The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นป,2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ufykkgg.2457, 2022-01-09 03:00:32

คู่มือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นป,2

คู่มือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นป,2

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
ส่ิงไม่มีชีวติ กบั สิ่งมีชีวิตและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวิตกบั สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบ
นิเวศ การถ่ายทอดพลงั งาน การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของ

ประชากรปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม แนวทางใน
การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดลอ้ มรวมท้งั นาํ ความรู้ไปใช้
ประโยชน์ (หลกั สูตรข้นั พ้ืนฐาน 2544)

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวติ การลาํ เลียงสารเขา้
และออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบต่างๆของสตั วแ์ ละ
มนุษยท์ ่ีทาํ งานสมั พนั ธ์กนั ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวยั ะต่างๆของพชื
ที่ทาํ งานสมั พนั ธก์ นั รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1.ระบุวา่ พืชตอ้ งการแสงและน้าํ พชื ตอ้ งการน้าํ แสง เพือ่ การ
เพอ่ื การเจริญเติบโต โดยใชข้ อ้ มูล เจริญเติบโต

จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ • พชื ดอกเมื่อเจริญเติบโตและมีดอก

2. ตระหนกั ถึงความจาํ เป็นที่พชื ดอกจะมีการสืบพนั ธุ์ เปลี่ยนแปลง
ตอ้ งไดร้ ับนา้ํ และแสงเพอ่ื การ ไปเป็นผล ภายในผลมีเมลด็ เม่ือ
เจริญเติบโต โดยดูแลพืชใหไ้ ดร้ ับ เมลด็ งอก ตน้ อ่อนท่ีอยภู่ ายในเมลด็
ส่ิงดงั กล่าวอยา่ งเหมาะสม จะเจริญเติบโตเป็นพืชตน้ ใหม่ พืช

3. สร้างแบบจาํ ลองที่บรรยายวฏั ตน้ ใหม่จะเจริญเติบโตออกดอก
จกั รชีวติ ของพชื ดอก เพื่อสืบพนั ธุ์มีผลต่อไปไดอ้ ีก
หมุนเวียนต่อเนื่องเป็นวฏั จกั รชีวิต
ของพชื ดอก

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสาํ คญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทาง
พนั ธุกรรม สารพนั ธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพนั ธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความ
หลากหลาย ทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสิ่งมีชีวติ รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1.เปรียบเทียบลกั ษณะของ ส่ิงที่อยรู่ อบตวั เรามีท้งั ท่ีเป็นสิ่งมีชีวิตและ
ส่ิงมีชีวติ และไม่มีชีวติ จาก ส่ิงไม่มีชีวติ สิ่งมีชีวิตตอ้ งการอาหาร มีการ
ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ หายใจเจริญเติบโต ขบั ถ่าย เคลื่อนไหว
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าและสืบพนั ธุไ์ ดล้ ูกที่มี
ลกั ษณะ คลา้ ยคลึงกบั พอ่ แม่ ส่วนส่ิงไม่มีชีวติ
จะไม่มีลกั ษณะดงั กล่าว

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง
สมบตั ิ ของสสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติ
ของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1. เปรียบเทียบสมบตั ิการดูดซบั น้าํ ของ วสั ดุแต่ละชนิดมีสมบตั ิการดูดซบั น้าํ
วสั ดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชิง ประจกั ษ์ และ แตกต่างกนั จึงนาํ ไปทาํ วตั ถุเพ่อื ใช้
ประโยชนไ์ ดแ้ ตกต่างกนั เช่น ใชผ้ า้ ที่
ระบุการนาํ สมบตั ิ

การดูดซบั น้าํ ของวสั ดุไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ น ดูดซบั น้าํ ไดม้ ากทาํ ผา้ เชด็ ตวั ใช้
การทาํ วตั ถุใน ชีวติ ประจาํ วนั พลาสติก
2. อธิบายสมบตั ิท่ีสงั เกตไดข้ อง วสั ดุที่เกิด • วสั ดุบางอยา่ งสามารถนาํ มาผสมกนั
จากการนาํ วสั ดุมาผสม กนั โดยใชห้ ลกั ฐาน ซ่ึงทาํ ใหไ้ ดส้ มบตั ิที่ เหมาะสม เพ่ือ
นาํ ไปใชป้ ระโยชน์ตามตอ้ งการ เช่น
เชิงประจกั ษ์

3. เปรียบเทียบสมบตั ิท่ีสงั เกตได้ ของวสั ดุ แป้งผสม น้าํ ตาลและกะทิ ใชท้ าํ ขนม
เพ่ือนาํ มาทาํ เป็นวตั ถุใน การใชง้ านตาม ไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเยอื่ กระดาษใช้

วตั ถุประสงค์ ทาํ กระปุกออมสิน ปูนผสมหิน ทราย

และอธิบายการนาํ วสั ดุที่ใช้ แลว้ กลบั มาใช้ และน้าํ ใช้ ทาํ คอนกรีต
ใหม่โดยใช้ หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ • การนาํ วสั ดุมาทาํ เป็นวตั ถุในการใช้
4. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการ นาํ วสั ดุ งานตามวตั ถุประสงค์ ข้ึนอยกู่ บั สมบตั ิ
ที่ใชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่โดยการนาํ วสั ดุท่ี ของวสั ดุ วสั ดุท่ีใชแ้ ลว้ อาจนาํ กลบั มาใช้
ใชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ ใหม่ ได้ เช่น กระดาษใชแ้ ลว้ อาจนาํ มา

ทาํ เป็นจรวดกระดาษ ดอกไมป้ ระดิษฐ์
ถุงใส่ของ

มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาํ วนั ผลของแรงท่ีกระทาํ ต่อวตั ถุ
ลกั ษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน
ปฏิสมั พนั ธ์ ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจาํ วนั ธรรมชาติ ของคลื่น
ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เสียง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1.บรรยายแนวการเคลื่อนท่ีของแสง แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกาํ เนิดแสงทุกทิศทาง

จาก เป็นแนวตรง เมื่อมีแสงจากวตั ถุมาเขา้ ตาจะท
แหล่งกาํ เนิดแสง และอธิบาย การ ทาํ ใหม้ องเห็นวตั ถุน้นั การมองเห็นวตั ถุที่เป็น
มองเห็นวตั ถุ จากหลกั ฐานเชิง แหล่งกาํ เนิดแสง แสงจากวตั ถุน้นั จะเขา้ สู่ตา
โดยตรง ส่วนการมองเห็นวตั ถุที่ไม่ใช่
ประจกั ษ์
2. ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้ ของ แหล่งกาํ เนิดแสง ตอ้ งมีแสงจาแหล่งกาํ เนิด

การมองเห็น แสงไปกระทบวตั ถุแลว้ สะทอ้ นเขา้ ตา ถา้ มี
โดยเสนอแนะแนวทางการ ป้องกนั แสงที่สวา่ งมาก ๆ เขา้ สู่ตา อาจเกิดอนั ตรายต่อ
อนั ตราย จากการมองวตั ถุที่อยใู่ น ตาได้ จึงตอ้ งหลีกเลี่ยง การมองหรือใชแ้ ผน่
บริเวณ ท่ีมีแสงสวา่ ง
ไม่เหมาะสม กรองแสงท่ีมีคุณภาพ เม่ือจาํ เป็น และตอ้ งจดั
ความสวา่ งใหเ้ หมาะสม กบั การทาํ กิจกรรมต่าง
ๆ เช่น การอา่ นหนงั สือ การดูจอโทรทศั น์ การ

ใชโ้ ทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ และแทบ็ เลต็

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ

กาแลก็ ซีดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อ
ส่ิงมีชีวิตและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปล่ียนแปลง ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ิภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลง ลมฟ้า
อากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้งั ผลต่อสิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1. ระบุส่วนประกอบของดิน และ ดินประกอบดว้ ยเศษหิน ซากพชื
จาํ แนกชนิด ของดินโดยใชล้ กั ษณะเน้ือ ซากสตั วผ์ สมอยใู่ นเน้ือ ดิน มี
ดินและการจบั ตวั เป็นเกณฑ์ อากาศและน้าํ แทรกอยตู่ ามช่องวา่ ง
2. อธิบายการใชป้ ระโยชนจ์ ากดิน จาก ในเน้ือดิน ดิน จาํ แนกเป็น ดินร่วน
ขอ้ มูลที่รวบรวม ดินเหนียวและดินทราย ตาม

ลกั ษณะ เน้ือดินและการจบั ตวั ของ
ดินซ่ึงมีผลต่อการอุม้ น้าํ ที่ แตกต่าง
กนั
• ดินแต่ละชนิดนาํ ไปใชป้ ระโยชน์
ไดแ้ ตกต่างกนั ตามลกั ษณะและ

สมบตั ิของดิน

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคาํ นวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวติ จริงอยา่ ง
เป็น ข้นั ตอนและ เป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การ
ทาํ งาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจริยธรรม

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1.แสดงลาํ ดบั ข้นั ตอนการทาํ งาน การแสดงข้นั ตอนการแกป้ ัญหา ทาํ ไดโ้ ดยการ
หรือการ แกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดย เขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใชส้ ญั ลกั ษณ์
ใชภ้ าพสญั ลกั ษณ์ หรือ ขอ้ ความ • ปัญหาอยา่ งง่าย เช่น เกมตวั ต่อ 6-12 ชิ้นการ
2. เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดย แต่งตวั มาโรงเรียน
ใชซ้ อฟตแ์ วร์ หรือส่ือ และ • ตวั อยา่ งโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสงั่ ใหต้ วั
ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของ ละคร ทาํ งานตามที่ตอ้ งการ และตรวจสอบ
ขอ้ ผดิ พลาด ปรับแกไ้ ขใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ตามที่
โปรแกรม
3. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสร้าง จดั กาํ หนด
หมวดหมู่ คน้ หา
จดั เกบ็ เรียกใชข้ อ้ มูลตาม • การตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ทาํ ไดโ้ ดยตรวจสอบ

คาํ สง่ั
วตั ถุประสงค์ ที่แจง้ ขอ้ ผดิ พลาด หรือหากผลลพั ธ์ไม่เป็นไปตาม
4. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง ท่ีตอ้ งการใหต้ รวจสอบการทาํ งานทีละคาํ สัง่
ปลอดภยั • ซอฟตแ์ วร์หรือส่ือที่ใชใ้ นการเขียนโปรแกรม
ปฏิบตั ิ ตามขอ้ ตกลงในการใช้ เช่น ใชบ้ ตั รคาํ สงั่ แสดงการเขียนโปรแกรม,
คอมพิวเตอร์ร่วมกนั ดูแล Code.org

รักษาอุปกรณ์เบ้ืองตน้ ใชง้ าน • การใชง้ านซอฟตแ์ วร์เบ้ืองตน้ เช่น การเขา้ และ
อยา่ ง เหมาะสม ออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจดั เกบ็
การเรียกใชไ้ ฟล์ การแกไ้ ขตกแต่งเอกสาร ทาํ ได้
ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคาํ
โปรแกรม กราฟิ ก โปรแกรมนาํ เสนอ

• การสร้าง คดั ลอก ยา้ ย ลบ เปลี่ยนช่ือ จดั หมวด
หมู่ไฟล์ และโฟลเดอร์อยา่ งเป็นระบบจะทาํ ให้
เรียกใช้ คน้ หาขอ้ มูลไดง้ ่ายและรวดเร็ว
• การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั
เช่น รู้จกั ขอ้ มูลส่วนตวั อนั ตรายจากการเผยแพร่
• ขอ้ ปฏิบตั ิในการใชง้ านและการดูแลรักษา
อุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาํ ความ
สะอาด ใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งถูกวิธี
*การใชง้ านอยา่ งเหมาะสม เช่น จดั ท่านงั่ ใหถ้ ูก
ตอ้ งการพกั สายตาเม่ือใชอ้ ุปกรณ์เป็นเวลานาน
ระมดั ระวงั อุบตั ิเหตุจากการใชง้ าน

คาํ อธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐานและโครงสร้างรายวชิ าพนื้ ฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาพนื้ ฐาน

ว 12101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 2

เวลาเรียน 120 ช่ัวโมง (3 ช่ัวโมง/สัปดาห)์ จาํ นวน 3.0 หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ลกั ษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวติ ความจ าเป็นของแสงและน้าํ ต่อการ
เจริญเติบโตของพชื วฏั จกั รชีวติ ของพชื ดอก สมบตั ิการดูดซบั น้าํ ของวสั ดุและการน าไป
ใชป้ ระโยชน์ สมบตั ิของวสั ดุท่ีเกิดจากการนาํ วสั ดุมาผสมกนั การเลือกวสั ดุมาใชท้ าวตั ถุ

ตามสมบตั ิของวสั ดุ การนาํ วสั ดุท่ีใชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่การเคล่ือนที่ของแสง การมองเห็น

วตั ถุ การป้องกนั อนั ตรายจากการมองวตั ถุในบริเวณท่ีมีแสงสวา่ งไม่เหมาะสม

ส่วนประกอบและการจาํ แนกชนิดของดิน การใชป้ ระโยชน์จากดิน การแสดงข้นั ตอนการ
แกป้ ัญหาการตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม การใชง้ านซอฟตแ์ วร์เบ้ืองตน้ การ
จดั การไฟลแ์ ละโฟลเดอร์ การใชง้ านและดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยใี น

ชีวติ ประจ าวนั การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั โดยใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้

การสาํ รวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะการเรียนรู้ใน

ศตวรรษท่ี 21 การสืบคน้ ขอ้ มูลและการอภิปราย เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ

สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ การแกป้ ัญหา การน าความรู้
ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

การจดั การเรียนรู้เป็นกระบวนการสาํ คญั ในการนาํ หลกั สูตรสู่การ

ปฏิบตั ิ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เป็นหลกั สูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้
สมรรถนะสาํ คญั และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน เป็นเป้าหมายสาํ คญั สาํ หรับ
พฒั นาเดก็ และเยาวชน

ในการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ี คุณสมบตั ิตามเป้าหมายหลกั สูตร ผสู้ อนพยายามคดั สรร
กระบวนการเรียนรู้ จดั การเรียนรู้โดยช่วยใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ผา่ นสาระท่ีกาํ หนดไวใ้ น
หลกั สูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้งั ปลูกฝังเสริมสร้างคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
พฒั นาทกั ษะดา้ น ต่างๆอนั เป็น สมรรถนะสาํ คญั ใหผ้ เู้ รียนบรรลุตามเป้าหมาย1.หลกั การ
จดั การเรียนรู้

การจดั การเรียนรู้เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนนาํ ความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้
สมรรถนะสาํ คญั และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามที่กาํ หนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐานโดยยดึ หลกั วา่ ผเู้ รียนมีความสาํ คญั ที่สุดเชื่อวา่ ทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ ยดึ ประโยชน์ท่ีเกิดกบั ผเู้ รียน กระบวนการจดั การเรียนรู้ตอ้ ง
ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนสามารถพฒั นาตนเองตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ คาํ นึงถึงความ
แตกต่างระหวา่ งบุคคลและพฒั นาการทางสมอง

2.กระบวนการเรียนรู้

การจดั การเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั ผเู้ รียนตอ้ งอาศยั กระบงนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
เป็นเครื่องมือท่ีจะนาํ พาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลกั สูตรกระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ี
จาํ เป็น สาํ หรับผเู้ รียน อาทิกระบวนการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้าง
ความรู้ กระบวนการคิดกระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแกไ้ ข
ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการการปฏิบตั ิลงมือทาํ จริง
กระบวนการจดั การ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง
กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนิสยั

กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจดั การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนควรไดร้ ับการฝึ กฝนพฒั นา
เพราะจะสามารถช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ไดด้ ีบรรลุเป้าหมายของหลกั สูตรดงั น้นั
ผสู้ อนจึงจาํ เป็นตอ้ งศึกษาทาํ ความเขา้ ใจในกระบวนการต่างๆเพอื่ ใหส้ ามารถเลือกใชใ้ น
กระบวนการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

3.การออกแบบการจกั การเรียนรู้

ผสู้ อนตอ้ งศึกษาหลกั สูตรสถานศึกษาใหเ้ ขา้ ใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั สมรรถนะ
สาํ คญั ของผเู้ รียนคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ละสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบั ผเู้ รียนแลว้
จึงพจิ ารณาออกแบบการจดั การเรียนรู้โดยเลือกใชว้ ิธีการสอนและเทคนิคการสอน สื่อ
และแหล่งเรียนรู้ การวดั และการประเมินผลเพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพและ
บรรลุเป้าหมายที่กาํ หนด

4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน

การจดั การเรียนรู้เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลกั สูตร ท้งั ผสู้ อนและผเู้ รียน
ควรมีบทบาท ดงั น้ี

4.1 บทบาทของผู้สอน

1.ศึกษาวเิ คราะห์ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล แลว้ นาํ ขอ้ มูลมาใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรียนรู้
ที่ทา้ ทายความสามารถของผเู้ รียน

2.กาํ หนดเป้าหมายท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกบั ผเู้ รียนดา้ นความรู้และทกั ษะกระบวนการท่ีเป็น
ความคิดรวบยอดหลกั การและความสมั พนั ธร์ วมท้งั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

3.ออกแบบการเรียนรู้และจดั การเรียนรู้ท่ีตอบสนองความ แตกต่างระหวา่ งบุคคลและ
พฒั นาการทางสมอง เพ่อื นาํ ผเู้ รียนไปสู่เป้าหมาย

4.อากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผเู้ รียนใหเ้ กิดการเรียนรู้

5.จดั เตรียมและเลือกใชส้ ื่อใหเ้ หมาะสมกบั กิจกรรม นาํ ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นเทคโนโลยที ี่
เหมาะสมมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน

6. ประเมินความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียนดว้ ยวธิ ีการหลากหลายเหมาะสมกบั ธรรมชาติของวิชา
และระดบั พฒั นาของผเู้ รียน

7. วิเคราะห์ผลการประเมินมาใชใ้ นการซ่อมเสริมและพฒั นาผเู้ รียนรวมท้งั ปรับปรุงและ
การจดั การเรียนการสอนของตนเอง

4.2 บทบาทของผู้เรียน

1.กาํ หนดเป้าหมายวางแผนและรับผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง

2.แสวงหาความรู้ เขา้ ถึงแหล่งเรียนรู้วเิ คราะห์สงั เคราะห์ขอ้ ความรู้ ต้งั คาํ ถาม คิดหา
คาํ ตอบหรือหาแนวทางแกป้ ัญหาดว้ ยวิธีต่างๆ
3.ลงมือปฏิบตั ิจริง สรุปสิ่งท่ีไดเ้ รียนรู้ดว้ ยตนเองและนาํ ความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น
สถานการณ์ต่างๆ
4.มีปฏิสมั พนั ธท์ าํ งาน ทาํ กิจกรรมร่วมกบั กลุ่มและครู
5.ประเมินการพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอยา่ งต่อเนื่อง

รูปแบบการสอนและ
ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์

1.การสอนแบบโครงงาน (Project
Method)

หลกั การแนวคดิ ทฤษฎี

แนวคิด

เป็นวิธีการจดั การเรียนรู้ที่ใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ หรือปฏิบตั ิงานตามหวั ขอ้ ท่ีผเู้ รียน
สนใจ ซ่ึงผเู้ รียนจะตอ้ งฝึกกระบวนการท างานอยา่ งมีข้นั ตอน มีการวางแผนในการท า
งานหรือการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ จนการดาํ เนินงานสาํ เร็จลุล่วงตามวตั ถุประสงค์
ส่งผลใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะการเรียนรู้อยา่ งหลากหลาย อนั เป็นประสบการณ์ตรงที่มีคุณคา่
สามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ เนินงานต่าง ๆ ไดว้ กี ารสอนโครงงานสามารถ

สอนต่อเนื่องกบั วสี อนแบบบูรณาการได้ ท้งั ในรูปแบบบูรณาการภายในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ และบูรณาการระหวา่ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนไดน้ าํ องคค์ วามรู้และ
ประสบการณ์ท่ีไดม้ าบูรณาการเพอ่ื ทาํ โครงงาน

ขนึ้ ตอนการสอน/กระบวนการจัดการเรียนรู้

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

1. ข้นั กาํ หนดปัญหา หรือสาํ รวจความสนใจ ผสู้ อนเสนอสถานการณ์หรือตวั อยา่ งท่ีเป็น
ปัญหาและกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนหาวิธีการแกป้ ัญหาหรือยวั่ ยใุ หผ้ เู้ รียนมีความตอ้ งการใคร่เรียน
ใคร่รู้ ในเร่ืองใด

เรื่องหน่ึง

2. ข้นั กาํ หนดจุดมุ่งหมายในการเรียน ผสู้ อนแนะนาํ ใหผ้ เู้ รียนกาํ หนดจุดมุ่งหมายให้
ชดั เจนวา่ เรียนเพื่ออะไร จะทาํ โครงงานน้นั เพ่ือแกป้ ัญหาอะไร ซ่ึงทาํ ใหผ้ เู้ รียนกาํ หนด
โครงงานแนวทางในการดาํ เนินงานไดต้ รงตามจุดมุ่งหมาย

3. ข้นั วางแผนและวเิ คราะห์โครงงาน ใหผ้ เู้ รียนวางแผนแกป้ ัญหา ซ่ึงเป็นโครงงานเดี่ยว
หรือกลุ่มกไ็ ด้ แลว้ เสนอแผนการด าเนินงานใหผ้ สู้ อนพิจารณาใหค้ าํ แนะนาํ ช่วยเหลือและ
ขอ้ เสนอแนะการวางแผนโครงงานของผเู้ รียน ผเู้ รียนเขียนโครงงานตามหวั ขอ้ ซ่ึงมีหวั ขอ้
สาํ คญั (ช่ือโครงงาน หลกั การและเหตุผลวตั ถุประสงคห์ รือจุดมุ่งหมาย เจา้ ของโครงการ
ที่ปรึกษาโครงการ แหล่งความรู้ สถานท่ีดาํ เนินการ ระยะเวลาด าเนินการ งบประมาณ
วธิ ีด าเนินการ เคร่ืองมือท่ีใช้ ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ

4. ข้นั ลงมือปฏิบตั ิหรือแกป้ ัญหา ใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิหรือแกป้ ัญหาตามแผนการที่ก
าหนดไวโ้ ดยมีผสู้ อนเป็นที่ปรึกษา คอยสงั เกต ติดตาม แนะนาํ ใหผ้ เู้ รียนรู้จกั สงั เกต เกบ็
รวบรวมขอ้ มูล บนั ทึกผลดาํ เนินการดว้ ยความมานะอดทน มีการประชุมอภิปราย
ปรึกษาหารือกนั เป็นระยะ ๆ ผสู้ อนจะเขา้ ไปเก่ียวขอ้ งเท่าที่จาํ เป็น ผเู้ รียนเป็นผใู้ ชค้ วามคิด
ความรู้ ในการวางแผนและตดั สินใจทาํ ดว้ ยตนเอง

5. ข้นั ประเมินผลระหวา่ งปฏิบตั ิงาน ผสู้ อนแนะนาํ ใหผ้ เู้ รียนรู้จกั ประเมินผลก่อน
ดาํ เนินการระหวา่ งดาํ เนินการและหลงั ดาํ เนินการ คือรู้จกั พจิ ารณาวา่ ก่อนที่จะด าเนินการ
มีสภาพเป็นอยา่ งไร มีปัญหาอยา่ งไรระหวา่ งท่ีด าเนินงานตามโครงงานน้นั ยงั มีส่ิงใดที่
ผดิ พลาดหรือเป็นขอ้ บกพร่องอยู่ ตอ้ งแกไ้ ขอะไรอีกบา้ ง มีวธิ ีแกไ้ ขอยา่ งไร เม่ือดาํ เนินการ
ไปแลว้ ผเู้ รียนมีแนวคิดอยา่ งไร มีความพึงพอใจหรือไม่ ผลของการด าเนินการตาม
โครงงาน ผเู้ รียนไดค้ วามรู้อะไร ไดป้ ระโยชนอ์ ยา่ งไร และสามารถนาํ ความรู้น้นั ไปพฒั นา

ปรับปรุงงานไดอ้ ยา่ งดียงิ่ ข้ึน หรือเอาความรู้น้นั ไปใชใ้ นชีวติ ไดอ้ ยา่ งไร โดยผเู้ รียน
ประเมินโครงงานของตนเองหรือเพ่ือนร่วมประเมิน จากน้นั ผสู้ อนจึงประเมินผล
โครงงานตามแบบประเมิน ซ่ึงผปู้ กครองอาจจะมีส่วนร่วมในการประเมินดว้ ยกไ็ ด้

6. ข้นั สรุป รายงานผล และเสนอผลงาน เม่ือผเู้ รียนทาํ งานตามแผนและเกบ็ ขอ้ มูลแลว้ ตอ้ ง
ทาํ การวเิ คราะห์ขอ้ มูล สรุปและเขียนรายงานเพ่อื นาํ เสนอผลงาน ซ่ึงนอกเหนือจาก
รายงานเอกสารแลว้ อาจมีแผนภูมิ แผนภาพ กราฟ แบบจาํ ลอง หรือของจริง
ประกอบการน าเสนอ อาจจดั ไดห้ ลายรูปแบบ เช่น จดั นิทรรศการ การแสดงละคร ฯลฯ

2.การจดั การเรียนการสอนแบบโครงงานเป็ นฐานฐานPBL

(Project Based Learning)

การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Based Learning) เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สอดคลอ้ งกบั หลกั ทฤษฎีการเรียนรู้ constructivism , contructionism และการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือ (cooperative learning) ซ่ึงมีข้นั ตอนการเรียนรู้ท่ีเริ่มจากการแสวงหาความรู้
กระบวนการคิด และทกั ษะในการ แกป้ ัญหาไวใ้ นรูปแบบการเรียนรู้ ภาพที่ 1 หลกั
พ้นื ฐานของการเรียนรู้แบบโครงงาน ซ่ึงการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานน้ี ยดึ หลกั การ
ของ constructionism ซ่ึงพฒั นาต่อยอดจากทฤษฎีการ สร้างความรู้การเรียนรู้แบบ
โครงงาน (Project Based Learning) เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ สอดคลอ้ งกบั
หลกั ทฤษฎีการเรียนรู้ constructivism , contructionism และการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(cooperative learning) ซ่ึงมีข้นั ตอนการเรียนรู้ที่เริ่มจากการแสวงหาความรู้ กระบวนการ
คิด และทกั ษะในการ แกป้ ัญหาไวใ้ นรูปแบบการเรียนรู้ ภาพที่ 1 หลกั พ้ืนฐานของการ

เรียนรู้แบบโครงงาน ซ่ึงการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานน้ี ยดึ หลกั การของ
constructionism ซ่ึงพฒั นาต่อยอดจากทฤษฎีการ สร้างความรู้ (Constructivism) ของ เพีย
เจต์ (Piaget) โดยศาสตราจารย์ เซมวั ร์ เพพเพริ ์ต (Seymour Papert) เป็นผนู้ าเสนอการใช้
ส่ือทางเทคโนโลยี ช่วยในการสร้างความรู้ท่ีเป็นรูปธรรมแก่ผเู้ รียนโดยอาศยั พลงั ความรู้
ของตวั ผเู้ รียนเอง และเมื่อผเู้ รียนสร้างสิ่งหน่ึงสิ่งใดข้ึนมากจ็ ะเสมือนเป็นการสร้างความรู้
ข้ึนใน ตวั เองนนั่ เอง ความรู้ท่ีสร้างข้ึนเองน้ีมีความหมายต่อผเู้ รียนมาก เพราะจะเป็น
ความรู้ที่อยคู่ งทน ไม่ลืมง่าย ขณะเดียวกนั สามารถถ่ายทอดใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจความคิดของ
ตวั เองไดด้ ีนอกจากน้นั ความรู้ท่ีสร้างข้ึนเองน้ี ยงั จะเป็นฐานใหผ้ เู้ รียนสามารถสร้าง
ความรู้ใหม่ต่อไปอยา่ งไม่มีที่สิ้นสุด (ทิศนา แขมมณี, 2547) ทฤษฎี constructionism มี
สาระสาํ คญั ที่กล่าวถึงวา่ ความรู้ไมใ่ ช่เกิดจากผสู้ อนเพยี งอยา่ งเดียว แต่ สามารถสร้างข้ึน
โดยผเู้ รียนเองได้ และการเรียนรู้จะเกิดข้ึนไดด้ ีกต็ ่อเมื่อผเู้ รียนลงมือกระท าดว้ ยตนเอง
(Learning by Doing) ซ่ึงการลงมือกระท าน้ี ไม่เพยี งแต่ไดร้ ับความรู้ใหม่ดว้ ยตนเองแลว้
แต่ยงั จะสามารถ เกบ็ ขอ้ มูลของสิ่งแวดลอ้ มเขา้ ไปเป็นโครงสร้างของสมองตนเอง
ขณะเดียวกนั กส็ ามารถนาํ ความรู้เดิมที่มี อยปู่ รับใหเ้ ขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ มภายนอกได้ และจะ
เกิดเป็นวงจรเช่นน้ีอยา่ งต่อเน่ือง ดงั น้นั การลงมือกระท า 2 ดว้ ยตนเองจะสามารถ
เชื่อมโยงความรู้ระหวา่ งความรู้เก่าและความรู้ใหม่ สร้างเป็นองคค์ วามรู้ใหม่ข้ึนมา ซ่ึง
ท้งั หมดจะอยภู่ ายใตป้ ระสบการณ์และบรรยากาศที่เอ้ืออ านวยต่อการเรียนรู้ โดยยดึ หลกั
คิดที่วา่ “การ เรียนรู้ท่ีดีไม่ไดม้ าจากการหาวิธีการสอนท่ีดีแก่ผสู้ อน แต่มาจากการให้
โอกาสท่ีดีแก่ผู้

ขึน้ ตอนการสอน/กระบวนการจดั การเรียนรู้

การประเมินผลจากการสอบ,การทาํ โครงงานและการนาํ เสนอผา่ นเวบ็ ไซต์ จากท่ีกล่าวมา

สามารถสรุปเป็นข้นั ตอนการน าหลกั การใชโ้ ครงงานเป็นฐานไปใชก้ บั ผเู้ รียนสาย
อาชีวศึกษา หรือ V-Project Based Learning ไดด้ งั ตารางขา้ งล่างน้ี V-Project Based
Learning : the steps ข้นั ท่ี 1 การเตรียมความพร้อม ผสู้ อนจดั เตรียมขอบเขตของโครงการ
แหล่งขอ้ มูล และคาํ ถามนาํ โดยสามารถนาํ เสนอไดใ้ น หลากหลายรูปแบบเช่น text, video

clip, หรือ online news ข้นั ท่ี 2 ศึกษาความเป็นไปได้ ผเู้ รียนศึกษาขอบเขตโครงการ
แหล่งขอ้ มลู ตลอดจนคน้ หาแหลง่ ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซตต์ ่างๆ และ แลกเปลี่ยนขอ้ มูลกบั

สมาชิกในกลุ่มเพอ่ื พยายามตอบค าถามน าท่ีผสู้ อนไดต้ ้งั ไว้ ผา่ นเคร่ืองมือ ติดต่อสื่อสาร
แบบไม่ประสานเวลาต่างๆ เช่น group discussion board, wiki หรือเครื่องมือ

ติดต่อสื่อสารแบบประสานเวลาต่างๆ เช่น chat, web conference แลว้ ศึกษาโครงงานอยา่ ง

คร่าวๆ ถึงความเป็นไปไดใ้ นการจดั ท าโครงงาน ข้นั ท่ี 3 ก าหนดหวั ขอ้ ปรึกษาภายใน
กลุ่ม ก าหนดหวั ขอ้ ท่ีจะท าเป็นโครงงาน เม่ือผสู้ อนไดเ้ ห็นชอบกบั หวั ขอ้ ที่กลุ่มของตน

ได้ นาํ เสนอแลว้ ผเู้ รียนในแต่ละกลุ่มวางแผนการจดั ท าโครงการ โดยระบุกิจกรรมในแต่

ละข้นั ตอนและ ตารางการด าเนินการ ตลอดจนกาํ หนด บทบาทหนา้ ท่ีของสมาชิกในกลุ่ม
ใหช้ ดั เจน ตามความสะดวกของ สมาชิกในกลุ่ม จากน้นั นาํ เสนอขอ้ สรุปแก่ผสู้ อนอีกคร้ัง
ข้นั ท่ี 4 การดาํ เนินงานสร้าง ชิ้นงานและทดสอบ สมาชิกในกลุ่มแบ่งงานและภาระความ
รับผดิ ชอบของแต่ละคนเพอื่ สร้างชิ้นงาน โดยใชค้ วามรู้ในการ จดั ทาํ โครงการ จากน้นั จึง
แลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ใหม่กบั สมาชิกในกลุ่มซ่ึงสามารถท าได้ ท้งั แบบ
ประสานเวลาและไม่ประสานเวลาตามความสะดวกของสมาชิกในกลุ่ม โดยมีผสู้ อนคอย

ให้ คาํ ปรึกษา หลงั จากดาํ เนินการสร้างเสร็จเรียบร้อยแลว้ ตอ้ งมีการทดสอบ เพ่อื วดั

ประสิทธิภาพของงาน ที่สร้างข้ึนน้นั ข้นั ที่ 5 นาํ เสนอผลงาน ผเู้ รียนจดั ทาํ รายงานและ
เตรียมการนาํ เสนอที่แสดงใหเ้ ห็นถึงผลของกิจกรรมของโครงการ (ผลงานและ

กระบวนการ) แลว้ น าเสนอผา่ นเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น video clip, online

text, webpage, blog, Facebook เป็นตน้

3.ทฤษฎกี ารสร้างความรู้

(Constructivism) ของ เพยี เจต์

ทฤษฏี

ทฤษฎีการ

สร้างความรู้ (Constructivism) ของ เพียเจต์ (Piagetทฤษฎีคอนสตรัคติวิ
สซึม

แนวคดิ ของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมทฤษฎีพฒั นาการทางเชาวน์ปัญญา
ของ Piaget และ Vygotsky เป็นรากฐานท่ีสาํ คญั ของทฤษฎีคอนสตรัคติวิ
สซึม โดย Piaget อธิบายวา่ พฒั นาการทางเชาวน์ปัญญาของบุคคลมีการ
ปรับตวั ผา่ นกระบวนการซึบซาบหรือดูดซึม (assimilation) และ
กระบวนการปรับโครงสร้างปัญญา (accommodation) พฒั นาการเกิดข้ึน
เม่ือบุคคลรับและซึบซาบขอ้ มูลหรือประสบการณ์ใหม่เขา้ ไปสมั พนั ธ์กบั
ความรู้หรือโครงสร้างทางปัญญาท่ีมีอยเู่ ดิม หากไม่สามารถสมั พนั ธก์ นั ได้
จะเกิดภาวะไม่สมดุลข้ึน (disequilibrium) บุคคลจะพยายามปรับสภาวะให้
อยใู่ นภาวะสมดุล(equilibrium) โดยใชก้ ระบวนการปรับโครงสร้างทาง

ปัญญา Piaget เช่ือวา่ คนทุกคนจะมีการพฒั นาเชาวนป์ ัญญาตามล าดบั ข้นั
จากการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั ประสบการณ์กบั ส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติและ
ประสบการณ์ที่เกี่ยวกบั การคิดเชิงตรรกะและคณิตศาสตร์(logical –
mathematical experience) รวมท้งั การถ่ายทอดความรู้ทางสงั คม (social
transmission) และกระบวนการพฒั นาความสมดุลของบุคคลน้นั (ทิศนา
แขมณี2551 : 90-91)หลกั การสาํ คญั ของทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ซึม

หลกั การที่สาํ คญั ของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม คือ ผเู้ รียนเป็นผสู้ ร้าง
ความรู้ใหม่ข้ึนเองอยา่ งกระตือรือร้น แทนการรับฟัง และซึมซบั ความรู้จาก
ครูผสู้ อน ผเู้ รียนจะเป็นผคู้ ิดคน้ ตามความคิดของตนเอง ดว้ ยการหลอมรวม
ความคิดหรือขอ้ มูลใหม่ที่ไดร้ ับเขา้ กบั ความคิดเดิม ซ่ึงเป็นส่ิงที่ง่าย และ
ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้แลว้ ปรับขยายเปลี่ยนเป็นความรู้ใหม่ ซ่ึงในกระบวนการ
สร้างความรู้ใหม่น้ีจะช่วยทาํ ใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกคิดอยา่ งสลบั ซบั ซอ้ น และเกิด
หลงั ในการคิดและเม่ือไดร้ ับการส่งเสริมอยา่ งเหมาะสมจากครูผสู้ อน
ผเู้ รียนกจ็ ะสามารถพฒั นาการคิดหยงั่ รู้อยา่ งมีวจิ ารณญาณในสิ่งท่ีตนคิดคน้
และศึกษาไดอ้ ยา่ งละเอียดและลึกซ้ึง (กชกร ธิปัตดี2542 : 1, อา้ งถึงใน
คฤหสั ถ์ บุญเยน็ 2546 : 15)

รูปแบบ

รูปแบบการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม การเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม
เป็นรูปแบบการสอนท่ีใหเ้ ดก็ เรียนรู้เอง คิดเอง เดก็ และครูจะเกิดการเรียนรู้จากการมี
ปฏิสมั พนั ธซ์ ่ึงกนั และกนั ท้งั 2 ฝ่ าย โดยต่างฝ่ ายต่างเรียนรู้ซ่ึงกนั และกนั การเรียนรู้ตาม
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม มีการแลกเปล่ียนกนั ระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผสู้ อน ซ่ึง เสนอในรูป
สมการลูกศรสองทาง ดงั ภาพที่ 10.1 ต่อไปน้ี ภาพท่ี2.1 สมการการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสซึม จากภาพที่ 2.1 O คือ ตวั นกั เรียนหรือผเู้ รียน และ S คือ ครูหรือผสู้ อน โดยมี
ลกั ษณะเป็น ลูกศรสองทาง กล่าวคือ การเรียนรู้จะเกิดข้ึนเม่ือมีกิจกรรมเกิดข้ึนตลอดเวลา
ไม่ใช่อยนู่ ่ิงๆ ผเู้ รียนมี ปฏิสมั พนั ธก์ บั ครูมีสมั พนั ธ์อยา่ งไม่อยนู่ ่ิงเฉยท้งั สองฝ่ ายเพือ่ ใหเ้ กิด
การเรียนรู้ Yager (1991 : 52-57, อา้ งถึงใน คฤหสั ถบ์ ุญเยน็ 2546 : 25) น าเสนอโมเดลการ
เรียนการ สอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวสิ ซึม แบ่งเป็น 4 ข้นั ดงั น้ี 1. ข้นั เชิญชวน 2. ข้นั ส
ารวจ 3. ข้นั การน าเสนอค าอธิบายและค าตอบของปัญหา 4. ข้นั นาํ ไปปฏิบตั ิ

ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)

กนั ยายน 25, 2013anuchalive

โดย ดร.อนุชา โสมาบุตร

สาระสาํ คญั ของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

ทฤษฎีท่ีนาํ มาเป็นรากฐานสาํ คญั ในการสร้างความรู้ของผเู้ รียน คือ ทฤษฎีคอนสตรัคติ
วิสต์ (Constructivist Theory) เป็นทฤษฎีที่วา่ ดว้ ยการสร้างความรู้ของผเู้ รียน ซ่ึงถา้
พิจารณาจากรากศพั ท์ “Construct” แปลวา่ “สร้าง” โดยในที่น้ีหมายถึงการสร้างความรู้
โดยผเู้ รียนนน่ั เอง

ทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ เชื่อวา่ การเรียนรู้ หรือการสร้างความรู้ เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึน
ภายในของผเู้ รียน โดยท่ีผเู้ รียนเป็นผสู้ ร้างความรู้ โดยการนาํ ประสบการณ์หรือสิ่งที่พบ
เห็นในสิ่งแวดลอ้ มหรือสารสนเทศใหม่ที่ไดร้ ับมาเชื่อมโยงกบั ความรู้ความเขา้ ใจท่ีมีอยู่
เดิม มาสร้างเป็น ความเขา้ ใจของตนเอง หรือ เรียกวา่ โครงสร้างทางปัญญา (Cognitive
structure) หรือท่ีเรียกวา่ สกีมา (Schema) ซ่ึงนนั่ คือ ความรู้ นนั่ เอง ซ่ึงอาจมิใช่เป็นเพียง
การจดจาํ สารสนเทศมาเท่าน้นั แต่จะประกอบดว้ ย โดยที่แต่ละบุคคลนาํ ประสบการณ์เดิม
หรือความรู้ความเขา้ ใจเดิมท่ีตนเองมีมาก่อน มาสร้างเป็นความรู้ความเขา้ ใจที่มี
ความหมายของตนเองเก่ียวกบั สิ่งน้นั ๆ ซ่ึงแต่บุคคลอาจสร้างความหมายที่แตกต่างกนั
เพราะมีประสบการณ์ หรือ ความรู้ความเขา้ ใจเดิมที่แตกต่างกนั

กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เช่ือวา่ การเรียนรู้ เป็นกระบวนการสร้าง
มากกวา่ การรับความรู้ ดงั น้นั เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอนจะสนบั สนุนการ
สร้างมากกวา่ ความพยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดงั น้นั กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวสิ ต์
จะมุ่งเนน้ การสร้างความรู้ใหม่อยา่ งเหมาะสมของแต่ละบุคคล และเช่ือวา่ สิ่งแวดลอ้ มมี
ความสาํ คญั ในการสร้างความหมายตามความเป็นจริง (Duffy and Cunningham, 1996)

วธิ ีการที่นาํ มาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน มีหลกั การท่ีสาํ คญั วา่ ในการเรียนรู้ มุ่งเนน้
ใหผ้ เู้ รียนลงมือกระทาํ ในการสร้างความรู้ หรือเรียกวา่ Actively construct มิใช่ Passive
receive ที่เป็นการรับขอ้ มูล หรือสารสนเทศ และพยายามจดจาํ เท่าน้นั

กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ปรากฏแนวคิดที่แตกต่างกนั เก่ียวกบั การสร้างความรู้ หรือ
การเรียนรู้ ท้งั น้ีเนื่องมาจากแนวคิดท่ีเป็นรากฐานสาํ คญั ซ่ึงปรากฏจากรายงานของ
นกั จิตวทิ ยาและนกั การศึกษา คือ Jean Piaget นกั จิตวิทยาพฒั นาการชาวสวิส และ Lev
Vygotsky ชาวรัสเซีย ซ่ึงแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ

กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสตเ์ ชิงปัญญา (Cognitive constructivism)

กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสตเ์ ชิงสงั คม (Social constructivism)

กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวสิ ตเ์ ชิงปัญญา (Cognitive constructivism)

กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวสิ ตเ์ ชิงปัญญา มีรากฐานทางปรัชญาของทฤษฎี มาจากความ
พยายามท่ีจะเช่ือมโยงประสบการณ์เดิมกบั ประสบการณ์ใหม่ ดว้ ยกระบวนการท่ีพสิ ูจน์
อยา่ งมีเหตุผล เป็นความรู้ ท่ีเกิดจากการไตร่ตรอง ซ่ึงถือเป็นปรัชญาปฏิบตั ินิยม ประกอบ
กบั รากฐานทางจิตวิทยาการเรียนรู้ท่ีมีอิทธิพลต่อพ้ืนฐานแนวคิดน้ี นกั จิตวทิ ยาพฒั นาการ
ชาวสวสิ คือ เพยี เจต์ (Jean Piaget) ทฤษฏีของเพยี เจต์ จะแบ่งไดเ้ ป็น 2 ส่วน คือ ช่วงอายุ
(Ages) และ ]ลาํ ดบั ข้นั (Stages) ซ่ึงท้งั สององคป์ ระกอบน้ีจะทาํ นายวา่ เดก็ จะสามารถ
หรือไม่สามารถเขา้ ใจสิ่งหน่ึงสิ่งใดเมื่อมีอายแุ ตกต่างกนั และทฤษฏีเก่ียวกบั ดา้ น
พฒั นาการที่จะอธิบายวา่ ผเู้ รียนจะพฒั นาความสามารถทางการรู้คิด (Cognitive abilities)
ทฤษฏีพฒั นาการที่จะเนน้ จุดดงั กล่าวเพราะวา่ เป็นพ้ืนฐานหลกั สาํ หรับวธิ ีการของคอน
สตรัคติวสิ ตเ์ ชิงปัญญา โดยดา้ นการจดั การเรียนรู้น้นั มีแนวคิดวา่ มนุษยเ์ ราตอ้ ง “สร้าง”
ความรู้ดว้ ยตนเองโดยผา่ นทางประสบการณ์ ซ่ึงประสบการณ์เหล่าน้ีจะกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียน
สร้างโครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกวา่ สกีมา (Schemas) รูปแบบการทาํ ความเขา้ ใจ
(Mental model) ในสมอง สกีมาเหล่าน้ีสามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Change) ขยาย (Enlarge)
และซบั ซอ้ นข้ึนไดโ้ ดยผา่ นทางกระบวนการ การดูดซึม (Assimilation) และการ
ปรับเปลี่ยน (Accommodation)

ส่ิงสาํ คญั ท่ีสามารถสรุปอา้ งอิงทฤษฎีของเพยี เจต์ กค็ ือ บทบาทของครูผสู้ อนในหอ้ งเรียน
ตามแนวคิดเพียเจต์ บทบาทที่สาํ คญั คือ การจดั เตรียมสิ่งแวดลอ้ มที่ใหผ้ เู้ รียนไดส้ าํ รวจ
คน้ หาตามธรรมชาติหอ้ งเรียนควรเติมสิ่งท่ีน่าสนใจท่ีจะกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนเป็นผสู้ ร้าง

ความรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งตื่นตวั โดยการขยาย สกีมาผา่ นทางประสบการณ์ดว้ ยวธิ ีการดูด
ซึม (Assimilation) และการปรับเปลี่ยน (Accommodation) ซ่ึงเช่ือวา่ การเรียนรู้เกิดจาก
การปรับเขา้ สู่สภาวะสมดุล (Equilibrium) ระหวา่ งอินทรียแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม โดยมี
กระบวนการ ดงั น้ี

1. การดูดซึมเขา้ สู่โครงสร้างทางปัญญา (Assimilation) เป็นการตีความ หรือรับขอ้ มูลจาก
ส่ิงแวดลอ้ มมาปรับเขา้ กบั โครงสร้างทางปัญญา

2.การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) เป็นความสามารถในการปรับ
โครงสร้างทางปัญญาใหเ้ ขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ ม โดยการเชื่อมโยงระหวา่ งความรู้เดิมและสิ่งที่
ตอ้ งเรียนใหม่

ภาพแสดงแนวคิดของกลุ่มคอนสตรัคติวสิ ตเ์ ชิงปัญญา (Cognitive constructivism)

กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวสิ ตเ์ ชิงสงั คม (Social constructivism)

4. การสอนแบบ 5 E

รูปแบบ

รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ของสถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท., 2546) ประกอบดว้ ยข้นั ตอนท่ีสาํ คญั ดงั น้ี
1) ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนาํ เขา้ สู่บทเรียนหรือเร่ืองท่ีสนใจซ่ึง
เกิดข้ึนจากความสงสยั หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตวั นกั เรียนเองหรือเกิดจากการ
อภิปรายภายในกลุ่ม เร่ืองท่ีน่าสนใจอาจมาจากเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนอยใู่ นช่วงเวลาน้นั หรือ

เป็นเร่ืองท่ีเช่ือมโยงกบั ความรู้เดิมที่เพิ่งเรียนรู้มาแลว้ เป็นตวั กระตุน้ ใหน้ กั เรียนสร้าง
คาํ ถาม กาํ หนดประเดน็ ที่ศึกษา ในกรณีท่ีไม่มีประเดน็ ใดท่ีน่าสนใจ ครูอาจใหศ้ ึกษาจาก
สื่อต่างๆ หรือเป็นผกู้ ระตุน้ ดว้ ยการเสนอดว้ ยประเดน็ ข้ึนมาก่อน แต่ไม่ควรบงั คบั ให้
นกั เรียนยอมรับประเดน็ หรือคาํ ถามที่ครูกาํ ลงั สนใจเป็นเรื่องท่ีจะใชศ้ ึกษา เม่ือมีคาํ ถามที่
น่าสนใจและนกั เรียนส่วนใหญ่ยอมรับใหเ้ ป็นประเดน็ ที่ตอ้ งการศึกษา จึงร่วมกนั กาํ หนด
ขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเร่ืองท่ีจะศึกษาใหม้ ีความชดั เจนมากข้ึน อาจรวมท้งั
การรับรู้ประสบการณ์เดิม หรือความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่จะช่วยใหน้ าํ ไปสู่ความเขา้ ใจ
เร่ืองหรือประเดน็ ท่ีจะศึกษามากข้ึน และมีแนวทางท่ีใชใ้ นการสาํ รวจตรวจสอบอยา่ ง
หลากหลาย

2) ข้นั สํารวจและค้นหา (Exploration) เมื่อทาํ ความเขา้ ใจในประเดน็ หรือคาํ ถามท่ี
สนใจจะศึกษาอยา่ งถ่องแทแ้ ลว้ กม็ ีการวางแผนกาํ หนดแนวทางสาํ หรับการตรวจสอบ
ต้งั สมมติฐาน กาํ หนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมือปฏิบตั ิเพื่อเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ขอ้ สนเทศ
หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ วิธีการตรวจสอบอาจทาํ ไดห้ ลายวธิ ี เช่นทาํ การทดลอง ทาํ
กิจกรรมภาคสนาม การใชค้ อมพิวเตอร์เพือ่ ช่วยสร้างสถานการณ์จาํ ลอง (Simulation)
การศึกษาหาขอ้ มูลจากเอกสารอา้ งอิงหรือจากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ เพ่ือใหไ้ ดม้ าซ่ึงขอ้ มูล
อยา่ งเพียงพอท่ีจะใชใ้ นข้นั ต่อไป

3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เม่ือไดข้ อ้ มูลอยา่ งเพยี งพอจากการสาํ รวจ
ตรวจสอบแลว้ จึงนาํ ขอ้ มูลขอ้ สนเทศท่ีไดม้ ิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและนาํ เสนอผลที่ได้
ในรูปต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างแบบจาํ ลองทางคณิตศาสตร์ หรือรูปวาด สร้างตาราง
ฯลฯ การคน้ พบในข้นั น้ีอาจเป็นไปไดห้ ลายทาง เช่น สนบั สนุนสมติฐานท่ีต้งั ไว้ โตแ้ ยง้

กบั สมมติฐานที่ต้งั ไว้ หรือไม่เก่ียวขอ้ งกบั ประเดน็ ที่ไดก้ าํ หนดไว้ แต่ผลท่ีไดจ้ ะอยใู่ นรูป
ใดกส็ ามารถสร้างความรู้และช่วยใหเ้ กิดการเรียนรู้ได้

4) ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาํ ความรู้ท่ีสร้างข้ึนไปเชื่อมโยงกบั
ความรู้เดิมหรือความคิดท่ีไดค้ น้ ควา้ เพิ่มเติมหรือนาํ แบบจาํ ลองหรือขอ้ สรุปที่ไดไ้ ปใช้
อธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อ่ืน ๆ ถา้ ใชอ้ ธิบายเรื่องต่าง ๆ ไดม้ ากกแ็ สดงวา่ ขอ้ จาํ กดั
นอ้ ย ซ่ึงจะช่วยใหเ้ ช่ือมโยงกบั เร่ืองต่าง ๆ และทาํ ใหเ้ กิดความรู้กวา้ งขวางข้ึน

5) ข้ันประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการต่าง ๆ วา่
นกั เรียนมีความรู้อะไรบา้ ง อยา่ งไร และมากนอ้ ยเพียงใด จากข้นั น้ีจะนาํ ไปสู่การนาํ
ความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นเร่ืองอื่น ๆการนาํ ความรู้หรือแบบจาํ ลองไปใชอ้ ธิบายหรือ
ประยกุ ตใ์ ชก้ บั เหตุการณ์หรือเร่ืองอ่ืน ๆ จะนาํ ไปสู่ขอ้ โตแ้ ยง้ หรือขอ้ จาํ กดั ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิด
ประเดน็ หรือคาํ ถาม หรือปัญหาท่ีจะตอ้ งสาํ รวจตรวจสอบต่อไป ทาํ ใหเ้ กิดเป็น
กระบวนการท่ีต่อเน่ืองกนั ไปเร่ือย ๆ จึงเรียกวา่ Inquiry cycle กระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้จึงช่วยใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรู้ท้งั เน้ือหาหลกั และหลกั การ ทฤษฎี ตลอดจนลงมือ
ปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหไ้ ดค้ วามรู้ซ่ึงจะเป็นพ้ืนฐานในการเรียนต่อไป

5. รูปแบบการสอนแบบ 7 E

รูปแบบ

ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน

ข้นั สร้างความสนใจ(Engagement)

ข้นั คน้ หาความรู้เดิม/ความรู้ พ้ืนฐาน (Elicit

ข้นั สอน

ข้นั สาํ รวจและคน้ หา (Exploration)

ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)

ข้นั ขยายความรู้(Elaboration)

ข้นั ใชค้ วามเขา้ ใจในสถานการณ์ ใหม่(Extension)

ข้นั สรุป

ข้นั ประเมิน (Evaluation)

ในลาํ ดบั ข้นั ตอนการสอนแบบ 5E และ 7E จึงมีความคลา้ ยคลึงกนั แตกต่างกนั เพียงการ
ขยายและเนน้

การศึกษาความรู้เดิมและความรู้พ้ืนฐานของผเู้ รียน รวมท้งั การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ความ
เขา้ ใจในสถานการณ์ใหม่ โดยผสู้ อนอาจจะเลือกขยายเป็น 7 ข้นั หรือรวมเป็น 5 ข้นั
แลว้ แต่การนาํ ไปใชใ้ นท่ีน่ีจะอธิบาย

รายละเอียดท้งั 7 ข้นั ดงั ต่อไปน้ี

1) ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) เป็นข้นั ท่ีผสู้ อนกระตุนค้ วามสนใจของผเู้ รียน เพื่อ
นาํ ไปสู่การดาํ เนินกิจกรรมเพ่อื สร้างแนวคิดใหม่สามารถทา ไดโ้ ดยใชก้ ิจกรรมส้นั ๆ เพอ่ื
กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนเกิดความสงสยั

อยากรู้อยากเห็นหรือเกิดคา ถาม โดยกิจกรรมควรจะเช่ือมโยงประสบการณ์เดิมของผรู้ ียน
กบั กิจกรรมการ

เรียนรู้ท่ีกาํ ลงั จะปฏิบตั ิ ท้งั น้ีกิจกรรมตอง้ ช่วยจดั กรอบแนวคิดของผเู้ รียนเพอ่ื ใหส้ ามารถ
เขา้ ใจหรือรู้จุดมุ่งหมายของการเรียนหรือกิจกรรมที่กาํ ลงั จะปฏิบตั ิได้

2) ข้นั คน้ หาความรู้เดิม (Elicit) ข้นั น้ีเป็นการศึกษาความรู้เดิมของผเู้ รียน ในเร่ืองหรือใน
แนวคิดที่กาํ ลงั จะเรียน เพื่อใหผ้ สู้ อนรู้ถึงแนวคิดท่ีคลาดเคลื่อน (misconception) ของ
ผเู้ รียน รวมไปถึงจุดเช่ือมต่อระหวา่ งประสบการณ์เดิมของผรู้ ียนเพื่อนาํ ไปสู่กิจกรรมใหม่
หรือเป็นการต่อยอดจากสิ่งท่ีผเู้ รียนรู้มาก่อนแลว้

เพราะในผเู้ รียนท่ีมีประสบการณ์นอ้ ย (novice learner)ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในที่ปรากฏ
ในแบบจาํ ลองใน

ความคิด (mental model) ของผเู้ รียนมกจั ะไม่ตรงกบแั นวคิดทางวิทยาศาสตร์(Scientific
concept) ท้งั น้ีหาก

ผสู้ อนไม่ระวงหั รือไม่ไดใ้ หค้ วามสนใจกบแั นวคิดท่ีคลาดเคล่ือนของผเู้ รียนก่อน ความ
เขา้ ใจท่ีคลาดเคลื่อนน้นั จะมีผลต่อการสร้างแนวคิดทางวทิ ยาศาสตร์ หรือเกิดผสมผสาน
เป็นแนวคิดท่ีถูกตอ้ งเพียงบางส่วน (partial understanding) ซ่ึงมีผลใหก้ ิจกรรมในแผนการ
เรียนน้นั ไม่เป็นไปตามที่คาดหวง

6. วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์

ข้นั ตอน
ข้นั ตอน
1. สงั เกตและระบุปัญหา
2. ต้งั สมมุติฐาน
3. ทาํ การทดลองหรือทดสอบสมมติฐาน
4. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและวิเคราะห์ขอ้ มูล
5. สรุปผลการทดลอง
ข้นั ท่ี 1 กาํ หนดปัญหาและขอบเขตของปัญหา
ข้นั แรกตอ้ งมีปัญหาก่อนแลว้ จึงกาํ หนดสาเหตุของปัญหาและสรุปขอบเขตของปัญหา
1.1 กาํ หนดสาเหตุของปัญหา "การตายของปลา" วา่ ตายเพราะอะไร ไดด้ งั ต่อไปน้ี
ข้นั ท่ี 2 ต้งั สมมติฐาน
เป็นการท านายหรือการคาดคะเนคาํ ตอบของปัญหา
ล่วงหนา้ วา่ คืออะไรและจากตวั อยา่ งสามารถ
ต้งั สมมติฐานไดด้ งั น้ี

2.1 ปลาตายเนื่องจากอนั ตรายจากภายนอก

2.2 ปลาตายเน่ืองจากอากาศ

2.3 โรคติดต่อท าใหป้ ลาตาย

2.4 น้าํ เน่าทาํ ใหป้ ลาตาย
• ขาดอาหาร • คนวางยา • ขาดออกซิเจน • ในน้าํ มีสารพิษ
• จา้ นวนมากเกินไป • สายไฟตกลงไปในน้าํ • เป็นโรคติดต่อ
ข้นั ท่ี 3 ทดลองหรือตรวจสอบสมมติฐาน
มีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและนาํ ขอ้ มูลที่ไดม้ าทาํ การวเิ คราะห์

แยกแยะ วา่ เป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้งั ไวห้ รือไม่ เช่น
เอาน้าํ ในแม่น้าํ ไปวเิ คราะห์หรือตรวจสอบโดยวธิ ีการทางเคมีวา่ มีอะไรเจือปนอยบู่ า้ ง เช่น
พบวา่ น้าํ เน่า
ข้นั ท่ี 4 ตีความหมายของขอ้ มูลวเิ คราะห์ขอ้ มูล
โดยนาํ ผลที่วิเคราะห์ไดแ้ ลว้ จากข้นั ท่ี 3 มาตีความหมายวา่ ปลาตายเพราะน้าํ เน่าโดยทาํ การ
ตรวจสอบผล โดยตกั

น้าํ จากในแม่น้ าน้นั เอามาลองเล้ียงปลาชนิดเดียวกนั น้นั แลว้ ปรากฏวา่ ปลาตายจริงเพ่อื
เป็นการยนื ยนั ผลท่ีได้

ข้นั ท่ี 5 สรุปผล

เป็นการสรุปผลที่ไดจ้ ากข้นั ท่ี 4 เม่ือตรวจสอบคา้ ตอบแลว้ พบวา่ ปลาท่ีเล้ียงในน้าํ ท่ีตกั มา
จากในแม่น้าํ น้นั ปลาตายจริง

สรุป

"น้าํ เน่าทาํ ใหป้ ลาในแม่น้าํ พองที่จงั หวดั ขอนแก่นตายเป็นจาํ นวนมาก"
7.วธิ ีการสืบเสาะหาความรู้

ผู้ค้นคดิ ทฤษฎี

ภพ เลาหไพบูลย์ (2542 : 123) กล่าววา่ วธิ ีสอนหรือกิจกรรมในการจดั การเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ท่ีนิยมใชห้ ลายวธิ ีแต่ไม่มีขอ้ มูลยนื ยนั วา่ มีวิธีการจดั การเรียนรู้หรือกิจกรรม
ใดท่ีดีท่ีสุด ดงั น้นั ครูวิทยาศาสตร์จึงตอ้ งใชด้ ุลยพินิจในการเลือกใชว้ ธิ ีการจดั การเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมกบั ความ

สามารถของผเู้ รียน เนน้ เน้ือหาวชิ า ตลอดจนอุปกรณ์การสอนที่มีอยู่ วิธีการจดั การเรียนรู้

วิทยาศาสตร์ท่ีไดร้ ับการยอมรับวาม่ความเหมาะสมกบั ธรรมชาติของวชิ า

หลกั การแนวคดิ ทฤษฎี

วธิ ีน้ีเนน้ ให้ ผเู้ รียนแสวงหาความรู้

เพ่ือการแกป้ ัญหา โดยใชค้ าํ ถามเป็น วิธีสอนที่เปิ ดโอกาสใหผ้ เ็ รียนไดม้ ีส่วนร่วมในการ
จดั

กิจกรรมการเรียนการสอนบทบาทของครูผสอนจะลดลง

ขนึ้ ตอนการสอน/กระบวนการจัดการเรียนรู้

ภพ เลาหไพบูลย์ (2542 : 123) กล่าววา่ วิธีสอนหรือกิจกรรมในการจดั การเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์ที่นิยมใชม้ ีหลายวธิ ีแต่ไม่มีขอ้ มูลยนื ยนั วา่ มีวิธีการจดการเรียนนรู้หรือ
กิจกรรมใดท่ีดี ท่ีสุด ดงั น้นั ครูวิทยาศาสตร์จึงตองใชด้ ุลยพนิ ิจในการเลือกใชว้ ิธีการจดการ
เรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบั ความสามารถของผเู้ รียน เน้ือหาวิชา ตลอดจนอุปกรณ์การสอนที่มี
อยวู่ ธิ ีการจดั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ไดร้ ับการยอมรับวา่ มีความเหมาะสมกบธรรมชาติ
ของวิชามีดงั น้ี

1. วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method) วิธีเนน้ ใหผ้ เู้ รียน รู้เรียนแสวงหา
ความรู้

เพ่ือการแกป้ ัญหา โดยใชค้ าถาม จาํ เป็นวิธีสอนท่ีเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีส่วนร่วมในการ
จดั กิจกรรมการเรียนการสอนบทบาทของครูผสู้ อนจะลดลง มีข้นั ตอนการสอน แบ่งเป็น
6 ขอ้

คือ

1.1 ข้นั นาํ เสนอสถานการณ์หรือสิ่งท่ีเป็นปัญหา โดยครูอาจเล่าโดยใชส้ ่ืออุปกรณ์ หรือนา
ของจริงมาแสดงกไ็ ด้

1.2 ข้นั สงั เกต ใหผ้ เู้ รียนสงั เกตสิ่งที่นาํ เสนอ โดยใชป้ ระสารทสมั ผสั ท้งั หา้ หรือเครื่องมือ
บางอยางช่วยกไ็ ด้

1.3 ข้นั อธิบาย ครูใหผ้ เู รียนนคิดหาสาเหตุของปัญหาแลว้ ต้งั สมมติฐานเกี่ยวกบั ปัญหา
เนน้ จากความรู้หรือประสบการณ์เดิมของผเู้ รียน

1.4 ข้นั ทดสอบ ครูใหน้ กั เรียนต้งั คาํ ถามเพอื่ รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบปัญหาใหม้ ากที่สุด
เพ่อื ทดสอบสมมติฐาน

1.5 ข้นั สรุป ครูใหน้ กั เรียนสรุปความรู้ที่ไดจ้ ากน้นั ทดสอบเพอ่ื อธิบายคาํ ตอบของปัญหา

1.6 ข้นั นาํ ความรู้ไปใชค้ รูกระตุนใหผ้ เู้ รียนนาํ ความรู้ใหม่ท่ีไดไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ ใหเ้ กิด
ประโยชนใ์ นชีวิตประจาํ วนั

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

การวดั และการประเมินผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนตอ้ งอยบู่ นหลกั พ้นื ฐาน 2ประการคือการ
ประเมินเพ่ือพฒั นาผเู้ รียนและเพื่อตดั สินผลการเรียน ในการพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียนใหป้ ระสบความสาํ เร็จน้นั ผเู้ รียนจะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาและการประเมินตาม
ตวั ช้ีวดั เพือ่ ใหบ้ รรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้สะทอ้ นสมรรถนะสาํ คญั และลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์ ของผเู้ รียนซ่ึงเป็นเป้าหมายหลกั ในการวดั และการประเมินผลการเรียนรู้ในทุก
ระดบั ไม่วา่ จะเป็นระดบั ช้นั เรียนระดบั สถานศึกษาระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษาและระดบั ชาติ
การวดั และประเมินผลการเรียนรู้และกระบวนการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน โดยใชผ้ ลการ
ประเมินเป็นขอ้ มูลและสารสนเทศท่ีแสดงพฒั นาการความกา้ วหนา้ และความสาํ เร็จ
ทางการเรียนของผเู้ รียนตลอดจนขอ้ มูลที่เป็นประโยชนต์ ่อการส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเกิดการ
พฒั นาและเรียนรู้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพการวดั และการประเมินการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 4
ระดบั ไดแ้ ก่ระดบั ช้นั เรียน ระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษา และระดบั ชาติ มี
รายละเอียด ดงั น้ี

1.การประเมนิ ระดบั ช้ันเรียน

เป็นการวดั และประเมินผลที่อยใู่ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ผสู้ อนดาํ เนินการเป็นปกติ
และสม่าํ เสมอในการจดั การเรียนการสอนใชเ้ ทคนิคการประเมินอยา่ งหลากหลายเช่นการ
ซกั ถาม การสงั เกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระ

งาน แฟ้มสะสมผลงาน การใชแ้ บบทดสอบ โดยผสู้ อนเป็นผปู้ ระเมินเองหรือเปิ ดโอกาส
ใหผ้ เู้ รียนประเมินตนเองเพือ่ ประเมินเพ่อื นผปู้ กครองร่วมประเมินในกรณีท่ีไม่ผา่ น
ตวั ช้ีวดั ใหม้ ีการสอน ซ่อมเสริม การประเมินระดบั ช้นั เรียนเป็นการตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนมี
พฒั นาการความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้อนั เป็นผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
หรือไม่และมากนอ้ ยเพยี งใด มีสิ่งที่จะตอ้ งรับการพฒั นาปรับปรุงและส่งเสริมในดา้ นใด
นอกจากน้ียงั เป็นขอ้ มูลใหผ้ สู้ อนใชป้ รับปรุงการเรียนการสอนของตนดว้ ยท้งั น้ีโดย
สอดคลอ้ ง

2.การประเมนิ ระดบั สถานศึกษา

เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาํ เนินการเพื่อตดั สินผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนเป็นรายปี
หรือรายภาค ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และการเขียนคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน นอกจากน้ีเพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ มูลเกี่ยวกบั การจดั การศึกษาของ
สถานศึกษาวา่ ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผเู้ รียนตามเป้าหมายหรือไม่ผเู้ รียนมีจุดพฒั นาใน
ดา้ นใดรวมท้งั สามารถนาํ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกบั เกม
ระดบั ชาติ ผลการประเมินระดบั สถานศึกษาจะเป็นขอ้ มูลและสารสนเทศเพ่อื ปรับปรุง
นโยบายหลกั สูตรโครงการ หรือวิธีการจดั การเรียนการสอนตลอดจนเพื่อการจดั ทาํ
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางประกนั คุณภาพการศึกษาและ
การรายงานผลการจดั การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานผปู้ กครองและชุมชน

3.การประเมนิ ระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา

เป็นการประเมินคุณภาพผเู้ รียนในระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานเพ่อื ใชเ้ ป็นขอ้ มูลพ้ืนฐานในการพฒั นา

คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามภาระความรับผดิ ชอบสามารถดาํ เนินการ
โดยประเมินคุณภาพสมั ฤทธ์ิของผเู้ รียนดว้ ยขอ้ สอบมาตรฐานท่ีจดั ทาํ และดาํ เนินการโดย
เขตพ้นื ที่การศึกษาหรือดว้ ยความร่วมมือกบั หน่วยงานตน้ สงั กดั ในการดาํ เนินการจดั สอบ
นอกจากน้ียงั ไดก้ ารตรวจทบทวนขอ้ มูลการประเมินระดบั สถานศึกษาในเขตพ้ืนที่
การศึกษา

4.การประเมนิ ระดบั ชาติ

เป็นการประเมินคุณภาพผเู้ รียนในระดบั ชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานสถานศึกษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รียนทุกคนท่ีเรียนในระดบั ช้นั
ประถมศึกษาปี ท่ี3 ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี6 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 และช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6
เขา้ รับการประเมิน ผลจากการประเมินใชเ้ ป็นขอ้ มูล ในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษา
ในระดบั ต่างๆเพ่อื นาํ ไปใชใ้ นการวางแผนยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาตลอดจนเป็น
ขอ้ มูลสนบั สนุนการตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ส่ือ/แหล่งเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไดจ้ ดั ทาํ ส่ือและจดั ใหม้ ีแหล่งเรียนรู้
ตามหลกั การ และนโยบายของการจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ดงั น้ี

สื่อการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนบั สนุนการจดั การกระบวนการเรียนรู้ ใหผ้ เู้ รียน
เขา้ ถึงความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะตามมาตรฐานของหลกั สูตรไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ ส่ือการเรียนรู้มี หลากหลายประเภท ท้งั สื่อธรรมชาติ ส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือ
เทคโนโลยี และเครือขา่ ยการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในทอ้ งถิ่น การเลือกใชส้ ่ือควรเลือกใหม้ ี
ความเหมาะสมกบั ระดบั พฒั นาการ และลีลาการเรียนรู้ท่ีหลากหลายของผเู้ รียน การจดั หา

สื่อการเรียนรู้ ผเู้ รียนและผสู้ อนสามารถจดั ทาํ และพฒั นาข้ีนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้
อยา่ งมีคุณภาพ จากสื่อต่าง ๆ ที่มีอยรู่ อบตวั เพอื่ นาํ มาใชป้ ระกอบในการจดั การเรียนรู้ท่ี
สามารถส่งเสริมและสื่อสารใหผ้ เู้ รียน เกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจดั ใหม้ ีอยา่ ง
พอเพยี ง เพ่ือพฒั นาใหผ้ เู้ รียน เกิดการเรียนรู้อยา่ งแทจ้ ริง สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา
หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งและผมู้ ีหนา้ ที่จดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ควรดาํ เนินการ ดงั น้นั

1. จดั ใหม้ ีแหล่งการเรียนรู้ ศูนยส์ ่ือการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรียนรู้ที่ มีประสิทธิภาพท้งั ในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาคน้ ควา้ และการ
แลกเปล่ียนประสบการณ์การ เรียนรู้ ระหวา่ งสถานศึกษา ทอ้ งถิ่น ชุมชน สงั คมโลก

2. จดั ทาํ และจดั หาส่ือการเรียนรู้สาํ หรับการศึกษาคน้ ควา้ ของผเู้ รียน เสริมความรู้ใหผ้ สู้ อน
รวมท้งั จดั หาสิ่งท่ีมีอยใู่ นทอ้ งถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นส่ือการเรียนรู้

3. เลือกและใชส้ ่ือการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอ้ ง
กบั วิธีการ เรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของ
ผเู้ รียน

4. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใชอ้ ยา่ งเป็นระบบ

5. ศึกษาคน้ ควา้ วจิ ยั เพือ่ พฒั นาส่ือการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกบั กระบวนการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียน

6. จดั ใหม้ ีการกาํ กบั ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกบั ส่ือและการใชส้ ่ือ
การเรียนรู้เป็นระยะ ๆ และสม่าํ เสมอ

ภาคผนวก

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าพืน้ ฐาน
ว 12101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปี ท่2ี

เวลาเรียน 120 ช่ัวโมง (3 ช่ัวโมง/สัปดาห์) จาํ นวน 3.0 หน่วยกติ

ศึกษา วเิ คราะห์ลกั ษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวติ ความจาํ เป็นของแสงและน้าํ ต่อการ
เจริญเติบโตของพืช วฏั จกั รชีวิตของพชื ดอก สมบตั ิการดูดซบั น้าํ ของวสั ดุและการ
นาํ ไปใชป้ ระโยชนส์ มบตั ิของวสั ดุท่ีเกิดจากการนาํ วสั ดุมาผสมกนั การเลือกวสั ดุมาใชท้ าํ
วตั ถุตามสมบตั ิของวสั ดุ การนาํ วสั ดุที่ใชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ การเคลื่อนท่ีของแสง การ
มองเห็นวตั ถุ การป้องกนั อนั ตรายจากการมองวตั ถุในบริเวณที่มีแสงสวา่ งไม่เหมาะสม
ส่วนประกอบและการจาํ แนกชนิดของดิน การใชป้ ระโยชนจ์ ากดิน การแสดงข้นั ตอนการ
แกป้ ัญหา การตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม การใชง้ านซอฟตแ์ วร์เบ้ืองตน้ การ

จดั การไฟลแ์ ละโฟลเดอร์การใชง้ านและดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์เทคโนโลยใี น
ชีวติ ประจาํ วนั การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั โดยใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้
การสาํ รวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 การสืบคน้ ขอ้ มูลและการอภิปราย เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ความคิด ความเขา้ ใจ
สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มีความสามารถในการตดั สินใจ การแกป้ ัญหา การนาํ ความรู้ไป
ใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั มีจิตวิทยาศาสตร์จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั

ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3

ว 1.3 ป.2/1

ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4

ว 2.3 ป.2/1, ป.2/2

ว 3.2 ป.2/1, ป.2/2

ว 4.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4

รวม 16 ตวั ชี้วดั

ตวั อยา่ งโครงสรา้ งรายวชิ าโรงเรยี นพบิ ลู อปุ ถมั ภ์

รหสั วิชา ว 12101 รายวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลมุ่ สาระ
การเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา 120 ช่วั โมง จาํ นวน 3.0 หนว่ ย
กิต

สดั สว่ นคะแนน ระหวา่ งปีการศกึ ษา : ปลายปี = 70 : 30

หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน สาระสําคญั เวลา นํา้ หนัก
1 เรียนรู้ การเรียนรู้/ ( ชั่วโมง ) คะแนน
วสั ดุรอบตัวเรา ตัวชี้วดั (100)
2 15
แสง ว 2.1 ป.2/1 วสั ดุแต่ละชนิดมสี มบัติ 24
ป.2/2 การดูดซับนํา้ 8
ป.2/3 แตกต่างกนั วสั ดุบางอย่าง
ป.2/4 สามารถนํามาผสมกนั
ซ่ึงทาํ ให้ได้สมบัตทิ ่ี
เหมาะสมการนําวสั ดุมา
ทาํ
เป็ นวตั ถุ ในการใช้งาน
ตาม
วตั ถุประสงค์ขึน้ อยู่กบั
สมบตั ิของวสั ดุ และ
นํามาใช้ประโยชน์ได้
ว 2.3 ป.2/1 แสงเคลื่อนที่จาก 16
ป.2/2 แหล่งกาํ เนดิ แสงทุก
ทิศทางเป็ นแนวตรง การ
มองเห็นวตั ถุท่เี ป็ น
แหล่งกาํ เนดิ แสง แสงจาก
วตั ถุน้ันจะเข้าสู่ตา
โดยตรง ถ้ามีแสงทสี่ ว่าง
มากๆ เข้าสู่ตาอาจเกดิ

อนั ตรายต่อตาได้
3 การแก้ปัญหา ว 4.2 ป.2/1 ในชีวติ ประจําวนั ของ 7 2
อย่างง่าย นักเรียนแต่ละคนจะ
พบปัญหามากมาย ซ่ึงใน
แต่ละปัญหาทพ่ี บน้ัน
อาจแตกต่างกนั ไปตาม
สถานการณ์แ ล ะ
สภาพแวดล้อม เช่น การ
ลืมส่ิงของที่จะนําไป
โรงเรียนการค้นพบปัญหา
น้ันจะช่วยให้เรา
สามารถหาวธิ ีการ
แก้ปัญหาได้สําเร็จ
การแสดงข้นั ตอนการ
แก้ปัญหา สามารถทาํ
ได้หลายวธิ ี โดยการเขียน
บอกเล่า การวาดภาพ
หรือใช้สัญลกั ษณ์ โดย
ก่อนแก้ปัญหาต้องมกี าร
วางแผนการแก้ปัญหาก่อน
แล้วค่อยลงมือ
แก้ปัญหา ซึ่งจะช่วยให้กา
แก้ปัญหาประสบ

ผลสําเร็จ มปี ระสิทธิภาพ
และประหยดั เวลา
เกมการแก้ปัญหา เป็ นการ
ฝึ กการแก้ปัญหา
อย่างเป็ นระบบ โดยใช้
ข้นั ตอนการแก้ปัญหาเข้า
มาช่วยในการแก้ปัญหา
และเกมการแก้ปัญหา ยงั
ช่วยเสริมสร้างพฒั นาการ
ด้านสติปัญญา และให้
ความสนุกสนาน
เพลดิ เพลนิ อกี ด้วย
4 การเขยี น ว 4.2 ป.2/2 ในการเร่ิมเขียนโปรแกรม
โปรแกรม จะต้องออกแบบ
เบื้องต้น การทํางานของโปรแกรม
ขนึ้ มาก่อน หรือเรียกว่า
ข้ันตอนวธิ ี ซึ่งทําได้โดย
การสร้างลาํ ดบั ของคาํ สั่ง
เช่น ถ้าให้หุ่นยนต์เดินไป
ทางขวา 3 บลอ็ ก แล้ว
เดนิ ขนึ้ ด้านบน เราอาจคดิ
ข้นั ตอนวธิ ีเป็ นคาํ พูด

ขึน้ มาก่อน แล้ว
เปลยี่ นเป็ นโปรแกรมโดย
ใช้บตั ร
คาํ ส่ัง
การเขยี นโปรแกรมมี
เคร่ืองมือในการเขยี น
โปรแกรมหลายรูปแบบ
เช่น เขยี นโปรแกรมโดย
ใช้คาํ สั่ง ของภาษา
โปรแกรมตามทอี่ อกแบบ
ไว้
หรือเขยี นโปรแกรมโดยใช้
บตั รคาํ สั่งที่ออกแบบ
ไว้ให้หุ่นยนต์เข้าใจ
แหล่งการเรียนรู้เกยี่ วกบั
การเขยี นโปรแกรม
ที่น่าสนใจในปัจจุบนั มอี ยู่
มากมาย เช่น เวบ็ ไซต์
https://code.org จะมี
บทเรียนให้เลือกเรียน
หรือฝึ กเขียนโปรแกรม
มากมาย

การเขยี นโปรแกรม
บางคร้ังอาจมขี ้อ
ผดิ พลาด เกดิ ขนึ้ เช่น การ
เขียนโปรแกรมด้วย
คาํ สั่งแล้วเราสะกดผดิ หรือ
เขียนคาํ สั่งท่ีโปรแกรม
เข้าใจ หากตรวจสอบทลี ะ
คาํ ส่ังแล้วแก้ไขให้
ถูกต้อง โปรแกรมสามารถ
ทาํ งานต่อไปได้
สอบปลายภาคเรียนท่ี 1 1 10
5 ส่ิงมชี ีวติ รอบตวั ว 1.2 ป.2/1 พืชต้องการนํา้ แสง เพื่อ
ป.2/2 การเจริญเติบโตพืช
ป.2/3 ดอกเม่ือเจริญเติบโตจะมี
ว 1.3 ป.2/2 ดอก พืชต้นใหม่จะ
เจริญเติบโตออกดอกเพ่ือ
สืบพนั ธ์ุมีผลต่อไปได้
อกี หมุนเวยี นต่อเน่ือง
เป็ นวฏั จักรชีวติ ของพืช
ดอกสิ่งที่อยู่รอบตัวเรามี
ท้ังทีเ่ ป็ นส่ิงมชี ีวติ และ
ส่ิงไม่มชี ีวติ สิ่งมีชีวติ
ต้องการอาหาร มกี าร

หายใจเจริญเติบโต
ขับถ่าย เคลื่อนไหว
ตอบสนองต่อส่ิงเร้าและ
สืบพนั ธ์ุ ส่วนสิ่งไม่มีชีวติ
จะไม่มลี กั ษณะดงั กล่าว
6 ดนิ ในท้องถิน่ ว 3.2 ป.2/1 ดนิ ประกอบด้วยเศษหิน 15 7
ป.2/2 ซากพืช ซากสัตว์
ผสมอยู่ในเนื้อดนิ มี
อากาศและนํา้ แทรกอยู่
ตาม
ช่องว่างในเนื้อดนิ ดนิ
จาํ แนกเป็ น ดนิ ร่วน ดิน
เหนียวและดนิ ทราย ดนิ
แต่ละชนิดนําไปใช้
ประโยชน์ได้แตกต่างกนั
ตามลกั ษณะและสมบตั ิ
ของดนิ
7 การใช้ซอฟต์แวร์ ว 4.2 ป.2/3 โปรแกรมประมวลคาํ เป็ น 12 5
ใน โปรแกรมทีใ่ ช้ใน
การทาํ งาน การพมิ พ์งานด้านเอกสาร
ซ่ึงมอี ยู่หลายโปรแกรม
เช่น โปรแกรมโน้ตแพด
โปรแกรมเวริ ์ดแพด และ

โปรแกรมไมโครซอฟต์
ออฟฟิ ศเวริ ์ด ซึ่งเป็ นที่
ได้รับความนิยม เพราะมี
ความสามารถในการ
ทํางานได้อย่างหลากหลาย
โปรแกรมไมโครซอฟต์
ออฟฟิ ศเวริ ์ด มคี วาม
สามารถที่โดดเด่นในเรื่อง
ของงานด้านการจัดทํา
เอกสารและอกี
ความสามารถหน่ึง คือ
การทํา
เอกสารในรูปแบบแผ่นพบั
ทีใ่ ช้ในการนําเสนอ
เอกสารให้น่าสนใจ เช่น
แผ่นพบั แนะนําสถานท่ี
ท่องเที่ยว
โปรแกรมกราฟิ ก เป็ น
โปรแกรมสําหรับวาด
ภาพระบายสี เช่น
โปรแกรมระบายสี (Paint)
ซึ่ง

จะมเี คร่ืองมือในการวาด
ภาพระบายสีและจดั การ
กบั ภาพมากมาย ไม่ว่าจะ
เป็ นการพลกิ หรือหมุน
ภาพ การย่อขนาดภาพ
และการเอยี งภาพ
โปรแกรมนําเสนอมีอยู่
หลายประเภท ซึ่งแต่
ละประเภทจะมรี ูปแบบ
และความสามารถท่ี
แตกต่างกนั ออกไป แต่ที่
ได้รับความนิยมเป็ น
อย่างมาก คือ โปรแกรม
ไมโครซอฟต์ออฟฟิ ศ
เพาเวอร์พอยต์ท่สี ามารถ
นําเสนอข้อมูลได้ หลาย
รูปแบบ เช่น ภาพ
ข้อความภาพ เคลื่อนไหว
และเสียง
เคร่ืองคอมพวิ เตอร์มีการ
เกบ็ ข้อมูลใน
ลกั ษณะต่าง ๆ ซึ่งเกดิ จาก
การใช้ซอฟต์แวร์ต่าง

ๆ สร้างขึน้ มาจนเป็ นไฟล์
และมีการคดั แยกไฟล์
ตามหมวดหมู่ โดยมกี าร
จดั เรียงให้เป็ นระเบียบ
เรียกว่า โฟลเดอร์
8 การใช้และ ว 4.2 ป.2/4 อปุ กรณ์เทคโนโลยมี ีหลาย 8 3
บาํ รุงรักษา ว 4.2 ป.2/4 ชนิดแต่การใช้
อปุ กรณ์เทค งานเบื้องต้นมักเป็ น
โนโลย อุปกรณ์ที่นํามาใช้
ประโยชน์
สําหรับค้นหาข้อมูล
รวบรวมข้อมูล การ
ประมวลผลข้อมูล การทาํ
สําเนาข้อมูล การแสดง
ผลลพั ธ์
อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์มีอยู่
หลายอย่าง เมื่อใช้
งานไประยะหนึ่งอาจเกดิ
การชํารุดหรือเสียหาย
ได้ ซ่ึงเกดิ ได้จากหลาย
สาเหตุ แต่ถ้าดูแลรักษา
อุปกรณ์อย่างถูกวธิ ีจะทาํ
ให้ใช้งานได้นานมากขนึ้

การใช้อุปกรณ์เทคโนโลยี
เราอาจต้องใช้
ร่วมกนั ซึ่งจะทําให้การ
เข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่เกบ็
ไว้ในเครื่องได้และอุปกรณ์
บางชนิดสามารถ
ติดต่อกบั เครือข่ายได้ หาก
ผู้ไม่หวงั ดนี ําไปใช้
ในทางท่ไี ม่ถูกต้องจะ
ส่งผลเสียหายกบั ตัวเราได้
ระหว่างปี 118 70
30
สอบปลายปี 2 100

รวมท้งั สิ้นตลอดปี 120

1.อตั ราส่วนคะแนน (ระดบั ประถมศึกษา)

คะแนนระหวา่ งปี การศึกษา : สอบปลายปี การศึกษา = 70 : 30
รายการวดั คะแนน
➢ ระหว่างภาค

มีการวดั และประเมินผล ดงั น้ี

1. คะแนนระหว่างปี การศึกษา

1.1วดั โดยใชแ้ บบทดสอบ

1.2วดั ทกั ษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวดั ตามแผนการจดั การ
เรียนรู้)

1.2.1 ภาระงานท่ีมอบหมาย
- การทาํ ใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทกั ษะ
- การแกป้ ัญหาวทิ ยาศาสตร์
- การศึกษาคน้ ควา้ ทางวทิ ยาศาสตร์
-การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
1.2.2 แฟ้มสะสมงานวิทยาศาสตร์
1.2.3 โครงงานวิทยาศาสตร์
1.2.4 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสมรรถนะสาํ คญั ของผเู้ รียน
1.3 วดั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และเจตคติท่ีดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์
- มีวินยั รับผดิ ชอบ
- ใฝ่ เรียนรู้
- มุ่งมน่ั ในการทาํ งาน
- มีจิตสาธารณะ


Click to View FlipBook Version