้นกระบวนการกลุ่ม กิจกรรมการทดลองการสอนแบบบูรณาการ สรุปแผนผังความคิด ผู้เรียนมีผลการ ประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สูง กว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน กิจกรรมเสริมทักษะการอ่าน สรุป ความจากการบันทึกการอ่าน กิจกรรมการเขียนเรื่องจากภาพ การเขียนเรียงความและกิจกรรมส่งเสริมความ เป็นเลิศทางวิชาการ ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 100 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม นักเรียนมีผลงานเป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด จากการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนสร้างนวัตกรรม เช่น การสร้างชิ้นงานจากการเรียนรู้แบบ STEM, การ สร้างโปรเจ็คงาน จากการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี รวมถึงการจัดกิจกรรมบูรณาการพัฒนา วิชาชีพผ่านโครงงานอาชีพ 1 ผลิตภัณฑ์ 1 ห้องเรียน เช่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 2 กิจกรรมขนมปังเนย กรอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กิจกรรมขนมชั้นใบเตย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กิจกรรมสายคล้อง Mask ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 กิจกรรมขนมครกไข่นกกระทาและชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กิจกรรมน้ ายาล้างจานจาก มะนาว ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 83.15 อยู่ในระดับ ดีเลิศ ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมถึงความสามารถในการ สืบค้นข้อมูลโดยใช้อินเตอร์เน็ตได้ ผ่านเกณฑ์การประเมินในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและมีความสามารถในการสร้างชิ้นงานเทคโนโลยี จากการเรียนรู้ โปรแกรม Paint word, excel, PowerPoint และโปรแกรม Scratch ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็น ร้อยละ 90.16 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีเกรดเฉลี่ยแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 77.22 สูงกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด และผลการทดสอบการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ ทั้ง 4 สาระวิชา เป็นผลจากการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Active Learning ตาม มาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตร ครูผู้สอนทุกระดับชั้นจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Active Learning ตาม นโยบายเขตพื้นที่ การจัดท าโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวิเคราะห์คะแนนจากผลสอบ วิเคราะห์ตัวชี้วัดที่เป็นจุดเด่น จุดอ่อนและศึกษา Test – Blueprint (O-NET) ศึกษาคลังข้อสอบจากเว็บไซต์ ต่างๆ เช่น กิจกรรมการสอนซ่อมเสริมในเวลาและนอกเวลาเรียน กิจกรรมสอนเสริม เติมความรู้ ฟื้นฟูภาวะ ถดถอย การจัดหาแบบฝึกเสริมทักษะ การวัดผลประเมินผล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ที่โรงเรียน ก าหนดและนักเรียนเรียนจบหลักสูตรตามเวลาที่ก าหนด ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 77.22 อยู่ในระดับ ดี ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ โดยสถานศึกษาได้จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน จากกิจกรรมโครงงานอาชีพ 1 ผลิตภัณฑ์ 1 ห้องเรียน เช่น ชั้นประถมศึกษาปี


๓๑ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ที่ 1 – 2 กิจกรรมขนมปังเนยกรอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กิจกรรมขนมชั้นใบเตย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กิจกรรมสายคล้อง Mask ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กิจกรรมขนมครกไข่นกกระทาและชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กิจกรรมน้ ายาล้างจานจากมะนาว กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้สร้างความรู้ และ พัฒนาทักษะส าคัญที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต พัฒนาทักษะอาชีพ เช่น การท าแปลงผักตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง มีโรงเพาะเห็ดนางฟ้าและสระเลี้ยงปลาดุก โดยทางโรงเรียนได้ด าเนินการตามแผนปฏิบัติ ราชการ ตามขั้นตอนของ PDCA และมีผลสรุปตามโครงการ ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 100 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีผลการ ประเมินระดับดีขึ้นไป ผ่านเกณฑณ์ที่สถานศึกษาก าหนดและผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมอัตลักษณ์ มีวินัย พอเพียง มารยาท ยิ้มไหว้ทักทาย เป็นผลจากการจัดกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน โดยจัด ให้มีโครงการโรงเรียนคุณธรรมของ สพฐ. ระดับ 2 ดาว ด าเนินการจัดกิจกรรมโครงงานคุณธรรมทุกระดับชั้น เรียน บูรณาการสอดแทรกคุณธรรมในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนและทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อ พัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน พัฒนานักเรียนให้เป็นคนดี มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะในทุกระดับชั้นเช่น กิจกรรมค่ายคุณธรรม กิจกรรมจิตอาสาบริการน้ าดื่มในงานต่างๆ ของ ชุมชน การเล่นดนตรีพื้นบ้านมังคละ จิตอาสาช่วยเหลือชุมชน ท าความสะอาดบริเวณวัดและ กิจกรรมค่าย ลูกเสือ เนตรนารี ส่งเสริมและพัฒนานักเรียน ให้เรียนรู้ปัญหาสังคม กับการมีส่วนร่วมในการแก้ไข (Community Service) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ค่านิยม 12 ประการ กิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ กิจกรรมคุณธรรมน าชีวิต (สวดมนต์ทุกวันศุกร์) ผู้เรียนมีสุขภาวะทาง ร่างกายและจิตสังคม มีน้ าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน จากการจัดเมนูอาหารกลางวันนักเรียน ที่มี สารอาหารและคุณค่าทางโภชนาการ ซึ่งจ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียนแต่ละช่วงวัย นักเรียนมี สมรรถภาพทางกายผ่านเกณฑ์และมีความสามารถทางด้านกีฬา โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน รายวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา รวมถึงการจัดการแข่งขันกีฬาภายในระหว่างกลุ่มสีและกีฬากลุ่มเครือข่าย โรงเรียน กีฬาอ าเภอ นอกจากนี้สถานศึกษายังมีการส่งเสริมความสามารถทางด้านดนตรีพื้นบ้านมังคละให้ นักเรียนผ่านการจัดกิจกรรมชุมนุม โดยทางโรงเรียนได้ด าเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ตามขั้นตอนของ PDCA และมีผลสรุปตามโครงการ ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 99.10 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม โดยสรุปผลการประเมินในภาพรวมมาตรฐานที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 91.96 ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม 4. จุดเด่น นักเรียนโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ได้รับการพัฒนาด้านคุณภาพของผู้เรียนทั้ง 2 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดค านวณ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์การใช้ เทคโนโลยี ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติ RT, NTและ O-NET คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ นักเรียนได้รับการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ Learning Loss ผ่านกิจกรรมสอนเสริม เติมความรู้ ฟื้นฟู ภาวะถดถอย นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านการการเขียนและการค านวณ มีแนวโน้มพ้นจากภาวะถดถอย ด้าน


๓๒ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ที่ 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนได้ปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี มีความ ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ผ่านกิจกรรมโครงงานคุณธรรมและชุมนุมดนตรีพื้นบ้านมังคละและได้รับ รางวัลโครงการคุณธรรม สพฐ.ระดับ 2 ดาว 5. จุดควรพัฒนา ปรับปรุงแผนพัฒนาที่ 1 จัดท าแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการสร้างข้อสอบที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางของการประเมิน O-NET NT และ RT โดยเฉพาะ RT ที่มี แนวโน้มค่าเฉลี่ยต่ ากว่าระดับประเทศ ปรับปรุงแผนพัฒนาที่ 2 ส่งเสริมการท าโครงงานคุณธรรม ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ แบบ บูรณาการกับทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปรับปรุงแผนพัฒนาที่ 3 การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับการพัฒนา ผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ปรับปรุงแผนพัฒนาที่ 4 การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning 6. ข้อเสนอแนะ -ไม่มี-


๓๓ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ ไม่บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ เป็นกระบวนการเพื่อพัฒนา 2565 2565 1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ สถานศึกษาก าหนดชัดเจน ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ 1.1) สถานศึกษาก าหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจไว้อย่าง ชัดเจน ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - หลักสูตรสถานศึกษา - แผนปฏิบัติการ ประจ าปี - แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - โครงการพัฒนางาน วิชาการ 1.2) เป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธ กิจสอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษาและความต้องการ ของชุมชน ท้องถิ่น ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - หลักสูตรสถานศึกษา - แผนปฏิบัติการ ประจ าปี - แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - โครงการพัฒนางาน วิชาการ 1.3) เป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธ กิจ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้น สังกัด รวมทั้งต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคม ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - หลักสูตรสถานศึกษา - แผนปฏิบัติการ ประจ าปี - แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - โครงการพัฒนางาน วิชาการ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ 2.1) มีมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ระดับ ดีเลิศ ระดับ ยอด เยี่ยม บรรลุ - แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - โครงการพัฒนางาน วิชาการ 2.2) มีแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาที่มุ่งคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - โครงการพัฒนางาน วิชาการ 2.3) ได้ด าเนินการตามแผนพัฒนา คุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - โครงการพัฒนางาน วิชาการ 2.4) มีกระบวนการติดตามผล การด าเนินงานตามแผนพัฒนา การศึกษา (นิเทศภายใน) ระดับ ดีเลิศ ระดับ ยอด เยี่ยม บรรลุ - แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - รายงานนิเทศภายใน - โครงการพัฒนางาน วิชาการ


๓๔ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ ไม่บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ เป็นกระบวนการเพื่อพัฒนา 2565 2565 2.5) มีการประเมินผลและ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - รายงานการ ประเมินตนเองของ สถานศึกษา - โครงการประกัน คุณภาพภายใน สถานศึกษา 2.6) จัดท ารายงานผลการประเมิน SAR และจัดส่งให้หน่วยงานต้น สังกัดและหน่วยงานที่ก ากับ ตลอดทั้ง สมศ. ระดับ ดีเลิศ ระดับ ยอด เยี่ยม บรรลุ - รายงานการ ประเมินตนเองของ สถานศึกษา - โครงการประกัน คุณภาพภายใน สถานศึกษา 3. ด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษา และทุก กลุ่มเป้าหมาย ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ 3.1) มีเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลการประเมิน หลักสูตรสถานศึกษา ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - หลักสูตรสถานศึกษา - รายงานผลการ ประเมินหลักสูตร - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมจัดท า หลักสูตรสถานศึกษา 3.2) มีโครงการส่งเสริมนักเรียนใน ด้านต่าง ๆ ตามศักยภาพที่ นักเรียนมีอยู่ ระดับ ดีเลิศ ระดับ ยอด เยี่ยม บรรลุ - รายงานสรุปโครงการ - รางวัล/เกียรติบัตร - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ของผู้เรียน - กิจกรรมส่งเสริมการ แข่งขันศิลปหัตถกรรม 3.3) มีกิจกรรมพัฒนานักเรียนที่มี ความต้องการพิเศษ เช่น มีการ เขียนแผน IIP, IEP ส่งเสริม สนับสนุนเด็กที่มีความต้องการ พิเศษในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - แผนการจัดการ เรียนรู้IEP - โครงการระบบดูแล ช่วยเหลือ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ 4.1) ส่งเสริมครูให้มีกระบวนการ PLC ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - บันทึกการประชุม PLC - โครงการพัฒนา บุคลากรในโรงเรียน - กิจกรรมส่งเสริม บุคลากรให้มี กระบวนการ PLC - กิจกรรม PLC 4.2)ส่งเสริมและสนับสนุนครูได้รับ การพัฒนาตามที่ต้นสังกัด ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - แบบรายงานการ อบรมพัฒนาตนเอง - โครงการพัฒนา บุคลากรในโรงเรียน - กิจกรรมอบรมพัฒนา


๓๕ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ ไม่บรรลุ ร่องรอย/หลักฐานเชิง ประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ เป็นกระบวนการเพื่อพัฒนา 2565 2565 ก าหนดหรือหน่วยงานอื่นตาม ความต้องการจ าเป็นของครู บุคลากรด้านการ จัดการเรียนรู้ 4.3)สนับสนุนครูในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาตนเองและ วิทยฐานะ ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - สื่อ นวัตกรรม การ จัดการเรียนรู้ - ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรู้ของผู้เรียน - โครงการพัฒนา บุคลากรในโรงเรียน - กิจกรรมอบรมพัฒนา บุคลากรด้านการ จัดการเรียนรู้ - กิจกรรมส่งเสริม บุคลากรในการ สร้างสรรค์ผลงาน นวัตกรรม 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ 5.1)สร้าง/ซ่อม/พัฒนา สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของ นักเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องเรียน ห้องวิทยาศาสตร์ ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - แบบรายงานสรุป โครงการประจ าปี - ภาพถ่าย - รางวัลห้องเรียน คุณภาพ - โครงการพัฒนา สิ่งแวดล้อม 5.2) ส่งเสริมให้ครูใช้สภาพแวดล้อม และแหล่งเรียนรู้ในการพัฒนา นักเรียนอย่างรอบด้าน เช่น แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและ นอกโรงเรียน ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - แบบรายงานสรุป โครงการประจ าปี - ภาพถ่าย - โครงการพัฒนา สิ่งแวดล้อม 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ และการเรียนรู้ ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ 6.1) ส่งเสริมและบริการห้อง คอมพิวเตอร์หรือไวไฟเพื่อให้ครู และนักเรียนได้ใช้สืบค้นข้อมูล และศึกษาอย่างเต็มศักยภาพ ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - แบบบันทึกการใช้ ห้องคอมพิวเตอร์ - โครงการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.2) จัดท าคลังข้อมูลสารสนเทศ ส าหรับครูในการพัฒนาการ เรียนการสอน ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ บรรลุ - ข้อมูลสาระสนเทศ ของโรงเรียน - โครงการพัฒนา บุคลากรในโรงเรียน ค่าเฉลี่ย ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดีเลิศ ได้มาตรฐานคุณภาพ


๓๖ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 2. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุงมีกระบวนการบริหารและการจัดการของสถานศึกษา ภายใต้วิสัยทัศน์ “มุ่ง ยกระดับการศึกษาสู่สากล เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นเลิศ เสริมทักษะภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ยึด มั่นคุณธรรมจริยธรรม น้อมน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ พัฒนาสิ่งแวดล้อมน่าอยู่ รู้ทัน เทคโนโลยี มีส่วนร่วมของชุมชน ดนตรีพื้นบ้านมังคละ” สถานศึกษามีการก าหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และ พันธกิจอย่างชัดเจน ในด าการเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา ทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา ระยะ 4 ปีและฉบับทบทวน 1 ปี มีการวางแผนงานตามนโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในแผนปฏิบัติราชการของโรงเรียน มีการ นิเทศติดตามการด าเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ด าเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง 3. ผลการด าเนินงาน โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่โรงเรียนก าหนดชัดเจน สอดคล้องกับ บริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น ตรงตามวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัด รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ส่งผลให้การประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ ตามมาตรฐานการศึกษา มีการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนและได้มีการด าเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ โดยมีกระบวนการติดตามด าเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ คือ การนิเทศภายในตามกระบวนการบริหารของ ผู้อ านวยการโรงเรียนและหน่วยงานต้นสังกัด โดยมีการจัดท าโครงการประกันคุณภาพภายใน นิเทศติดตาม เดือนละ 2 ครั้ง ตามนโยบายของเขตพื้นที่ เพื่อน าผลการประเมินมาตรวจสอบและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภายใน มีการจัดท ารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพื่อส่งหน่วยงานต้นสังกัดและรองรับ การประเมินภายนอกของสถานศึกษา (สมศ.) ส่งผลให้การประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ มีการด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก เป้าหมาย มีการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาที่ตรงตามความต้องการผู้เรียน บริบทสถานศึกษาและท้องถิ่น รวมถึงมีการจัดกิจกรรมโครงการที่ส่งเสริมผู้เรียนในด้านต่างๆ ทั้งด้านวิชาการ ส่งเสริมการแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน การแข่งขันงานวิชาการตามโครงการและกิจกรรมที่โรงเรียนจัด เช่น การแข่งขันคัด ลายมือ การเขียนเรียงความ การแต่งกลอนในวันภาษาไทยแห่งชาติ การแข่งขันตอบค าถามวิทยาศาสตร์ เนื่อง ในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ การแข่งขันตอบค าถามภาษาอังกฤษ การตอบค าศัพท์ภาษาอังกฤษ ในกิจกรรม กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ รวมถึงมีโครงการส่งเสริมด้านกีฬา ตามศักยภาพที่นักเรียนมีอยู่ มีการด าเนินงาน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คัดกรองนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ มีการเขียนแผน IEP เพื่อ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ส่งผลให้การประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ


๓๗ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ผู้บริหารส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพและสามารถน ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ มีการน ากระบวนการ PLC มาใช้ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยจัดท าโครงการพัฒนาบุคลากร ส่งเสริม สนับสนุนครูในการสร้างสรรค์นวัตกรรม จัดโครงการอบรมพัฒนาจากหน่วยงานนอก สถาบัน I WORLD เพื่อให้ครูผู้สอนพัฒนาตนเองและผู้เรียน ส่งผลให้การประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของ ผู้เรียนอย่างมีคุณภาพและมีความปลอดภัย โดยให้ความส าคัญกับการพัฒนาห้องเรียนและห้องน้ าห้องส้วม เน้นให้ครูผู้สอนจัดสภาพแวดล้อมห้องเรียนตามเกณฑ์ห้องเรียนคุณภาพของส านักงานเขตพื้นที่ ส่งผลให้ โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ได้รับรางวัลห้องเรียนคุณภาพทุกห้องเรียน ร้อยละ 100 รวมถึงซ่อมแซม พัฒนา ห้องน้ า ห้องส้วม ให้นักเรียนอย่างถูกสุขลักษณะ ส่งผลให้ได้รับรางวัลห้องน้ าห้องส้วมคุณภาพจากเขตพื้นที่ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของ โรงเรียน มีการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้อย่างเหมาะสม เช่น อาคารเรียน อพล.004 ปรับปรุงอาคารชั้นบน เพื่อเป็นห้องสมุด อาคาร ป1.ฉ ปรับปรุงซ่อมแซมหลังคา ส่งเสริมห้องเรียนภาษาอังกฤษในการจัดท าสื่อและแหล่งรู้ทางด้านภาษา ปรับปรุง ห้องเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นห้องเรียนและห้องปฏิบัติการทดลองเบื้องต้นและห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ส่งผล ให้การประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นสื่อในการเรียนรู้และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ มี ระบบอินเทอร์เน็ต ใช้ได้ทุกชั้นเรียน มีห้องปฏิบัติการส าหรับสืบค้นงานจากอินเทอร์เน็ต จัดให้มีห้องสมุด มี หนังสือและสื่อ ต่างๆ เป็นแหล่งสนับสนุนค้นคว้าหาความรู้ ส่งผลให้โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง มีการให้บริการ สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอ ส่งผลให้การประเมิน ตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ โดยสรุปผลการประเมินในภาพรวมมาตรฐานที่ 2 ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ 4. จุดเด่น โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่โรงเรียนก าหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้น สังกัด รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยน าแผนไปปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรุง เพื่อพัฒนา งานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตราก าลัง ทรัพยากรทางการศึกษาและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการ นิเทศภายใน น าข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษาและมีการให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการ เรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอ


๓๘ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 5. จุดควรพัฒนา 1. จัดท าคู่มือประกันคุณภาพของสถานศึกษา เพื่อแนะน าแนวทาง และสร้างความเข้าใจแก่ครูในการ ด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ส่งเสริมให้ครูทุกคนมีวัฒนธรรมการท างานแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัด ประสบการณ์และกิจกรรมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. แผนการพัฒนาการจัดสิ่งอ านวยความสะดวก การให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ มี อุปกรณ์เพียงพอต่อการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน 6. ข้อเสนอแนะ - ไม่มี –


๓๙ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัด การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญ ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ ไม่บรรลุ ร่องรอย/หลักฐาน เชิงประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เป็นกระบวนการเพื่อพัฒนา 2565 2565 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ คิดและปฏิบัติจริง และสามารถ น าไปประยุกต์ในการด าเนินชีวิต 78 100 บรรลุ 1.1) ครูจัดการเรียนรู้ด้วย กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เช่น การ เรียนรู้แบบโครงงาน, การ เรียนรู้โดยใช้ สเตมศึกษา มี นวัตกรรมในการจัดการ เรียนรู้และมีการเผยแพร่ 78 100 บรรลุ - โครงงาน - ผลงานโรงเรียน - ภาพถ่าย - แผนการจัดการ เรียนรู้ Active Learning - โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงานและ STEM 1.2) ครูมีหลักสูตร, หน่วยการ เรียนรู้และแผนการจัดการ เรียนรู้ที่เป็นปัจจุบัน 78 100 บรรลุ - แผนการจัดการ เรียนรู้ - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ 78 90.03 บรรลุ 2.1) ครูใช้ DLTV หรือ DLIT เพื่อการจัดการเรียนรู้ 78 95.58 บรรลุ - รายงานกิจกรรม การใช้ DLTV และ DLIT เพื่อ การจัดการเรียนรู้ โครงการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2) ครูใช้เทคโนโลยีในการจัด การข้อมูลเพื่อเป็น สารสนเทศในการพัฒนา การเรียนรู้ของผู้เรียน มีการ แบ่งกลุ่มเด็กเพื่อพัฒนา 78 92.76 บรรลุ - รายงานผลการ เรียนตามโปรแกรม พัฒนางานวิชา ปพ.5 และ ปพ.6 - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมวัดผลประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียน 2.3) ครูใช้แหล่งเรียนรู้ใน ท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ช่วยในการเรียนรู้ของ นักเรียน 78 87.76 บรรลุ - รายงานกิจกรรม ความสัมพันธ์ ชุมชน - รายงานการ ศึกษาแหล่งเรียน รู้ในท้องถิ่น - โครงการสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน กับชุมชน


๔๐ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัด การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญ ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ ไม่บรรลุ ร่องรอย/หลักฐาน เชิงประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เป็นกระบวนการเพื่อพัฒนา 2565 2565 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงบวก 83.50 96.71 บรรลุ 3.1) ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับ นักเรียน (พูดจาไพเราะและ สุภาพอ่อนโยน, มีการ ชมเชยและให้ก าลังใจ นักเรียน ฯลฯ ) 78 92.44 บรรลุ - แบบสังเกต สัมภาษณ์ แบบ ประเมิน ครู - ผลการนิเทศการ ห้องเรียน - กิจกรรมนิเทศภายใน ห้องเรียนคุณภาพและ นิเทศการจัดการเรียนรู้ 3.2) ครูจัดสภาพแวดล้อมใน ห้องเรียนที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ (จัดมุมประสบการณ์ หรือมีมุมสื่อส่งเสริมการ เรียนรู้ ฯลฯ) 78 100 บรรลุ - ผลการนิเทศการ ห้องเรียน - รางวัลห้องเรียน คุณภาพ - กิจกรรมนิเทศภายใน ห้องเรียนคุณภาพและ นิเทศการจัดการเรียนรู้ 3.3) ครูปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้กับนักเรียน (การมีจิตอาสา การมี ระเบียบวินัย การมีความ รับผิดชอบ ฯลฯ) 78 94.40 บรรลุ - ภาพถ่ายกิจกรรม - แบบบันทึก คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ของ ผู้เรียน - แบบบันทึก กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน - โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึง ประสงค์ - กิจกรรมอบรมสุดสัปดาห์ 3.4) ครูมีข้อมูลนักเรียน รายบุคคลตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 100 100 บรรลุ - รายงานการเยี่ยม บ้าน - รายงาน SDQ - รายงานข้อมูล นร.01 - โครงการระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และน าผลมา พัฒนาผู้เรียน 100 100 บรรลุ 4.1) ครูท าบันทึกหลังสอน 1 กลุ่มสาระ / ชั้นเรียน และ น ามาเป็นฐานข้อมูลในการ พัฒนาหรือวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย 1 งาน / ปี การศึกษา 100 100 บรรลุ - แผนการจัดการ เรียนรู้ - แบบวิจัยชั้นเรียน - กิจกรรมนิเทศภายใน - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้ - กิจกรรมวิจัยเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้


๔๑ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัด การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญ ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน บรรลุ/ ไม่บรรลุ ร่องรอย/หลักฐาน เชิงประจักษ์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เป็นกระบวนการเพื่อพัฒนา 2565 2565 4.2) ครูวัดผลและประเมินเพื่อ พัฒนา และน าผลการ ประเมินย้อนกลับเพื่อพัฒนา นักเรียนเป็นรายคน 100 100 บรรลุ - แบบ ปพ. ต่างๆ - แบบบันทึกหลัง การสอน - กิจกรรมนิเทศภายใน - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 78 92.15 บรรลุ 5.1) ครูร่วมท า PLC เพื่อยก ระดับผลการเรียนรู้ของ นักเรียนอย่างต่อเนื่อง 78 86.76 บรรลุ - แบบบันทึกการ ประชุม PLC - โครงการพัฒนาบุคลากรใน โรงเรียน - กิจกรรมส่งเสริมบุคลากร ให้มีกระบวนการ PLC 5.2) ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการพัฒนานักเรียนกับ ผู้ปกครองหรือผู้เกี่ยวข้อง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 78 100 บรรลุ - รายงานกิจกรรม ประชุมผู้ปกครอง - ภาพถ่ายกิจกรรม - โครงการสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน กับชุมชน 5.3) ครูน าเสนอและแลกเปลี่ยน เรียนรู้นวัตกรรมและผลการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ นวัตกรรมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง/เวที 78 89.71 บรรลุ - ภาพถ่ายกิจกรรม - เกียรติบัตร - โครงการประชาสัมพันธ์ โรงเรียน - โครงการพัฒนางาน วิชาการ - กิจกรรมจัดแสดงผลงาน นักเรียน/ครู ค่าเฉลี่ย 83.50 95.77 ได้มาตรฐานคุณภาพ 2. กระบวนการพัฒนา ด้านจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง มีกระบวนการจัดการเรียน การสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา โดยการด าเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม อย่าง หลากหลาย มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning) ให้ผู้เรียนผ่าน กระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อน าไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ จัดการเรียนรู้ โดยเน้นการจัดการเรียนแบบโครงงาน มีการบริหารจัดการเชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ครูรู้จัก นักเรียนเป็นรายบุคคล ด าเนินการประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบและน าผลการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมให้ครู มีการท าวิจัยชั้นเรียน รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการพัฒนากับผู้ปกครอง น าผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้


๔๒ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 3. ผลการด าเนินงาน โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ จริง ครูทุกคนจัดการเรียนรู้แบบ Active learning ที่เน้นกระบวนการการเรียนรู้มากกกว่าเนื้อหาวิชา จัดท า หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ด้วย กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน การเรียนรู้โดยใช้สะเต็มศึกษา และบูรณาการในรายวิชาต่างๆ ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 100 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ครูทุกคนใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ การสอนผ่านระบบการเรียน การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV และมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพิ่มเติมจาก DLTV ในรายวิชาที่ ไม่มีครูตรงเอก เช่น ศิลปะ ดนตรี ครูใช้เทคโนโลยีในการจัดท าข้อมูลนักเรียนเพื่อเป็นสารสนเทศในการ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน มีโปรแกรมวิชาการในการวัดผลประเมินผลผู้เรียน มีการวิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคล มีการแบ่งกลุ่มเด็กเพื่อพัฒนา มีแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ดนตรีพื้นบ้านมังคละ ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ของนักเรียน ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 90.03 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ครูทุกคนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนที่เป็นระบบ จัดท าเอกสารในชั้นเรียนอย่างถูกต้องและครบถ้วน มีการวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการเยี่ยมบ้านภาคเรียนละ 1 ครั้ง ร้อยละ 100 ตามนโยบาย เขตพื้นที่ มีการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยมีการติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองนักเรียนในหลาย ช่องทาง คือ ทางโทรศัพท์ การจัดตั้งกลุม Line และการประชุมผู้ปกครอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ นักเรียนในความรับผิดชอบปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง แล้วจัดท าข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนเป็นรายบุคคล ครูมีการ จัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อนักเรียน พูดจาไพเราะ สุภาพ มีการชมเชยและให้ก าลังใจนักเรียน จัดสภาพแวดล้อมห้องเรียน มีมุมส่งเสริมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้มีการจัดห้องเรียนตามเกณฑ์ห้องเรียน คุณภาพ ได้รับรางวัลห้องเรียนคุณภาพจากเขตพื้นที่ ทุกห้องเรียน รวมถึงมีการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การ มีจิตอาสา ช่วยงานของชุมชน เช่น ท าความสะอาดลานวัด บริการช่วยเสิร์ฟน้ างานศพ ปลูกฝังความมีระเบียบ วินัย ความรับผิดชอบผ่านโครงการคุณธรรมของสถานศึกษาและโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ระดับ 2 ดาว ส่งผลให้ การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 96.70 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ครูทุกคน มีการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ แบ่งสัดส่วนของ การประเมินผลกลางภาคและปลายภาค ส่งผลการประเมินต่อฝ่ายวิชาการและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน มี การแจ้งผลการประเมินให้ผู้ปกครองทราบ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ครูทุกคนมีการจัดท าข้อมูล พัฒนาการของผู้เรียนเพื่อน ามาเป็นข้อมูลในการพัฒนาและท าวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใน ห้องเรียนและน าผลมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน ดังนี้ 1. การแก้ปัญหานักเรียนเรื่องการอ่าน การเขียน ด้วยทักษะ 5 ขั้นตอน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 2. การแก้ปัญหาด้านการอ่าน การเขียน ค าควบกล้ า ด้วยแบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการอ่าน การ เขียนค าควบกล้ า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 3. การแก้ปัญหาการหารยาว โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการหาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3


๔๓ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 4. การพัฒนาการอ่าน การเขียนค าควบกล้ า ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 5. การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนค าอักษรน าและ ค าควบกล้ า แก้ปัญหานักเรียนด้านการอ่าน การเขียนค าอักษรน า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 6. การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การหา ห.ร.ม.และ ค.ร.น. ของจ านวนนับ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 7. การพัฒนาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ โดยใช้ชุดกิจกรรม เกมถอดรหัสอาหาร (Food decoding game) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 8. การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในโซ่อาหาร ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 100 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ผ่าน กระบวนการ PLC ทุกสัปดาห์อย่างต่อเนื่อง มีการน าผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้สร้างนวัตกรรมแก้ไข ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลการเรียนรู้ของผู้เรียน น าผลการพัฒนาที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ผู้ปกครองหรือผู้เกี่ยวข้องส่งผลให้การประเมินตนเอง คิดเป็นร้อยละ 92.15 อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม โดยสรุปผลการประเมินในภาพรวมมาตรฐานที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 95.77 ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม 4. จุดเด่น ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ เน้นทักษะ กระบวนการคิด มีแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้นักเรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากสื่อ เทคโนโลยี นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการ PLC ทุกสัปดาห์อย่างต่อเนื่อง สร้างนวัตกรรม แก้ไขปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพ 5. จุดควรพัฒนา 1. ครูยังขาดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC กับครูผู้สอนจากสถานศึกษาภายนอก 2. ควรพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ของท้องถิ่นส าหรับนักเรียนและชุมชน 3. ควรพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนให้เป็นระบบและเป็นปัจจุบัน สะดวกกับการ น าข้อมูลมาใช้ 6. ข้อเสนอแนะ -ไม่มี-


๔๔ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก บทสรุปของผู้บริหาร ผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อพิจารณาในรายมาตรฐานระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุปว่า การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในปี การศึกษา 2565 มีระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ถือว่าบรรลุตามเป้าหมายของโรงเรียน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม นักเรียนโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ได้รับการพัฒนาด้านคุณภาพของผู้เรียนทั้ง 2 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดค านวณ มีความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ มีการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบโครงงานและสะเต็มศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบ ระดับชาติ RT และ O-NET คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ สร้างนวัตกรรมได้ ผู้เรียน มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพผู้เรียน จากการจัดกิจกรรม โครงงานอาชีพ 1 ผลิตภัณฑ์ 1 ห้องเรียน ด้านที่ 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนได้ปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยม ที่ดี ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ผู้เรียนยอมรับที่จะอยู่ ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคมที่ดี มีความภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทย เข้าร่วมกิจกรรมวันส าคัญและประเพณีท้องถิ่น ได้แสดงออกถึงความสามารถด้าน ดนตรีพื้นบ้านมังคละ และร่วมแสดงในโอกาสต่างๆ จาการเรียนรู้กิจกรรมชุมนุมดนตรีพื้นบ้านมังคละ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับ ดีเลิศ โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่โรงเรียนก าหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้น สังกัด รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยน าแผนไปปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรุง เพื่อพัฒนา งานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตราก าลัง ทรัพยากรทางการศึกษาและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการ นิเทศภายใน น าข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษาและมีการให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการ เรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอ จัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) อย่างสม่ าเสมอ ต่อเนื่องทุกสัปดาห์ เพื่อช่วยเหลือในเรื่องวิจัยในชั้นเรียน จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการ มีระบบอินเทอร์เน็ต ใช้ได้ทุกชั้นเรียน จัดท าเพจ Facebook https://www.facebook.com/ โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน ให้ครูนักเรียน ผู้ปกครองและประชาชน สามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศของโรงเรียนได้ง่ายขึ้น รูปแบบหรือกระบวนการนิเทศภายในของสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุงใช้การนิเทศภายในเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาโดยใช้การนิเทศภายในแบบ MIND Moder ( ท างานด้วยใจ )


๔๕ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้การนิเทศภายในแบบ MIND MODEL โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง M : Management by Objectives การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาครูสู่การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนโดยจัดระบบโครงสร้างการบริหารให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบงานนิเทศ จัดวางตัวบุคลากร และ M : Management by Objectives คือ การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาครูสู่การพัฒนา คุณภาพผู้เรียนโดยจัดระบบโครงสร้างการบริหารให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบงานนิเทศ จัดวางตัวบุคลากรและ คณะกรรมการรับผิดชอบ จัดท าแผนการนิเทศภายใน จัดการงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ส าหรับการนิเทศ ภายใน I : Information and Communication Technology ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ รวบรวม จัดระบบข้อมูลสารสนเทศทั้งเอกสาร ไฟล์ประมวลผล(excel หรือ Google sheet ) รูปภาพ คลิป M Management I Information Computer And Technology D Do and Development N Network วิธีนิเทศ 5 กิจกรรม 1. การเยี่ยมชั้นเรียน 2. การชี้แนะและสอนงานเชิงปฏิบัติการ (Coaching & Mentoring) 3. การประชุมนิเทศ ติดตาม ทบทวนการปฏิบัติงาน 4. การนิเทศบูรณาการสร้างสรรค์กับชุมซนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 5. การนิเทศ Online โดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน ㆍ ขั้นที่ 1 วางแผนการนิเทศ ㆍ ขั้นที่ 2 การจัดการเรียนรู้ ㆍชั้นที่ 3 น าเสนอกิจกรรมการเรียนรู้ ㆍขั้นที่ 4 การนิเทศ Online ㆍขั้นที่ 5 สรุปและรายงานผลการนิเทศ 6. การสรุปและรายงานผลการนิเทศ ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ คุณภาพผู้เรียน ประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอน ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อพัฒนา ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อพัฒนา


๔๖ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก วีดีโอ ไฟล์น าเสนอ ในระบบจัดเก็บที่ Google Drive เชื่อมโยงกับสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook หรือ กู เกิ้ลฟลัส G+ ส าหรับการจัดกลุ่มชุมนุมแห่งการเรียนรู้ร่วมพัฒนา และน าเสนอผ่านแว็ปไซต์นิเทศภายในของ โรงเรียน N : Network สร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ภายในโรงเรียนประกอบด้วยทีมนิเทศของ ครูในสายชั้น ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูในกลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC ) ส าหรับเครือข่ายภายนอกประกอบด้วยการประสานความร่วมมือกับสหวิทยาเขต เขต พื้นที่การศึกษา สถาบันการศึกษา หน่วยงานองค์กรในชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการ นิเทศ D : Do and Development การปฏิบัติและการพัฒนาการนิเทศภายใน โรงเรียนวัดเมมสุวรรณาราม ปฏิบัติการโดยการบูรณาการหลักสูตร กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมหลักสูตร การประกันคุณภาพ การศึกษา การวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และการนิเทศภายในให้มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันไป ปฏิบัติ ควบคู่กับการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังและน าผลพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีวิธีการนิเทศ สู่ห้องเรียน ที่ส าคัญดังนี้ 1. เยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการณ์สอน 2. ชี้แนะและสอนงานเชิงปฏิบัติการ 3. ประชุมนิเทศ ติดตาม และทบทวนการปฏิบัติงาน 4. นิเทศบูรณาการสร้างสรรค์กับกลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(Professional Learning Community : PLC ) 5. นิเทศออนไลน์โดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน วิธีด าเนินการ การด าเนินการนิเทศภายในโรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ได้ประยุกต์ใช้วิธีการนิเทศแบบปกติมาบูรณาการ กับแนวคิดการน าเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้วยการนิเทศชั้น เรียน การชี้แนะและสอนงานเชิงปฏิบัติการ (Coaching & Mentoring) การประชุมนิเทศ ติดตาม ทบทวน การปฏิบัติงาน การนิเทศบูรณาการสร้างสรรค์กับชุมซนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) นิเทศออนไลน์โดยใช้ ข้อมูลเป็นฐาน ตามแนวด าเนินการสถานศึกษา และระดับครูผู้สอนและผู้นิเทศดังนี้ ระดับสถานศึกษา ด าเนินการมอบหมายคณะท างาน จัดการระบบข้อมูลสารสนเทศ และการบริหารจัดการนิเทศออนไลน์ โดยใช้ข้อมูลเป็นฐานดังนี้ 1. การจัดการข้อมูลสารสนเทศปีการศึกษาที่ผ่านมา โดยการน าข้อมูลสารสนเทศที่ส าคัญต่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษา มาเก็บไว้อย่างเป็นระบบใน Google Drive และแชร์ข้อมูลให้ครูทุกคนเข้าใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา ได้แก่ 1.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET - วิเคราะห์ตามภาพรวมรายวิชา - วิเคราะห์ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละของผู้เรียนที่ได้คะแนน 50 ขึ้นไป 1.2 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) 1.3 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้ 1.4 ผลการประเมินปลายปีตามรายวิชา


๔๗ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนชุมชนดิฏฐอ ารุง ต าบลมะตูม อ าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 1.5 ผลการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย 1.6 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงระสงค์ 1.7 ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 1.8 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1.9 ผลการสมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1.10 ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย 1.11 ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การจัดการข้อมูลสารสนเทศปีการศึกษาปัจจุบัน โดยสร้างแบบกรอกข้อมูล ด้วย Google sheets ไว้ ใน Google Drive เพื่อให้ครูเข้ากรอกข้อมูลการวัดผล การวิเคราะห์ผู้เรียนของปีปัจจุบันแบบเรียลไทม์ เช่น ข้อมูลพื้นฐานการอ่าน การเขียน ทักษะพื้นฐานการคิดค านวณ ข้อมูลการวัดผลรายหน่วยการเรียนรู้ เป็นต้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เมื่อครูบันทึกข้อมูลเสร็จ จะแปลผลข้อมูลเป็นร้อยละ เป็นระดับคุณภาพ และเป็นกราฟได้ ทันที ครูผู้สอน ครูผู้นิเทศ ผู้อ านวยการโรงเรียน และครูทุกคนในโรงเรียนสามารถรู้ผลและดูได้ในทุกที่ทุก เวลา 3. สร้างกลุ่มบนเฟซบุ๊ก(Facebook) หรือชุมชนใน Google Plus (G+) เพื่อให้ครูบันทึกข้อมูลภาพถ่าย คลิปวีดีโอกิจกรรมการเรียนรู้ผลงานของผู้เรียน 4. สร้าง Google Form ส าหรับครู บันทึก Link ข้อมูล ภาพถ่าย คลิปวีดีโอ กิจกรรมการเรียนรู้ผลงาน ของผู้เรียน เชื่อมโยงกับกลุ่มเฟซบุ๊ก(Facebook) หรือ Google Plus (G+) 5. สร้าง Google Form ส าหรับผู้นิเทศ บันทึก Link ข้อมูล ความคิดเห็นของผู้นิเทศ ที่บันทึกไว้ในการ นิเทศออนไลน์ ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊ก(Facebook) หรือ Google Plus (G+) 6. สร้างเว็บไซต์นิเทศออนไลน์ ด้วย Google Site โดยท า Link เชื่อมโยงข้อมูลที่กล่าวแล้วในข้อ 1 – 5 ให้สมามารถดูข้อมูลปัจจุบันและใช้งานการนิเทศออนไลน์ได้ทุกที่ทุกเวลา 7. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาครู สร้างความรู้ความเข้าใจการใช้ G-Suite For Education (Google Apps) และวิธีด าเนินการนิเทศออนไลน์โดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน 8. จัดทีมนิเทศออนไลน์โดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน เป็นทีพัฒนา 2-3 คน ร่วมมือนิเทศซึ่งกันและกันสัปดาห์ ละครั้ง ระดับครูผู้สอน และผู้นิเทศ ครูรวมกลุ่มเป็นทีมพัฒนา 5-6 คน จัดการเรียนรู้และร่วมมือนิเทศซึ่งกันและกัน ด าเนินการตาม กระบวนการ 5 ขั้น ต่อ 1 หน่วยการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผนโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน 1.1 ครูวางแผนจัดการเรียนรู้ โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานผู้เรียน ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่เกี่ยวข้อง ศึกษาหลัดสูตร โดยเน้นมาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้นปีและสมรรถนะที่จะเกิด ขึ้นกับผู้เรียน 1.2 ครูจัดท าโครงสร้างรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้รายปี(ระบุรายละเอียดเป็นหน่วยการเรียนรู้)และ จัดท าแผนการเรียนรู้รายภาค 1.3 ครูน าเสนอแผนการจัดการเรียนรู้กับทีมพัฒนา 1.4 ทีมพัฒนาร่วมสนทนาเสนอแนะ(ชั้น ป.1 –ป.3 ทุกวันจันทร์ ป. 4 – ป. 6 ทุกวันอังคารชั้นอนุบาล ทุกวันศุกร์) ครูผู้สอนน าไปปรับปรุงแก้ไข


Click to View FlipBook Version