The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการค่าย “Science Camp” รุ่น 2 วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม พ.ศ.2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mueang, 2022-04-13 21:49:53

รายงานผลการดำเนินงานโครงการค่าย “Science Camp” รุ่น 2

โครงการค่าย “Science Camp” รุ่น 2 วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม พ.ศ.2562

1

รายงานผลการดำเนนิ งาน

โครงการคา่ ย “Science Camp” รนุ่ 2

วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม พ.ศ.2562

จดั ทำโดย
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา

สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
จังหวัดนครราชสีมา

สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ปกี ารศึกษา 2563



คำนำ

โครงการค่าย “Science Camp” รนุ่ 2 นกั ศึกษาประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ในวันที่ 6 – 7 กรกฎาคม พ.ศ.
2562 จดั ข้ึนโดยมวี ตั ถุประสงค์ เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพมีพืน้ ฐานความร้เู พียงพอกับ
การศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ และมคี วามรู้ความสามารถทางด้านวชิ าการ สามารถนำความรทู้ ่ี ไดร้ บั
ไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั และเปน็ ต้นแบบได้

ขอขอบคุณ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนครราชสีมาที่จดั สรร
งบประมาณในการฝึกอบรมวิชาชพี ในคร้ังนี้ และขอขอบคุณวทิ ยากร ที่ให้ความรใู้ นการดำเนนิ ทำให้การ
ดำเนินงานบรรลุผลตามเปา้ หมายที่กำหนด ซึ่งมปี ระโยชนต์ อ่ ผู้ท่ีเขา้ รว่ มโครงการ และผเู้ ก่ยี วข้อง สำหรบั ใชใ้ นการ
พฒั นางาน ให้มีความก้าวหน้าต่อไป

ผดู้ ำเนินงาน
กศน.อำภอเมืองนครราชสีมา

สารบญั 2

เรือ่ ง หน้า
คำนำ
บทท่ี 1 บทนำ 1
บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน 30
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 32

บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 36



บทท่ี 1
บทนำ

หลกั การและเหตุผล

ตามทรี่ ฐั บาลมีนโยบายด้านการศกึ ษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศกึ ษาและกระจายโอกาสทางการศึกษา
ในสงั คมไทย โดยคำนึงถงึ การสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมใหเ้ กิดขนึ้ แก่ประชากรทุกกลุ่ม รวมถึงผู้ยากไร้
ผดู้ อ้ ยโอกาส ผู้พิการ ผ้บู กพร่องทางกาย/ทางการเรยี นรู้ ชนกลมุ่ นอ้ ย โดยสนับสนนุ การจดั การศึกษาตามวัยและ
พัฒนาการอยา่ งมคี ณุ ภาพตัง้ แต่ก่อนวยั เรยี นจนจบการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และการจดั การศึกษาชุมชนเพื่อมุง่ ให้เกดิ
สังคมแหง่ การเรียนร้แู ละการศกึ ษาตลอดชีวิตนัน้ สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายด้านการจัดการศกึ ษานอกระบบ
แผนงานสนบั สนนุ การจดั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน โดยสนบั สนุนคา่ เลา่ เรยี น ค่าหนังสอื เรียน ค่าจดั กจิ กรรมพัฒนา
คณุ ภาพผูเ้ รียนอย่างทวั่ ถึง เพื่อเพิ่มโอกาสในการรบั การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพโดยไมเ่ สียคา่ ใชจ้ า่ ย โดยเฉพาะกิจกรรม
พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน ในกรอบกจิ กรรมพฒั นาวิชาการ เปน็ การจดั กจิ กรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรยี นมพี ื้นฐานความรู้
เพยี งพอกบั การศกึ ษาในแต่ละระดบั และพฒั นาผูเ้ รยี นให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านวชิ าการเพ่ิมมากขึ้นใน
รายวชิ าตามหลกั สตู รสถานศึกษา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรอื วชิ าอื่นๆ ตาม
ความตอ้ งการของนักศึกษา กศน. โดยมรี ปู แบบการดำเนนิ งาน ดงั นี้ วิทยากรหรือผู้สอน ควรเป็นผู้ทมี่ ีความรู้

หรอื ประสบการณ์ในการสอนวิชานน้ั ๆ โดยตรง ซึ่งอาจจะเปน็ บุคคลภายนอกหรอื ครู กศน. ไดต้ ามความ
เหมาะสม สถานศึกษาต้องจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนใหก้ บั นักศึกษา กศน. เพ่ือให้มคี วามรู้ความเข้าใจ
มเี จตคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง และมีทักษะหรอื ความสามารถพื้นฐานท่จี ำเป็นในการเผชิญกับปัญหาทเี่ กดิ ขึ้นในชีวิต
รวมท้ังมคี ุณสมบัติที่พึงประสงค์ในการอยู่ร่วมกบั ผู้อน่ื ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ และสามารถนำความรจู้ ากการ
เขา้ รว่ มกิจกรรมไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม

ดงั นัน้ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองนครราชสมี า จงึ ไดจ้ ดั โครงการค่าย
“Science Camp” รนุ่ 2 เพ่ือใหน้ ักศึกษา กศน.อำเภอเมอื งนครราขสมี า มีพัฒนาการทางดา้ นสตปิ ญั ญา รจู้ ักคิด
อย่างมเี หตุมีผลเพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทดี่ ีขึ้นและนำความร้ไู ปศกึ ษาตอ่ ในระดับท่สี งู ข้นึ

วัตถปุ ระสงค์

๑. เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษา กศน. มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญารู้จกั คิดอย่างมเี หตุผล
๒. เพอื่ ใหน้ กั ศึกษา กศน. มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นดขี ึ้นและนำความรู้ไปศึกษาต่อในระดับทีส่ งู ข้นึ
๓. เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษา กศน.ท่เี ข้าร่วมโครงการสามารถนำความรทู้ ี่ได้ไปพัฒนาตนเองและเป็นแบบอยา่ งท่ดี ไี ด้

เป้าหมาย

เชิงปรมิ าณ
นักศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งนครราชสีมา จำนวน 150 คน
เชิงคณุ ภาพ
นกั ศกึ ษา กศน. มีพฒั นาการทางดา้ นสตปิ ัญญา รจู้ ักคิดอย่างมเี หตมุ ผี ลเพ่ือเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ท่ีดขี ้ึนและนำความรู้ไปศึกษาต่อในระดบั ทส่ี ูงขนึ้



วิธดี ำเนนิ การ
1. สำรวจความต้องการของกลุม่ เปา้ หมาย/ทำโครงการเสนอเพอื่ อนุมตั ิ
2. ประสานผู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง/เตรียมบคุ ลากรผู้สอนและส่อื
3. ดำเนินการตามโครงการ รปู แบบกิจกรรม
ฐานท่ี 1 ร่างกายมนุษย์
ฐานท่ี 2 ส่ิงแวดลอ้ มรอบๆ ตวั เรา
ฐานที่ 3 มาคิดแบบวทิ ยาศาสตร์กนั เถอะ
ฐานที่ 4 แรงและการเคล่ือนที่
4. นิเทศการเรยี นการสอน/ ประเมนิ โครงการ
5. สรปุ /รายงานผล

ผลลพั ธ์ (Outcome)
นักศกึ ษา กศน. มีพัฒนาการทางด้านสติปญั ญา รจู้ ักคิดอย่างมีเหตมุ ผี ลเพ่ือเพิ่มผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

ทีด่ ขี น้ึ และนำความรู้ไปศึกษาตอ่ ในระดับทส่ี ูงขน้ึ

ดัชนีช้ีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ

ตัวช้ีวัดผลผลิต (Output)
ร้อยละ ๘๕ ของนกั ศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการมีพฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญา รู้จักคิดอยา่ งมเี หตมุ ีผล

เพื่อเพม่ิ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนท่ดี ขี ึน้ และนำความรู้ไปศึกษาต่อในระดบั ทส่ี งู ขึ้น
รอ้ ยละ ๑๐ ของนักศกึ ษา เป็นแบบอยา่ งทด่ี ี

ตวั ชีว้ ัดผลลพั ธ์ (Outcome)
นักศกึ ษา กศน. มีพฒั นาการทางดา้ นสตปิ ัญญา รจู้ กั คิดอย่างมีเหตุมผี ลเพอ่ื เพิ่มผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

ที่ดขี น้ึ และนำความรู้ไปศึกษาตอ่ ในระดบั ท่สี ูงขึ้น

การตดิ ตามประเมินผลโครงการ
๑๔.๑ สงั เกต/แบบสำรวจความพึงพอใจ
๑๔.๒ นิเทศ/ติดตามผลการดำเนนิ งาน



บทท่ี 2
เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง

ความรู้เกีย่ วกับร่างกายและการเคล่ือนไหว
รา่ งกายประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ทำหนา้ ที่ต่างกัน แต่มคี วามสัมพันธ์ซึง่ กันและกันทำให้รา่ งกาย
สามารถ เคล่ือนไหวทำกิจกรรมตา่ งๆ และทำงานได้ อวยั วะของรา่ งกายคนเรามีความซับซ้อนท่ี ธรรมชาตสิ ร้าง
ให้กับมนษุ ย์ เป็นพเิ ศษในการใชร้ ่างกายเพ่ือการดำรงชพี ถึงแมใ้ นปัจจบุ ันมนษุ ยจ์ ะพัฒนาความรู้ทาง
วทิ ยาศาสตร์แลเทคโนโลยีตา่ งๆมาใชง้ านแทนรา่ งกายมนุษย์ คอื ทำงานแทนคนก็ยงั ไมส่ ามารถจะประดิษฐ์
ใหม้ ีความสามารถในการเคลื่อนไหวหรือทำงานไดด้ กี ว่าเท่ามนษุ ย์ เช่น การประดิษฐ์หนุ่ ยนต์ในการทำงานตา่ งๆ
ปจั จุบันก็ยงั ไมส่ ามารถทำใหเ้ คลือ่ นไหวไดแ้ คลว่ คล่องหรือทำงานได้ดีเหมือนกบั การเคล่ือนไหวของร่างกายมนุษย์ได้
การเรยี นรเู้ ร่อื งการเคลื่อนไหวของรา่ งกายจงึ จำเปน็ ต้องมีความรเู้ ก่ียวกับสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย เพ่ือใหเ้ ข้าใจ
ลกั ษณะและการใชง้ านที่ถกู ต้อง อีกทั้งต้องมีการบำรุงรักษาใหร้ า่ งกายแข็งแรงสมบูรณ์ต่อไป

ลกั ษณะของร่างกาย

ลกั ษณะรา่ งกายของคนเราแบ่งเปน็ รปู ลักษณะใหญ่ได้ 3 รูปแบบได้แก่
1. เอน็ โดมอร์ฟ (Endomorph) มีรปู ร่างใหญ่กระดูกเลก็ ลักษณะตวั ปอ้ มกลม หรือเป็นรูปสี่เหล่ยี ม บางคนมีอกเล็ก

เปน็ รูปทรงผลชมพู่ จะมีลกั ษณะพิเศษคือ อ้วนงา่ ยลักษณะลำตวั รูปตวั ยู (U) หรอื ตัวโอ (O)
2. มโี ซมอร์ฟ (Mesomorph) รูปรา่ งสมส่วน มกี ล้ามเนื้อแขง็ แรงกระดกู ใหญ่ มรี ูปร่างดี คืออกใหญ่ เอวเล็ก

ลกั ษณะลำตวั รปู ตวั วี (V)
3. เอ็นโตมอร์ฟ (Entomorph) รูปร่างผอมสงู กระดกู เล็ก แขนขายาว เอวเลก็ กน้ ปอด ลกั ษณะลำตัวรปู ตวั ไอ (I)

รปู ลกั ษณะรปู ร่าง 3 แบบ



ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย สว่ นของศรี ษะ
ส่วนคอ
โดยรวมแลว้ เราสามารถแบ่งสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายไดด้ ังน้ี สว่ นลาตวั
1. สว่ นของศรี ษะ ส่วนแขน
2. ส่วนคอ
3. สว่ นลำตวั
4. ส่วนแขนขา

สว่ นขา

รปู ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย

สว่ นประกอบของรา่ งกายประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. ผิวหนัง

ผวิ หนังเปน็ เครื่องหอ่ หุ้มรา่ งกาย แบ่งเป็น 2 ชน้ั
ชั้นที่ 1 เรียกวา่ หนงั กำพรา้ อยดู่ า้ นนอก ประกอบดว้ ย ขน เสน้ ผม เล็บ
ช้ันที่ 2 เรียกว่า หนังแท้ อย่ชู น้ั ในถัดเข้าไป ประกอบด้วย ปลายประสาทเส้นเลอื ดฝอย
รากขนและต่อมเหงื่อ

หนงั กาพรา้

หนงั แท้

รปู ผิวหนงั



หนา้ ท่ีของผิวหนัง
1. ป้องกันสว่ นของอวัยวะตา่ ง ๆ ของร่างกาย ไม่ให้เชอ้ื โรคเขา้ สูร่ า่ งกายไดโ้ ดยง่าย
2. รับสมั ผสั ความรสู้ กึ หนาวรอ้ น และชว่ ยปรบั ระดับอุณหภมู ขิ องร่างกายให้สมดุล
3. ชว่ ยขบั ถา่ ยของเสยี และเกลือแร่ตา่ ง ๆ โดยขับออกทางต่อมเหงื่อ
4. ช่วยสรา้ งวิตามินดีใหแ้ ก่รา่ งกาย

2. กล้ามเนอ้ื
ลกั ษณะของกลา้ มเนื้อแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1 .กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) กลา้ มเนื้อทเี่ ปน็ ส่วนตา่ งๆ ของอวยั วะภายในรา่ งกาย
2 .กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) คือ กล้ามเนื้อท่ีใช้ทำงานของหัวใจ โดยการหดตัวทำให้

หัวใจสบู ฉดี โลหติ ไปเลี้ยงร่างกายจะทำงานนอกอำนาจจิตใจถูกควบคมุ โดยระบบประสาทอตั โนมตั ิ
3. กล้ามเน้อื ลาย (Skeletal muscle) เปน็ กลา้ มเนือ้ ทม่ี นี ำ้ หนักมากทสี่ ดุ ของร่างกายคือ

หนัก 40% ของน้ำหนักตัว กล้ามเน้ือที่ใชใ้ นการเคลอ่ื นไหวได้แก่ กล้ามเนื้อลาย ทำงานโดยการสั่งการของประสาท
ผา่ นไขสันหลงั ทำให้กล้ามเน้ือที่ยดึ กระดูกหดตัวและคลายตัว และเกิดการเคลื่อนไหวได้ สำหรับกล้ามเน้อื ท่ีใช้
ในการออกกำลงั กายหรือเคลือ่ นไหว แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่

3.1 กล้ามเนอ้ื แดง คือ กลา้ มเนอ้ื ลายท่ีมีสีเขม้ กวา่ กล้ามเนอ้ื ขาวมีเสน้ ใยกล้ามเนื้อยาว
มคี ณุ สมบัตใิ นการทำงานไดใ้ นเวลานาน ๆ

2.2 กล้ามเนอื้ ขาว คอื กลา้ มเนอื้ ลายที่มีสีซีด มคี ณุ สมบัตใิ นการทำงานทีห่ นกั แต่ระยะเวลา
ในการทำงานจะส้นั ลกั ษณะเสน้ ใยกลา้ มเนอ้ื จะใหญ่ (หนา) กวา่ กลา้ มเนอ้ื แดง

มดั กลา้ มเนอื้

เสน้ ใยกลา้ มเนอื้

รูปกล้ามเนอ้ื ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย



3. กระดกู
กระดูกมีหน้าท่ีในการรักษาโครงสร้างรูปทรงของร่างกาย เปน็ ท่ยี ึดของกลา้ มเน้ือเอ็นและพงั ผืด

ปอ้ งกัน อวัยวะภายใน และข้อต่อระหว่างปลายกระดูกท่ีเชอ่ื มต่อดว้ ยเอ็นและพังผดื จะทำใหเ้ คลื่อนไหวไดโ้ ดย
การหดตัวและยืดตัวของกล้ามเนอ้ื ลกั ษณะของกระดูกจึงสง่ ผลตอ่ การเคลื่อนไหวของอวยั วะต่าง ๆ ของร่างกาย
ได้แก่ การพบั การเหยยี ด การหมนุ เปน็ ตน้

รูปโครงกระดูกของร่างกาย



การเคลื่อนไหวของร่างกาย

การเคล่ือนไหวของร่างกาย ซ่ึงเกิดจากการยืดและหดกล้ามเน้ือแล้วยังมี ส่วนที่บังคับให้การ
เคลื่อนไหวของร่างกายเราดำเนินไปหรอื มขี ้อจำกัดน้ัน คือ ข้อต่อ (Joints) ต่าง ๆ ของกระดูกโดยมี 1 อัน และ
พงั ผืดยดื ไว้ซ่ึงสามารถจำแนกลักษณะไดด้ ังน้ี

1. ข้อต่อทเี่ คลอ่ื นท่ไี ม่ได้หรือข้อตาย (Synarthrodiat Joints) เช่น รอยตอ่ ทก่ี ระโหลกศรี ษะ

2. ขอ้ ต่อทเ่ี คลอ่ื นไหวได้เล็กน้อย (Umphiarthrodiol Joints) เช่น กระดูก เชงิ กราน
3. ข้อต่อท่เี คลอ่ื นทไี่ ด้อยา่ งอิสระ (Diarthrodial Joints) ซงึ่ แบ่งออกเป็น 6 ชนดิ ได้แก่

1.1 ข้อตอ่ กระดกู รปู โค้งหมนุ รอบกระดกู อีกอันหนึ่งเคลื่อนท่ีหมนุ รอบแกน (Pivot Joints)
ไดแ้ กก่ ระดกู คอ

1.2 ขอ้ ต่อกระดกู แบนสองอันประกบกนั (Gliding Joints) ไดแ้ ก่ ข้อตอ่ มอื ข้อต่อกระดูกนิ้ว
มอื ข้อต่อ กระดูกสันหลงั

1.3 ขอ้ ตอ่ กระดกู กลมกับรปู รเี วา้ เคลอื่ นไหวได้ 2 ทาง (หน้า –หลัง) (Condyloid Joints)
ไดแ้ ก่ ข้อต่อ ข้อมือ

1.4 ขอ้ ต่อกระดูกรูปเวา้ กับรูปนนู มาประกบกันเปน็ ข้อพับ (Hinge Joints) ไดแ้ ก่ ขอ้ ศอก
ข้อเท้า

1.5 ขอ้ ต่อกระดกู รูปอานม้ากับเว้าประกบกับพอดี (Saddle Joints) ได้แก่ ขอ้ นว้ิ หัวแมม่ ือ

1.6 ข้อต่อกระดูกรูปกลมกับกระดูกรูปถ้วยเคลื่อนไหวได้ทุกทาง (Bull and Socket Joints)
ไดแ้ ก่ ขอ้ ตอ่ สะโพก หัวไหล่

ลักษณะการเคลื่อนไหวสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายเกดิ จากข้อตอ่ ตา่ ง ๆ ได้แก่
1. การงอ (Flexion) คือ การงอสว่ นทเ่ี หยียดออกงอเขา้ มา เช่น การพับขอ้ ศอก
2. การเหยยี ด (Extension) คอื การเหยยี ดจากการงอออกไปตรงขา้ มกบั การงอ
3. การกางออก (Abduction) คอื การเคลื่อนไหวสว่ นของแขน ขา ออกจากร่างกาย เชน่ การกางแขน
4. การหบุ เขา้ (Adduction) คอื การเคลอื่ นที่เข้าหาตวั ตรงขา้ งกบั การกางออก
5. การหงายมือ (Supination) คือ การหันฝ่ามอื อกมาหรือขนึ้ มา (หงายมอื )
6. การควำ่ มอื (Pronation) คอื การหนั หลงั มืออกขึ้นมา (ควำ่ มอื )
7. การหมนุ (Rotation) คอื การเคลอ่ื นทรี่ อบแกน เช่น การหมุนคอ
8. การยกขา้ งเท้าดา้ นในข้นึ (Inversion) คือ การเคล่อื นส่วนด้านในข้อเท้าขน้ึ
9. การยกข้างเท้าดา้ นนอกขน้ึ (Eversion) คือ การเคลื่อนสว่ นดา้ นนอกของเทา้ ขึ้น
10. การกดปลายเท้าลง (Plantar flexion) คอื การกดส่วนปลายเทา้ ลง
11. การยกปลายเท้าขึ้น (Dorsi flexion) คอื การเคลือ่ นส่วนหลงั เท้าขึ้น

นอกจากทไี่ ด้กล่าวมาแล้ว ร่างกายยังประกอบดว้ ยส่วนของอวัยวะต่าง ๆ อีกมากมาย ได้แก่
ศรีษะ คอ ลำตัว แขน ขา เป็นต้น ซงึ่ แบง่ เปน็ ระบบการทำงานต่าง ๆ ได้แก่ ระบบไหลเวียนโลหติ ระบบทางเดนิ

อาหาร ระบบประสาท ระบบหายใจ ฯลฯ ทำใหร้ า่ งกายดำรงชวี ิตอยไู่ ด้ และสามารถเคลื่อนไหวได้โดยการ
ทำงานท่มี ีความสลบั ซับซ้อมในแตร่ ะบบของรา่ งกาย โดยมีระบบตา่ ง ๆ ของร่างกายประกอบดว้ ย



1. ระบบกระดกู (Skeletal system)
2. ระบบกล้ามเนอื้ (Muscular system)
3. ระบบประสาท (Nervous system)
4. ระบบการไหลเวยี นโลหิต (Cardio-Vaseular system)
5. ระบบหายใจ (Respiratory system)
6. ระบบย่อยอาหารและถา่ ยเท (Digestive system Alimentary system)
7. ระบบขบั ถ่ายปัสสาวะ (Urinary system)
8. ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive system)
9. ระบบตอ่ มไร้ทอ่ (Endocrine system)

1. ระบบกระดูก
ระบบกระดกู มีหนา้ ทร่ี ักษารูปทรงของสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายเป็นที่ใหก้ ล้ามเนอ้ื ยดื เพ่ือเป็นคาน

ใหก้ ลา้ มเนื้อทำงานเกี่ยวกบั การเคลื่อนไหว อีกทงั้ ยังชว่ ยป้องกนั อวัยวะสำคัญ ๆ ซึ่งอยู่กบั ร่างกายไม่ให้เป็น
อนั ตราย เช่น กระดูกกะโหลกศีรษะ ในรา่ งกายของคนเราประกอบดว้ ยกระดกู ประมาณ 206 ชิ้น ได้แก่

กระดูกกะโหลกศรี ษะ 8 ชนิ้
กระดูกหนา้ 14 ช้ิน
กระดูกหู 6 ชนิ้
กระดูกโดนลิน้ 1 ชนิ้
กระดูกสันหลงั 26 ช้นิ
กระดกู หนา้ อก 1 ชิ้น
กระดกู ซีโ่ ครง 24 ชิ้น
กระดกู แขน 64 ช้นิ
กระดูกขา 62 ช้ิน

2. ระบบกล้ามเน้อื
กล้ามเน้ือมีหน้าท่ีเคล่ือนไหวร่างกายและส่วนต่าง ๆ ของร่างกายท้ังภายในและภายนอกร่างกาย

โดยทั่วไปจะ แบ่งกล้ามเนื้อออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ กล้ามเน้ือลาย กล้ามเน้ือเรียบ และกล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนือ้ ทีท่ ำให้ร่างกายเราเคล่ือนไหวได้มี 792 มดั ทีเ่ ราสามารถบังคับไดม้ เี พยี ง 696 มัด

3. ระบบประสาท
ระบบประสาทประกอบด้วย สมอง (Brain) ไขสันหลงั (Spinal cord) และประสาทตา่ ง ๆ

มหี นา้ ที่ ควบคมุ ความคิด รับรสู้ ง่ิ ต่าง ๆ นอกตัวควบคุมในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทีข่ องร่างกายให้ประสานกนั ประสาท
ที่ออก จากสมอง (Cranial nerves) มี 12 คู่ และประสาทที่ออกจากไขสันหลงั (Spinal nervers) 31 คู่

4. ระบบการไหลเวียนของโลหติ
ระบบการไหลเวยี นของโลหติ ประกอบด้วย หวั ใจ (Heart) หลอดเลือด (Blood Vessels)

และเลอื ด (blood) มหี น้าที่เป็นทางลำเลียงอาหารออกซเิ จนไปเลีย้ งเซลลต์ ่าง ๆ ของร่างกาย



5. ระบบหายใจ
ระบบหายใจประกอบดว้ ยอวัยวะที่เกย่ี วข้องกับการหายใจ ได้แก่ จมูก ช่องจมูก ปอด

โครงกระดูกอก กระบงั ลม ทำหนา้ ท่หี ายใจเพอ่ื ส่งออกซิเจนไปใหเ้ ซลล์ตา่ ง ๆ ของร่างกายและระบาย
คารบ์ อนไดออกไซด์ออกมาชว่ ยทำให้ความร้อนในร่างกายอยใู่ นระดบั ปกติ โดยทวั่ ไปอัตราการหายใจของผ้ใู หญ่
ประมาณ 16-18 ครงั้ ตอ่ นาที

6. ระบบยอ่ ยอาหารและถ่ายเท
ระบบย่อยอาหารและถ่ายเทประกอบด้วยระบบถ่ายเท ไดแ้ ก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะ

อาหาร ลำไส้เลก็ ลำไส้ใหญ่ และในส่วยของอวยั วะย่อยอาหาร ได้แก่ ล้นิ ฟัน ตอ่ มนำ้ ลาย ตบั อ่อน และตบั
ทำหนา้ ทย่ี ่อยอาหารและดูดอาหารเข้าส่รู า่ งกายและระบายอาหารออกจากรา่ งกาย

7. ระบบขบั ถา่ ยปสั สาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะประกอบด้วย ไต (Kidueys) หลอดไต (Ureters) กระเพาะปัสสาวะ

(Urinory bladder) และหลอดปัสสาวะ (Urethrce) มหี น้าท่ที ำน้ำปสั สาวะช่วั คราวและขบั ออก

8. ระบบตอ่ มไรท้ อ่
ระบบต่อมไร้ท่อประกอบด้วยต่อมต่าง ๆ ทำหน้าท่ีช่วยขับฮอร์โมน (Hormone) เพ่ือควบคุม

การทำงานหรือทำหน้าที่

9. ระบบสืบพันธุ์
ระบบสบื พันธ์ปุ ระกอบด้วยอวัยวะทที่ ำหน้าทีส่ ืบพันธุ์นนั้ จะเจรญิ พฒั นาจนถงึ วยั เจริญพันธุ์

ตง้ั แตอ่ ายปุ ระมาณ 15 ปี สำหรบั ชายและหญิงประมาณ 14 ปขี ึน้ ไป

๑๐

ศัพท์และความหมายของคำในวงการเคลอ่ื นไหวร่างกายและการออกกำลังกาย

1. physical activity (PA) กจิ กรรมทางกาย (พเี อ) น. การเคล่ือนไหวสว่ นของร่างกาย เกิดจาก
การทำงานของกล้ามเน้ือลาย และมกี ารใชพ้ ลงั งานเพม่ิ จากภาวะพกั เป็นกจิ กรรมในบริบท 4 ประเภท : งาน
อาชีพ , งานบา้ น , งานอดิเรก , และการเดนิ ทาง ตัวอยา่ งงานอดิเรก ไดแ้ ก่ การเล่นกฬี า , นันทนาการ
(เชน่ เดินทางไกล , ถบี จักรยาน) , และการออกกำลังกาย

2. exercise การออกกำลังกาย น. การเคล่อื นไหวรา่ งกายตามรูปแบบทก่ี ำหนด เพ่ือสรา้ งเสริม
สขุ ภาพ หรือธำรงสมรรถภาพทางกาย

3. physical fitness ความสมบูรณ์พรอ้ มทางกาย น. สภาพร่างกายทส่ี มบูรณ์พร้อมทจ่ี ะปฏบิ ตั ิภารกิจ
ด้วยความกระฉับกระเฉง ไมเ่ หนอ่ื ยล้า

4. physical performance การแสดงสมรรถภาพทางกาย น. ผลของการประกอบกจิ กรรม
ซ่งึ แสดงถึงความทรหด , ความแข็งแรง , หรือความคล่องในการทำงานของกลา้ มเนื้อ ซึ่งเป็นผลรวมของกจิ กรรม
ประจำวันกบั ความสามารถทางพันธกุ รรม

5. health สุขภาพ น. สถานภาพสมบรู ณท์ างร่างกาย จิตใจ และทางสงั คม รวมถึงการปราศจากโรค
6. aerobic training การฝกึ ออกกำลังกายทใี่ ช้ออกซิเจน น. การฝึกเพ่ิมพนู ประสิทธิภาพของระบบ
ผลติ พลงั งานที่ใช้ออกซเิ จน เพอ่ื สร้างความทรหดของการหายใจและการไหลเวียนเลือด
7. agility ความคลอ่ งแคล่วว่องไว น. องคป์ ระกอบด้านทักษะของความสมบูรณ์พรอ้ มทางกายที่ทำ
ใหส้ ามารถเคลื่อนไหวร่างกายไดร้ วดเร็วและแม่นยำ
8. anaerobic training การฝึกการผลิตพลังงานทไ่ี ม่ใช้ออกซิเจน น. การฝึกเพิ่มประสทิ ธิภาพของ
ระบบการผลิตพลังงานท่ีไมใ่ ช้ออกซเิ จน ช่วยเพิม่ ความแข็งแรงของกลา้ มเน้ือ และความทนทานต่อภาวะกรด –เบส
ที่เสียสมดลุ ขณะออกกำลังกายหนกั หนว่ ง
9. balance การทรงตัว น. องคป์ ระกอบด้านทกั ษะของความสมบูรณ์พรอ้ มทางกาย ทที่ ำให้ร่างกาย
อยใู่ นภาวะสมดุลท้ังขณะอย่นู ิ่งและเคล่ือนไหว
10. body composition องคป์ ระกอบของร่างกาย น. ส่วนของร่างกายท่ีสมั พนั ธ์กับสุขภาพ
และความสมบูรณพ์ ร้อมของร่างกาย ซึ่งขึน้ กบั ปริมาณสัมพันธ์ของกลา้ มเนอื้ ไขมัน กระดูกและสว่ นคงชพี อื่น
ของรา่ งกาย
11. calorimetry การวดั แคลอรี น. การวดั การเผาผลาญพลังงานในขณะรา่ งกายพักและขณะออก
กำลงั กาย โดยคำนวณอัตราและปริมาณของพลงั งานทใี่ ช้ไป

- การวัดโดยตรง โดยวดั อัตราและปรมิ าณการผลิตพลังงานของรา่ งกาย จากปริมาณความร้อน
ท่รี ่างกาย ผลติ ข้ึน : การวัดกระทำในตู้วดั แคลอรี

- การวดั โดยอ้อม โดยการวัดปรมิ าณแก๊สในลมหายใจ ซ่ึงกำหนดวา่ ปรมิ าณการแลกเปลี่ยน
ออกซเิ จนและคารบ์ อนไดออกไซด์ เท่ากบั ปรมิ าณแก๊สทใี่ ชแ้ ละปลอ่ ยออกมาจากเน้อื เยื่อ ตวั บง่ ชี้อัตราการเผา
ผลาญพลงั งานของเนื้อเยือ่ ในรา่ งกายได้จากการวัดปริมาณคารบ์ อนไดออกไซด์ทีผ่ ลิตและปรมิ าณออกซิเจนท่ใี ชไ้ ป

12. cardioreapiratory endurance (cardiorespiratory fitness) ความทรหด (ความสมบรู ณ์
พรอ้ ม) ของระบบหวั ใจ – หายใจ น. องคป์ ระกอบสุขภาพของความสมบูรณ์พรอ้ มทางกาย ซ่ึงเกีย่ วข้องกบั
ความสามารถของระบบการไหลเวยี นเลือดและการหายใจในการจา่ ยออกซิเจนในขณะที่มกี ิจกรรมทางกายอยา่ ง
ยาวนาน

13. cool – down exercise การออกกำลังกายเบาเครื่อง น. การผ่อนการออกกำลังลงหลงั จาก
ทอ่ี อกกำลงั อยา่ งรุนแรง สว่ นใหญเ่ ปน็ การออกกำลงั กายแบบอุ่นเคร่ือง

๑๑

14. coordination การประสานงาน น. องคป์ ระกอบทักษะของความสมบูรณ์พร้อมทางกายท่ี
สัมพนั ธ์ กบั ความสามารถใชร้ ะบบสัมผสั เช่น การมองเหน็ การได้ยิน ร่วมกบั สว่ นของร่างกายทกี่ ระทำให้
กิจกรรมการเคลอ่ื นไหวราบรื่นและแมน่ ยำ

15. detraining การลดหรอื หยดุ ฝึกกจิ กรรมทางกายประจำ น. การเปล่ยี นแปลงของร่างกายที่
เกิดขนึ้ ภายหลังการลดหรอื หยุดกจิ กรรมทเ่ี คยทำเปน็ ประจำ

16. endurance training การฝกึ ความทรหด น. การฝึกออกกำลังกายซ้ำ ๆ โดยใชก้ ลา้ มเนื้อมดั
ใหญ่ ๆ แบบใช้ออกซเิ จน เช่น การเดนิ , การปนั่ จักรยาน , การวา่ ยน้ำ (คำพ้อง endurance activities
กจิ กรรมฝกึ ความ ทรหด น.)

17. flexibility ความงอได้ น. องค์ประกอบสุขภาพของความสมบรู ณ์พรอ้ มทางกายท่ีเกยี่ วข้องกบั ช่วง
การเคล่ือนไหวของข้อต่อ

18. kilocalorie (kcal) กิโลแคลอรี น. หน่วยการวดั พลังงานของรา่ งกาย คือ 1 กิโลแคลอรี =
1,000 แคลอรี = 4,184 จูล หรือ 4.184 กิโลจูล

19. kilojoule (kjoule) กโิ ลจลู น. หน่วยการวดั พลงั งานของรา่ งกาย คือ 4.184 กิโลจลู =
4,184 จลู = 1,000 แคลอรี = 1 กิโลจลู

20. maximum heart rate (HR max) อัตราการเตน้ ของหัวใจสงู สุด น. อตั ราการเตน้ ของ
หวั ใจสูงสดุ ขณะออกกำลงั จนหมดแรง

21. maximum heart rate reserve อตั ราการเตน้ ของหวั ใจสูงสดุ สำรอง น. คา่ แตกตา่ งระหวา่ ง
อัตราการเตน้ ของหวั ใจสูงสดุ กับอตั ราขณะพัก

22. maximum oxygen uptake (VO2 Max) ความสามารถสงู สดุ ของร่างกายในการใช้ออกซิเจน
ของร่างกายขณะออกกำลังกายเตม็ ที่ (ความหมายเหมือน aerobic power, maximal oxygen consumption,
cardiorespiratory endurance capacity)

23. metabolic equialent (MET) ค่าเสมอกันของเมแทบอลิซึม (เอม็ อที ี) น. หน่วยคา่ การใช้
ออกซเิ จนของร่างกาย โดยกำหนดวา่ 1 หน่วยเอ็มอที ี มคี ่าเท่ากบั ปริมาณออกซิเจนที่ใชไ้ ป 3.5 มลิ ลิลติ รตอ่
น้ำหนักตัว 1 กโิ ลกรัมใน 1 นาที

24. muscle fiber เสน้ ใยกลา้ มเนื้อ น. เซลล์กลา้ มเนื้อ
25. muscle endurance ความทรหดของกล้ามเน้ือ น. สมรรถภาพของกลา้ มเนื้อทที่ ำงานได้
ต่อเนอ่ื ง โดยไม่ล้า
26. overtraining การฝึกเกนิ กำลัง น. การฝกึ ออกกำลังกายเกินกำลงั ทรี่ า่ งกายสามารถจะทนได้
27. power พละกำลัง น. องคป์ ระกอบของความสมบูรณพ์ รอ้ มทางกายทสี่ ัมพนั ธก์ ับอัตราการทำงาน
ทบ่ี คุ คลสามารถกระทำได้
28. relative perceived exertion (RPE) ความรู้สกึ สมั พนั ธใ์ นการออกกำลงั (อาร์พีอี) น.
ความรู้สกึ ถงึ ความหนกั เบาสมั พนั ธ์ของงานท่บี ุคคลกำลงั กระทำ
29. reaction time เวลาเกิดปฏิกิรยิ า น. ชว่ งเวลาก่อนเกดิ ปฏิกริ ยิ าตอบสง่ิ เร้า ซ่งึ ขึน้ อยู่กบั ความ
สมบูรณ์พร้อมทางกาย
30. resistance training การฝกึ ตา้ น น. การฝกึ เพื่อสรา้ งความแข็งแรง พละกำลงั และความ
ทรหดของกลา้ มเนื้อ

๑๒

ระบบนิเวศ
(ECOSYSTEM)

1. ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนเิ วศ หมายถงึ หน่วยของความสมั พนั ธ์ของสิง่ มีชวี ิตในแหลง่ ที่อยู่แหลง่ ใดแหล่งหน่ึง

ระบบนิเวศเป็นหนว่ ยที่สำคัญท่ีสดุ ในการศึกษาความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ มีชีวติ และส่งิ แวดล้อม เพราะประกอบไป
ด้วยส่ิงมชี วี ิตหลากหลายชนดิ มกี ารแลกเปลีย่ นสสาร แรธ่ าตุ และพลังงานกับสิง่ แวดลอ้ ม โดยผา่ นหว่ งโซ่อาหาร
(food chain) มีลำดบั ของการกินเปน็ ทอด ๆ ทำใหส้ สารและแร่ธาตมุ ีการหมนุ เวยี นไปใช้ในระบบจนเกดิ เปน็ วฏั
จักร ทำให้มกี ารถา่ ยทอดพลังงานไปตามลำดับขัน้ เปน็ ชว่ ง ๆในหว่ งโซอ่ าหารได้ การจำแนกองคป์ ระกอบของระบบ
นิเวศ ส่วนใหญ่จะจำแนกได้เปน็ สององค์ประกอบใหญ่ ๆ คือ องค์ประกอบทมี่ ชี วี ติ และองคป์ ระกอบที่ไม่มีชวี ิต

• ส่ิงมีชวี ิต (Organism)หมายถึง ส่ิงทต่ี ้องใชพ้ ลงั งานในการดำรงชีวติ
• ประชากร (Population)หมายถึง ส่งิ มีชีวติ ทั้งหมดท่เี ป็นชนิดเดียวกนั อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกนั
ณ ชว่ งเวลาเดยี วกัน
• กลมุ่ สิง่ มีชวี ติ (Community) หมายถงึ สิง่ มชี วี ิตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยูร่ วมกนั ในบรเิ วณใด
บริเวณหนึ่ง โดยส่งิ มชี วี ติ น้ันๆ มคี วามสมั พนั ธ์กันโดยตรงหรอื โดยทางอ้อม
• โลกของส่งิ มชี ีวติ (Biosphere) หมายถึง ระบบนเิ วศหลายๆ ระบบนเิ วศมารวมกัน
• แหล่งท่ีอยู่ (Habitat)หมายถงึ แหล่งท่อี ยู่อาศยั ของกลุม่ สิ่งมีชวี ติ ตา่ งๆ ทัง้ บนบกและในนำ้
• สิง่ แวดล้อม (Environment)หมายถงึ สง่ิ ที่มีผลต่อการดำรงชวี ติ ของส่ิงมีชีวติ
2. ประเภทของระบบนเิ วศ หากใช้เกณฑแ์ หลง่ ท่ีอย่ใู นการแบง่ ประเภทของระบบนิเวศ สามารถแบ่งได้ 2
ประเภท คือ
1. ระบบนิเวศบนบก (terrestrial ecosystem) หมายถึงระบบนิเวศทกี่ ลุ่มสง่ิ มีชีวิตภายในระบบนเิ วศ
อาศยั อยู่บนพน้ื ดิน เชน่ ระบบนเิ วศบนขอนไม้ ระบบนเิ วศในทงุ่ หญ้า ระบบนเิ วศในป่า เปน็ ต้น
2. ระบบนิเวศในน้ำ (aquatic ecosystem) หมายถึงระบบนิเวศที่กลมุ่ ส่งิ มชี ีวิตภายในระบบอาศัยอยู่
ในแหล่งนำ้ ตา่ งๆ เชน่ ระบบนิเวศในสระน้ำ ระบบนิเวศในทะเล ระบบนิเวศในตู้ปลา เปน็ ต้น
3. องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ

การจำแนกองค์ประกอบของระบบนิเวศแยกตามหน้าท่ใี นระบบ ได้แก่พวกท่ีสร้างอาหารไดเ้ อง
(autotroph) และสง่ิ มชี วี ิตได้รับอาหารจากสิ่งมีชวี ิตอื่น (heterotroph) อย่างไรก็ตามการจำแนกองค์ประกอบของ
ระบบนิเวศโดยท่วั ไปมักประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบท่ีมีชวี ติ (biotic) และองคป์ ระกอบทไี่ ม่มชี ีวิต (abiotic)

2.1 องค์ประกอบท่มี ชี ีวิต (biotic component) ไดแ้ ก่
2.1.1 ผผู้ ลติ (producer or autotrophic) ไดแ้ กส่ ง่ิ มชี ีวิตท่สี รา้ งอาหารเองได้ จากสาร

อนินทรยี ส์ ว่ นมากจะเป็นพชื ที่มคี ลอโรฟิลล์
2.1.2 ผู้บริโภค (consumer) ได้แกส่ ิง่ มีชวี ติ ท่ไี มส่ ามารถสร้างอาหารเองได้ (heterotroph)

สว่ นใหญ่เป็นสัตวท์ ่ีกินส่ิงมชี วี ิตอน่ื เปน็ อาหาร เน่อื งจากสตั วเ์ หลา่ นีม้ ีขนาดใหญ่จงึ เรียกวา่ แมโครคอนซูมเมอร์
(macroconsumer) แบง่ ออกเป็น

ก. ผู้บรโิ ภคพชื (Herbivoe) สงิ่ มชี วี ติ ที่กนิ แต่พืชเปน็ อาหาร เชน่ วัว ควาย ช้าง ม้า ยรี าฬ ฯลฯ
ซ่ึงเปน็ สัตว์ทไ่ี ม่ดุร้าย

๑๓

ข. ผบู้ รโิ ภคสัตว์ (Carnivore) ส่งิ มีชีวติ ที่กนิ แตเ่ นื้อสัตว์ เปน็ ผ้ลู ่าในระบบนเิ วศ มลี กั ษณะดรุ า้ ย
ตวั ใหญ่ เช่น สตั ว์ สงิ โต ถ้าตัวเล็กจะหากนิ เปน็ ฝูง หมาใน ปลาปลิ ันยา

ค. ผู้บรโิ ภคท้ังพชื และสัตว์ (Omnivore) สิง่ มีชวี ติ ทก่ี ินท้งั พืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น คน เปด็ ไก่
สุนัข แมว ฯลฯ

ง. ผูบ้ ริโภคซากพชื ซากสตั ว์ (Scavenger) สิ่งมชี วี ิตที่กนิ ซากเปน็ อาหาร เช่น แร้ง ไสเ้ ดือน มด
ปลวก ฯลฯ

2.1.3 ผู้ย่อยสลายซาก (decomposer, saprotroph, osmotroph หรอื microconsumer)
ไดแ้ กส่ ่งิ มีชีวิตขนาดเล็กทส่ี รา้ งอาหารเองไมไ่ ด้ เช่น แบคทเี รีย เหด็ รา (fungi) และแอกทโี นมยั ซที
(actinomycete) ทำหน้าทยี่ ่อยสลายซากสงิ่ มชี ีวติ ที่ตายแล้วในรูปของสารประกอบโมเลกลุ ใหญ่ให้กลายเป็น
สารประกอบโมเลกุลเลก็ ในรูปของสารอาหาร (nutrients) เพ่ือใหผ้ ู้ผลติ นำไปใช้ได้ใหม่อีก

2.2 องคป์ ระกอบท่ีไม่มชี ีวติ (abiotic component) ไดแ้ ก่
2.2.1 สารอนินทรยี ์ (inorganic substances) ประกอบด้วยแร่ธาตแุ ละสารอนินทรยี ์ซึ่งเป็น

องคป์ ระกอบสำคัญในเซลล์สิง่ มีชวี ิต เชน่ คารบ์ อน ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และนำ้ เป็นต้น สารเหล่านีม้ กี าร
หมุนเวียนใชใ้ นระบบนิเวศ เรียกวา่ วัฏจกั รของสารเคมธี รณชี ีวะ (biogeochemical cycle)

2.2.2 สารอินทรยี ์ (organic compound) ได้แก่สารอินทรยี ท์ ่ีจำเป็นตอ่ ชีวิต เช่นโปรตนี
คาร์โบไฮเดรต ไขมนั และซากสง่ิ มชี ีวิตเนา่ เปอ่ื ยทบั ถมกันในดิน (humus) เปน็ ตน้

2.2.3 สภาพภมู ิอากาศ (climate regime) ได้แกป่ ัจจยั ทางกายภาพทมี่ ีอทิ ธิพลต่อสิง่ แวดลอ้ ม
เช่น อณุ หภมู ิ แสง ความชน้ื อากาศ และพ้ืนผิวท่อี ยู่อาศยั (substrate) ซงึ่ รวมเรยี กว่า ปจั จยั จำกดั (limiting
factors)

กระบวนการหลักสองอย่างของระบบนิเวศคือ การไหลของพลงั งานและการหมนุ เวียนของ
สารเคมี การไหลของพลังงาน (energy flow) เปน็ การสง่ ผา่ นของพลังงานในองคป์ ระกอบของระบบนิเวศ ส่วนการ
หมุนเวียนสารเคมี (chemical cycling) เปน็ การใช้ประโยชนแ์ ละนำกลบั มาใช้ใหม่ของแร่ธาตุภายในระบบนิเวศ
อาทิเชน่ คารบ์ อน และ ไนโตรเจน

พลังงานทส่ี ง่ มาถึงระบบนิเวศท้ังหลายอยใู่ นรูปของแสงอาทิตย์ พืชและผผู้ ลิตอน่ื ๆจะทำการ
เปลีย่ นพลังงานแสงใหเ้ ปน็ พลังงานเคมีในรปู ของอาหารท่ีให้พลังงานเช่นแป้งหรือคารโ์ บไฮเดรต พลังงานจะไหล
ตอ่ ไปยังสตั ว์โดยการกินพืช และผู้ผลิตอืน่ ๆ ผูย้ อ่ ยสลายสารทสี่ ำคญั ได้แก่ แบคทเี รียและฟังไจ (fungi)ในดนิ โดย
ได้รับพลงั งานจากการยอ่ ยสลายซากพืชและซากสัตวร์ วมท้ังส่งิ มีชวี ิตต่าง ๆ ทตี่ ายลงไป ในการใช้พลงั งานเคมีเพื่อ
ทำงาน สงิ่ มีชีวติ จะปล่อยพลงั งานความร้อนไปสบู่ ริเวณรอบๆตัว ดงั นน้ั พลังงานความร้อนนีจ้ งึ ไมห่ วนกลับมาใน
ระบบนิเวศได้อีก ในทางกลับกนั การไหลของพลังงานผา่ นระบบนเิ วศ สารเคมตี ่างๆสามารถนำกลบั มาใชไ้ ด้อกี
ระหวา่ ง สังคมของสง่ิ มชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ มท่ีไม่มชี ีวติ พืชและผผู้ ลิตลว้ นต้องการธาตุคารบ์ อน ไนโตรเจน
และแร่ธาตุอ่นื ๆในรปู อนินทรียสารจากอากาศ และดิน

๑๔

การสังเคราะห์ดว้ ยแสง(photosynthesis)ได้รวมเอาธาตุเหลา่ นเี้ ข้าไวใ้ นสารประกอบอินทรีย์
อาทเิ ช่น คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน สตั วต์ ่างๆได้รับธาตุเหลา่ นโ้ี ดยการกินสารอนิ ทรยี ์ เมแทบบอลซิ ึม
(metabolism) ของทุกชีวิตเปลีย่ นสารเคมบี างส่วนกลับไปเป็นสารไม่มชี ีวติ ในสิง่ แวดล้อมในรปู ของสารอนนิ ทรยี ์
การหายใจระดับเซลล(์ respiration) เปน็ การทำใหโ้ มเลกลุ ของอนิ ทรียสารแตกสลายออกเปน็ คาร์บอนไดออกไซด์
และนำ้
การหมนุ เวียนของสารสำเร็จลงไดด้ ้วยจุลินทรีย์ทย่ี ่อยอนิ ทรียสารทตี่ ายลงและของเสียเช่นอจุ จาระ และเศษใบไม้
ผยู้ อ่ ยสลายเหล่านีจ้ ะกักเกบ็ เอาธาตุตา่ งๆไว้ในดิน ในน้ำ และในอากาศ ในรูปของ สารอนนิ ทรยี ์ ซึง่ พชื และผผู้ ลิต
สามารถนำมาสร้างเปน็ สารอินทรียไ์ ด้อกี คร้ัง หมุนเวยี นกนั ไปเป็นวฏั จักร

ทมี่ า:http://www.phschool.com/atschool/science_activity_library/images/photosynthesis.jpg
ภาพที่ 1

ระดับการกนิ อาหาร และห่วงโซอ่ าหาร (trophic level and food web) ลำดับการถ่ายทอดอาหาร
จากระดับหน่ึงไปสอู่ ีกระดับเรียกว่า หว่ งโซ่อาหาร (food chain) (ดังภาพท่ี 2)ภาพ สัตวพ์ วก herbivore เปน็ สัตว์
กินพชื สาหรา่ ยและแบคทีเรีย จดั เปน็ ผบู้ ริโภคแรกเร่ิม (primary consumers) พวก carnivore ซงึ่ จะกนิ ผู้บริโภค
เรยี กว่าผบู้ ริโภคลำดบั สอง (secondary consumers) ไดแ้ ก่สตั ว์เลี้ยงลกู ด้วยนม ขนาดเล็ก สัตวฟ์ นั แทะ นก กบ
และ แมงมมุ สิงโตและสตั ว์ใหญท่ ่ีกนิ พืช( herbivores) ในนเิ วศแหล่งนำ้ สว่ นใหญ่เป็นปลาขนาดเลก็ ท่ีกินแพลงค์
ตอนสตั ว์ (zooplankton) รวมถงึ สตั วไ์ ม่มีกระดกู สนั หลงั ใต้ท้องนำ้ ระดบั การกนิ ท่ีสูงข้ึนมาอีกคือผู้บรโิ ภคลำดับ
สาม(tertiary consumers) ได้แก่งู ท่ีกินหนู บางแห่งอาจมีผบู้ ริโภคลำดบั ส่ี (quaternary consumers) ได้แก่นก
ฮูกและปลาวาฬ

ห่วงโซ่อาหารจะไม่สมบูรณ์ถา้ ไม่มผี ูย้ ่อยสลาย(detritivore หรอื decomposer) ได้แก่ จุลินทรีย์
(โพรแครโิ อต และ ฟงั ไจ) ซึ่งจะเปล่ยี น อนิ ทรียสารเป็นอนินทรยี สาร ซึง่ พชื และผูผ้ ลติ อืน่ ๆสามารถ นำกลบั ไป
ใชไ้ ดอ้ ีก พวก scavenger คือสตั วท์ ่กี นิ ซาก เช่น ไสเ้ ดือนดิน สตั วฟ์ นั แทะและแมลงท่กี นิ ซากใบไม้ สตั วท์ ่ีกินซาก
อนื่ ๆได้แก่ ปูเสฉวน ปลาดกุ และอแี รง้ เปน็ ต้น

๑๕

ภาพที่ 2 ตวั อย่างห่วงโซ่อาหาร (food chain) หัวลกู ศรแสดงเส้นทางการลำเลียงอาหารจากพืชผู้ผลิตผา่ นไปสู่
ผูบ้ รโิ ภคแรกเริ่มทก่ี นิ พืช (herbivore) ผู้บริโภคลำดับสอง ผู้บรโิ ภคลำดับสามไปจนถึงผ้บู ริโภคลำดับสี่ท่กี นิ เน้ือ

(carnivore)
ทม่ี า : (http://wps.aw.com/bc_campbell_ essentials _2/ 0,7641,708230-,00.html)

ภาพท่ี 3 ฟงั ไจ (fungi) กำลังยอ่ ยสลายซากขอนไม้

๑๖

จากภาพท่ี 2 สามารถห่วงโซอ่ าหารได้อกี รูปแบบดังน้ี
หว่ งโซอ่ าหารท่ี 1 พืช ➔ แมลง ➔ หนู ➔ งู ➔ เหยยี่ ว
ห่วงโซ่อาหารท่ี 2 แพลงตอนพชื ➔แพลงตอนสัตว์ ➔ปลาขนาดเล็ก➔ ปลาขนาดใหญ่ ➔ ปลาฉลาม

สายใยอาหาร (food web) ระบบนิเวศจำนวนน้อยท่ีประกอบไปดว้ ยห่วงโซอ่ าหารเดยี่ วๆโดยไม่มีสาขา
ยอ่ ยๆ ผู้บริโภคแรกเริ่มหลายรูปแบบมกั จะกินพืชชนิดเดียวกันและผ้บู รโิ ภคแรกเร่ิมชนดิ เดียวอาจกินพชื หลายชนดิ
ดังน้ันสาขายอ่ ยของห่วงโซอ่ าหารจึงเกดิ ข้นึ ในระดับการกนิ อื่นๆดว้ ย ตัวอยา่ งเชน่ กบตัวเตม็ วัยซ่ึงเปน็ ผบู้ รโิ ภคลำดบั
สองกนิ แมลงหลายชนดิ ซ่ึงอาจถูกกินโดยนกหลายชนดิ นอกจากนี้แล้ว ผู้บรโิ ภคบางชนิดยงั กนิ อาหารในระดับการ
กินทแี่ ตกต่างกนั นกฮกู กินหนูซ่งึ เปน็ ผบู้ รโิ ภคแรกเร่มิ ท่ีกนิ สัตวไ์ มม่ กี ระดูกสันหลังบางชนดิ แต่นกฮูกอาจกนิ งูซึ่งเป็น
สงิ่ มชี ีวิตท่กี นิ เน้ืออีกดว้ ย ส่ิงมชี ีวติ ท่ีกนิ ท้ังพืชและสัตว์ รวมทัง้ มนุษย์ด้วย(omnivore) จะกินท้ังผู้ผลติ และผบู้ รโิ ภค
ในระดบั การกนิ ตา่ งๆ ดงั นน้ั ความสมั พนั ธ์เชิงการกินอาหารในระบบนเิ วศจงึ ถูกถกั ทอให้มีความละเอียดซบั ซ้อนมาก
ยิ่งขึ้นจนกลายเปน็ สายใยอาหาร (food web)

ภาพท่ี 4 สายใยอาหารแบบไม่ซับซ้อน ทศิ ทางหัวลกู ศรหมายถงึ ใครบริโภคใคร
(ผู้ทอี่ ยู่ตำแหน่งตน้ ของลกู ศรจะถูกกนิ โดยผทู้ อ่ี ยู่ตำแหน่งปลายลกู ศร)และ
ทิศทางการ เคลื่อนย้ายของสารอาหารจะถกู สง่ ผา่ นไปตามทศิ ทางของลูกศร

ทมี่ า : (http://wps.aw.com/bc_campbell_ essentials _2/ 0,7641,708230-,00.html

๑๗

การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ
การถา่ ยทอดพลงั งานในโซ่อาหาร การถ่ายทอดพลังงานในโซอ่ าหารอาจแสดงในในลกั ษณะของ
สามเหล่ยี มพรี ามิดของส่ิงมีชวี ิต (ecological pyramid) แบ่ง ได้ 3 ประเภทตามหนว่ ยที่ใชว้ ดั ปริมาณของลำดบั ข้นั
ในการกนิ
1. พีรามิดจำนวนของสิ่งมชี ีวิต (pyramid of number) แสดงจำนวนสง่ิ มีชีวติ เปน็ หนว่ ยตัวตอ่ พนื้ ท่ี โดยท่วั ไป
พรี ะมิดจะมฐี านกว้าง ซ่งึ หมายถงึ มจี ำนวนผู้ผลิตมากที่สุด และจำนวน ผบู้ ริโภคลำดบั ต่างๆ ลดลงมา แตก่ ารวดั
ปริมาณพลังงานโดยวิธีน้ี อาจมีความคลาดเคลอื่ นได้เนื่องจากสิ่งมชี วี ิตไมว่ ่าจะเป็นเซลล์เดยี ว หรอื หลายเซลล์ ขนาด
เลก็ หรือขนาดใหญ่ เชน่ ไสเ้ ดือน จะนับเปน็ หน่งึ เหมือนกนั หมด แตค่ วามเปน็ จริงนนั้ ในแง่ปรมิ าณพลงั งานท่ีได้รับ
หรืออาหารที่ผู้บริโภคได้รับจะมากกวา่ หลายเท่า ดังน้นั จงึ มีการพัฒนารปู แบบในรปู ของพิรามิดมวลของส่ิงมีชีวติ

pyramid of number
2. พีรามิดมวลของส่ิงมีชวี ิต (pyramid of mass) โดยพริ ามิดนี้แสดงปริมาณของส่งิ มีชีวิตในแตล่ ะลำดบั ขัน้ ของ
การกินโดยใชม้ วลรวมของน้ำหนักแหง้ (dry weight) ของส่งิ มีชวี ิตต่อพื้นทแ่ี ทนการนับจำนวนพรี ามดิ แบบน้ีมีความ
แม่นยำมากกว่าแบบที่ 1 แต่ในความเปน็ จริงจำนวนหรือมวล ของสง่ิ มชี ีวติ มีการเปลยี่ นแปลงตามช่วงเวลา เชน่
ตามฤดูกาลหรอื ตามอตั ราการเจริญเติบโต ปจั จัยเหล่านี้ จงึ เปน็ ตวั แปร ทสี่ ำคญั อยา่ งไรกด็ ีถึงแม้มวลทีม่ ากข้นึ เช่น
ต้นไมใ้ หญ่ จะผลติ เป็นสารอาหารของผู้บรโิ ภคได้มากแต่กย็ ังน้อยกวา่ ท่ีผู้บรโิ ภคไดจ้ าก ส่ิงมีชวี ิตเล็กๆ เช่น สาหรา่ ย
หรือแพลงกต์ อน ท้งั ๆที่มวล หรอื ปรมิ าณของสาหรา่ ยหรอื แพลงกต์ อนน้อยกวา่ มาก ดงั นน้ั จึงมีการพฒั นา
แนวความคิดในการแกป้ ัญหาน้ี โดยในการเสนอรูปของพีรามดิ พลังงาน (pyramid of energy)

pyramid of mass

๑๘

3. พีรามิดพลงั งาน (pyramid of energy) เปน็ ปิรามิดแสดงปรมิ าณพลังงานของแต่ละลำดบั ช้ันของการกนิ ซึ่ง
จะมคี ่าลดลงตามลำดบั ข้นั ของการโภค

pyramid of energy
ที่มาของภาพ : http://www.gang_diary.th.gs/web-g/a-tiam/page6.html

ความสมั พันธร์ ะหว่างส่ิงมีชีวติ ในระบบนเิ วศ
ในระบบนิเวศกลุ่มส่ิงมชี ีวติ จะมีความสมั พันธ์กันทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ถา้ พจิ ารณาจากการได้
ประโยชนห์ รือเสยี ประโยชนข์ องฝ่ายใดฝา่ ยหนง่ึ เราสามารถแบง่ ความสัมพนั ธร์ ะห่างสง่ิ มีชวี ติ ออกเป็น 3 ลกั ษณะ
คอื
1. สง่ิ มชี วี ิตท่ีอาศัยอย่รู ่วมกนั โดยตา่ งฝา่ ยต่างใหป้ ระโยชนซ์ งึ่ กนั และกนั (+/+) หมายถึงสิง่ มีชวี ติ ที่อยู่
ร่วมกันในแหล่งที่อย่เู ดียวกนั นนั้ ไดป้ ระโยชนด์ ว้ ยกันทง้ั สองฝา่ ย แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1.1 ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั (protocooperation) เป็นการอยรู่ ว่ มกนั ของสง่ิ มชี ีวิต 2 ชนดิ ที่ไดร้ ับ
ประโยชน์รว่ มกันโดยท่ีสงิ่ มชี ีวติ ทง้ั สองไมจ่ ำเป็นตอ้ งอยรู่ ว่ มกันเสมอไป สามารถแยกกันอยไู่ ด้ เชน่ แมลงกบั ดอกไม้
นกเอี้ยงกับควาย ปลาการต์ ูนกับดอกไมท้ ะเล เพลย้ี กบั มด
1.2 ภาวะพง่ึ พากนั (mutualism) เปน็ การอยูร่ ว่ มกันของส่ิงมชี ีวติ ทตี่ ้องอยู่รว่ มกนั ตลอดชีวิต ถ้าแยก
จากกนั จะไม่สามารถดำรงชวี ิตอย่ไู ด้ เช่น รากับสาหรา่ ย ท่ีเรียกวา่ ไลเคน (Lichen) โพรโทซวั ในลำไส้ปลวก
2. สง่ิ มชี วี ติ ท่ีอาศัยอยู่กันโดยฝ่ายหนึง่ ไดป้ ระโยชน์อีกฝ่ายหนึง่ ไมไ่ ดป้ ระโยชนแ์ ตก่ ็ไม่เสียประโยชน์
(+/0) เรยี กวา่ ภาวะเกื้อกลู หรืออิงอาศัย ( commensalism) เชน่ ปลาฉลามกบั เหาฉลาม พลูด่างบนต้นไมใ้ หญ่
3. ส่ิงมชี วี ิตทอ่ี ยู่รว่ มกันในลักษณะฝา่ ยหน่ึงไดป้ ระโยชนอ์ กี ฝ่ายหนึง่ เสียประโยชน์(+/-) แบ่งเปน็ 2
ลกั ษณะ คอื
3.1 ภาวะลา่ เหยือ่ (predation) สิง่ มชี ีวติ ที่ไดป้ ระโยชนเ์ รยี กว่าผลู้ า่ สิ่งมชี ีวิตท่ีเสยี ประโยชน์เรียกว่า
เหย่อื เชน่ เสือล่ากวาง งูล่ากบ
3.2 ภาวปรสติ (parasitism)เปน็ ภาวะที่สงิ่ มีชวี ิตชนิดหนึง่ ไปอาศยั กับส่ิงมชี ีวิตอีกชนิดหนงึ่ โดยผถู้ ูก
อาศยั เรียกว่า host เป็นผูเ้ สียประโยชน์ สว่ นผู้อาศัย เรียกวา่ ปรสติ (parasite) เปน็ ผูไ้ ด้ประโยชน์ เชน่ กาฝากกับ
ต้นมะม่วง หาบนศีรษะคน เหบ็ บนตัวสนุ ัข

๑๙

การหมุนเวยี นสารในระบบนิเวศ
ในระบบนเิ วศน์ ท้งั สสารและแรธ่ าตตุ ่างๆ จะถูกหมุนเวียนกนั ไปภายใตเ้ วลาที่เหมาะสมและมีความสมดลุ
ซึ่งกนั และกนั วนเวยี นกันเป็นวฏั จกั รที่เรียกวา่ วัฏจักรของสสาร (matter cycling) ซ่ึงเปรียบเสมอื นกลไกสำคญั
ท่ีเชื่อมโยงระหว่าง สสาร และพลังงานจากธรรมชาตสิ ู่ส่งิ มีชีวิตแล้วถา่ ยทอดพลังงานในรูปแบบของการกินตอ่ กัน
เปน็ ทอดๆ ผลสุดทา้ ยวัฏจักรจะสลายใน ข้นั ตอนทา้ ยสดุ โดยผ้ยู ่อยสลายกลบั คืนสธู่ รรมชาติ วฏั จักรของสสารทมี่ ี
ความสำคัญต่อสมดลุ ของระบบนเิ วศ ได้แก่ วฏั จกั รของนำ้ วัฏจักรของไนโตรเจน วฏั จักรของคาร์บอนและ วฏั จักร
ของฟอสฟอรสั
1. วฏั จกั รของนำ้
พ้นื ผวิ ของโลกประกอบดว้ ยแหลง่ นำ้ ประมาณ 3ใน4 ส่วน นำ้ เปน็ สงิ่ จำเปน็ อย่างยิ่งตอ่ ส่ิงมีชีวิต ทุกชนดิ
เพราะนำ้ เปน็ องคป์ ระกอบสว่ นใหญ่ของเซลล์ เป็นตวั กลางสำคญั ของกระบวนการตา่ งๆ ในสิ่งมชี วี ติ และเป็นแหล่งที่
อยู่การหมุนเวยี นเปลีย่ นแปลงของน้ำหรือวฎั จักรของนำ้ คือ ปรากฎการณท์ ่เี กดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ โดยเรม่ิ ต้นจาก
นำ้ ในแหล่งน้ำตา่ ง ๆ เช่น ทะเล มหาสมุทร แมน่ ้ำ ลำคลองหนอง บึง ทะเลสาบ จากการคายนำ้ ของพืช จากการ
ขบั ถ่ายของเสยี ของส่งิ มีชีวิต และจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตของมนษุ ย์ ระเหยขน้ึ ไปในบรรยากาศ
กระทบความเยน็ ควบแน่นเป็นละอองน้ำเลก็ ๆ เปน็ กอ้ นเมฆ ตกลงมาเป็นฝนหรือลกู เห็บสพู่ ื้นดินไหลลงสู่แหลง่ น้ำ
ต่าง ๆ หมุนเวยี นอยเู่ ชน่ น้เี ร่อื ยไป และปจั จัยที่ช่วยให้เกิดวฏั จกั รของนำ้ คอื
1. ความรอ้ นจากดวงอาทิตย์ ทำใหเ้ กิดการระเหยของน้ำจากแหลง่ น้ำต่าง ๆ กลายเป็นไอนำ้ ขึ้นสู่บรรยากาศ
2. กระแสลม ชว่ ยทำใหน้ ้ำระเหยกลายเป็นไอได้เรว็ ข้นึ
3. มนษุ ยแ์ ละสัตว์ ขับถา่ ยของเสยี ออกมาในรูปของเหงอ่ื ปสั สาวะ และลมหายใจออกกลายเปน็ ไอน้ำสู่บรรยากาศ
4. พชื รากต้นไม้เปรียบเหมือนฟองน้ำ มีความสามารถในการดูดน้ำจากดนิ จำนวนมากขึ้นไปเกบ็ ไวใ้ นส่วนต่าง ๆ ท้งั
ยอด กงิ่ ใบ ดอก ผล และลำตน้ แลว้ คายนำ้ สู่บรรยากาศ ไอเหล่านี้จะควบแน่นและรวมกนั เปน็ เมฆและตกลงมาเป็น
ฝนต่อไป ดังภาพ

วฏั จกั รของนำ้

๒๐

2. การหมนุ เวียนกา๊ ซไนโตรเจนในระบบนเิ วศ(Nitrogen Cycle)
สารประกอบไนโตรเจนจะมอี ยใู่ นดนิ ในน้ำ และเปน็ องค์ประกอบหลักของอากาศที่ห่อหุ้มโลก เปน็ แร่
ธาตุหลกั สำคญั 1 ใน 4 ธาตทุ ีส่ ิ่งมชี ีวิตทกุ ชนดิ ต้องการ เพื่อนำไปสร้างโปรตนี สำหรับ การเจรญิ เตบิ โต ใน
บรรยากาศมีกา๊ ซไนโตรเจน ประมาณร้อยละ 78 แต่สิง่ มชี ีวิตไมส่ ามารถนำมาใช้ได้โดยตรง แต่จะใชไ้ ด้เม่ืออยใู่ น
สภาพในรูปของสารประกอบไนโตรเจนคือ แอมโมเนีย ไนไตรท์และไนเตรท ไนโตรเจนในบรรยากาศ จึงต้องเปล่ียน
รูปให้อย่ใู นสภาพทีส่ ่ิงมชี ีวติ สว่ นใหญ่จะใชไ้ ด้การหมุนเวียนของไนโตรเจนจึงตอ้ งผา่ นส่งิ มีชวี ติ เสมอ

วัฏจกั รนีจ้ งึ ประกอบด้วยขบวนการตรงึ ไนโตรเจน (Nitrogen Fixation) ขบวนการสร้างแอมโมเนยี
(Ammonification) ขบวนการสร้างไนเตรด (Nitrification) และขบวนการสรา้ งไนโตรเจน (Denitrification)
ขบวนการเหล่าน้ีจะต้องอาศยั แบคทเี รยี จลุ นิ ทรีย์ อน่ื ๆ จำนวนมาก จงึ ทำให้เกิดสมดุลของวฏั จักรไนโตรเจน
นอกจากจะถูกตรึง โดยสง่ิ มีชีวิต เชน่ แบคทีเรยี ในปมรากพืชตระกลู ถว่ั แลว้ ไนโตรเจนในบรรยากาศ ยังถูกตรงึ จาก
ธรรมชาตอิ ีกดว้ ย เป็นตน้ วา่ เม่ือเกิดฟา้ แลบขึ้นมา ไนโตรเจนในทอ้ งฟ้าจะเปล่ยี นแปลงทางเคมี ฟิสิกส์ กอ่ ใหเ้ กิด
สารประกอบไนเตรดขน้ึ มา จากนัน้ จะถกู นำ้ ฝนชะพาลงสูพ่ ้ืนดิน โดย พืชใช้ไนโตรเจนในรปู ของสารประกอบ ได้แก่
เกลือแอมโมเนยี เกลอื ไนไตรด์ เหลือไนเตรต เพื่อนำไปสรา้ งสารประกอบต่างๆ ในเซลล์ ส่วนสตั วไ์ ด้รับไนโตรเจน
จากการกนิ อาหารทีต่ ่อเน่ืองมาเป็นลำดับ ซง่ึ จะมีการถ่ายทอดจากพชื มาตามหว่ งโซอ่ าหารและสายใยอาหาร การ
ขับถา่ ยของสัตว์ ซง่ึ สารขบั ถ่ายอยู่ในรปู สารประกอบไนโตรเจน คือ แอมโมเนยี ทำให้มไี นโตรเจนกลับคืนสู่
บรรยากาศเชน่ กัน ดงั ภาพ

วัฎจกั รไนโตรเจน
3. การหมนุ เวยี นของคาร์บอนในระบบนิเวศ

คารบ์ อน (C) เป็นธาตสุ ำคญั ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของอนิ ทรยี ส์ ารในร่างกายส่งิ มีชวี ติ
เชน่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ฯลฯ และเปน็ สารอนิ ทรียท์ ี่มอี ยู่ในระบบนิเวศ ในบรรยากาศ มี ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบสำคัญที่พชื นำมาใช้ในกระบวนการสังเคราะหแ์ สง ในระบบนิเวศการ
หมนุ เวยี นของคาร์บอนตอ้ งผา่ นสง่ิ มีชีวิตเสมอ แตค่ ารบ์ อนในธรรมชาตเิ กดิ จากการสะสมของตะกอนซากพชื ซาก
สัตวใ์ ต้ผวิ โลก เป็นเวลานานจนมีการเปล่ยี นสภาพเป็น ถ่านหนิ และปโิ ตรเลยี ม ซึง่ เปน็ พลังงานแหลง่ ใหญ่ เม่ือมีการ

๒๑

นำมาใช้ประโยชน์เป็นเชอื้ เพลงิ ก็ จะมีการคนื คาร์บอนกลับสู่บรรยากาศในรูปของคารบ์ อนไดออกไซด์ และ

หมุนเวียนกลับใหพ้ ืช นำไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป ดงั น้นั คารบ์ อนจงึ หมนุ เวยี นเปน็ วัฎจักรท่อี ยู่ในระบบนิเวศอยา่ งสมดุล

วฏั จักรคาร์บอน หมายถงึ การทีแ่ กส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์จากกอากาศถูกนำเข้าส่สู งิ่ มชี ีวติ หรือออกจากสิ่งมชี วี ิตคนื

สูบ่ รรยากาศ และนำ้ อีกหมุนเวียนกันไปเชน่ น้ีไม่มีทส่ี ิน้ สุดโดย แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศและ

นำ้ ถกู นำเข้าสู่สง่ิ มชี วี ิตผา่ นกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื (CO2) จะถูกเปลี่ยนเป็นอินทรียสารท่ีมีพลงั งาน

สะสมอยู่ ต่อมาสารอนิ ทรยี สารท่พี ืชสะสมไวบ้ างสว่ นถูกถ่ายทอดไปยังผบู้ รโิ ภคในระบบต่าง ๆ โดยการกนิ

CO2 ออกจากสิ่งมีชีวิตคืนสูบ่ รรยากาศและน้ำไดห้ ลายทาง ไดแ้ ก่

1.การหายใจของพชื และสตั ว์ เพือ่ ให้ได้พลงั งานออกมาใช้ ทำให้คาร์บอนท่ีอยใู่ นรปู ของอินทรยี

สารถกู ปลดปลอ่ ยออกมาเป็นอิสระในรปู ของ CO2

2.การยอ่ ยสลายสิ่งขับถา่ ยของสัตวแ์ ละซากพืชซากสตั ว์ ทำให้คาร์บอนทีอ่ ยู่ในรูปของ

อาหารถูกปลดปลอ่ ยออกมาเป็นอสิ ระในรปู ของ CO2

3.การเผ่าไหม้ของถ่านหนิ นำ้ มนั และคารบ์ อเนต เกดิ จากการทับถมของ

ซากพชื ซากสตั วเ์ ป็นเวลานาน

วัฏจกั รของคาร์บอนสัมพันธก์ ับวฏั จกั รนำ้ เสมอ ความสมดุลของ CO2 ในอากาศ

เกิดจากการแลกเปล่ยี นของ CO2 ในอากาศกบั นำ้ ถ้าในอากาศ CO2มากเกินไป

ก็จะมีการละลายอยู่ในรูปของ H2CO3

(กรดคาร์บอนกิ ) ดังสมาการต่อไปน้ี

CO2+H2O H2CO3

วฎั จกั รคารบ์ อน

๒๒

4. การหมนุ เวียนฟอสฟอรสั ในระบบนิเวศ
ฟอสฟอรัสเป็นธาตสุ ำคญั 1 ใน 3 ชนิด สำหรบั การเจรญิ เตบิ โตของพืช ในสตั ว์ ฟอสฟอรสั เป็น

ธาตสุ ำคัญต่อการสรา้ งโครงสร้างของร่างกายใหแ้ ข็งแรง เป็นสว่ นประกอบที่สำคญั ของกระดูก และฟันเก่ียวข้องกบั
การใชพ้ ลังงานของเซลลใ์ นระบบนิเวศการหมนุ เวยี นฟอสฟอรสั โดยพืชนำฟอสฟอรัสจากธรรมชาติเขา้ มาในลักษณะ
ของสารประกอบฟอสเฟตทีล่ ะลายนำ้ ได้ แล้วนำไปสะสมไวใ้ นเซลลต์ ่างๆ เมื่อสตั ว์กินพชื กจ็ ะ ได้รบั ฟอสฟอรสั โดย
ผา่ นกระบวนการกินเขา้ สู่รา่ งกาย สัตวน์ ำฟอสฟอรัสท่ีได้ไปสรา้ งกระดูก และฟัน และใชใ้ นขบวนการอน่ื ๆ เมอื่ สัตว์
และพืชตายลง ซากพชื ซากสัตว์จะทับถมลงสดู่ นิ ฟอสฟอรัสบางส่วนพชื จะดูดซมึ ไปใชใ้ หม่ บางสว่ นถูกแบคทีเรยี บาง
กลุ่มท่ีอยู่ในดนิ ยอ่ ยสลาย เป็นกรดฟอสฟอริก ทำปฏิกริ ยิ ากับสารในดนิ เกดิ เป็นสารประกอบฟอสฟอรัส กลบั คืนไป
ทบั ถม เปน็ หนิ ฟอสเฟต ในดิน ในนำ้ ในทะเล และมหาสมุทร โดยเฉพาะในทะเล สารประกอบของฟอสฟอรัสจะ
รวมกับ ซากของหินปะการัง เปลือกหอย และโครงกระดูกสัตว์ตา่ งๆ เมื่อผ่านกระบวนการสกึ กร่อนตาม ธรรมชาติ
แพลงตอนพชื และสัตว์ในทะเลนำเอาสารประกอบของฟอสฟอรัสดังกล่าวไปใชเ้ ปน็ หว่ งโซอ่ าหารและสายใยอาหาร
ในทะเลและมหาสมุทรต่อไป ฟอสฟอรัสกจ็ ะหมุนเวียนคนื สู่ ธรรมชาติเป็นวฎั จักรเช่นนีไ้ ปไม่มีทส่ี นิ้ สุด ดังแผนภาพ

วฏั จกั รฟอสเฟต

ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการเปลีย่ นแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ
ประชากร (Population) หมายถึง กลุม่ ของสิ่งมีชวี ิตชนดิ เดียวกนั เชน่ มนษุ ย์ สตั ว์ พชื หรือสิง่ อ่ืนท่ี

รวมอยใู่ นแหล่งที่อยู่หรอื สถานท่ีเดยี วกัน ในชว่ งระยะเวลาเดยี วกนั เช่นจำนวนประชากรมดแดงในรังบนตน้ มะม่วง
หน้าโรงเรียนเม่ือเดือนธนั วาคม 2554 มีอยู่ 5500 ตัว

ประชากรมนุษย์ (human population) หมายถึง กลุ่มของคนทรี่ วมอยู่ในท่เี ดยี วกนั และระยะเวลา
เดยี วกนั แตโ่ ดยทั่วไปแล้วเมื่อกลา่ วถงึ ประชากรมนุษย์มักจะใชค้ ำวา่ ประชากร เช่น ชายหญงิ ในกรุงเทพมหานคร
ปี2554 มี 12 ลา้ นคน เป็นต้น การกล่าวถงึ ประชากร โดยปกติจะต้องระบแุ หลง่ ที่อยขู่ องประชากร และระบุชว่ ง
ระยะเวลาด้วยเสมอ ทั้งน้ีเพราะจำนวนหรอื ขนาดประชากรของส่ิงมีชวี ิตตา่ งๆที่อยู่ในสถานทแ่ี ต่ละแหง่ แต่ละ
ชว่ งเวลาจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีการเกิด การตาย การย้ายถน่ิ ท่ีอยู่ท้ังการยา้ ยเขา้

๒๓

และการยา้ ยออกจากพื้นท่ี ทำให้จำนวนประชากรมีการลดลงหรอื เพ่มิ แลว้ แต่กรณี เชน่ การเกดิ กับการย้ายเข้าทำ
ใหแ้ ประชากรเพิ่มข้ึน การตาย และการย้ายออกทำให้ประชากรลดลง ถ้าท้ังสองอย่างมีอตั ราเทา่ กันจำนวน
ประชากรจะเทา่ เดิม แตก่ ็ถือว่ามีการเปลีย่ นแปลงของประชากร

แรง มวล และ กฎการเคล่ือนท่ี

สภาพการเคลื่อนท่ขี องวตั ถุ
สภาพการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุแบ่งเป็น 2 ประเภท คอื
สภาพการเคลอื่ นท่คี งเดมิ หมายถึง อาการท่ีวัตถุอย่นู ่ิงหรือมีความเรว็ คงที่ เช่นนักเรียนคนหนึง่ ยืนอยูน่ ิ่งๆ บนพื้น
รถยนต์กำลงั เบรกอย่าวกะทนั หัน เป็นตน้

รูป สภาพการเคลือ่ นท่ีคงเดมิ
สภาพการเคลอ่ื นทเี่ ปล่ียนแปลง หมายถึงอาการที่วตั ถมุ ีการเคล่ือนทด่ี ว้ ยความเร่ง เช่น นักเรียนคนหนึง่ กำลังออก
วง่ิ รถยนต์กำลังเบรกกะทันหัน เปน็ ตน้

รูป สภาพการเคลือ่ นทเี่ ปลี่ยนแปลง

๒๔

แรง

แรง คอื อำนาจอย่างหนึ่งท่ีสามารถเปลี่ยนสภาพการเคล่ือนที่ของวัตถุได้ เป็นปริมาณเวกเตอร์ มหี นว่ ยเปน็

นิวตัน (N)

ถ้ามีกล่องใบหนง่ึ วางอย่บู นพืน้ ล่นื เม่ือมแี รงผลกั กลอ่ งจะทำให้กล่องมีสภาพการเคล่ือนทีเ่ ปล่ียนไป แรงท่ีผลัก

กลอ่ งเรียกว่า แรงลพั ธ์ ถา้ เปน็ กรณที ี่มแี รงกระทำมากกว่าหนึ่งแรง เชน่ ในรปู 7.3 ชายสองคนออกแรงดึงกล่อง
   
F1 และ F 2ในทิศทางตรงกนั ขา้ ม สมตวิ ่าขนาดของ F2 มากกวา่ ขนาดของ F1 กล่องจะเคล่ือนท่ไี ปทางขวามือ

และแรงลพั ธ์ซ่ึงเปน็ การรวมแรงทั้งสองน้นั แบบเวกเตอร์กจ็ ะมีทิศทางเดยี วกบั การเคลอื่ นที่ของกลอ่ ง

รูป 7.3

ตวั อยา่ ง 1 แรง  1 และ  ขนาด 5 และ 10 นวิ ตัน ตามลำดับ กระทำกับกลอ่ งซงึ่ วางบนพน้ื ลื่น ดงั รูป จง
F F2

คำนวณแรงลัพธ์ที่กระทำกับกลอ่ งและกล่องจะเคล่ือนไปทางใด

วิธที ำ ให้ Fเปน็ ขนาดของแรงลพั ธ์ F1 และ F2 เป็นขนาดของแรง  1 และ  2 ตามลำดบั จะได้
F F

F = F2 – F1; แรงพุ่งไปทางขวาแทนบวก พงุ่ ซ้ายแทนลบ

= 10- 5 = 5N 
F2
นน่ั คือ แรงลัพธ์มคี า่ 5 นวิ ตนั และมีทิศไปทางเดยี วกับ เพราะ F2 >F1 จงึ ทำให้กล่องเคล่ือนไป

ในแนวเดียวกับ F2

๒๕

ตวั อยา่ ง 2 จากรูป อนภุ าคถูกแรงกระทำ 3 แรง คอื  1,  2 และ  3 มขี นาด 1, 2 และ 3 นวิ ตนั ตามลำดบั
F F F

จงคำนวณขนาดและทิศทางของลพั ธ์

วธิ ีทำ การหาขนาดของแรงลัพธ์สำหรับกรณนี ี้ วิธีทส่ี ะดวกคอื แตกแรง  1,  2และ  3 ลงในแกน X และ Y
F F F

ดังรูป แล้วจึงรวมแรงทล่ี ะแกน จากนน้ั จงึ นำมารวมอีกคร้ัง

๒๖

เวกเตอร์ ส่วนประกอบทางแกน X ส่วนประกอบทางแกน Y
(1)cos 30 = 3 (1)sin 30 = 1

F1 2 2

 -(2) sin 30 = - 1 (2)cos 30 = 3
F2

 -(3)cos 30 = - 3 3

F3 -(3) sin 30 = - 3 2

2

 
F

Fx = 3−5 Fy = 1− 3
2 2

เมื่อ   เปน็ แรงลพั ธ์ FX และ FY เป็นขนาดของแรงลัพธใ์ นแกน X และ Y ตามลำดบั จะได้
F

( F )2 = F2X+ FY2

( F )2 = 3 −10 3 + 25 + 1− 2 3 + 3

(   )2 44
F
= 32 −12 3
F
4

= 2.8 N

tan = Fy

FX

= 1− 3 = 0.22

3−5

 = tan-1 0.22
น่ันคือ แรงลพั ธม์ ีขนาด 2.8 นวิ ตนั ทำมุม = tan-1 0.22 และอนภุ าคนจี้ ะเคลือ่ นทีไ่ ปตามทศิ ของแรงลัพธ์
ตัวอย่าง 3 รถยนตค์ ันหนึ่งแล่นไปบนถนโคง้ ดว้ ยอัตราคงท่ี ถามวา่ สภาพการเคลื่อนทข่ี องรถคนั นเ้ี ปลีย่ น
ไปหรือไม่

วิธีทำ

๒๗

แม้วา่ รถยนตจ์ ะแลน่ ด้วยอตั ราเร็วคงที่ แตท่ ิศทาวการเคลื่อนที่เปล่ียนไปตามความโคง้ ของถนนทำใหค้ วามเรว็
เปลี่ยนไปการที่ความเรว็ เปล่ยี นไปทำให้เกิดความเร่ง เม่ือมีความเร่งสภาพการเคลือ่ นทขี่ องรถยนต์ต้องเปล่ยี นไป
นน่ั คอื สภาพการเคลือ่ นท่ีของรถยนต์เปล่ียนไป

กฎการเคล่ือนท่ีข้อหนึ่งของนิวตันหรือกฎความเฉ่ือย

กฎข้อ 1 “วตั ถจุ ะรักษาสภาพอยนู่ ง่ิ หรือสภาพเคล่ือนที่อย่างสมำ่ เสมอในแนวเสน้ ตรง นอกจากจะมีแรงลพั ธ์

ท่ีคา่ ไมเ่ ป็นศนู ย์มากระทำ” v = 
F
หรอื 0 หรือคงท่ี เม่ือ  = 0

กฎขอ้ ท่ี 1 นีก้ ล่าวไดอ้ ีกอย่างว่า วัตถุจะ ไม่เปลีย่ นสภาพการเคลือ่ นท่ีถา้ แรงลัพธเ์ ปน็ ศนู ย์ ดงั รูป
 
กลอ่ งถูกแรง F 1 และ F 2 กระทำในทิศทางตรงขา้ มกัน ถ้าวัตถุอยนู่ ง่ิ หรือเคลอื่ นท่ีด้วยความเร็วคงท่ี แสดงวาขนาด
 
ของ F1 ต้องเทา่ กับขนาดของ F2 หรือแรงลพั ธ์ท่กี ระทำต่อกล่องมีคา่ เป็นศนู ย์

รูป

ตวั อย่าง 4 จากรปู เครื่องบิน ไอพ่นเคลื่อนท่ีดว้ ยความเร่งคงท่ี  ปรากฏกบั สายตาของชาย ก ซงึ่ ยนื นิ่งอยู่กับที่
 a
V
ชาย ข วง่ิ ดว้ ยความเร็วคงที่ เขาจะเหน็ เครอื่ งบินไอพ่นเคล่ือนทีด่ ้วยความเร่งเทา่ ไร

วิธที ำ สมมตวิ า่ ขณะเวลา t1 เครือ่ งบนิ ไอพ่นมีความเรว็  และขณะ t2 มคี วามเรว็  2 บินมาอยตู่ รงตำแหนง่ A
V V

และ B ตามลำดับ ความเรง่ ท่ีปรากฏตอชาย ก เทา่ กบั  ตามที่โจทยก์ ำหนดและสามารถคำนวณได้ว่า
a

a = v2 − v1 ……………(1)

t2 − t1

๒๘

ให้ a เปน็ ความเรว่ ของเคร่ืองบินไอพน่ ทีป่ รากฏตอ่ ชาย ข ให้ v 1 และ v 2 เป็นความเร็วของ

เคลื่อนบนิ ไอพน่ ทีป่ รากฏต่อชาย ข ณ เวลา t1 และ t2 ตามลำดบั โดยอาศัยหลกั เกณฑ์ของความเร็วสัมพนั ธ์จะได้
v 1= v 1- v
…………(2)
v 2= v 2- v
…………(3)

ดังนั้นเราสามารถคำนวณ a ไดด้ งั น้ี
a = v2 − v2
t2 − t1

= (v2 − v) − (v1 − v
t2 − t1

= v2 − v1 …………..(4)
t2 − t1

จากสมการ (1) และ (4) จะเหน็ วา่ a =  แสดงว่า ถ้าผูส้ ังเกตมีสภาพการเคล่ือนท่ีไม่เปลยี่ นแปลง
a

หมายถงึ ผู้สงั เกตทอี่ ยูน่ ิ่งและมีความเร็วคงท่ี เขาจะสามารถเหน็ การเคลอื่ นท่ีของวัตถุที่เคลิอนท่ีดว้ ยความเร่งได้

เหมอื นกัน จากตัวอย่างน้ีจะยืนยันว่ากฎการเคลือ่ นทข่ี องนิวตนั จะเป็นจรงิ ถา้ ผู้สังเกตมสี ภาพการเคลื่อนท่ีไม่

เปลีย่ นแปลง

นนั่ คอื ชาย ข เหน็ เคร่ืองบนิ ไอพน่ มีความเรง่ เท่ากบั 
a

กฎการเคล่ือนทีข่ อ้ ทสี่ องของนิวตัน

กฎข้อ 2 “เม่ือมีแรงลัพธซ์ งึ่ มขี นาดไมเ่ ปน็ ศูนย์มากระทำต่อวัตถุ จะทำใหว้ ัตถุเกิดความเรง่ ในทิศเดียวกับ
แรงลพั ธ์ทีม่ ากระทำและขนาดของความเร่งนจี้ ะแปลผนั ตรงกบั ขนาดของแรงลพั ธ์และแปลผกผันกับมวล

ของวัตถุ

ในกฎข้อที่ 2 คำวา่ แรงลพั ธจ์ ะพดู ถงึ แรงภายนอกท่กี ระทำวัตถุ หากพจิ ารณากฎข้อท่ี 2 จะเห็นไดว้ า่

เราสามารถสรปุ ได้เปน็ สมการสัน้ ๆ โดยถ้า  F เป็นแรงลพั ธท์ ่กี ระทำต่อมวล m แลว้ ทำให้มวลมคี วามเร่วคงที่ a

ดังรปู 1 จะได้

  = m a
F

โดยทิศทางของแรงลัพธแ์ ละความเร่งของมวลจะไปทิศทางเดยี วกัน

๒๙

รูป 1

จากสมการ ถ้า m เท่ากับ 1 กิโลกรัม a เทา่ กับ 1 เมตรต่อวนิ าที2 จะได้แรง F เทา่ กบั 1 นิวตนั

ดงั นั้นแรง 1 นวิ ตนั หมายถึง แรงทส่ี ามารถทำใหว้ ัตถุมมี วล 1 กโิ ลกรัมเคลื่อนท่ีไปดว้ ยความเร่ง 1 เมตรต่อวินาที2

ตวั อย่าง มวล m ขนาด 10 กิโลเมตร มีแรง  1 และ  2 กระทำดงั รปู ถ้าขนาดของ  1 และ  2 มคี ่า
F F F F

10 และ 20 นวิ ตันตามลำดบั จงหาขนาดและทศิ ทางความเร่งของมวล m

วิธที ำ ตามกฎการเคล่อื นทีข่ ้อสองของนวิ ตันจะได้

 F = m 
a

 1+  2 = m a
F F

(+10)+(-20) = (10)a

  a = -1 m/s2   
a F F F F1
เคร่อื งหมายของ ในทน่ี ี้หมายถงึ a และ 2 มที ิศเดยี วกัน เพราะตอนแทนคา่ 1 และ 2 เราแทนแรง

ดว้ ย +10 เพราะพุง่ ไปทางขวา แทนแรง F2 ด้วย –20 เพราะพุ่งไปทางซ้าย ดงั นน้ั a มีทศิ พุง่ ไปทางซ้าย

นนั่ คอื ความเร่งของมวล m เทา่ กับ 1 เมตรต่อวนิ าที2 พงุ่ ไปทางซ้าย

๓๐

บทท่ี 3
วธิ ีการประเมนิ โครงการ

การดำเนินโครงการคร้ังนี้เป็นการประเมนิ โครงการค่าย “Science Camp” รนุ่ 2 ได้จัดทำโครงการนี้ขึน้
ซึ่งมีเน้ือหาและสาระสำคัญเกี่ยวกบั วิธกี ารดำเนนิ การดงั น้ีคือประชากรเคร่ืองมือท่ีใช้ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
และวิธีการวเิ คราะหผ์ ลตามลำดบั ดงั น้ี
กลมุ่ ประชากร

ประชากรในการดำเนนิ โครงการค่าย “Science Camp” ร่นุ 2 คอื นกั ศึกษา กศน.ตำบลโคกกรวด
กศน.ตำบลปรุใหญ่ กศน.ตำบลหนองกระทมุ่ กศน.ตำบลหมนื่ ไวย กศน.ตำบลบา้ นเกาะ และกศน.ตำบลสรุ นารี
จำนวน 150 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินโครงการ
เครอื่ งมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลไดแ้ ก่แบบสอบถาม (Questionnair) ทีผ่ ้ดู ำเนินโครงการไดส้ รา้ งข้ึน

โดยศกึ ษาคน้ ควา้ จากการทบทวนวรรณกรรมต่างๆทเี่ ก่ยี วข้องสว่ นแบบสอบถามแบ่งออกเป็น ๒ สว่ นดงั นี้
ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ียวกับขอ้ มูลทั่วไปของกลุ่มตวั อยา่ งได้แก่ระดบั การศึกษาเพศอายอุ าชีพ
สว่ นที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกย่ี วกับกระบวนการจัดการเรยี นรู้ จำนวน 15 ขอ้ แบ่งไดด้ ังน้ี
ดา้ นวิทยากร จำนวน 3 ข้อ
ด้านการอำนวยความสะดวก 4 ข้อ
ดา้ นกระบวนการ จำนวน 4 ขอ้
ดา้ นเนอื้ หา จำนวน ๔ ขอ้
ลกั ษณะเปน็ แบบสอบถามชนดิ มาตราสว่ นประมาณค่าตามแบบของลิเคริ ์ท (Likert’s Scale)
มี 5 ระดับดว้ ยกนั คือ
1 หมายถงึ ต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน
2 หมายถึง ตอ้ งปรบั ปรุง
3 หมายถงึ พอใช้
4 หมายถึง ดี
5 หมายถึง ดีมาก

การเก็บรวบรวมข้อมลู
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเครอ่ื งมือ โดยเกบ็ จากนักศึกษา กศน. อำเภอเมอื งนครราชสมี า

จำนวน 150 คน

วธิ ีการวิเคราะห์ผล
การวิเคราะห์ข้อมลู ทีเ่ ปน็ ข้อมูลเชงิ ปริมาณและเชิงคณุ ภาพดำเนนิ การ 2 ข้ันตอนดังนี้
1. การวเิ คราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถามดังนี้

1.1 ขอ้ มลู จากแบบสอบถามของผ้ตู อบแบบสอบถามโดยหาคา่ เฉล่ีย (ˉx) ค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
1.2 ขอ้ มลู จากแบบสอบถามเกยี่ วกบั กระบวนการจัดการเรียนรู้ข้อมูลโดยหาคา่ เฉลี่ย (ˉx) คา่ สว่ นเบีย่ งเบน
มาตรฐาน (S.D.)

๓๑

สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู
ผู้ประเมินได้นำข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉล่ีย (ˉx) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D.)
1) คา่ เฉลี่ย (Mean) หรือเรียกว่าค่ากลางเลขคณิต ค่าเฉลี่ย ค่ามชั ฌิมเลขคณติ เปน็ ต้น

X = x

n
เม่อื X แทน ค่าเฉลยี่

X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดของกล่มุ
nแทน จำนวนของคะแนนในกลมุ่
2) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปน็ การวดั การกระจายท่นี ยิ มใช้กันมากเขียนแทนด้วย S.D.
หรือ S

S.D. = (X - X)2
n–1

หรือ
S.D. = nX2 - (X)2
n(n – 1)

เม่ือ S.D. แทน คา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
X แทน ค่าคะแนน
nแทน จำนวนคะแนนในแต่ละกลมุ่
แทน ผลรวม

๓๒

บทที่ 4
ผลการประเมนิ โครงการ

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู โครงการค่าย “Science Camp” ร่นุ 2 จำนวน 15๐ คน สรุปได้ดังนี้

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพงึ พอใจของผเู้ รียน
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมโครงการค่าย “Science Camp” ร่นุ 2

เกณฑ์การตดั สินและพจิ ารณาแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ โดยใช้ scale 5 ระดับ หรือทเ่ี รยี กว่าวัดเจตคติ
ตามเทคนิคของของลเิ คริ ์ท(Likert technique) หรอื แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
ของลเิ คริ ์ทสเกล ถือเกณฑ์พิจารณาจากระดบั คะแนนเฉล่ียจากค่าคะแนนดังนี้

4.21 – 5.00 หมายถึง ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีความพึงพอใจระดับ มากทสี่ ดุ
3.41 – 4.20 หมายถงึ ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจระดับ มาก
2.61 – 3.40 หมายถงึ ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจระดับ ปานกลาง
1.81 – 2.60 หมายถึง ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีความพึงพอใจระดบั น้อย
1.00 – 1.80 หมายถึง ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจระดับ น้อยทีส่ ุด

ส่วนท่ี 1 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลส่วนตวั ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ

ตารางที่ 1.๑ แสดงข้อมูลเพศของผู้เข้ารว่ มโครงการ จำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน รอ้ ยละ

หญิง 82 54.67
ชาย 68 45.33

จากตารางที่ 1.๑ แสดงข้อมูลเพศของผู้เขา้ ร่วมโครงการ จำแนกตามเพศ พบว่าผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ
สว่ นใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ จำนวน 82 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 54.67 เปน็ เพศชาย จำนวน 68 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
45.33 ตามลำดบั

ตารางที่ 1.๒ แสดงข้อมูลระดับการศึกษาของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ จำแนกตามระดับช้ัน

ระดบั การศกึ ษา จำนวน ร้อยละ

มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 72 48
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 78 52
อื่นๆ - -

จากตารางที่ 1.๒ แสดงข้อมูลระดบั การศึกษาของผเู้ ข้าร่วมโครงการ จำแนกตามระดบั ชน้ั พบวา่ ผู้เขา้ ร่วม
กิจกรรมส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 78 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52 รองลงมาคือ
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นจำนวน 72 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 48 ตามลำดับ

๓๓

ตารางท่ี 1.3 แสดงขอ้ มูลอายุของผู้เขา้ ร่วมโครงการ จำแนกตามระดบั อายุ

ระดบั อายุ จำนวน ร้อยละ

๖ – ๑๔ ปี - -
1๕ – ๑9 ปี 56 37.33
๒0 – ๓9 ปี 78
๔๐ – ๕๙ ปี 1๖ 52
60 ปขี น้ึ ไป - 10.67

-

จากตารางที่ 1.3 แสดงข้อมูลอายขุ องผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามระดบั อายุ พบว่าผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
สว่ นใหญม่ อี ายุระหว่าง ๒๐ – ๓๙ ปีจำนวน 78 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52 รองลงมาคือ อายรุ ะหวา่ ง ๑๕ – ๑9 ปี
จำนวน 56 คน คิดเปน็ ร้อยละ 37.33 และอายรุ ะหว่าง ๔๐ – ๕๙ ปี จำนวน 1๖ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.67
ตามลำดบั

ตารางที่ 1.๔ แสดงข้อมูลอายุของผเู้ ข้าร่วมโครงการ จำแนกตามอาชพี

อาชพี จำนวน ร้อยละ

รับจา้ ง 9๒ 61.33
คา้ ขาย 9 6
เกษตรกรรม - -
รับราชการ - -
อ่นื ๆ 4๙
32.67

จากตารางที่ 1.๔ แสดงขอ้ มูลอาชพี ของผู้เขา้ ร่วมโครงการ จำแนกตามอาชีพ พบว่าผเู้ ข้าร่วมโครงการ
ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างจำนวน 9๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 61.33 รองลงมาคือ อาชพี อ่ืน ๆ จำนวน 4๙ คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.67 และอาชีพค้าขาย จำนวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6 ตามลำดบั

สว่ นท่ี 2 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ตารางท่ี 2.1 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมลู แสดงความพงึ พอใจในดา้ นวทิ ยากร

ดา้ นวิทยากร xˉ s.d ระดับความสำคัญ

1.การถ่ายทอดของวทิ ยากร 4.๓๓ .๗๔ มากทีส่ ุด
2.ความสามารถอธิบายเนื้อหาไดช้ ดั เจนและตรงประเด็น 4.๓๖ .๗๓ มากทส่ี ดุ
3.การตอบคำถามของวทิ ยากร 4.๒๓ .๗๓ มากที่สุด
.73 มากท่สี ุด
โดยรวม 4.31

จากตารางที่ 2.1แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านวทิ ยากร พบว่าภาพรวมผูเ้ ขา้ ร่วม
โครงการมคี วามพงึ พอใจในดา้ นวิทยากร อยใู่ นระดับมาก ( ˉx= 4.๓1 , s.d =.73) โดยพิจารณาเป็นรายข้อจะพบวา่
ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมสว่ นใหญ่มีความพงึ พอใจในความเหมาะสมของบุคลากร/วทิ ยากรในการอธิบายเนอื้ หาไดช้ ัดเจน
และตรงประเดน็ มากที่สดุ ( ˉx= 4.๓๖, s.d = .๗๓) รองลงมาคอื การถา่ ยทอดของวทิ ยากร ( ˉx= 4.๓๓, s.d = .๗๔)
และการตอบคำถามของวิทยากร ( ˉx= 4.๒๓ , s.d = .๗๓) ตามลำดับ

๓๔

ตารางที่ 2.2 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจในดา้ นกระบวนการ

ดา้ นกระบวนการ xˉ s.d ระดับความสำคัญ

1. การบรกิ ารของเจ้าหนา้ ท่ี 4.๕๓ .๕๙ มากท่สี ุด
2. การให้คำแนะนำหรือตอบข้อซักถามของเจา้ หนา้ ที่
๓. การประสานงานของเจ้าหนา้ ที่โครงการ 4.๓6 .๖๘ มากที่สุด
๔. การอำนวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ ๔.๒๑ .๘๒ มากที่สุด
๔.๒๖ .๘๒ มากที่สดุ
โดยรวม
4.๓4 .68 มากทส่ี ุด

จากตารางที่ 2.2 แสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมูลแสดงความพงึ พอใจในดา้ นกระบวนการ
พบวา่ ภาพรวมผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจในดา้ นกระบวนการในระดบั มาก ( ˉx= 4.๓4 , s.d = .68)
โดยพจิ ารณาเปน็ รายขอ้ จะพบว่า ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมส่วนใหญม่ คี วามพึงพอใจเกีย่ วกบั หลักสูตร การบรกิ ารของ
เจา้ หนา้ ทอี่ ยู่ในระดบั มากทสี่ ุด ( ˉx= 4.๕๓ , s.d = .๕๙) รองลงมาคือการให้คำแนะนำหรือตอบขอ้ ซักถามของ
เจ้าหน้าที่ ( ˉx= 4.๓๖ , s.d = .๖๘) การอำนวยความสะดวกของเจ้าหน้าท่ี ( ˉx= 4.26 , s.d = .82) และการ
ประสานงานของเจ้าหน้าทโี่ ครงการ ( ˉx= 4.๒1 , s.d = .๘๒) ตามลำดับ

ตารางท่ี 2.3 แสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู แสดงความพึงพอใจในด้านเน้ือหา

ดา้ นเนื้อหา xˉ s.d ระดบั ความสำคญั
4.๓๐ .5๙ มากทีสดุ
1. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี้กอ่ นการอบรม 4.๔๘ .๖๗ มากทส่ี ุด
2. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนห้ี ลังการอบรม 4.๕๓ .๕๙ มากทีส่ ดุ
3. สามารถจัดระบบความคิด/ประมวลความคิดสู่การแกป้ ัญหา
4.๓6 .๖๘ มากทสี่ ุด
อย่างเป็นระบบ 4.๓๙ .๖2 มากทส่ี ดุ
5. สามารถนำความร้ทู ี่ไดร้ ับไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานได้

โดยรวม

จากตารางที่ 2.3 แสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลแสดงความพงึ พอใจในดา้ นเนอ้ื หา พบวา่ ภาพรวมผเู้ ข้าร่วม
โครงการมคี วามพึงพอใจในดา้ นเน้อื หาในระดับมาก ( ˉx= 4.๓๙ , s.d = .๖2) โดยพิจารณาเป็นรายข้อจะพบวา่
ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมส่วนใหญเ่ ห็นวา่ สามารถจดั ระบบความคิด/ประมวลความคดิ สู่การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ ( ˉx= 4.53 , s.d = .59) รองลงมา คือ ผูเ้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจในเร่อื งน้ีหลังการอบรม
( ˉx= 4.๓๐ , s.d = .๗๙) ผ้เู รียนสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏิบตั งิ านได้ ( ˉx= 4.๓6 , s.d =
.68) และผู้เรียนความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี้ก่อนการอบรม ( ˉx= 4.๓0 , s.d = .59) ตามลำดบั

ตารางที่ 2.4 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมลู แสดงความพึงพอใจในด้านการอำนวยความสะดวก

ดา้ นการอำนวยความสะดวก xˉ s.d ระดบั ความสำคัญ

1. สถานทสี่ ะอาดและมีความเหมาะสม 4.๕๓ .๕๙ มากที่สุด

2. ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ 4.๓6 .๖๘ มากทสี่ ุด
มากทสี่ ุด
๓. ระยะเวลาในการอบรม/ สมั มนามีความเหมาะสม ๔.๒๑ .๘๒ มากท่สี ุด

๔. อาหารมคี วามเหมาะสม ๔.๒๖ .๘๒

โดยรวม 4.๓4 .68 มากทส่ี ุด

๓๕

จากตารางท่ี 2.4 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพงึ พอใจในดา้ นการอำนวยความสะดวก พบวา่
ภาพรวมผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการมคี วามพึงพอใจในดา้ นการอำนวยความสะดวกในระดบั มาก ( ˉx= 4.๓4 , s.d = .๖8)
โดยพิจารณาเปน็ รายขอ้ จะพบว่า ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ หน็ ว่าสถานท่ีสะอาดและมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ
มากทส่ี ดุ ( ˉx= 4.53 , s.d = .59) รองลงมา คือ ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทศั นปู กรณ์ ( ˉx= 4.๓6 , s.d = .68)
อาหารมีความเหมาะสม ( ˉx= 4.26 , s.d = .82) และระยะเวลาในการอบรม/สัมมนามีความเหมาะสม
( ˉx= 4.21 , s.d = .82) ตามลำดบั

๓๖

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การประเมินผลโครงการในครัง้ นมี้ ีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือประเมนิ ความคดิ เห็นของผู้เขา้ รว่ มโครงการค่าย
“Science Camp” รุ่น 2

สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ
การประเมินผลโครงการในครั้งนม้ี ีวัตถุประสงคเ์ พื่อประเมินความคดิ เห็นของผู้เข้ารว่ มโครงการค่าย

“Science Camp” ร่นุ 2 กลุ่มประชากรคอื นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนครราชสีมา จำนวน 15๐ คน ดงั น้ี

1. แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านวิทยากร พบว่าภาพรวมผเู้ ข้าร่วมโครงการ
มีความพึงพอใจในดา้ นวิทยากร อยู่ในระดับมาก ( ˉx= 4.๓1 , s.d =.73) โดยพิจารณาเปน็ รายข้อจะพบว่า
ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมสว่ นใหญ่มีความพงึ พอใจในความเหมาะสมของบคุ ลากร/วทิ ยากรในการอธบิ ายเน้อื หาได้ชัดเจน
และตรงประเด็นมากท่ีสุด ( ˉx= 4.๓๖, s.d = .๗๓) รองลงมาคอื การถา่ ยทอดของวทิ ยากร ( ˉx= 4.๓๓, s.d = .๗๔)
และการตอบคำถามของวทิ ยากร ( ˉx= 4.๒๓ , s.d = .๗๓) ตามลำดับ

๒. ดา้ นกระบวนการพบว่าภาพรวมผู้เข้ารว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจในดา้ นกระบวนการในระดบั มาก
( ˉx= 4.๓4 , s.d = .68) โดยพจิ ารณาเปน็ รายขอ้ จะพบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเกยี่ วกับ
หลกั สตู ร การบริการของเจ้าหนา้ ที่อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ ( ˉx= 4.๕๓ , s.d = .๕๙) รองลงมาคือการใหค้ ำแนะนำ
หรือตอบขอ้ ซักถามของเจา้ หน้าที่ ( ˉx= 4.๓๖ , s.d = .๖๘) การอำนวยความสะดวกของเจ้าหนา้ ท่ี ( ˉx= 4.26 ,
s.d = .82) และการประสานงานของเจา้ หนา้ ทโ่ี ครงการ ( ˉx= 4.๒1 , s.d = .๘๒) ตามลำดับ

๓. แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านเนอื้ หา พบวา่ ภาพรวมผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ
มีความพึงพอใจในดา้ นเนอ้ื หาในระดับมาก ( ˉx= 4.๓๙ , s.d = .๖2) โดยพิจารณาเป็นรายข้อจะพบว่า ผเู้ ข้าร่วม
กจิ กรรมส่วนใหญ่เหน็ ว่าสามารถจัดระบบความคดิ /ประมวลความคิดส่กู ารแกป้ ัญหาอยา่ งเปน็ ระบบ
อยใู่ นระดับมากท่ีสุด( ˉx= 4.53 , s.d = .59) รองลงมา คือ ผ้เู รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจในเร่อื งนี้หลงั การอบรม
( ˉx= 4.๓๐ , s.d = .๗๙) ผูเ้ รยี นสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบตั งิ านได้ ( ˉx= 4.๓6 ,
s.d = .68) และผเู้ รียนความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองนี้กอ่ นการอบรม ( ˉx= 4.๓0 , s.d = .59) ตามลำดบั

4. แสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านการอำนวยความสะดวก พบวา่ ภาพรวม
ผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพงึ พอใจในด้านการอำนวยความสะดวกในระดับมาก ( ˉx= 4.๓4 , s.d = .๖8)
โดยพิจารณาเปน็ รายขอ้ จะพบวา่ ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ หน็ วา่ สถานทสี่ ะอาดและมีความเหมาะสมอยู่ในระดบั
มากท่ีสุด( ˉx= 4.53 , s.d = .59) รองลงมา คือ ความพรอ้ มของอุปกรณ์โสตทศั นปู กรณ์ ( ˉx= 4.๓6 , s.d = .68)
อาหารมคี วามเหมาะสม ( ˉx= 4.26 , s.d = .82) และระยะเวลาในการอบรม/สมั มนามีความเหมาะสม
( ˉx= 4.21 , s.d = .82) ตามลำดับ

๓๗

อภปิ รายผล

การประเมินโครงการค่าย “Science Camp” รนุ่ 2 ดำเนินตามรปู แบบการประเมินทกุ ขัน้ ตอน
อยา่ งเป็นระบบ ผลการประเมินมคี วามเชอื่ มั่นเปน็ ไปวัตถุประสงค์ท่ีกำหนด คือ

1. ตวั ชี้วัดผลผลติ ผู้เขา้ รว่ มโครงการค่าย “Science Camp” รนุ่ 2 จำนวน 15๐ คน
นักศึกษามีพัฒนาการทางด้านสติปญั ญา รู้จกั คิดอยา่ งมีเหตุมผี ลเพ่อื เพ่ิมผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทดี่ ขี ้ึนและสามารถ
นำความรไู้ ปศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทีส่ งู ขึ้น

2. ตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธ์
รอ้ ยละ๘๕ ของนักศกึ ษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการมีพฒั นาการทางดา้ นสตปิ ญั ญา รจู้ ักคิดอยา่ งมีเหตมุ ผี ล

เพอ่ื เพ่ิมผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนทีด่ ขี ึน้ และนำความรู้ไปศึกษาตอ่ ในระดบั ทีส่ ูงขึน้
ร้อยละ ๑๐ ของนักศึกษา เป็นแบบอย่างทีด่ ี

ขอ้ เสนอแนะ
ควรนำผลการประเมนิ โครงการคา่ ย “Science Camp” ร่นุ 2 ไปปรบั ใชใ้ นโครงการพฒั นาวิชาการ

นกั ศกึ ษาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ต่อไป

๓๘

ภาคผนวก

๓๙

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

โครงการค่าย “Science Camp” ร่นุ 2 ระหว่างวนั ที่ 6 – 7 กรกฎาคม พ.ศ.2562
ณ ห้องประชุม กอ.รมน. ค่ายสุรนารี อำเภอเมอื งนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา

*****************************************************************

คำอธิบาย ให้ผู้เข้ารว่ มโครงการตอบแบบประเมนิ ความพึงพอใจโดยทำเครอ่ื งหมาย  หน้าข้อท่ตี รงกบั ความพึงพอใจของทา่ น
เพ่อื ใหก้ ารดำเนินโครงการเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเพือ่ เป็นประโยชนใ์ นการนำไปใชต้ ่อไป
ตอนท่ี 1 สภาพทว่ั ไป

1. เพศ อายรุ ะหว่าง ๒๐ – ๓๙ ปี 78 คน อายรุ ะหว่าง ๑๕ – ๑9 ปี 56 คน และอายรุ ะหว่าง ๔๐ – ๕๙ ปี 1๖ คน
2. การศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 72 คน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 78 คน
ตอนที่ 2 ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำไปใช้ ต่อการเข้าร่วมโครงการ

ประเด็นความคิดเห็น มากทสี่ ุด ระดับความพงึ พอใจ / ความรู้ความเขา้ ใจ / น้อยทส่ี ดุ
5 การนำความรูไ้ ปใช้ 1
ด้านวทิ ยากร
1. การถ่ายทอดของวทิ ยากร มาก ปานกลาง นอ้ ย
2. สามารถอธิบายเนือ้ หาได้ชดั เจนและตรงประเด็น 432
3. การตอบคำถามของวิทยากร
ด้านการอำนวยความสะดวก 68 79 3 0 0
1. สถานท่ีสะอาดและมีความเหมาะสม
2. ความพรอ้ มของอปุ กรณโ์ สตทัศนูปกรณ์ 43 102 5 0 0
3. ระยะเวลาในการอบรม / สัมมนามีความเหมาะสม
4. อาหาร มีความเหมาะสม 37 108 5 0 0
ดา้ นกระบวนการ
1. การบริการของเจา้ หนา้ ที่ 48 86 16 0 0
2. การประสานงานของเจ้าหนา้ ทโี่ ครงการ 0 0
3. การอำนวยความสะดวกของเจา้ หน้าที่ 102 47 1 0 0
4. การให้คำแนะนำหรอื ตอบขอ้ ซกั ถามของเจ้าหนา้ ท่ี 0 0
ดา้ นเน้ือหา 106 39 5
1. ความรู้ ความเขา้ ใจในเรือ่ งน้กี ่อนการอบรม
2. ความรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื งนี้หลงั การอบรม 120 28 2
3. สามารถจดั ระบบความคดิ /ประมวลความคดิ สู่การแก้ปัญหา
อย่างเปน็ ระบบ 114 33 3 0 0
4. สามารถนำความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานได้ 0 0
69 72 9 0 0
0 0
48 92 10

80 49 21

36 60 34 20 0

77 73 0 0 0

125 18 7 0 0

122 21 7 0 0

ข้อคิดเห็นอนื่ ๆ
................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................... ..........

โปรดส่งคืนเจ้าหนา้ ที่ ....ขอบคณุ คะ่ ....

๔๐

ภาพกิจกรรม

โครงการคา่ ย “Science Camp” รุ่น 2
วนั ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

ณ กองอำนวยการรักษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) กองทัพภาคท่ี 2 ค่ายสุรนารี

กจิ กรรมนันทนาการรวม

ฐานท่ี 1 ร่างกายมนุษย์

๔๑

ฐานท่ี 2 สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเรา

พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน

ฐานที่ 3 มาคิดแบบวทิ ยาศาสตรก์ ันเถอะ

๔๒

ฐานท่ี 4 แรงและการเคล่อื นที่

ภาพกิจกรรม

โครงการค่าย “Science Camp” ร่นุ 2
วนั ท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

ณ กองอำนวยการรกั ษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) กองทัพภาคที่ 2 ค่ายสรุ นารี

กิจกรรมนนั ทนาการรวม

๔๓

ฐานที่ 1 รา่ งกายมนษุ ย์

ฐานท่ี 2 สิง่ แวดลอ้ มรอบ ๆ ตวั เรา

๔๔

พักรับประทานอาหารกลางวนั

ฐานที่ 3 มาคิดแบบวิทยาศาสตร์กันเถอะ
ฐานท่ี 4 แรงและการเคลอ่ื นท่ี

๔๕

คณะทำงาน

ท่ปี รกึ ษา ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า
นางกรแกว้ แบบกลาง ครูชำนาญการพิเศษ
นายประสิทธ์ิ ตัง้ ประเสรฐิ ครชู ำนาญการ
นางบำเพ็ญ ไทยสะเทอื น

คณะทำงาน ครู กศน.ตำบล คณะทำงาน
นางนันทนากร สขุ วรโชติธนัน ครู กศน.ตำบล คณะทำงาน
นางนภภัทร แสงแกว้ ครู กศน.ตำบล คณะทำงาน
นายมงคล ณ ราชสีมา ครู กศน.ตำบล คณะทำงาน
นางสาวพรรณิภา วงษา ครู กศน.ตำบล คณะทำงาน
นางสาวจฬิ ติกาล พลบัติ ครู กศน.ตำบล คณะทำงาน
นางสาววมิ ลรตั น์ ขันเงิน ครู กศน.ตำบล คณะทำงาน
นางสาวธณชั ชา สุวรรณโชติ ครู ศรช. คณะทำงาน
นางสาวดลปัด ทันธะศิริ ครู ศรช. คณะทำงาน
นางสาวณัฏฐวรรณ เงิมสนั เทยี ะ

รวบรวมสรุป/รูปเล่ม ครู กศน.ตำบล
นางสาวธณัชชา สวุ รรณโชติ

สารบญั ๔๖

เร่ือง หนา้

คำนำ ๑
บทที่ ๑ บทนำ ๓
บทท่ี ๒ เอกสารท่ีเก่ียวข้อง 30
บทที่ ๓ วิธกี ารประเมินโครงการ 32
บทท่ี ๔ ผลการประเมินโครงการ 36
บทที่ ๕ สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

ภาคผนวก
- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
- ใบความรู้
- สำเนาโครงการ
- แบบตอบรบั การเข้ารว่ มโครงการ
- ภาพกจิ กรรม

๔๗

คำนำ

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสมี า ได้ดำเนินการจดั กจิ กรรม
การเรียนการสอน หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ
พ.ศ.๒๕๕๔) ภาคเรียนที่ 1/๒๕๖2 ซงึ่ เป็นหลกั สตู รทส่ี ำนักงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
ได้พัฒนาขึ้นให้เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการของบคุ คลทอี่ ยนู่ อกระบบโรงเรยี น
เพือ่ เป็นการยกระดบั ให้กบั ประชาชน ให้ได้รับการศึกษาภาคบังคับและการศกึ ษาต่อเนื่องจนจบการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐานหรือระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เพ่อื เพ่มิ ทกั ษะความรู้ในการทีจ่ ะพัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเอง
และครอบครวั และเปน็ พ้นื ฐานในการท่ีจะศึกษาหาความร้ใู นสงั คมแหง่ การเรียนรใู้ นอนาคตอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต
ดังน้นั เพ่อื ให้นกั ศกึ ษา กศน.มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการพบกล่มุ การเรียนการสอนรายวิชาทย่ี าก คือวิชาวทิ ยาศาสตร์
ซง่ึ เป็นวิชาทีน่ กั ศึกษามีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ ให้มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นดี น้ัน

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนครราชสมี า ไดจ้ ดั โครงการคา่ ย
“Science Camp” รุ่นที่ 2 เพือ่ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นท่ดี ขี ึ้น คณะทำงานไดจ้ ัดทำสรปุ รายงานผลโครงการ
และสรปุ การประเมนิ ความคดิ เห็นและความพงึ พอใจ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมตามโครงการดงั กลา่ วหวังเป็นอย่างยิง่
ว่าสรปุ รายงานผลการประเมินความโครงการเล่มนจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ ่อผ้ทู ่ีเกี่ยวข้องต่อไป

7 กรกฎาคม 2562


Click to View FlipBook Version