กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 1
คำนำ
เอกสารประกอบการเรียน พระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เป็น
เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวชิ าพระพทุ ธศาสนา กลมุ่ สาระสังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒณธารม โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วนั กรุงเทพฯ
เกิดข้นึ จากการรวบรวมเรยี บเรยี งตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวดั ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ทเี่ ป็นกรอบ
ทศิ ทางในการกาหนดเน้อื หา ทกั ษะและกระบวนการ กิจกรรมการเรยี นการสอน
ประกอบด้วย 8 หนว่ ยการเรียนรู้
โดยกาหนดตามรหสั วิชาท่ีเรียน คอื ส. 22105 ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน
ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 3 หนอ่ ยการเรียนรู้ และ ส. 22106 ใชป้ ระกอบการเรยี น
การสอนในภาคเรียนที่ 2 จานวน 5 หนว่ ยการเรียนรู้โดยเนอื้ หาไดอ้ ธิบายรายละเอียดใน
คาอธบิ ายรายวชิ า และโครงสร้างการเรียนการสอนภายในเอกสารน้ี
อยา่ งไรกต็ ามขอบข่ายของเนอื้ หามีความกว้างมากจะอาจทาให้เอกสาร
ประกอบการสอนนีไ้ มค่ รอบคลุมในรายละเอยี ดทั้งหมดได้ แต่ผู้เรยี บเรยี งไดพ้ ยายามท่จี ะ
นาเอาจดุ เดน่ และประเด็นสาคญั รวบรวมเพ่อื ประโยชนส์ งู สุดของผเู้ รียน ผูเ้ รียบเรียงหวงั
เปน็ อย่างยง่ิ ว่าเอกสารประกอบการเรียนนจ้ี ะเป็นประโยชน์และพัฒนาทกั ษะด้านการ
เรียนร้ตู อ่ ผ้เู รียนในเนอื้ หาวิชาพระพทุ ธศาสนาเป็นอย่างย่งิ
วรายุทธ สายทอง
ผู้เรียบเรยี ง/อาจารย์ประจาวิชา
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 2
สำรบัญ หนา้
1
คานา
สารบญั 2
คาอธิบายรายวชิ า 4
มาตรฐานตวั ช้วี ัด 5
โครงสรา้ งรายวิชา
กจิ กรรมการเรยี นการสอน 7
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 8
ประวตั แิ ละความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา 10
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาประเทศเพ่อื นบ้าน 10
ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาท่ชี ่วยเสริมสรา้ งความเข้าใจประเทศเพือ่ นบา้ น 10
ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อสังคมไทย
แบบฝกึ หดั ท้ายหนว่ ย 17
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 18
พุทธประวตั ิ พทธสาวก ชาวพุทธตัวอยา่ ง
พุทธสาวก 20
ชาวพุทธตวั อย่าง ชากดก 24
แบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วย 24
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
อรยิ สัจจ์ 4 28
อกุศลกรรมบถ 10 33
แบบฝึกหัดทา้ ยหน่วย
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 พระไตรปฎิ ก พทุ ธศาสนสภุ าษติ 38
ความเป็นมาและความสาคัญของพระไตรปฎิ ก 42
พุทธศาสนสภุ าษติ 42
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 หนา้ ทแ่ี ละมารยาทชาวพทุ ธ
การเป็นลูกทด่ี ีตามหลกั ทศิ 6 47
แบบฝดึ หดั ท้ายหนว่ ย 54
60
60
65
67
71
73
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 3
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา ศาสนพธิ ี หนา้
76
ศาสนพธิ ี
แบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วย 79
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 การบริหารจติ และการเจริญปัญญา 85
89
ความหมาย คุณคา่ ประโยชน์ของการบริหารจิต
การเจรญิ ปญั ญาตามหลักโยนโิ สมนสิการ 89
91
แบบฝกึ หดั ทา้ ยหนว่ ย
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 8 การปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา 94
97
การอยู่รว่ มกันอย่างสนั ติ 106
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 109
แบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย 110
บรรณานกุ รม 117
ภาคผนวก 118
อภธิ านศพั ท์ 119
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 4
คำอธบิ ำยรำยวิชำ
ศึกษาวเิ คราะห์ ฝกึ ปฏิบตั ิ สรา้ งความคดิ รวบยอด สภาพปญั หาสภาพแวดล้อม เขา้ มา
เป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการเรยี นรู้ เพื่อให้มีความร้คู วามเข้าใจ ตระหนักและเห็นคณุ คา่ ในเรอื่ ง
ตอ่ ไปน้ี
พระพทุ ธ เกย่ี วกบั ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา เรอื่ งการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศเพอื่ นบา้ น การนบั ถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบา้ นในปจั จุบัน
ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาในฐานะท่ชี ว่ ยเสริมสรา้ งความเข้าใจอนั ดีกับประเทศเพอื่ นบา้ น
ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเปน็ รากฐานวัฒนธรรม เอกลักษณ์และมรดกของ
ชาติ พระพุทธศาสนากับการพฒั นาชมุ ชนและการจดั ระเบยี บสังคม พทุ ธประวตั ิ สรุปวเิ คราะหพ์ ทุ ธ
ประวตั เิ รอ่ื ง การผจญมาร การตรัสรู้ การส่ังสอน ชาดก เรื่อง มิตตวินทุกชาดก ราโชวาทชาดก พระ
ธรรม เก่ียวกับ หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา พระรัตนตรัย (ธรรมคุณ 6) อรยิ สัจจ์ 4 ทกุ ข์ (ธรรมที่
ควรรู้) : ขันธ์ 5 - อายตนะ, สมุทยั (ธรรมทคี่ วรละ) : หลกั กรรม – สมบตั ิ 4 วิบัติ อกศุ ลกรรมบถ 10
อบายมขุ 6, นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ) : สุข 2 (สามสิ , นิรามิส), มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ ) : บพุ พนมิ ติ
ของมัชฌิมปฏิปทา ดรณุ ธรรม 6 กุลจริ ัฏฐิติธรรม 4 กุศลกรรมบถ 10 สตปิ ฎั ฐาน 4 มงคล 38 ในเรื่อง
ประพฤติธรรม เวน้ จากความชว่ั เวน้ จากการด่มื น้าเมา พระสงฆ์ เก่ยี วกับประวัตพิ ทุ ธสาวก พทุ ธ
สาวิกา เรือ่ งพระสารบี ุตร พระโมคคัลลานะ นางขชุ ชุตตรา พระเจา้ พิมพสิ าร ชาวพทุ ธตวั อยา่ ง เรื่อง
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชริ ญาณวโรรส พระมหาธรรมราชาลไิ ท หนา้ ท่ชี าวพุทธ เร่ือง การ
เขา้ ใจบทบาทของพระภกิ ษุในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การประพฤติ
ตนใหเ้ ปน็ แบบอย่าง การฝกึ บทบาทของตนในการชว่ ยเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ตระหนักในคุณค่าของ
ศลิ ปะ วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย เกิดศรทั ธาอย่างยิ่งต่อพระรตั นตรัย
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 5
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด
สำระที่ 1 ศำสนำ ศลี ธรรม จริยธรรม
มำตรฐำนที่ ส.1.1 เข้าใจประวตั ิ ความสาคญั หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื หลกั ธรรม
ศาสนาที่ตนนบั ถือและศาสนาอน่ื มีศรทั ธาท่ถี ูกต้อง ยึดมัน่ และปฏิบตั ติ ามหลักธรรมเพือ่ อยรู่ วมกนั
อย่างสันตสิ ุข
มำตรฐำนที่ ส.1.2 เขา้ ใจ ตระหนักและปฏบิ ัตติ นเป็นศาสนกิ ชนทดี่ ี และธารงรกั ษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถอื
ตัวชี้วัด
ส.1.1.1. อธบิ ายการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื สู่ประเทศเพอื่ นบ้าน
ส.1.1.2. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ในฐานะสร้าง
ความเข้าใจอนั ดตี อ่ ประเทศเพื่อนบ้าน
ส.1.1.3. วิเคราะหค์ วามสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนับถือในฐานะท่ีเปน็
รากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณข์ องชาตแิ ละมรดกของชาติ
ส.1.1.4. อภปิ รายความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถอื กบั การพัฒนา
ชุมชนและการจัดระเบยี บสงั คม
ส.1.1.5. วิเคราะห์พุทธประวตั หิ รือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
ส.1.1.6. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนนิ ชีวิตและขอ้ คดิ จากประวตั สิ าวก
ชาดก/เรือ่ งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อย่างตามที่กาหนดม.2/๑๑.วิเคราะห์การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมทางศาสนาท่ี
ตนนบั ถอื เพ่อื การดารงตนอยา่ งเหมาะสมในกระแสความเปลย่ี นแปลงของโลก และการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ
ส.1.2.1 ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมตอ่ บคุ คล ตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาที่ตนนบั ถอื ตามที่กาหนด
ส.1.2.2. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนท่ีดี ตามทก่ี าหนด
ส.1.2.3 วิเคราะห์คุณคา่ ของศาสนพธิ ี และปฏิบัตติ นได้ถกู ตอ้ ง
ส.1.2.4 อธบิ ายคาสอนท่ีเก่ยี วเนอื่ งกับวันสาคัญทางศาสนา และปฏบิ ัตติ น ไดถ้ กู ต้อง
ส 1.2.5 อธบิ ายความแตกตา่ งของศาสนพธิ ีพิธีกรรม ตาม แนวปฏบิ ัตขิ องศาสนาอ่ืน ๆ เพื่อ
นาไปสู่การยอมรบั และความเข้าใจซ่งึ กนั และกนั
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 6
รหสั วชิ า ส22105 โครงสรา้ งรายวิชา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2
จานวน 1 คาบ/สปั ดาห์ รายวิชาพระพุทธศาสนา หนว่ ยกติ 0.5 หน่วย
กติ
หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา/ น้าหนกั
เรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด ชัว่ โมง คะแนน
1 ประวตั ิและ
ความสาคัญของ ส.1.1 การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ 65
พระพทุ ธศาสนา ม 2/1 ประเทศเพือ่ นบ้าน ความสาคญั ของ
ม 2/2 พระพุทธศสนาทีม่ ตี ่อเพอ่ื นบา้ น ใน
ม 2/3 ฐานะสร้างความเข้าใจอนั ดรี ะหว่าง
ม 2/4 เพื่อนบ้าน
2 พุทธประวตั ิ พระ ส.1.1 พทุ ธประวตั ิตั้งแต่ประสูตจิ นถึงการ 6 5
สาวก สาวกิ า ชาว ม 2/5 ผจญมาร การตรสั รู้ การส่ังสอน
พุทธตัวอย่าง และ ม 2/6 วิเคราะห์แบบอย่างการดาเนนิ ชวี ติ
ชาดก และข้อคดิ จากประวัติสาวก สาวกิ า
ชาดก เรอื่ งเล่า และศาสนกิ ชน
ตวั อยา่ งตามทก่ี าหนด
3 หลกั ธรรมทาง ส.1.1 อธิบายพทุ ธคณุ และขอ้ ธรรมสาคญั 8 10
ในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลกั ธรรม
พระพทุ ธศาสนา ม 2/6 ของศาสนาที่ตนนับถือตามทกี่ าหนด
เห็นคุณค่าและนาไปพัฒนาแกป้ ญั หา
ของตนเองและครอบครวั
4 พุทธศาสนสภุ าษิต ส.1.2 พระไตรปฎิ กเป็นคมั ภีร์สาคัญของ 2 3
พระพทุ ธศาสนา เป็นหลกั ฐานท่ี
คาศัพท์ทาง ม 2.7
รวบรวมคาสอนของพระพทุ ธเจา้ ไว้
พระพทุ ธศาสนา และ ม 2.8 เปน็ มรดกสืบทอดพระพทุ ธศาสนา
พทุ ธศาสนสุภาษติ
พระไตรปิฎก
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 7
รหสั วชิ า ส22105 โครงสร้างรายวิชา ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2
จานวน 1 คาบ/สปั ดาห์ รายวิชาพระพุทธศาสนา หน่วยกิต 0.5 หน่วยกติ
หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา/ น้าหนัก
เรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด ชั่วโมง คะแนน
5 หนา้ ท่ชี าวพุทธ และ การศึกษาหาความรู้ ปฏิบัติตาม
มารยาทชาวพุทธ ส.1.2 หลักธรรมคาสอนและประกอบ 43
ม 2.8 พธิ กี รรมตา่ งๆใหถ้ ูกต้องตามพทุ ธ
บญั ญตั ิ ทง้ั น้เี พอ่ื เปน็ การเผยแผ่
พระพุทธศาสนา
6 วันสาคัญทาง ส.1.2 อธิบายวันสาคญั ทาพระพทุ ธศาสนา 8 5
พทุ ธศาสนกิ ชนควรรว่ มประกอบ
พระพทุ ธศาสนา ม 2.8
พิธกี รรมตามระเบียบพิธีปฏบิ ตั ิ เพอื่
และศาสนพธิ ี ม 2.9 น้อมนาหลักธรรมคาสอนมายดึ ถือ
ปฏิบตั เิ ปน็ แนวทางในการดาเนนิ ชวี ิต
7 การบรหิ ารจิตและ ส.1.2 การบริหารจติ และการเจริญปัญญา 2 4
เป็นวิธกี ารทาจติ ให้สงบ มน่ั คง 5
เจริญปัญญา ม 2.9 เข้มแข็ง และเกิดความรู้ความเข้าใจ
ในส่ิงต่าง ๆ ตามสภาพทเี่ ป็นจริง เรา
ม 2.10 จึงควรหมัน่ ฝกึ บริหารจติ และเจริญ
ปญั ญาอย่างสม่าเสมอ
8 การปฏิบตั ติ นตาม ส.1.1
หลกั ธรรม ทาง ม 2.10 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ 4
พระพุทธศาสนา ม 2.11 เปน็ แนวทางในการปฏิบัติตนให้
เหมาะสมท่ามกลางความ
เปลย่ี นแปลงของโลก และการอยู่
รว่ มกนั อยา่ งสันติสุข
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 8
กจิ กรรมการเรียนการสอน
ภาคเรยี นท่ี 1
1. อธบิ ายความรูพ้ น้ื ฐาน เกีย่ วกับพระพทุ ธศาสนาโดยใชผ้ ังมโนทัศน์ พระพทุ ธ พระธรรม และ
พระสงฆ์
2. ฝกึ ทกั ษะการสวดมนต์ยอ่ แผ่เมตตา นั่งสมาธิตามหลกั อานาปานสติ การท่องคาอาราธนา
ต่าง ๆ ตามหลัก ปฏบิ ัตพิ ื้นฐานของชาวพทุ ธ
3. ฝึกทักษะใหน้ ักเรยี นสามารถคิดวิเคราะหต์ ามกระบวนการเรยี นรู้ตามแนวพทุ ธ
(ปรโตโฆสะ โยนโิ สมนสิการ)
4. แบ่งกลุ่มนกั เรียนชว่ ยกนั ค้นคว้า ความรเู้ กี่ยวกบั พระสาวก ชาดกหรือหลกั ธรรมทาง
พระพทุ ธศาสนา ใช้สือ่ ประสมในการสอน
การวดั ผลและประเมินผล
คะแนนเกบ็ ระหว่างภาค : คะแนนสอบปลายภาค เทา่ กบั 80 : 20 ซึ่งแบง่ คะแนน ดังนี้
1. คะแนนเกบ็ ระหว่างเรียน 80 คะแนน แบง่ ออกเป็น
สอบปฏบิ ัติ (เง่อื นไขตามทีผ่ ู้สอนกาหนด ) 20 คะแนน
สอบเกบ็ คะแนน (เง่ือนไขตามท่ผี ู้สอนกาหนด ) 20 คะแนน
งานกลุ่ม 20 คะแนน
สมดุ จด, ใบงาน 10 คะแนน
คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ 10 คะแนน
2. คะแนนสอบปลายภาคเรยี นท่ี 1 20 คะแนน
สอบปลายภาค ( ตามกาหนดวันเวลาของโรงเรยี น )
รวมคะแนนภาคเรียนที่ 1 100 คะแนน
(ภาคเรยี นท่ี 1 กาหนดเนอื้ หาในการเรียนการสอน เปน็ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 – 3 )
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 9
กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ภาคเรยี นท่ี 2
1. อธบิ ายความรู้พืน้ ฐาน เกีย่ วกับพระพุทธศาสนาโดยใช้ผังมโนทศั น์ พระพุทธ พระธรรม และ
พระสงฆ์
2. ฝึกทกั ษะการสวดมนต์ยอ่ แผเ่ มตตา นง่ั สมาธติ ามหลกั อานาปานสติ การทอ่ งคาอาราธนา
ตา่ งๆ ตามหลกั ปฏิบตั ิพื้นฐานของชาวพทุ ธ
3. ฝกึ ทกั ษะใหน้ กั เรียนสามารถคิดวิเคราะหต์ ามกระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั ธรรมทางอยรู่ ว่ มกนั
ทางสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
4. แบ่งกลุ่มนกั เรียนชว่ ยกนั ค้นคว้า ความรูเ้ ร่อื งวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรมทาง
พระพทุ ธศาสนา ใช้สอื่ ประสมในการสอน
การวัดผลและประเมินผล
คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนสอบปลายภาค เทา่ กบั 80 : 20 ซ่ึงแบง่ คะแนน ดังนี้
1. คะแนนเกบ็ ระหวา่ งเรียน 80 คะแนน แบง่ ออกเปน็
ทดสอบเก็บคะแนน ส1.1.4, ส1.1.5 20 คะแนน
ปฏบิ ตั ิ (สวดมนต์, นง่ั สมาธิ, แผเ่ มตตา) 20 คะแนน
สอบศาสนพธิ +ี ธรรมศึกษา ส1.2.3 20 คะแนน
สมุดจด (มาตรฐานท่ี 1.2) 10 คะแนน
- จิตพสิ ัย 10 คะแนน
2. คะแนนสอบปลายภาคเรยี นที่ 2 20 คะแนน
รวมคะแนนภาคเรยี นที่ 2 100 คะแน
(ภาคเรยี นท่ี 2 กาหนดเนอื้ หาในการเรยี นการสอน เปน็ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 – 8 )
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 10
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1
ประวัตแิ ละความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา
สำระที่ 1 ศำสนำ ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐานท่ี ส.1.1 เขา้ ใจประวัติ ความสาคัญ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรมศาสนาท่ี
ตนนับถอื และศาสนาอนื่ มีศรทั ธาทีถ่ ูกตอ้ ง ยึดม่ันและปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมเพ่ืออยูร่ วมกนั อย่างสนั ติสขุ
ส.1.1.1. อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ส่ปู ระเทศเพือ่ นบ้าน
ส.1.1.2. วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถอื ในฐานะสร้างความเข้าใจอนั ดี
ตอ่ ประเทศเพ่ือนบา้ น
ส.1.1.3. วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ในฐานะทเ่ี ป็นรากฐานของ
วัฒนธรรม เอกลักษณข์ องชาติและมรดกของชาติ
ส.1.1.4. อภปิ รายความสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนับถือกบั การพฒั นาชมุ ชนและการ
จัดระเบยี บสังคม
1. การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาและการนบั ถือพระพทุ ธศาสนาของประเทศเพอ่ื นบา้ น
1.1 Myanmar สันนษิ ฐานวา่ พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ข้ามาในประเทศพมา่ สมัยเดียวกบั ประเทศไทย คือ
ประมาณก่อน พ.ศ. 300 โดยภายหลังจากการทาสงั คายนาครง้ั ท่ี 3 พระเจ้าอโศกมหาราช ได้ส่งสมณฑตู คือ
พระโสณะและพระอุตระเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสวุ รรณ
ภมู ิ ประมาณ พ.ศ. 234 - 235 พระพุทธศาสนาท่เี ข้ามาในระยะแรกเป็นแบบ
นิกายเถรวาทหรอื หนิ ยาน ประดษิ ฐานอยู่ในพม่าใต้ คอื มอญในคร้ังนน้ั มเี มอื ง
หลวงคือเมืองสะเทิมหรอื สุธรรมบุรี สว่ นพมา่ เหนือมเี มืองพกุ ามเป็นเมอื ง
หลวง ได้รับเอาพระพุทธศาสนาแบบมหายาน หรอื อาจริยวาทซึ่งเผยแผ่มาจาก
แควน้ เบงกอลและโอริสสาของอินเดีย
ประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 16 (พ.ศ. 1587) พระเจ้าอนรุ ทุ ธมหาราช หรือ
อโนรธามังช่อ) ขึ้นครองราชย์ พระองคท์ รงรวบรวมดินแดนของพมา่ ให้เป็น
แผน่ ดนิ เดยี วกัน และทรงสถาปนาเมอื งพกุ ามขึ้นเปน็ ธานี และพระองค์ทรง
ศรัทธาเลื่อมในในนกิ ายเถรวาทมากกวา่ มหายาน จึงไดส้ ง่ พระราชสาสน์ไปถึง
พระเจา้ มนูหะ กษตั รยิ ์แห่งเมอื งสุธรรมวดี ทูลขอพระไตรปิฏกไปยังเมอื งพุกาม
พระเจ้ามนูหะไม่ยนิ ยอมจงึ เกิดสงครามขน้ึ ฝ่ายพระเจ้าอนุรทุ ธะเป็นฝา่ ยชนะ พระเจ้าอนรุ ทุ ธมหาราช
จึงทาลายเมืองสุธรรมวดี นาพระสงฆม์ อญและพระไตรปิฎกขึน้ ไปเมือง
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กล่มุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 11
พกุ าม ส่งผลใหพ้ ระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาทได้แผข่ ยายไปทว่ั อาณาจักรพมา่ นบั ตั้งแตน่ ้นั เปน็ ตน้ มา
พ.ศ. 1733 ในสมัยพระเจา้ นรปติสิทธุ ไดส้ ่งพระภกิ ษุสามเณรไปนาเอาพระพุทธศาสนาแบบลังกามา
เผยแผ่ในพม่า พระพทุ ธศาสนามีความรงุ่ เรอื งมน่ั คงข้ึน พ.ศ.1827 - 1830 มองโกลรกุ รานประเทศตา่ งๆใน
ภูมิภาคเอเซยี พม่าไดร้ ับผลกระทบนั่นด้วยจนเป็นเหตใุ หอ้ าณาจกั รพกุ ามของพมา่ ล้มสลายลง เปน็ เหตุใหอ้ าณาจักร
ต่างๆ แยกตัวเปน็ อิสระ โดยเฉพาะมอญ ดังน้ันพระพทุ ธศาสนาในจงึ พมา่ จงึ เสื่อมลง
สมยั พระเจ้าธรรมเจดีย์ (พ.ศ. 2003 – 2004) ขึน้ ครองราชย์ ไดเ้ รม่ิ ฟ้ืนฟพู ระพทุ ธศาสนาใหม่ ได้ส่ง
พระสงฆแ์ ละฆราวาสเดนิ ทางไปลังกาเพอื่ ทาหฬั หีกรรม1 (ทัฬหีกรรม[ทนั ฮกี า] น. การกระทาให้มั่นคงขนึ้ )
อปุ สมบทใหม่อกี คร้งั และนาพระพุทธศาสนากลบั มาเมอื งพมา่
อีก หลังจากนน้ั พระพุทธศาสนาในพมา่ ก็มีความเจรญิ และเสื่อมลง
สลบั กันไปตามเหตกุ ารณ์บ้านเมอื ง
ภายใต้การปกครองของราชวงศ์อลองพระ (คองบอง)
พระพทุ ธศาสนาไดร้ ับการทานุบารงุ อีกคร้ังหนงึ่ ในสมยั พระเจ้ามิ
นดง (พ.ศ. 2395 – 2420) พระองคไ์ ดท้ รงเป็นองคอ์ ุปถมั ภ์ใน
การการทาสังคายนาพระธรรมวินยั ครัง้ ท่ี 5 ณ เมอื งมณั ฑเลย์ และ
ใหจ้ ารึกพระไตรปิฎกลงบนแผ่นหินออ่ น และทาสถูปครอบไว้ ซงึ่
ปจั จบุ ันนี้ยังปรากฏอย่ทู เี่ ชิงเขาเมอื งมณั ฑะเลย์
ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ภายในหอพระไตรปิฎก วัดบวรนเิ วศวหิ าร
พ.ศ. 2429 พม่าตกเปน็ เมืองขน้ึ ของอังกฤษ สถาบนั กษัตริย์ถกู ลม้ ลง สง่ ผลให้พระพุทธศาสนาได้รบั การ
กระทบกระเทอื นไปดว้ ย แต่ว่าชาวพม่าก็ยังเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาอยู่
พ.ศ. 2491 พม่าได้รับเอกราช พระพทุ ธศาสนาได้รบั การทะนุบารุง
พ.ศ. 2493 ไดท้ าการสงั คายนพระไตปฎิ ก โดยอาราธนาพระจากประเทศอนิ เดยี ลงั กา เนปาล ไทย
กัมพูชา ลาว และปากีสถาน ไปทาสังคายนาร่วมกับพระสงฆพ์ ม่าอกี 500 รูป พ.ศ. 2504 รัฐบาลออกกฎหมาย
รบั รองใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ ถึงปจั จบุ ัน
1.2 Cambodia กัมพูชานบั ถอื ศาสนาพราหมณ์และฮินดูก่อนพระพทุ ธศาสนา ซง่ึ พระพุทธศาสนาไดเ้ ผย
แผเ่ ข้ามาสปู่ ระเทศกัมพชู า ราวพุทธศตวรรษที่ 8 ในชว่ งอาณาจกั รฟูนันกาลงั รุง่ เรือง โดยนับถอื นกิ ายมหายาน
เพราะอิทธิพลการตดิ ต่อคา้ ขายกบั ประเทศจนี และอินเดีย หลังจากอาณาจักรฟูนนั ส้นิ อานาจลง อาณาจักรเจน
ละ ได้เขา้ มามีอานาจและรงุ่ เรือง การนับถอื ศาสนาฮินดูยังมีอยู่
1 ในสมยั โบราณนยิ มทาสงั ฆกรรมในอุทกสมี า เพราะเชื่อวา่ บรสิ ุทธม์ิ ากกว่าพทั ธสีมา สาหรบั การทาพัทธสมี า ตอ้ งสวด
ถอนพ้ืนท่ีเสียก่อน เกรงวา่ พื้นที่นั้นเปน็ บรเิ วณสมี าท่ีถูกสมมตมิ าก่อน จะทาให้สมี าท่ีสมมติขน้ึ ทหี ลังใช้ไม่ได้ เพราะเป็นสมี าสงั กระ
(สีมาทค่ี าบเก่ยี วกัน) ถือว่าเปน็ สมี าวิบัติ การทาสังฆกรรมใดๆบนสมี าวบิ ัติ ก็เปน็ กรรมวิบตั ดิ ้วยทั้งหมด
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 12
รชั สมยั พระเจา้ ชัยวรมัน (พ.ศ. 1021 – 1057) พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ข้ามาส่อู าณาจกั รกัมพชู าเป็นครงั้
แรก พระพทุ ธศาสนาและศาสนาพรามหณไ์ ด้รับการนับถือคู่กนั มคี วามเจรญิ และความเสื่อมปรบั เปลยี่ น ตาม
กษัตรยิ ใ์ นสมยั น้นั จะทรงนับถือศาสนาใด
รชั สมยั พระเจ้าชัยวรมนั ท่ี 5 (พ.ศ. 1511 – 1544) พระพุทธศาสนาได้
เจริญรุ่งเรอื งอกี คร้ังหนง่ึ โดยมีการสง่ เสรมิ การปฏบิ ตั ธิ รรมทางพระพุทธศาสนาและได้นา
คัมภรี จ์ ากต่างประเทศมาสู่อาณาจักรเปน็ จานวนมาก มกี ารเผยแผ่และนบั ถือกว้างขวาง
มากข้นึ
ใหส้ รา้ งนครธม เป็นราชธานี ให้สร้างวิหาร “ปราสาทบายน” ใหส้ ร้าง
พระพทุ ธรูปชื่อว่า “พระชยั พทุ ธมหานาถ” ประดิษฐานไว้ตามเมอื งต่าง ๆ ทั่ว
ราชอาณาจักร ทรงนมิ นตพ์ ระสงฆ์เข้าไปบณิ ฑบาตในพระราชวังทุกวันๆ ละ 400 รปู
เม่ือส้นิ ยุคยุคพระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 แล้ว พระพทุ ธศาสนามหายานได้เส่ือมลง และ
พระพทุ ธศาสนาหนิ ยาน ได้เจรญิ เขา้ มาแทนที่ กัมพูชาเข้าสู่ยุคแหง่ ความขัดแยง้ และ
เปลีย่ นแปลง
รชั สมยั พระเจา้ หริรกั ษร์ ามาธบิ ดี (นกั องด้วง) ทรงพานกั อยใู่ นประเทศไทย
เป็นเวลา 27 ปี มีพระชนมายุ 43 พรรษาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจ้าอยูห่ ัวทรงพระมหากรณุ าฯโปรดให้
เดนิ ทางกลบั เขมรพรอ้ มกับกองทพั เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสน)ี พ.ศ. 2384 ได้นานิกายธรรมยตุ จิ าก
เมอื งไทยไปประดิษฐาน ได้จักต้งั โรงเรียนสอนพระปริยตั ธิ รรมชัน้ สูงในกรุงพนมเปญ ทีช่ ่อื วา่ “ศาลาบาลี
ชั้นสงู ” พ.ศ. 2410 กัมพชู า ตกเปน็ เมืองขนึ้ ของฝรั่งเศส เม่ือได้รบั เอกราชจากฝรงั่ เศส เกดิ สงครามกลางเมอื ง
กัมพูชา เป็นความขัดแยง้ ความขัดแยง้ กนั เอง
ซึ่งต่อมามีการประชุมเพ่ือหาแนวทางสันติภาพของทุกฝ่ายภายใต้การควบคุมของ UNTAC (United
Nations Transitional Authority in Cambodia) ในประเด็นการจัดต้ังสภาสูงสุดแห่งชาติกัมพูชา (Supreme
National Council : SNC), จัดต้ังการเลือกตั้งเพ่ือรัฐบาลชุดใหม่ และการเจรจาให้ทุกฝ่ายปลดอาวุธ ต่อมาในปี
พ.ศ. 2536 (ค.ศ.1993) มีการเลือกตั้งท่ัวไปภายในประเทศเพ่ือจัดตั้งรัฐบาลใหม่ โดยการควบคุมของ
สหประชาชาติ (UN) รฐั ธรรมนูญให้กัมพชู ามกี ษัตริยเ์ ปน็ ประมุข เจ้านโรดมสีหนุ จึงได้เปน็ ประมขุ พระพุทธศาสนา
ที่เกิดภาวะวิกฤต ไม่ได้รับการเอาใจใส่อย่างเต็มที่ ได้รับการอุปถัมภกจากพระมหากษัตริย์ของกัมพูชา และ
ประชาชนมากขึ้น จนถงึ ปัจจุบนั
1.3 Laos จากการสนั นษิ ฐาน พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานได้เขา้ มาสู่ประเทศลาวในตอนแรก ราว
พุทธศตวรรษท่ี 7 (นิกายตนั ตระ) มีการนบั ถือผสี าง ซงึ่ ได้รบั อิทธิพลมาจากจนี เมื่อถึงสมัยพระเจ้าฟา้ งุ้มขน้ึ
ครองราชย์ (พ.ศ. 1890) เปน็ กษตั รยิ อ์ งค์แรก พระองค์ได้รับเอาพระพุทธศาสนามาจากกัมพชู ามานับถอื โดยได้
ไปรบั ราชการอยู่ในราชสานักของพระเจ้ากรงุ อินทปตั ถข์ องขอม (พระเจา้ ศรจี ุลราช) แลว้ ได้อภิเษกสมรสกับพระ
ราชธิดาของพระองค์ คือพระนางแกว้ ยอดฟา้ ซง่ึ นบั ถอื พทุ ธแบบเถรวาท เม่อื ยา้ ยมาอยูอ่ าณาจักรล้านชา้ ง พระ
นางเหน็ ชาวเมอื งนบั ถือบชู าลัทธิผสี างเทวดา จงึ ใหเ้ จา้ ฟา้ งุ้มไปทูลขอพระสงฆผ์ แู้ ตกฉานในพระธรรมและ
พระไตรปิฎกจากกมั พชู ามาเผยแผ่ในราชอาณาจักรลาว
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 13
พระเจา้ กมั พูชา ไดท้ รงส่งพระมหาปาสมตั เถระและพระมหาเทพลงั กากบั พระสงฆอ์ ีก 20 รูปและ
นักปราชญผ์ ้เู รยี นจบพระไตรปิฎกอกี 3 คน และพระราชทานพระพุทธรูป “พระบาง” และหนอ่ พระศรีมหาโพธิ์
และชา่ งหล่อพระพุทธรปู ไปมาถวายเจา้
ฟ้างุ้มดว้ ย แตน่ ัน้ มาพระพทุ ธศาสนา
นิกายเถรวาทไดเ้ จรญิ อยูใ่ นประเทศ
ลาว และไดเ้ ปน็ ศาสนาประจาชาติ
กษตั ริย์ลาวแตน่ นั้ มาได้ทรงเอาใจใสต่ อ่
พระพุทธศาสนาสืบตอ่ กันมา รัชสมยั
พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091
– 2114 ) เป็นกษัตริย์มหาราชองค์ที่
2 ของลาว พระพทุ ธศาสนาไดร้ ่งุ เรือง
สุดขดี พระองค์ได้โปรดใหส้ ร้างศาสน วดั พระธาตหุ ลวง นครเวยี งจนั ทน์
สถานมากมาย เช่น พระธาตหุ ลวง
พระธาตบุ งั พวน ที่ จ.หนองคาย พระธาตุศรสี องรกั จ. เลย พระธาตศุ รีโคตรบูรท่ีแขวงคามว่ น พระธาตุอิงรงั ท่ี
แขวงสวุ รรณเขต
พ.ศ. 2436 ลาวตกอยใู่ นความปกครองของฝรงั่ เศส พระพุทธศาสนากต็ กอยู่ในสถานะท่ีเสอ่ื มโทรมไป
บ้าง พ.ศ. 2492 ลาวได้รบั เอกราช พระพทุ ธศาสนาจึงได้รบั การฟ้ืนฟขู น้ึ อีก แตล่ าวเกิดปัญหาทางการเมือง
ภายในประเทศ ต่อมาเมื่อพรรคประชาชนปฏิวัติลาว ไดท้ าการปฏวิ ตั ิไดส้ าเรจ็ ในปี พ.ศ. 2518 ในระยะแรก ไดท้ า
การใชพ้ ระสงฆ์เป็นสอื่ โฆษณาตอ่ ประชาชนเพื่อเช่ือมต่อระหว่างกล่มุ ผนู้ าและประชาชน แต่ในเวลาต่อมากลบั ใช้คา
สอนของพระพทุ ธศาสนาดัดแปลงจากคาสอนของ คารล์ มาร์กซ์ และ วลาดีมรี ์ เลนิน กลายเป็นคาสอนแบบใหม่
เพ่อื ปลกุ ระดมและโฆษณาประชาชนแทน
1.4 Vietnam พระพุทธศาสนาในประเทศเวยี ดนามไดร้ ับการเผยแผม่ าจากประเทศจีน ในพุทธ
ศตวรรษที่ 8 เป็นนิกายมหายาน โดยการสมั พันธก์ ันมายาวนาน แตว่ ่าไมน่ ยิ มเป็นที่นับถือมากนกั
พ.ศ. 1512 พระเจ้าดินหโ์ งดินห์ ข้นึ ครองราชย์ พระพทุ ธศาสนามหายานได้รบั การฟ้นื ฟอู ย่าง
แพร่หลาย มาถึงราชวงศด์ นิ ห์ ราชวงศ์ลี ราชวงศ์เล มหายานเจรญิ เตม็ ที่ เพราะไดร้ ับอิทธิพลมาจากพระสงฆ์ท่ี
ทรงมีความรอบรูว้ ิชาการตา่ งๆ เชน่ กฎหมาย วรรณคดี รฐั ศาสตร์ จริยศาสตร์ ปรัชญา โหราศาสตร์
แพทยศาสตร์ ประชาชนจึงมคี วามเคารพศรทั ธาในพระสงฆ์เป็นอยา่ งสูง มาถึงราชวงศ์ตรัน เวยี ดนามตกเปน็
เมอื งข้นึ ของจนี ได้นาลัทธิขงจอ้ื และลัทธิเตา๋ มาเผยแผ่ ทาใหม้ หายานเส่อื มลง มกี ารขดั ขวางการเผยแผม่ หายาน
สั่งทาใหร้ ือ้ ทาลายวดั วิหารและยดึ คมั ภีร์ทางพระพทุ ธศาสนา
ในราชวงศเ์ ล (ตอนปลาย) พระพทุ ธศาสนามวั่ หมองมากข้ึน เพราะพระภกิ ษไุ ปยุ่งเกี่ยวกับการเมอื ง และ
พระกษัตรยิ ไ์ มไ่ ดเ้ อาใจใส่ฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนา ทาใหป้ ระชาชนหมดศรทั ธาไป ช่วงราชวงศต์ รนิ ห์ เวยี ดนามได้
แย่งชิงอานาจกนั และไดน้ าพระพุทธศาสนาเปน็ เครอ่ื งมือ
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 14
พ.ศ. 2426 เวยี ดนามตกเป็นอาณานคิ มของ
ฝรัง่ เศส ถูกบังคับใหไ้ ปนบั ถือครสิ ตน์ ิกายโรมนั คาทอลิกแต่
นนั้ มาพระพุทธศาสนาได้รับผลกระทบอยา่ งมาก มีการ
ควบคมุ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา2 ยดึ คัมภีร์ไปเผาทาลาย
การรวมตัวของพุทธศาสนกิ ชนเพื่อประกอบพธิ ีจะตอ้ งได้รับ
การอนุญาตจากทางการฝรั่งเศสก่อน อย่างไรกต็ าม
ประชาชนโดยรวมยังคงนบั ถือพระพทุ ธศาสนาอยู่ ภายหลงั
เวยี ดนามได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เพราะความวุ่นวายทาง
การเมอื ง ประเทศเวยี ดนามแบ่งออกเป็น 2 เขตคือ พระทิก กวา๋ ง ดกึ๊ เผาตวั เองเพือ่ ประท้วงรัฐบาล
เวียดนามเหนอื และเวยี ดนามใต้
ในเวยี ดนามใต้ ทีป่ กครองโดยรัฐบาลภายใต้การนาของประธานาธบิ ดโี ง ดินห์เดยี ม ซ่งึ นบั ถอื คริสต์ และได้
กดขีข่ ม่ เหงชาวพทุ ธ รวมทงั้ กระทาย่ายีต่อพทุ ธศาสนามากมาย กระทง่ั พระสงฆ์กับชาวพุทธทนไมไ่ หวไดร้ วมตัวกนั
ต่อตา้ น จนถงึ ขัน้ พระติช กวางดึก๊ เผาตวั เองจนมรณภาพ เพอ่ื เป็นการประท้วง จนเปน็ ข่าวโดง่ ดังไปท่ัวโลก ในปี
พ.ศ.2506และภาวะสงครามซง่ึ เกิดขน้ึ อยตู่ ลอดเวลาฯ
ตอ่ มาใน พ.ศ.2519 ได้มกี ารรวมเวียดนามทง้ั 2 เขตเข้าเปน็ ประเทศเดียวกนั อกี คร้ัง โดยใช้ชอื่ ว่า
‘สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม’ ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศเวยี ดนาม ปัจจุบนั เวยี ดนามมี
ประชากรราว 82 ล้านคน ในจานวนนร้ี าว 92 เปอรเ์ ซนตน์ ับถือพทุ ธศาสนา
1.5 Indonesia พระพทุ ธศาสนาได้เผยแผ่เขา้ มาสปู่ ระเทศอนิ โดนีเซยี ในคราว พทุ ธศตวรรษที่ 3 ครง้ั
ที่พระเจ้าอโศกมหาราช สง่ พระสาวกไปประกาศพระศาสนาในแถบสวุ รรณภมู ิ ชว่ งแรกเป็นนิกายแบบเถรวาท
พระพุทธศาสนาปรากฏชัดเจนในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 เพราะไดเ้ กดิ อาณาจักรศรีวิชยั ตงั้ แต่ทาง
ภาคใต้ของไทย รวมท้งั ประเทศมาเลเซยี และอนิ โดนเี ซยี ทัง้ หมด อาณาจกั รนี้ นบั ถือพระพทุ ธศาสนานกิ าย
มหายานอย่างแพร่หลาย เพราะได้พบเอกสารหลักฐานเกี่ยวกบั นกิ ายน้ีมากมาย เช่นรปู พระโพธสิ ัตว์ พุทธศตวรรษ
ที่ 19 อาณาจกั รศรวี ิชยั เส่ือมลง ศาสนาฮนิ ดเู ขา้ มาเจริญรงุ่ เรอื งแทน
ตอ่ จากน้นั พระครอบครองอาณาจักร ทรงมศี รัทธาในศาสนาอิสลามมาก ทรงประกาศห้ามศาสนาอ่ืนมา
เผยแผ่และประกาศให้ศาสนา อิสลามเปน็ ศาสนาประจาชาติของชาวอินโดนเี ซยี มาถึงปัจจุบนั
แต่วา่ ยังมีประชาชนนบั ถือพระพทุ ธศาสนาฝ่ายเถรวาทหรอื หนิ ยานอยู่ โดยมพี ระภกิ ษหุ นุม่ รูปหนง่ึ ชาว
ชวามีความเลื่อมใสในหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาได้ไปอปุ สมบทในพมา่ เมอื่ พ.ศ. 2497 นาม “พุทธ
รกั ขิต” แลว้ กลบั ไปฟ้ืนฟพู ระพทุ ธศาสนาในชวา เกาะสมุ าตรา เซลีเบสและเกาะบาหลี แบบเถรวาท ทั้งได้นมิ นต์
พระไทย กัมพูชา พมา่ และลงั กา ไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา และได้ประกอบพิธวี สิ าขบชู ารว่ มกนั ท่พี ทุ ธวหิ ารโบโร
พทุ โธ
2 ทิก กว๋าง ด๊ึกพระภกิ ษุมหายานชาวเวยี ดนามทเ่ี ผาตัวเองจนมรณภาพ ณ ถนนส่แี ยกกรุงไซงอ่ น เพ่ือประทว้ งรัฐบาล
โรมนั คาทอลกิ ภายใต้การนาโดยโง ดญิ่ เสยี่ ม ที่ข่มเหงชาวพทุ ธในประเทศเวียดนามใต้
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 15
ชาวอนิ โดนีเซียทน่ี บั ถอื พทุ ธศาสนานิกาย
มหายานอยู่นัน้ จะมีอยบู่ นเกาะชวาไดแ้ ก่ ชาวชวา
(นบั ถอื พุทธศาสนาร้อยละ 1) และชาวซุนดา และจะ
มชี าวบาหลีบนเกาะบาหลี ซ่ึงบางคนกน็ ับถือศาสนา
พราหมณ์-ฮนิ ดแู บบพื้นเมอื งควบคกู่ ันไป และมชี าวซา
ซะกบ์ างคนที่นบั ถอื ศาสนาพุทธ และลทั ธิวตูตลู ซง่ึ
เปน็ ศาสนาอิสลาม ทร่ี วมกบั ความเชอ่ื แบบฮินดู-พทุ ธ
อยบู่ ้างบนเกาะลอมบอก รวมไปถึงชาวจีนโพ้นทะเลท่ี
อาศยั บนเกาะชวา ทกุ ๆปี ศาสนิกชนเหลา่ น้จี ะมา
ประกอบพธิ ใี นวันวิสาขบชู าท่ีบุโรพทุ โธ ท่ีเมืองมนุ ตี โบโรบดู รู ์ ศาสนสถานของศาสนาพทุ ธที่ใหญ่ที่สดุ ในโลก
ลาน ท่ีอินโดนีเซียนี้ไดจ้ ัดต้งั สมาคมเพื่อสอน
พระพทุ ธศาสนาแกเ่ ยาวชน มกี ารบรรยายธรรม ปฏิบัตสิ มาธิ ออกวารสาร เชน่ วารสารวปิ ัสสนา และวารสารธรรม
จารณี ซ่ึงการปกครองดแู ลศาสนิกชนในอินโดนเี ซยี จะข้ึนกบั พทุ ธสมาคมในอินโดนีเซีย มสี านกั งานใหญใ่ นกรงุ
จาการต์ า มีสาขายอ่ ย 6 แห่ง
ปจั จุบันประเทศอินโดนีเซีนได้เริ่มมีการฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนา โดยการริเร่มิ จากพระสงฆ์ชาวศรลี ังกา และ
ชาวพื้นเมอื ง ที่ได้รบั การอุปสมบทจากประเทศพม่า และทปี่ ระเทศไทย ในวัดบวรนิเวศวิหาร และวดั เบญจมบพติ ร
ปจั จุบนั ศาสนาพุทธนัน้ มศี าสนกิ อยู่ประมาณ 150,000 คน หรือประมาณร้อยละ 1 ของประชากรชาว
อินโดนเี ซียทั้งหมดซงึ่ สงั คมอนิ โดนเี ซียส่วนใหญ่
1.6 Malaysia พระพทุ ธศาสนาเข้ามาส่มู าเลเซีย ชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ 3 เชน่ เดียวกบั ไทย ช่วงแรก
เปน็ แบบเถรวาท หลังจากได้เกิดอาณาจักรอาณาจกั รศรวี ิชยั จึงได้รบั นกิ ายมหายานเข้าไปเผยแผ่ พ.ศ. 1837
พ่อขุนรามคาแหงมหาราช แห่งอาณาจักรไทย ไดแ้ ผอ่ าณาจักรไปทางภาคใต้ของไทย จงึ ได้นาพระพทุ ธศาสนาแบบ
ไทยไปเผยแผ่ดว้ ย แต่วา่ ไม่ได้รับความสนใจนกั เพราะประชาชนยังนบั ถือพระพุทธศาสนามหายานอยู่
นับตั้งแตพ่ ุทธศตวรรษที่ 20 เปน็ ต้นมา พระพุทธศาสนาเส่ือมลงดังในประเทศอินโดนเี ซีย เพราะ
กษตั รยิ ์ศรัทธานับถือศาสนาอสิ ลาม จงึ ทาใหป้ ระชาชนต้องนับศาสนานน้ั ด้วย จนกลายเปน็ ศาสนาประจาชาติ
ในช่วงหลังได้มีพระสงฆ์จากไทย ศรีลงั กา พม่า เดนิ ทางไปเผยแผพ่ ระพุทธศาสนานิกายเถรวาท จึงทาให้
พระพุทธศาสนาได้รับการฟืน้ ฟอู ยูบ่ ้าง ส่วนมากเป็นผทู้ ี่มเี ช้อื สายมาจากชาวจนี ลังกา พมา่ และไทย มวี ัดหรอื
สานักสงฆต์ ั้งอยู่เป็นบางแหง่ เชน่ ที่เมอื งกวั ลาลมั เปอร์และเมืองปนี ังมวี ดั ไทยอย่แู ละมพี ระสงฆไ์ ทยไปจาพรรษาอยู่
ที่นัน่ วัดไทยท่เี มืองกวั ลาลัมเปอร์สร้างข้นึ เมื่อปี พ.ศ. 2503 ด้วยความรวมมอื ระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาล
มาเลเซีย ช่ือวัดเชตวัน วัดไทยทป่ี นี งั ชอ่ื วัดไชยมงั คลาราม
นอกจากน้ี ชาวพทุ ธในมาเลเซยี ยังคงมกี ารรวมตัวกันทากิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนา อย่างสม่าเสมอ
ตัวอย่างเชน่ เมอ่ื วันท่ี๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑สมาคมสงฆแ์ ห่งพุทธศาสนกิ ชน มาเลเซยี ไดจ้ ัดกจิ กรรม “มหา
สังฆทาน” ทีว่ ดั ถานเซียง ประเทศมาเลเซีย โดยคณะภิกษุ และ ภิกษณุ ขี องวัดถานเซียง พรอ้ มด้วยกล่มุ ฆราวาสท่ี
ร่วมกันจัดงานนข้ี นึ้ โดยในปจั จบุ นั มกี ารนับถอื พระพทุ ธศาสนานกิ ายท่สี าคญั ๒ นกิ าย คอื มหายานและเถรวาท ซ่ึง
ทง้ั ๒ นิกายก็มีการสรา้ งวัด ประจาแต่ละนิกายขึ้นหลายแห่ง ซง่ึ มีท้ังท่ีเป็นวดั ของชาวมาเลเซีย และวัดของชาว
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 16
ต่างประเทศ เชน่ วัดไทย ซ่งึ ทงั้ หมดเปน็ วัดในมหานิกายกวา่ ๗๙ วัด ซ่งึ ตัง้ กระจายไปตามรัฐต่างๆ ได้แก่ รัฐเคดะห์
รฐั เประ รฐั ปะรสิ และรัฐตรงั กานู นอกจากนี้ยังมวี ัดพมา่ วัดศรีลงั กา และวัดทช่ี าวจนี ตัง้ ขึน้ อีกจานวนหนงึ่ โดยวดั
เหลา่ น้ีมีหน้าท่ีสาคัญคอื อบรมสงั่ สอนพุทธศาสนิกชน สอนวปิ สั สนา กรรมฐาน การสวดมนต์ รวมท้งั การจัดตั้ง
โรงเรยี นสอนพระพทุ ธศาสนาวันเสารอ์ าทิตย์และ ให้ความชว่ ยเหลอื ทางดา้ นสังคมสงเคราะห์อีกดว้ ย
1.7 Singapore สิงคโปร์เป็นเกาะเล็กๆ อยู่ทางทิศใต้ ของประเทศมาเลเซยี ซง่ึ ในอดตี กเ็ คยอยูร่ วม
เปน็ สหพันธ์เดียวกบั มาเลเซียมาก่อนและได้แยกตัว ออกเปน็ ประเทศอิสระเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๐๘ ดังนั้น การเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนาเข้ามายงั สงิ คโปร์จึงมี ลกั ษณะเช่นเดยี วกบั มาเลเซยี กล่าวคือ นกิ ายท่ีได้รบั การเคารพนับถอื มาก
ได้แก่ นกิ ายมหายาน และดว้ ยเหตุทีพ่ ลเมืองส่วนใหญข่ องสงิ คโปร์เป็นชาวจนี พระพุทธศาสนานกิ ายมหายานจึงมี
ความเจริญรงุ่ เรืองและได้รับการประดิษฐานอยอู่ ยา่ งมัน่ คง
ประชาชนสว่ นใหญเ่ ปน็ ชาวจนี ท่ีเดนิ ทางมาค้าขาย แลว้ ตง้ั
รกรากอยู่ทน่ี นั้ แล้วได้นับถอื นิกายมหายานมาดว้ ย ซง่ึ เป็นศาสนาท่ี
แพรห่ ลายมากในประเทศน้ี มวี ัดมหายานอย่หู ลายแหง่ รวมทัง้ สมาคมทาง
ศาสนา ซ่งึ ทาหน้าท่ีเผยแผ่ศาสนา ตัง้ โรงเรียนสอนหนังสอื และรบั ผดิ ชอบ
เลย้ี งเด็กกาพร้าด้วย ในปจั จุบัน สิงคโปรม์ ีสมาคมของชาวพุทธอยู่
ประมาณ ๒,๐๐๐ สมาคม และมีวัดทางพระพทุ ธ ศาสนาอยปู่ ระมาณ
๑๕๐ วัด ซึ่งเกือบทง้ั หมดเป็นวัดฝ่ายนิกายมหายาน ส่วนวดั ฝ่ายนกิ ายเถร
วาท ท่ีสาคญั ๆ เช่น วัดศรีลงั การามายณะ ของศรลี งั กา และวดั อานันท
เมตยาราม ของไทย เปน็ ต้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนานกิ ายมหายานใน
สงิ คโปร์กระทากนั อยา่ งจริงจงั มาก เป็นต้นวา่ มีการแปลตาราและคัมภรี ์
ทางพระพุทธศาสนาเป็นภาษาต่างๆ จัดตง้ั โรงเรียนอบรม ศาสนาจารย์
จัดตั้งโรงเรียนสอนพระพทุ ธศาสนาชื่อวา่ “มหาโพธ์ิ” ซ่งึ ในโรงเรียนน้จี ะ
ทาการสอน พระพุทธศาสนาในทกุ ระดับชน้ั
นอกจากนน้ั พุทธสมาคมของชาวจีนยังไดด้ าเนินกจิ การสงั คมสงเคราะหต์ ่างๆ เช่น บริจาคอาหาร
เครือ่ งนงุ่ หม่ ยารักษาโรคใหแ้ ก่ผยู้ ากไร้ มอบทุนการศึกษาให้แก่นกั เรยี นทย่ี ากจน ชว่ ยเหลอื การฌาปนกิจ
สงเคราะห์ ต้งั ศูนยส์ งเคราะหเ์ ดก็ กาพรา้ และคนชรา เปน็ ต้น ส่วนองคก์ ร ยุวพุทธแห่งสงิ คโปรก์ ็ได้มีการอบรมและ
จดั บรรยายธรรมทัง้ ภาคภาษาองั กฤษ และภาคภาษา จนี กลาง สอนการสวดมนต์ ฝกึ การนัง่ สมาธิ การสนทนาธรรม
และกิจกรรมอน่ื ๆ กล่าวโดยสรุป ชาวสิงคโปรไ์ ม่เพียงแตน่ ับถอื พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานอยา่ งแน่นแฟน้
เทา่ น้นั แตย่ ังไดน้ า หลักธรรมข้อที่ว่าด้วยความเมตตากรุณา การใหท้ าน มาปฏิบัตติ อ่ เพ่ือนมนุษยท์ ีต่ กทุกข์ได้ยาก
ดว้ ยยงั มีคนนบั ถอื นิกายเถรวาทอยู่บา้ ง แต่ไมม่ ากเหมือนมหายาน ซึง่ มวี ดั ท่ไี ทยและวัดลังการวมอยู่ดว้ ย วดั ไทยที่
สาคญั มี 2 วดั คือ วดั อนันทเมตยาราม สร้างเม่อื ปี พ.ศ. 2479 และวดั ป่าเลไลยก์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2506
ในปจั จบุ นั มผี ู้คนเข้าไปอาศยั อยู่ในประเทศสงิ คโปรม์ าก จึงมีผนู้ บั ถอื ศาสนาทง้ั คริสต์ อิสลาม และพุทธศาสนา
รวมกนั
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 17
2. ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาทช่ี ว่ ยเสริมสร้างความเข้าใจอนั ดกี บั ประเทศเพือ่ นบ้าน
การสรา้ งสัมพนั ธไมตรตี ามหลักสาราณยี ธรรม สาราณียธรรม หมายถึง ธรรมเป็นทีต่ ง้ั แห่งความให้ระลึกถึง
หมายถงึ มคี วามปรารถนาดีต่อกนั เอ้อื เฟอ้ื เก้ือกูลกนั ซ่งึ สามารถนามาประยุกต์ใชใ้ นการสร้างสมั พันธ์ไมตรีระหวา่ ง
ประเทศได้ ดงั น้ี
1) เมตตากายกรรม ไดแ้ ก่ การเข้าไปตงั้ กายกรรมประกอบดว้ ย เมตตา ในประเทศเพื่อนบา้ นต่อหน้าและ
ลับหลงั หมายถึงการรบั แสดงออกซง่ึ ความเป็นมิตรทางกายท่ีดีตอ่ กนั กับประเทศเพอื่ นบ้านทั้งในคราวปกตสิ ุขหรือ
ในคราวท่ีประเทศเพอ่ื นบา้ นประสบปัญหาความเดอื ดร้อนตา่ งๆเช่น ความแห้งแลง้ แผ่นดินไหว น้าท่วม เปน็ ต้น
หากประเทศเราได้สง่ สิง่ ของเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภคไปให้ดว้ ยความมีจติ เมตตาตอ่ กนั ประเทศท่ีไดร้ ับยอ่ มเกิดความ
ซาบซง้ึ และสานึกในบญุ คุณตอ่ ประเทศของเรา ยอ่ มทจี่ ะพยายามตอบแทนหรือดาเนนิ นโยบายต่างประเทศท่เี ป็น
มติ รตอ่ กนั เอ้ือเฟ้ือชว่ ยเหลือกันและกนั
2) เมตตาวจีกรรม ได้แก่ การเขา้ ไปตัง้ วจกี รรมประกอบด้วยเตตา ในประเทศเพอ่ื นบ้านทง้ั ต่อหน้าและลับ
หลงั ด้วยวาจา หมายถงึ มีการกระทาทางวาจาทีแ่ สดงออกถึงความปรารถนาดีตอ่ กัน ไมก่ ลา่ วให้ร้ายและพดู ทาลาย
ภาพพจน์ซงึ่ กนั และกัน หากมีข้อพิพาทระหวา่ งประเทศเกดิ ข้นึ การใชช้ อ่ งทางการทูตเจรจากนั ดว้ ยเหตผุ ล ไมน่ า
กาลงั ทางทหารเข้าประทษุ รา้ ยซง่ึ กนั และกัน การกระทาเช่นนี้ยอ่ มสง่ ผลใหป้ ระเทศเพื่อนบา้ นเกิดความรักความ
สามคั คีเกดิ ความระลกึ ถงึ กันในทางที่ดีกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนค์ วามสงบสุข
3) เมตตามโนธรรม ได้แก่ การเขา้ ไปตัง้ มโนกรรมประกอบดว้ ยเมตตาในประเทศเพ่อื นบา้ นทงั้ ต่อหน้าและ
ลับหลัง คอื คิดแต่ส่งิ ทีเ่ ป็นประโยชน์แกก่ ันและกัน หมายถึง มีจติ ใจปรารถนาดีตอ่ มติ รประเทศไมค่ ดิ หวาดระแวงซ่งึ
กันและกันให้คาแนะนาในสิง่ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อการพฒั นาแก่ประเทศเพอ่ื นบ้าน
4) แบง่ ปันผลประโยชนท์ ี่ได้มาด้วยความชอบธรรมแกม่ ิตรประเทศ ไดแ้ ก่ การแบง่ ปนั ช่วยเหลือซึ่งกนั
และกนั ทั้งในดา้ นอาหาร เครอ่ื งอปุ โภคบริโภคเครือ่ งมือการเกษตร ตลอดจนวิทยาการความรูต้ า่ งๆให้แกป่ ระเทศ
เพ่อื นบ้านรวมตลอดถึงการรู้จักใชท้ รพั ยากรธรรมชาตริ ว่ มกัน ไมท่ าลายระบบนิเวศนส์ ิ่งแวดล้อมท่ีก่อใหเ้ กิด
ผลกระทบตอ่ อกี ประเทศหนง่ึ เปน็ ตน้
5) รักษาความประพฤติ(ศลี ) เสมอกนั กับมติ รประเทศไม่ทาประเทศของตนให้เป็นท่รี งั เกยี จของประเทศ
อื่นไดแ้ ก่การดาเนนิ นโยบายต่างประเทศตอ้ งเป็นไปในทิศทางเดียวกันมตสิ ากลหรอื หลกั การขององคก์ าร
สหประชาชาติหรอื องค์การระหว่างประเทศไม่ฝ่าฝืนมตหิ รอื หลกั การนน้ั อันจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความหวาดระแวง ไม่ไว้เนื้อ
เน้ือเชือ่ ใจกนั และเป็นที่รงั เกียจของประเทศเพอ่ื นบ้านได้
6) มีความเหน็ รว่ มกนั ในประเทศอื่นๆ ไม่วิวาทเพราะมคี วามเห็นผิดกนั ได้แก่ การอยูร่ ว่ มกับประเทศ
อื่นๆนั้นเราตอ้ งยอมรับในกฎกตกิ าระหว่างประเทศท่ีกาหนดไว้ ไมก่ ระทาตนเสมือนว่าเป็นการฝ่าฝนื มติของสงั คม
โลกซง่ึ ในประชาคมโลกนัน้ ไมม่ ีประเทศใดทีจ่ ะสามารถอยู่อยา่ งโดดเดี่ยวได้ แต่ละประเทศตอ้ งพึ่งพาซ่ึงกันและกนั
การทาฝ่าฝนื ติเอารดั เอาเปรียบหรือขม่ เหงกดี กนั ประเทศอื่น มีแต่จะสร้างความเดือดรอ้ นใหแ้ ก่ประเทศของตนและ
ไม่มีประเทศใดจะคบค้าสมาคมด้วย
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 18
3. ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย
3.1 เปน็ ศาสนาของประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทย พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาหลกั ของชาติไทย
ด้วยชนชาตไิ ทยได้นับถอื และยกย่อง เทิดทนู เป็นสรณะแห่งชีวิต สืบทอดต่อเน่อื งกันมาเปน็ เวลาช้านาน
3.2 เปน็ รากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละ ศลิ ปวฒั นธรรมของชาตสิ ่วน
ใหญ่ ล้วนมพี ื้นฐานมาจากพระพทุ ธศาสนา3
3.3. เปน็ ศูนย์รวมจติ ใจให้ชนชาวไทยตง้ั อย่ใู นความสามคั คี เน่ืองจากพระมหากษตั ริยไ์ ทย ซึ่งทรงเปน็ พระ
ประมุขของชาติทุก ๆ พระองค์ทรงเปน็ พุทธมามกะ ทรงดารงอยู่ในฐานะเปน็ องคเ์ อกอัครศาสนูปถมั ภก ทรงยกยอ่ ง
เชิดชูพระพุทธศาสนาตลอดมาตงั้ แต่ อดตี อันยาวนาน จวบจนกาลปัจจุบนั เนอ่ื งจากหลักธรรมในพระพุทธศาสนา
มุ่งเนน้ ใหเ้ กิด ความรักความสามัคคีกนั มคี วามเมตตากรณุ าต่อกัน เป็นต้น จึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของชนชาวไทยให้
มี ความเปน็ หนึง่ เดยี วกัน
3.4. เป็นหลกั เกณฑแ์ หง่ เสรภี าพในการนบั ถือศาสนิาถีชีวิตของคนไทยผกู พนั อยอู่ ย่าง แนบแน่นกับ
พระพทุ ธศาสนา ซึมแทรกผสมผสานอยใู่ นแนวความคดิ จิตใจและกจิ กรรมแทบทกุ ก้าว
3.5. เปน็ สถาบันที่ดารงยนื ยงมาค่ชู าติไทย พระพทุ ธศาสนาในฐานะเป็นสถาบันหลักของสงั คมไทย
พระพทุ ธศาสนา เป็นศาสนาที่ สังคมไทยสว่ นใหญ่นบั ถือ และสืบทอดกนั มาเปน็ ช้านาน ดงั นน้ั พระพุทธศาสนาจึงมี
บทบาทสาคญั ของ วิถชี วี ติ ของคนไทย พระพทุ ธศาสนาจงึ มคี วามสาคญั ในด้านต่าง ๆ ท้ังดา้ นการศึกษา ดา้ นสงั คม
และ ด้านศิลปกรรม
3.6. เปน็ หลกั คาสอนสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะนสิ ัยของคนไทยท่ีรักความเป็นอิสระเสรี การทีพ่ ระพุทธศาสนา
อยู่กบั คนไทยมา ช้านาน จงึ ก่อให้เกิดการซึมซาบเอาหลักปฏิบัติของพระพุทธศาสนาให้เปน็ ส่วนหนงึ่ ของชีวติ
ก่อใหเ้ กดิ ความเปน็ เอกลักษณ์ของคนไทยท่ไี มเ่ หมอื นกับชาตอิ น่ื ๆ ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์เดน่ ไดแ้ ก่ รักความเป็นอสิ ระ
และความมีน้าใจไมตรี
3.7. เป็นแหล่งสาคญั ทหี่ ลอ่ หลอมเอกลักษณข์ องชาตไิ ทย พระพทุ ธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจ เน่ืองจาก
หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาม่งุ เนน้ ใหเ้ กิด ความรักความสามัคคีกัน มีความเมตตากรุณาตอ่ กนั เปน็ ต้น จงึ เป็นศูนย์
รวมจติ ใจของชนชาวไทยให้มี ความเป็นหนงึ่ เดยี วกนั
3.8. เปน็ มรดกและเป็นคลงั สมบัตอิ ันล้าค่าของชนชาตไิ ทย พระพุทธศาสนาเป็นทมี่ าของวฒั นธรรมไทย
ด้วยวิถีชีวิตของคนไทยผูกพนั กับพระพุทธศาสนาจงึ เปน็ กรอบในการปฏบิ ัตติ นตามหลกั พิธกี รรมในพระพทุ ธศาสนา
ต่าง ๆ เชน่ การบวช การแตง่ งาน การทาบุญเน่อื งในพธิ กี ารตา่ ง ๆ การปฏิบตั ติ นตามประเพณีในวนั สาคญั ทาง
พระพทุ ธศาสนา เปน็ ต้น ซึง่ เปน็ สว่ นท่ีก่อใหเ้ กดิ วัฒนธรรมไทยจนถงึ ปัจจุบนั
3.9. เป็นหลกั นาทางในการพัฒนาชาตไิ ทย ศลิ ปวัฒนธรรมไทย ซึง่ พฒั นาขนึ้ มาจนมีแบบแผนเป็นของ
ตนเอง อยา่ งท่เี รยี กว่า มเี อกลักษณ์ของความเป็นไทยเดน่ ชัด ศลิ ปวฒั นธรรมไทยเหล่านมี้ ีรากฐานมาจาก
พระพุทธศาสนา เป็นส่วนใหญ่
3 พระครปู ริยัติกติ ตธิ ารง พระพทุ ธศาสนากับการพัฒนาสงั คม สารนิพนธพ์ ุทธศาสตรบณั ฑิต ๒๕๖๓
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 19
3.10.เป็นแหล่งของดมี ีค่าที่ชนชาติไทยมอบให้แก่อารยธรรมของโลก พระพทุ ธศาสนาในฐานะเปน็ มรดก
ของชาติ หลักฐานทางคัมภีรแ์ ละศาสนาวัตถุ ซ่ึงนักประวัตศิ าสตร์โบราณคดีเชือ่ วา่ พระพุทธศาสนาได้เข้ามา
เผยแพรใ่ นดนิ แดนสุวรรณภมู ิก่อน พ.ศ. ๕๐๐ แต่ศรัทธาความเชื่อของปุถชุ นก็เปน็ ไปตามยุคสมยั
กิจกรรมเสรมิ ทกั ษะ
คาถามทวนความรูท้ า้ ยหนว่ ย
1. พระพุทธศาสนาสรา้ งมรดกหรือเอกลกั ษณ์ของไทยอย่างไร
2. เมอื่ มีคนกล่าวว่า วิถีไทย คือ วิถพี ุทธ นักเรียนมีความคดิ เหน็ อย่างไร
3. พระพทุ ธศาสนาในแงพ่ ฒั นาไดส้ ร้างสงั คมไทยอยา่ งไร
4. ในความคิดเห็นของนักเรียนพระพทุ ธศาสนา จัดระเบียบทางสงั คมอย่างไร
5. พระพุทธศาสนาเปน็ หลักนาทางในการพัฒนาชาตไิ ทย อยา่ งไร
บนั ทกึ ข้อความ
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................แ..บ...บ...ฝ..ึก...ห..ดั...ท...้า..ย..ห...น..ว่...ย................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 20
สาระการเรียนรูพ้ น้ื ฐานพระพุทธศาสนา ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒
1. พระเจา้ อโศกมหาราชเป็นองคอ์ ุปถมั ภ์ สง่ สมณทตู เผยแผ่พระพุทธศาสนา เป็นผลให้พระพทุ ธศาสนา
เจริญรงุ่ เรอื งในดินแดนสุวรรณภูมิ จากขอ้ ความนี้มีความสัมพนั ธ์กบั เหตุการณ์ใดมากที่สดุ
1. หลังจากพระพุทธเจา้ ปรนิ ิพพานแล้ว ๓ เดอื น 2. หลังจากพระพทุ ธเจ้าปรนิ พิ พานแลว้ ๓ เดอื น
3. กอ่ นการทาสังคายนาครงั้ ที่ ๓ 4. หลงั การทาสงั คายนาครง้ั ท่ี ๓
2. หลักฐานทแี่ สดงว่าพระพทุ ธศาสนาเคยรุง่ เรอื งในประเทศเพอ่ื นบ้าน ขอ้ ใดมีความสมั พนั ธ์มากทส่ี ดุ
1.กลองมโหระทึก – ประเทศเวียดนาม 2. บโุ รพุทธโธ – ประเทศอนิ โดนีเซีย
3. พระแกว้ มรกต – ประเทศไทย 4. ทุ่งไหหนิ – ประเทศลาว
3. ได้มีการประกาศหา้ มพระสงฆเ์ ขา้ ไปยุ่งเกี่ยวกับการเมอื ง และมไิ ด้ถอื ว่าพระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนา
ประจาชาติ จงึ ไมส่ นบั สนุนกิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนา แตย่ ังคงใหเ้ สรีภาพในการนับถือศาสนาตาม
ความเชอ่ื เดมิ จากเหตกุ ารณน์ ้ีมคี วามสัมพนั ธก์ บั ข้อใดมากทีส่ ุด
1. เวยี ดนาม 2. กมั พูชา 3. เมยี รมาร์ 4. ลาว
4. เพราะเหตุใดการนับถือพระพทุ ธศาสนาของประเทศต่างๆ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ส่วนใหญ่จะมี
ความคลา้ ยคลงึ กนั
1. มพี น้ื ทีเ่ ลก็ จึงไปมาหาสู่กนั ไดโ้ ดยง่าย
2. ประชาชนสบื เช้อื สายมาจากเผ่าพนั ธเุ์ ดียวกัน
3. รับการถ่ายทอดพระพทุ ธศาสนาจากอินเดยี วเหมอื นกัน
4. มีความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนกันทางพระพทุ ธศาสนาอยูเ่ สมอ
5. เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาซ่งึ เจรญิ รงุ่ เรืองอยบู่ นแหลมมลายูจึงเสือ่ มลงไป
1. ราษฎรมกั นยิ มนบั ถอื ศาสนาตามอยา่ งผนู้ า
2. ความเสอื่ มของพระพุทธศาสนาในอนิ เดยี
3. การตกเปน็ เมอื งข้นึ ของชาตติ ะวันตก
4. ความขัดแยง้ แยกดินแดน
6. เพราะการอปุ ถมั ภบ์ ารุงของพระมหากษตั ริย์ จงึ ทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเจริญร่งุ เรอื งในประเทศเพอื่ นบ้าน
จากข้อความดังกลา่ วมีความสัมพนั ธก์ ับข้อใดมากท่ีสุด
1.พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาท่เี ปน็ สจั ธรรม
2. หลักธรรมของพระพุทธศาสนาสามารถนาไปปฏบิ ัตไิ ดท้ ุกยุคทกุ สมยั
3. พระมหากษัตริย์ใหเ้ สรภี าพในการนบั ถอื ศาสนาตามความเชือ่ ของประชาชน
4. พระมหากษัตริยเ์ ป็นศูนยร์ วมจิตใจของประชาชน หากนับถือศาสนาใดสง่ ผลให้ประชาชนนับถอื ดว้ ย
7. กลุ่มประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ่ีเป็นกลุ่มประเทศทีป่ ระชากรส่วนใหญน่ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา
คือประเทศอะไร
1. อินโดนีเซีย 2. เวยี ดนาม 3. สงิ คโปร์ 4. มาเลเซยี
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 21
8. การปะทะกันระหว่างทหารตารวจกับชาวพุทธ จนกระทั่งลกุ ลามไปถึงข้นึ ตอ่ สูเ้ พอ่ื โคน่ ล้มอานาจของรฐั บาล
เวียดนาม ท่มี ปี ระธานาธิบดีนับถอื คริสตศ์ าสนาและกดี กันพระพทุ ธศาสนามาโดยตลอด จากเหตุการณน์ ค้ี วร
นาหลักธรรมใดมาแก้ปัญหาเหมาะสมท่ีสุด
1. พรหมวิหาร ๔ 2. ฆราวาสธรรม ๕
3. สาราณยี ธรรม ๖ 4. มชั ฌิมาปฏปิ ทา
9. พระเจา้ อโศกมหาราชทรงประยุกต์หลักธรรมมาใช้ในการปกครองประเทศหลายประการยกเวน้ ข้อใด
1. ใหส้ ิทธิเสรภี าพในการเผยแผ่ศาสนา
2. สงั่ ให้ประชาชนทกุ คนนบั ถอื พระพุทธศาสนา
3. ยนิ ดรี ับฟงั ข้อคิดเห็นและข้อเสนแนะของมิตรประเทศ
4. ใหค้ วามเอ้ือเฟื้อแกล่ ทั ธิศาสนาอื่นทเี่ ผยแผ่เข้ามาในประเทศ
10. กลุม่ อาเซยี นมนี โยบายร่วมกันปราบปรามการแพร่ระบาดของยาเสพติด จากข้อความน้จี ดั ได้วา่ ปฏิบตั ิ
สอดคล้องกบั หลกั ธรรมในข้อใด
1. ทฏิ ฐสิ ามญั ญตา 2. เมตตาวจีกรรม
3. สีลสามญั ญตา 4. สาธารณโภคี
11. อทิ ธพิ ลของพระพทุ ธศาสนาทมี่ ตี ่อสงั คมไทยดา้ นวัฒนธรรมภาษาของไทย จากข้อความข้อมี
ความสัมพนั ธก์ บั ข้อใดมากท่ีสดุ
1. คนไทยนิยมเรียนภาษาบาลี
2. ประเทศไทยส่งเสริมการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา
3. ช่ือบคุ คลและสถานทมี่ รี ากฐานมาจากภาษาบาลี
4. พระสงฆใ์ ช้ภาษาบาลีเปน็ สื่อกลางการสื่อความหมาย
12. พระพุทธศาสนามคี วามสาคัญของวงจรชีวิตของบคุ คล ข้อใดมีความสัมพนั ธ์กบั ขอ้ ความนม้ี ากที่สุด
1. ถือศีล ๕ ศีล ๘ วันธรรมสวนะ 2. ลดละเลกิ อบายมุข วันเขา้ พรรษา
3. เมาไมข่ ับ ปลอดภัยไว้กอ่ น วันสงกรานต์ 4. โกนผมไฟ บวช แต่งงาน พิธีศพ
13.คนไทยดาเนินชวี ติ บนพน้ื ฐานหลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา ความคิด ความเชอื่ การตดั สินใจ
ลว้ นไดร้ บั อิทธิพลมาจากพระพทุ ธศาสนา จากขอ้ ความดังกล่าวมีความสมั พันธ์กับข้อใดมากที่สดุ
1. ผใู้ ดขาดเมตตา ผนู้ ัน้ ก็จะไม่ได้รบั เมตตาจิตเช่นกัน
2. การไมท่ าร้าย เว้นจากความโกรธ
3. รักเพอ่ื นบ้านเหมอื นรกั ตนเอง
4. เวรระงับด้วยการไม่จองเวร
14. คนไทยมีน้าใจเมตตาอย่างเป็นสากล หมายความวา่ อย่างไร
1.มีความกตัญญรู คู้ ณุ ผู้อน่ื
2. แสดงออกแกค่ นทั่วไปเสมอเหมอื นกนั
3. ประพฤติยึดม่ันตามหลักพระพุทธศาสนา
4. มองปญั หาและเขา้ ใจปญั หาสงั คมตามความเป็นจริง
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 22
15. ข้อความที่กล่าววา่ “ประเพณีไทยแทแ้ ต่โบราณ ใครมาถงึ เรอื นชานตอ้ งตอ้ นรบั ” สอดคล้องหลกั ธรรมใด
1. ฉันทะ วริ ยิ ะ 1. ทาน ปิยวาจา
3. เมตตา กรุณา 4. มุทิตา อุเบกขา
16. ขอ้ ที่กล่าววา่ “สยามเมืองย้มิ ” เปน็ ผลสบื เนื่องมาจากการหล่อหลอมจากพระพทุ ธศาสนา จากขอ้ ความ
ดงั กลา่ วสอดคลอ้ งหลักธรรมใด
1. ทาน อเุ บกขา 2. เมตตา กรุณา
3. สจั จะ เมตตา 4. ปยิ วาจา มุทิตา
17. ข้อใดแสดงให้เหน็ ถึงความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาได้อยา่ งชดั เจน
1. พระสงฆ์เป็นผแู้ นะนาส่งั สอนใหท้ าความดี 2. ประเพณไี ทยมาจากพระพทุ ธศาสนา
3. คนไทยชอบพูดว่า “ไม่เป็นไร” 4. วัดเปน็ ศูนยก์ ลางของชมุ ชน
18. ขอ้ ใดแสดงถึงคุณลักษณะคาสอนของพระพทุ ธศาสนา
1. มีหลกั คาสอนเพอ่ื สนั ตภิ าพ 2. พทุ ธศาสนกิ ชนมคี วามเปน็ เอกภาพ
3. หลกั คาสอนคล้ายคลึงกนั กบั ศาสนาอน่ื 4. มพี ระสงฆเ์ ป็นผสู้ ืบทอดพระพทุ ธศาสนา
19. พระพทุ ธศาสนาไมป่ ฏเิ สธวธิ กี ารจัดระเบยี บสังคมดว้ ยการออกกฎหมายแตพ่ ระพุทธศาสนาเห็นวา่ การจัด
ระเบียบสงั คมด้วยการใหก้ ารอบรมโดยการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมใหเ้ กิดขึ้นในจติ ใจสมาชิกในสังคม
คอื ใชห้ ลักธรรมคุ้มครองโลก จากขอ้ ความนีส้ อดคลอ้ งกับหลักธรรมใด
1. เบญจศลี เบญจธรรม 2. อิทธบิ าท ๔สังหวตั ถุ ๔
3. หริ ิ – โอตตัปปะ 4. สาราณียธรรม ๖
20. ทา่ นพทุ ธทาสภิกขเุ ปน็ ผู้นาชาวบา้ นสรา้ งสวนโมกขพลาราม จังหวัดสุราษฏร์ธานี เป็นบทบาทของ
พระสงฆ์มสี ่วนในการสง่ เสรมิ สร้างสรรค์และพฒั นาชุมชนใหม้ คี วามเจรญิ ก้าวหน้า เกดิ ความสงบสขุ
ในชมุ ชน จากขอ้ ความนม้ี ีความสอดคลอ้ งหลักธรรมใด
1. หิริ – โอตตัปปะเบญจศลี เบญจธรรม 2. อปรหิ านยิ ธรรม ๗ อารยวฒุ ิ๕
3. สังคหวตั ถุ ๔สาราณียธรรม ๖ 4. พรหมวหิ าร ๔ พละ ๕
21. พระธรรรมเทศนาท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงคร้งั แรกน้นั เรียกวา่ อะไร
1. อริยสจั ๔ 2. ธมั มจกั กัปปวตั นสตู ร
3. พุทธบริษัท ๔ 4. มชั ฌมิ าปฏิปทา
22. สาเหตสุ าคญั ทท่ี าให้พระพทุ ธศาสนาในประเทศกมั พชู าเส่อื มลง คอื อะไร
1. พระมหากษัตริยไ์ มเ่ ล่ือมใสในพระพทุ ธศาสนา
2. ประชาชนขาดศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา
3. ลทั ธคิ อมมิวนิสต์และนโยบายของเฮงสมั รนิ
4. การเปลย่ี นแปลงการปกครองของกัมพูชา
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 23
23. หลกั ฐานในขอ้ ใดแสดงใหเ้ หน็ ว่าพระพุทธศาสนานกิ ายมหายานเคยเจรญิ ร่งุ เรืองในประเทศอินโดนีเซียใน
สมยั อาณาจกั รศรีวิชยั มากอ่ น
1. รูปธรรมจกั ร 2. พระพทุ ธรูปสลักหินบนเนนิ เขา
3. สถูปเจดียท์ ่พี บโดยทวั่ ไป 4. พระวิหารโบโรพุทโธ
24. พระพุทธศาสนาเรมิ่ ต้นเผยแผเ่ ขา้ สปู่ ระเทศลาวในสมยั ของกษตั รยิ ์พระองค์ใด
1. พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช 2. พระเจา้ สามแสนไทย
3. พระเจา้ ฟ้างมุ้ 4. พระเจา้ ศรจี ลุ ราช
25. ประเทศเวียดนามไดร้ บั อิทธพิ ลการนับถือพระพทุ ธศาสนาจากประเทศใด
1. จีน 2. ศรลี ังกา
3. ลาว 4. อินเดยี
26. เหตใุ ดพระพทุ ธศาสนานิกายมหายานจงึ เจรญิ รุ่งเรอื งอย่างรวดเร็วในประเทศสงิ คโปร์
1. มีหลกั คาสอนทีเ่ ป็นแบบแผน 2. ชาวสิงคโปร์สว่ นใหญ่มเี ชอ้ื สายจนี
3. ไม่มปี ัญหาด้านการเมอื ง 4. ไม่มกี ารเผยแผศ่ าสนาอ่นื
27. กษตั รยิ อ์ งค์ใดของพมา่ ที่โปรดเกล้าฯ ใหจ้ ารึกพระไตรปฎิ กลงบนแผ่นหินออ่ น
3. พระเจ้าอโนรธามงั ช่อ 2. พระเจ้าไชยเชษฐาธริ าช
3. พระเจา้ ตะเบงชะเวต้ี 4. พระเจ้ามินดง
28. กอ่ นท่พี ระพุทธเจา้ จะตรัสรู้ พระองคไ์ ด้ผจญมาร คาวา่ “มาร” ในทางพระพทุ ธศาสนาหมายถงึ สง่ิ ใด
1. พญามาร 2. เสนามาร
3. สิ่งขัดขวางไม่ไห้พระพุทธเจา้ บรรลอุ รหนั ต์ 4. ศตั รูทางศาสนา
29. พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงธรรมคร้ังแรกแก่ใคร
1. พระโมคคลั ลานะ 2. พระสารบี ตุ ร
3. โกณฑญั ญะ 4. ปญั จวัคคียท์ งั้ ๕
30. วนั ท่พี ระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมคร้ังแรกตรงกบั วันใด
1. วนั วสิ าขบูชา 2. วันอาสาฬหบูชา
3. วนั มาฆบูชา 4. วนั เขา้ พรรษา
บนั ทกึ
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 24
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2
พุทธประวัติ พทุ ธสาวกศาสนกิ ตวั อย่างและชาดก
สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐานท่ี ส.1.1 เขา้ ใจประวตั ิ ความสาคญั หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรมศาสนา
ที่ตนนบั ถือและศาสนาอ่นื มศี รัทธาทีถ่ กู ต้อง ยดึ มนั่ และปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมเพอื่ อยรู่ วมกันอยา่ งสนั ตสิ ุข
ส.1.1.5. วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวัติหรอื ประวัติศาสดาของศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตามทก่ี าหนด
ส.1.1.6. วเิ คราะหแ์ ละประพฤตติ นตามแบบอย่างการดาเนนิ ชีวิตและข้อคดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก/
เร่อื งเล่าและศาสนกิ ชนตวั อย่างตามที่กาหนด
1. การตรัสรู้
1.1 ลาดบั เหตกุ ารณก์ ่อนพระโพธิสัตว์จะตรสั รธู้ รรม
1) ศึกษาและฝกึ ปฏบิ ตั ิด้านโยคะกับสานักดาบส 2 ท่าน คือ อาฬารดาบส และ อทุ ทกดาบส จน
บรรลุญานสมาบตั ิ4ขั้นที่ 8 ซง่ึ เปน็ ขั้นสูงสดุ แตท่ รงรู้ว่ามิใช่หนทางแหง่ การตรัสร้เู ป็นพระสมั มาสัมโพธิญาณจงึ
เปลยี่ นไปใช้วธิ อี นื่
2) ประพฤติปฏิบตั ิตามแนวทางของพวกเดียรถยี ์ เพ่ือให้หลุดพ้นจากความทกุ ข์
ตามความเชอื่ ของคนในสมัยนัน้ เชน่ เปลือยกาย นอนบนหนามแหลม บรโิ ภคมลู โค เอา
ขเ้ี ถ้าทาตัว เป็นต้น
3) ทรงบาเพ็ญทุกรกิรยิ า หรือทรมานร่างกายอย่างเขม้ งวด เช่นกดั ฟนั กลั้นลม
หายใจ อดอาหาร ฯลฯ แต่เมอื่ ทรงแน่ใจวา่ ไมใ่ ช่หนทางแห่งการตรสั ร้เู ชน่ เดียวกบั วิธีต่าง
ๆ ทผ่ี า่ นมาจงึ ทรงยกเลกิ เสยี ในพุทธประวัตกิ ล่าวถึงทรงนอ้ มระลกึ ถงึ การปฏบิ ตั ิของ
พระองคป์ ระดุจพิณ 3 สายที่ ตึงเกนิ ไป หย่อนเกินไป และไพเราะพอเหมาะควรแกก้ าร
สดบั รบั ฟัง จงึ ทรงเรม่ิ ทใ่ี ช้วิธีการบาเพ็ญทางจิตอีกคร้ัง ในขณะทฝ่ี ่ายปัญจวคั คยี ม์ องวา่
ทรงทอ้ ถอยตอ่ ข้อปฏบิ ตั ิและไร้ความหวงั ในการเรยี นรู้ตามจงึ ปลีกตัวออกไป ดงั ที่พระพุทธองคท์ รงตรสั แจง้ แก่พระ
อานนทว์ ่า “...ครั้นตถาคตกลืนกนิ อาหารหยาบ คือ ข้าวสกุ และขนมสดแล้วปัญจวัคคียท์ ั้งห้ารูป พากนั หนา่ ย
ในเรา พากนั หลกี ไปดว้ ยคิดวา่ พระสมณโคดมเปน็ คนมักมาก คลายความเพยี รเสียแลว้ ...”
4 สมาธอิ อกเปน็ 3 ระดบั
1. ขณิกสมาธิ : สมาธชิ ่วั ขณะ, สมาธขิ ้ันต้นพอสาหรบั ใชใ้ นการเลา่ เรยี น
2. อุปจารสมาธิ : สมาธจิ วนจะแน่วแน่ ก่อนที่จะเข้าสู่ภาวะแห่งฌาน
3. อัปปนาสมาธิ : สมาธแิ น่วแน่ หรอื สมาธทิ ่ีแนบสนิท นิวรณ์ 5 สงบระงับไปด้วยกาลังของสมาธิ
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 25
4) ทรงบาเพ็ญเพียรทางจิต โดยใช้สตปิ ัญญาใครค่ รวญเพือ่ คน้ หาหนทางดับทกุ ข์ ทรงปฏิบตั ิแต่พอดีไมต่ งึ
ปละไม่หย่อนจนเกินไปทเ่ี รียกว่า "ทางสายกลาง" (มชั ฌิมาปฏปิ ทา) จนในที่สุดทรงบรรลุสัมมาสัมโพธญิ าณตรสั รู้
เปน็ พระสัมมาสัมพุทธเจา้
สมาบัติ ๘ กลา่ วคือ รปู ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ นั้นกม็ ีในศาสนาอืน่ ๆด้วยเช่นกนั และมมี าแต่โบราณกาล ที่แม้แต่
เหล่าพระคณาจารยข์ องพระโพธสิ ัตวก์ ่อนตรัสรู้
1.2 ลาดบั แหง่ การตรสั รู้
พระบรมโพธิสัตว์ ทรงกาจดั หม่มู าร5จนพ่ายแพห้ ลบหนไี ปจนหมดสน้ิ กบ็ งั เกดิ ความเบิกบานพระทัย แลว้
ทรงเจรญิ สมาธิภาวนา ส่ิงทตี่ รสั รู้ คือ อริยสจั สี่ เปน็ ความจริงอนั ประเสริฐ 4 ประการของพระพทุ ธเจา้ ซึ่ง
พระพทุ ธเจ้าเสด็จไปท่ีตน้ มหาโพธิ์ และทรงเจรญิ สมาธภิ าวนาจนจิตเป็นสมาธไิ ด้ฌานท่ี 4 แล้วบาเพญ็ ภาวนาตอ่ ไป
จนไดฌ้ าน 3 คอื
ปฐมยามทรงบรรลุ บุพเพนวิ าสานสุ สติญาณ สามารถ
ระลกึ อดีตชาติยอ้ นหลงั ที่พระองค์ทรงเคยบังเกดิ มาแลว้ และผู้อน่ื
ได้ไดท้ ้ังสิน้
มชั ฌิมยาม ทรงบรรลุ จุตูปปาตญาณเรียกอกี อยา่ งหนึง่ วา่
ทิพพจกั ขุญาณ สามารถหยง่ั เห็นการเวียนว่ายตายเกดิ ของสรรพ
สัตว์ ทงั้ สตั ว์ชัน้ ต่า ชนั้ กลาง ชน้ั สงู ทง้ั ในทุคตแิ ละสคุ ติตามสมควร
แก่กศุ ลและอกุศลที่ตนไดท้ าไว้ รวมความทรงเห็นการจตุ ิและอบุ ัติ
ของวิญญาณทั้งหลาย
ปจั ฉิมยาม พระบรมโพธิสตั วก์ ท็ รงบรรลุ อาสวักขยญาณดับ
สญู สนิ้ อาสวกเิ ลส ตรัสรู้เป็นพระสัพพัญญู
1.3 ความหมายของการตรัสรู้
คาวา่ “ตรัสรู้ หรอื โพธญิ าณ” เป็นศพั ท์ทาง
พระพุทธศาสนา หมายถงึ “การรู้แจ้ง” (รูอ้ ย่างแจม่ แจ้ง รอู้ ยา่ ง
ชัดเจน) เป็นอาการเขา้ ถึงความจรงิ ในธัมมจักกัปปวตั ตนสูตร
พระพุทธเจา้ ทรงตรัสอธิบายไวอ้ ย่างชัดเจนถงึ ความหมายและ
เงือ่ นไขของการตรสั ร้สู ัมมาสมั โพธญิ าณวา่ คือการรแู้ จง้ ซ่งึ ความ
จริงทเ่ี รียกวา่ อรยิ สจั ๔ กล่าวคือความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการ ไดแ้ ก่
๑. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
๒. สมทุ ัย คอื เหตุแห่งทกุ ข์ ไดแ้ ก่ตัณหา ความอยากได้ในรูป รส กลิ่น เสยี ง (กามตัณหา) ความอยากเป็นน่นั
เปน็ น่ี (ภวตณั หา) ความไม่อยากเปน็ นน่ั เปน็ น่ี (วิภวตัณหา)
5 มาร 5 1. กิเลสมาร (มารคอื กเิ ลส) 2. ขนั ธมาร (มารคอื เบญจขันธ์, ขนั ธ์ 5) 3. อภสิ งั ขารมาร (มารคืออภิสงั ขาร
4. เทวปุตตมาร (มารคอื เทพบุตร 5. มัจจมุ าร (มารคอื ความตาย
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 26
๓. นโิ รธ คือความดับทุกข์
๔. มรรค คือ วิธีปฏิบตั ิเพ่อื ไปสู่การดบั ทกุ ข์ มี ๘ ประการ
การรู้อรยิ สัจ ๔ น้ี มเี ง่อื นไขวา่ ตอ้ งประกอบดว้ ยญาณ ๓ จึงจะเรียกไดว้ า่ เปน็ การตรสั รู้ กล่าวคือต้องเป็นการ
รู้อริยสจั แต่ละขอ้ ครบทงั้ ๓ รอบ (ปรวิ ัฏ ๓ ) รวมท้ังหมดเปน็ ๑๒ รายการ ได้แก่
๑. สัจจญาณ การหย่ังร้สู ัจจะ หรือความจริงของอรยิ สัจแต่ละขอ้ ตามที่มนั เปน็ จรงิ คือรู้ว่า ทุกข์ คอื เช่นนี้
สมุทัย คือ เช่นนี้ นโิ รธ คอื เชน่ นี้ และ มรรค คอื เชน่ น้ี
๒. กิจจญาณ การหยัง่ รู้กจิ หรอื หน้าท่ีที่ต้องทาในอริยสัจแต่ละขอ้ คอื รวู้ า่ ทกุ ข์ นีค้ วรกาหนดรสู้ มทุ ัย น้ีควร
ละเสีย นโิ รธ นค้ี วรทาให้แจม่ แจง้ และ มรรค ควรปฏบิ ตั ิ
๓. กตญาณ การหยงั่ ร้สู ง่ิ อันทาเสร็จแล้วในอรยิ สจั แตล่ ะข้อ คือ รูว้ ่า ทุกข์ นไ้ี ด้กาหนดร้แู ล้ว สมทุ ยั นไ้ี ด้ละ
เสียแลว้ นิโรธ นี้ได้ทาใหแ้ จ้งแลว้ และมรรค นไี้ ดป้ ฏิบตั ิอย่างถึงพรอ้ มแล้วเมื่อไดร้ ้แู จ้งจนครบ ๑๒ รายการดังนแ้ี ลว้
จงึ ทรงปฏญิ าณพระองคเ์ องวา่ ได้ตรสั รู้อนตุ ตสมั มาสัมโพธิญาณ บรรลุเป็นพระสมั มาสัมพุทธเจา้
1.4 ทรงเสวยวิมตุ ตสิ ขุ
สัปดาห์ท่ี 1 หลังจากทพ่ี ระพุทธองค์ตรสั ร้ใู ต้ต้นพระศรมี หาโพธ์ิพระองคย์ งั คงประทับทบทวนหลกั ธรรม
ต่าง ๆ ทีต่ รสั ร้ตู ลอดท้ัง 7 วัน
สัปดาห์ที่ 2 พระพุทธองค์ทรงยนื ทอดพระเนตรพจิ ารณาตน้ พระศรีมหาโพธ์ิเป็นเวลา 7 วัน
สัปดาห์ที่ 3 พระพทุ ธองค์ทรงเดินจงกรมขน้ึ ระหว่างต้นพระศรีมหาโพธก์ิ ับโพธบิ ลั ลังก์จากตะวันออกไป
ยงั ตะวนั ตกจาก
สปั ดาหท์ ี่ 4 พระพทุ ธองคเ์ สด็จไปทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนอื ของต้นพระศรีมหาโพธิ์ รตั นฆรเจดยี ห์ รือ
เรือนแก้วทรงพจิ ารณาพระอภธิ รรมปฎิ ก
สปั ดาห์ที่ 5 พระพุทธองค์ประทับใต้ตน้ ไทร ณ บรเิ วณซ่ึงเป็นทีอ่ าศัยของคนเลย้ี งแพะ ทรงตอบปญั หา
ของพราหมณ์หุหกุ ชาติ ธิดาพญามารวสวัตดี คอื นางตณั หานาอรดี และนางราคา มายั่วยวนด้วยวธิ ีต
สปั ดาหท์ ี่ 6 พระพทุ ธองคป์ ระทบั ใตต้ น้ มจุ จลินทห์ รอื ต้นจิก คร้ังนั้นได้เกิดพายฝุ นตกลงมาตลอดทัง้ 7
วนั 7 คนื พญานาคนามว่า “มจุ จลนิ ท์” จึงขน้ึ จากบาดาลมาขนดล้อมรอบพระวรกาย
สัปดาห์ท่ี 7 พระพุทธองคม์ ่มีกจิ ด้วยพระกระยาหาร ดว้ ยทรงยับยัง้ กจิ ท้ังปวงนี้อย่ดู ้วยฌานสขุ มรรค
สขุ และผลสุข ในสัปดาห์สุดทา้ ยของการเสวยวิมุตตสิ ุข พระพทุ ธองค์ประทับใตต้ น้ ราชายตนะ(ต้นเกด)
1.5 พระพุทธองค์ทรงพิจารณาบัว 4 เหลา่ พระพุทธองคไ์ ด้ทรงตรึกตรอง ทรง
คานงึ วา่ ธรรมท่ีพระองค์ตรัสรู้นี้ ลึกซ้งึ มาก ยากท่ีสตั วอ์ นื่ จะร้ตู าม จงึ ยงั ทรงมิได้รับคาทูล
อารธนาทีเดยี ว แต่ได้ทรงพจิ ารณาโดยพระญาณก่อนว่า เวไนยสตั ว์ นัน้ จาแนกเหล่าทีจ่ ะ
รองรบั พระสทั ธรรมไดเ้ พียงใด จานวนเท่าใด ทรงจาแนกดว้ ยพระญาณวา่ เหลา่ เวไนยสตั ว์
บุคคลทจี่ ะรับพระสทั ธรรมไดแ้ ละไม่ไดม้ อี ยู่ ๔ จาพวก เปรียบได้ดงั ดอกบวั สเี่ หล่า อนั
หมายถงึ ปัญญา วาสนา บารมี และอุปนิสัย ที่สร้างสมมาแตอ่ ดตี ของบุคคล ซง่ึ บัว ๔ เหลา่ น้นั
คอื
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 27
ซ่ึงบัวแต่ละประเภทนนั้ เปรยี บได้ดังนี้
๑. อคุ ฆฏติ ัญญู คือ พวกทีม่ สี ตปิ ัญญาฉลาดเฉลียว เปน็ สมั มาทิฏฐิ เมอื่ ไดฟ้ ังธรรมกส็ ามารถรู้และเข้าใจใน
เวลาอนั รวดเร็วเปรยี บเสมอื นดอกบัวทอ่ี ยู่พน้ นา้ เม่ือต้องแสงอาทิตย์กเ็ บ่งบานทันที
๒. วปิ จติ ัญญู คอื พวกทม่ี ีสติปัญญาปานกลาง เป็นสัมมาทิฏฐิ เมือ่ ไดฟ้ งั ธรรมแลว้ พิจารณาตามและได้รับ
การอบรมฝึกฝนเพิ่มเติมจะสามารถรแู้ ละเข้าใจได้ในเวลาอันไมช่ า้ เปรียบเสมอื นดอกบัวท่ี
๓. เนยยะ คอื พวกทม่ี ีสติปัญญานอ้ ย แต่เป็นสัมมาทฏิ ฐิเมือ่ ได้ฟังธรรม
แลว้ พิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มอยูเ่ สมอ มคี วามขยันหมน่ั เพียรไม่
ยอ่ ท้อ มีสตมิ นั่ ประกอบดว้ ยศรัทธาปสาทะ ในท่ีสดุ ก็สามารถรู้และเขา้ ใจได้ในวัน
หนึ่งขา้ งหนา้ เปรียบเสมือนดอกบัวท่อี ยู่ใตน้ ้า ซง่ึ จะค่อย ๆ โผล่ข้นึ เบง่ บานไดใ้ นวัน
หน่งึ
๔. ปทปรมะ คือ พวกท่ีไรส้ ตปิ ญั ญา และยงั เป็นมิจฉาทฏิ ฐิแม้ได้ฟังธรรม
ก็ไม่อาจเขา้ ใจความหมายหรอื รตู้ ามได้ ทง้ั ยังขาดศรัทธาปสาทะ ไรซ้ ่งึ ความเพียร
เปรยี บเสมอื นดอกบวั ท่ีจมอยกู่ บั โคลนตม ยงั แต่จะตกเป็นอาหารของเต่าปลา ไมม่ ี
โอกาสโผล่ขึน้ พ้นนา้ เพอ่ื เบง่ บาน
1.6 ทรงแสดงธรรม ทรงมีพระกรุณาธิคณุ ระลกึ ถึง อาฬารดาบสและอุททกดาบส ว่ามีกิเลสเบาบางสามารถตรัสรู้
ไดท้ นั ที แตท่ ่านทั้ง ๒ ไดต้ ายแลว้ จงึ ทรงระลกึ ถงึ ปัญจวัคคยี ์ ไดท้ รงแสดงพระธรรมเทศนาแกป่ ัญจวัคคยี ์ ทั้ง 5 คือ
โกณฑัญญะ วปั ปะ ภทั ทิยะ มหานามะ และอสั ชิ เป็นผู้มีอุปนสิ สัยจะตรัสรู้ธรรมทัง้ มีอุปการะแกพ่ ระองค์มาก
เพราะท่าเหล่านัน้ เปน็ ผู้อุปฐากพระพุทธเจ้าเมอ่ื คร้งั ยงั ทรงบาเพ็ญทกุ ข์กิริยาอยู่
จึงทราบดว้ ยพระญาณว่า หลีกไปบาเพ็ญหนทางเพอ่ื ความหลุดพ้นท่ีปา่ อิสปิ ตนมฤคทายวนั เหล่าปญั จวัคคยี ์
มองเห็นพระพุทธเจ้าเสด็จมาแตไ่ กล กน็ ัดหมายกันวา่ จะไมท่ าการลุกตอ้ นรับ ไมใ่ หท้ าการอภวิ าทและไม่รับบาตร
จวี ร แต่ให้ปูอาสนะไว้ ถา้ ทรงประสงค์จะนัง่ ก็นงั่ แต่ถา้ ไม่ประสงคก์ แ็ ล้วไป
ครน้ั พระองคเ์ สด็จถึงต่างกล็ ืมกตกิ าท่ีต้ังกันไว้ พากันลกุ ขึ้นและอภิวาทกราบไหว้ และนาน้าลา้ งพระบาท
ต่งั รองพระบาท ผ้าเชด็ พระบาทมาคอยปฏิบตั ิ พระพุทธเจ้าไดเ้ สดจ็ ประทับบนอาสนะ ทรงล้างพระบาทแล้ว เหล่า
ปญั จวคั คียก์ ็เรยี กพระองคด์ ้วยถอ้ ยคาตีเสมอคอื เรียกพระองค์วา่ อาวโุ ส ทีแ่ ปลวา่ ผู้มีอายุ หรอื แปลอย่าง
ภาษาไทยว่า “คณุ ” โดยไม่มคี วามเคารพ
พระองค์ตรสั หา้ มและทรงบอกวา่ พระองคท์ รงตรัสรู้แลว้ จะแสดงอมตธรรมใหท้ า่ นทง้ั หลายฟงั เม่ือทา่ น
ทั้งหลายตัง้ ใจฟงั และปฏบิ ัติโดยชอบก็จะเกิดความร้จู นถึงท่ีสดุ ทกุ ข์ได้ เหล่าปญั จวัคคียก์ ก็ ราบทูลคัดคา้ นว่า เมื่อ
ทรงบาเพญ็ ทุกรกริ ยิ ายังไมไ่ ด้ตรัสรู้ เมอื่ ทรงเลกิ เสียจะตรสั รูไ้ ด้อย่างไร พระพทุ ธเจ้ากย็ งั ตรสั ยืนยันเช่นนน้ั และ
เหลา่ ปญั จวัคคยี ์กค็ งคัดค้านเช่นนน้ั ถึง ๓ ครัง้ พระพทุ ธองค์จงึ ตรัสใหร้ ะลึกว่า แตก่ อ่ นน้พี ระองค์ได้เคยตรสั พระ
วาจาเช่นนห้ี รอื ไม่ เหล่าปญั จวัคคยี ์ก็ระลกึ ไดว้ ่า พระองค์ไม่เคยตรัสพระวาจาเช่นนี้ เมอ่ื เป็นเชน่ น้จี งึ ได้ยนิ ยอมเพ่อื
จะฟังพระธรรม พระพทุ ธเจา้ เมอ่ื ทรงเห็นว่า เหลา่ ปญั จวัคคยี ์พากนั ตง้ั ใจเพ่ือจะฟงั พระธรรมของพระองค์แลว้
พระธรรมที่ พระพทุ ธองค์ทรงเทศนาในครงั้ น้ีมี ชือ่ ธรรมจักกัปปวัตนสตู ร ซง่ึ มี อริยสจั ๔ หรือความจริง
อันประเสรฐิ ๔ ประการได้แก่
๑. ทุกข์ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 28
๒. สมุทัย เหตุใหเ้ กิดทกุ ข์
๓. นโิ รธ ความดับทกุ ข์
๔. มรรค ข้อปฎิบตั ิให้ถงึ ความดับทุกข์
หลังจากแสดงพระธรรมเทศนาแล้ว ท่านโกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรม เป็นคนแรก ได้กราบทูลขอบวช
และพระพทุ ธองค์ก็ทรงอนญุ าต โดยแบบ เอหภิ กิ ขุอปุ สัมปทา นบั เป็น "ปฐมสาวก" ของพระพุทธเจ้าดังนน้ั ในวนั นี้
จึงเป็นวันแรกที่มี พระรัตนตรัยครบองค์สาม คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เนื่องจากพระพุทธองค์ทรง
เทศนาเป็นกัณฑ์แรก จึงเรียกเทศฯกัณฑ์น้ีว่า "ปฐมเทศนา" หรืออีกนัยหนึ่งอาจจะกล่าวได้ว่านับเป็นวันแรก ที่
พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระพทุ ธศาสนาจะเห็นไดว้ า่ ปรากฏการณส์ าคัญ ๆ ในวนั น้มี ถี ึง ๔ ประการ ด้วยกันคอื
๑. เป็นวนั แรกที่พระพุทธองค์ทรงแสดงปฐมเทศนา
๒. เป็นวันแรกท่พี ระพุทธองค์ทรงได้ปฐมสาวก
๓. เป็นวนั แรกที่พระสงฆเ์ กดิ ขึ้นในโลก
๔. เป็นวันแรกที่บังเกิดรัตนะครบสาม เป็นพระรัตนตรัย คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตนะ พระสังฆ
รตั นะ
พระพุทธรูปปางแสดงธรรมจกั ร ลกั ษณะประทบั (น่ัง) ขดั สมาธริ าบ พระหตั ถซ์ ้ายทาประคองพระหัตถ์ขวา
วางบนพระเพลา (ตกั ) หรือถือชายจีวร พระหตั ถ์ขวายกขน้ึ เสมอพระอรุ ะ (อก) จบี น้ิวพระหตั ถ์ เปน็
เคร่อื งหมายว่าพระธรรมจักรมีเครือ่ งประกอบทาเป็นรูปวงล้อ (ธรรมจกั ร) กับรูปกวางไวต้ รงพุทธบลั ลังก์ และ
บางทีมปี ัญจวคั คยี ์พนมมือดว้ ย
2. พทุ ธสาวก สาวกิ า ชาวพุทธตวั อยา่ ง
2.1 พระสารบี ุตรประวัติเดิมชอ่ื อุปตสิ สะ เปน็ บุตรของวงั คันตพราหมณ์ มารดาชอื่ สารี วันหน่งึ อปุ ติสสะ
และโกลติ ะไปเที่ยวเล่นในงานร่นื เริงประจาปีในกรงุ ราชคฤห์ ขณะชมมหรสพอยนู่ ้ันกเ็ กิดความสลดใจขึน้ มาอย่าง
เดยี วกนั วา่ กจิ กรรมเหล่านช้ี ่างไร้สาระส้นิ ดี หาประโยชนแ์ ก่นสารมไิ ดเ้ ลย ควรจะหาสง่ิ ใดเปน็ เคร่อื งยดึ เหนีย่ วและ
หลุดพน้ จากบ่วงเช่นน้ี อีกสองวันจึงพากนั ไปบวชในสานักของสญั ชยั เวลฏั ฐบตุ ร ณ กรงุ ราชคฤหน์ ัน้ เอง
แนวความคิดทางปรัชญาของสญั ชยั เวลัฏฐบุตรเรียกวา่ “อมราวกิ เขปวาท” หมายถึง ลทั ธปิ รชั ญาท่ถี ือวาทะหลบ
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 29
เลย่ี งไมแ่ นน่ อนเป็นหลักปรชั ญาที่ไม่ยอมยืนยัน และปฏเิ สธสิ่งใด ไมว่ ่าจะเป็นโลกหน้า ผลวบิ ากกรรม การเวยี นว่าย
ตายเกิด
และสาเร็จการศึกษาในสานกั นนั้ โดยใชเ้ วลาเพยี งสองสามวนั เม่อื จบแลว้ กอ็ อกจากสานกั แตย่ ังไมพ่ ึงพอใจเพราะ
เห็นวา่ ความรู้จากสานักนั้นหาใชท่ ่ีตนคน้ หาไม่ จึงตกลงแยกกันไปตามหาครผู ู้สามารถสอนความจริงของโลก เวลา
น้ัน พระอสั สชเิ ถระอนั เป็นหนึง่ ในปญั จวคั คีย์ หลงั จากได้ฟงั ธรรมจาก พระพทุ ธองค์ จนบรรลอุ รหันต์แลว้ วนั หนึง่
ทา่ นถือบาตรและจีวร ไปสกู่ รุงราชคฤห์เพือ่ บณิ ฑบาตแต่เช้าตรู่ ท่านอุปติสสะ เห็น
อาการของพระอสั สชแิ ล้ว เกดิ ความเล่ือมใสอย่างมาก ดว้ ยคิดว่า คงเป็นพระ
อรหันต์รปู หน่งึ เป็นแน่ จึงคดิ ท่จี ะถามธรรม และถามวา่ ท่านบวชอุทิศใคร ใครเปน็
ศาสดาของท่าน
แตใ่ นเวลานนั้ เป็นเวลาท่ีท่านพระอัสสชิ บิณฑบาตอยู่ ท่านอปุ ตสิ สะ จงึ รอ
เวลาให้สมควร จงึ ได้ตามท่านพระอสั สชเิ ถระไปขา้ งหลัง รอคอยโอกาสอยู่ แลว้
สอบถาม เมื่อทา่ นพระอสั สชิ ฉนั เรียบรอ้ ยแลว้ ท่านอุปติสสะ จึงเข้าไปถาม สนทนา
ดว้ ยคาทเ่ี หมาะสมวา่ “ผวิ พรรณ ร่างกายของทา่ นผอ่ งใสยิ่งนกั ทา่ นบวชอุทิศใคร
ใครเป็นศาสดาของท่าน และทา่ นชอบใจธรรมของใคร” พระอัสสชิ แสดงความ
ถอ่ มตน ดว้ ยกลา่ ววา่ ท่านเป็นผ้บู วชใหม่ไมน่ าน เพง่ิ เขา้ มาสู่ธรรมวนิ ัยน้ี เราจะ
แสดงธรรมโดยพิสดาร คือ โดยละเอยี ดใหท้ ่านฟงั พระอัสสชิเถระได้แสดงความลึกซง้ึ ในคาสอน ของพระผูม้ พี ระ
ภาคเจ้า วา่ “ท่านกล่าวบทอนั ลกึ ซงึ้ ละเอียดทุกอย่าง เปน็ เครอ่ื งฆ่าลูกศร คอื ตัณหา เปน็ เครอื่ งบรรเทาความ
ทกุ ข์ท้ังมวล วา่ ธรรมเหลา่ ใด มเี หตเุ ป็นแดนเกดิ พระตถาคตเจา้ ตรัสเหตุแห่งธรรมเหลา่ น้ัน และความดับแหง่
ธรรมเหลา่ นนั้ พระมหาสมณะเจา้ มปี กติตรัสอยา่ งน้ี” เม่ืออปุ ติสสะได้ฟังก็ได้บรรลุโสดาบัน หลังจากนน้ั อปุ ตสิ สะ
กราบลาพระอัสสชิเถระ6 แล้วนาธรรมะทไ่ี ด้รบั ฟงั มา ไปบอกเพอ่ื นสนทิ คือโกลติ ะ จนไดบ้ รรลโุ สดาบัน เชน่ เดียวกัน
ทงั้ สองได้ไปชวนสัญชยั ปรพิ าชก ให้ไปเข้าเฝ้าพระพทุ ธเจ้า แตส่ ญั ชยั ปรพิ าชกปฏเิ สธ ทงั้ สองจึงไดพ้ าปรพิ าชก 250
คน ไปฟงั ธรรมจากพระพทุ ธองค์ หลงั จากฟงั ธรรมครัง้ นัน้ ปรพิ าชก 250 คนบรรลุอรหัตผล แตอ่ ุปติสสะและโกลิ
ตะ ยงั คงบรรลุเพยี งโสดาบนั เช่นเดมิ พระพทุ ธเจา้ ทรงบวชให้ทั้งหมดด้วยวธิ เี อหภิ กิ ขุอุปสมั ปทา ภายหลงั บวชใน
พระพทุ ธศาสนาแลว้ ท่านอุปตสิ สะมีชือ่ เรียกใหม่ว่า “สารบี ุตร"
คณุ ธรรมที่ควรเอาเป็นแบบอยา่ ง : 1. เปน็ ผู้มีปัญญาเลิศ 2. เปน็ ผู้มขี นั ติเปน็ เลิศ 3. เปน็ ผ้มู ีความกตัญญกู ตเวที
เป็นเลิศ 4. เป็นผ้มู ีความออ่ นน้อมถอ่ มตน
2.2 พระโมคคลั ลานะพระมหาโมคคัลลานะ7 เปน็ บตุ รพราหมณใ์ นหมบู่ า้ นโกลิตคาม ได้ช่อื วา่ “โกลิตะ”
ตามชอื่ ของหมู่บา้ น มารดาชอื่ โมคคัลลี คนทัว่ ไปจึงเรยี กท่านว่า “โมคคลั ลานะ” ตามช่ือของมารดา ทา่ นเป็นสหาย
6 ท่านพระสารีบุตรนั้น จาเดมิ แตก่ าลที่ทา่ นฟงั ธรรมในสานักของพระอัสสชเิ ถระแลว้ บรรลโุ สดาปตั ติผล สดบั ว่า " พระ
เถระยอ่ มอยู่ในทิศใด" กป็ ระคองอัญชลีไปทางทิศนั้น นอนหนั ศรี ษะไปทางทศิ นั้น
7 พระพุทธเจา้ ทรงแสดงอบุ ายแกง้ ่วงแกพ่ ระโมคคลั ลานะ 1.โมคคลั ลานะ เม่อื เธอมสี ญั ญาอย่างไรความงว่ งน้ันย่อม
ครอบงาได้ เธอควรทาในใจถึงสญั ญานน้ั ใหม้ าก 2.เธอควรตรึกตรองถงึ ธรรมทไ่ี ด้เรยี นมาแล้ว 3. เธอควรสาธยายธรรมตามทีไ่ ด้ฟัง
และเรยี นแล้วโดยพสิ ดาร 4.เธอควรยอน(แยง) หทู ้งั สองขา้ งและลบู ตัวด้วยฝา่ มือ 5. เธอควรลกุ ขึ้นยนื ลบู นัยนต์ าด้วยน้า เหลยี วดู
ทิศท้ังหลาย แหงนดนู ักขตั ฤกษ์ 6.เธอควรทาในใจถงึ อาโลกสญั ญา คือ ความสาคญั ในแสงสว่าง 7.เธอควรอธิษฐานจงกรม กาหนด
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 30
ทีร่ กั กนั มากับอุปตสิ สมาณพ (พระสารีบุตร) เท่ียวแสวงหาความสุขความสาราญ ตามประสาวยั รุน่ และพอ่ แมม่ ี
ฐานะร่ารวย นอกจากนยี้ ังมีอปุ นสิ ยั ใจคอเหมือนกัน และยังได้ออกบวชพร้อมกัน เมื่ออปุ ติสสมาณพไดไ้ ปพบ
พระอัสสชิในกรงุ ราชคฤห์ ได้ฟัง "พระคาถาเย ธัมมา" จากพระอัสสชิ ทาให้
ไดด้ วงตาเหน็ ธรรม คอื บรรลโุ สดาบัน อปุ ติสสมาณพไดน้ าคาสอนของ
พระอัสสชไิ ปแจ้งให้โกลิตมาณพทราบ โกลิตมาณพกไ็ ดด้ วงตาเห็นธรรม
เช่นเดียวกนั ทงั้ สองมาณพได้ไปเฝ้าพระพทุ ธเจ้าที่วัดเวฬุวนาราม และได้ทลู
ขออุปสมบทต่อพระพุทธเจ้า พระองคก์ ไ็ ด้ทรงอนุญาตใหอ้ ปุ สมบทเป็นภกิ ษุ
โกลติ มาณพซง่ึ อปุ สมบทเป็นพระมหาโมคคัลลานะ บาเพญ็ ความเพยี รได้ 7
วนั ก็สาเร็จพระอรหนั ต์ สว่ นอปุ ติสสมาณพซงึ่ อปุ สมบทเป็นพระสารบี ุตร
อุปสมบทได้ 15 วนั จงึ สาเร็จพระอรหันต์
ในวันที่พระสารีบตุ รบรรลพุ ระอรหนั ต์ ตรงกบั วันขึน้ 15 ค่า เดอื น
มาฆะ ในคืนวนั นน้ั พระพุทธเจ้าทรงประทานพระโอวาทปาติโมกขแ์ ก่จาตุ
รงคสันนิบาต จากน้ัน พระพทุ ธเจา้ ทรงประกาศแตง่ ตั้งพระสารีบุตรเป็นอคั ร
สาวกเบอ้ื งขวา เลิศกวา่ ผอู้ ื่นในทางปัญญา พระมหาโมคคัลลานะเป็นอัคร
สาวกเบื้องซา้ ย (ทุตยิ สาวก) เลิศกวา่ ผู้อ่นื ในทางฤทธ์ิ
พระโอวาท 3 ขอ้
“ โมคคัลลานะ เธอจงจาไว้ในใจวา่ เราจะไม่ชงู วง คอื ความถือตวั วา่ เราเปน็ นนั่ เปน็ น่ี เข้าไปสสู่ กุล เพราะ
ถ้าภกิ ษถุ อื ตวั เขา้ ไปสสู่ กุลด้วยคิดว่าเขาจะต้องตอ้ นรับเราอย่างน้นั อย่างน้ี ถ้าคนในสกลุ เขามีการงานมาก กจ็ ะเกิด
อดิ หนาระอาใจ ถ้าเขาไมใ่ สใ่ จตอ้ นรบั เธอก็จะเก้อเขนิ คิดไปในทางต่าง ๆ เกดิ ความฟงุ้ ซ่านไมส่ ารวม จติ ก็จะหา่ ง
จากสมาธิ
โมคคลั ลานะ เธอจงทาไวใ้ นใจว่า เราจักไม่พดู คาอันเปน็ เหตุเถียงกนั เพราะถ้าเถยี งกันก็จะต้องพดู มาก และ
ผิดใจกนั เปน็ เหตุให้ฟุ้งซ่านไม่สารวม และจติ ก็จะห่างจากสมาธิ
โมคคลั ลานะ ตถาคตไมส่ รรเสรญิ การคลุกคลีด้วยประการท้ังปวง แตก่ ไ็ มต่ าหนิการคลุกคลีไปทุกอย่าง คอื
เราไมส่ รรเสรญิ การคลกุ คลีกับหม่ชู น ทงั้ คฤหัสถ์และบรรพชิต แตเ่ ราสรรเสริญการคลกุ คลีด้วยเสนาสนะ อันสงบ
สงดั ปราศจากเสียงออื้ องึ ควรแก่การหลีกเรน้ อยู่ตามสมณวิสยั ”
คณุ ธรรมที่ควรเอาเป็นแบบอย่าง : 1. เปน็ ผู้มฤี ทธ์ิมาก 2. เปน็ ผูม้ ีกุศโลบายในการสอนคน
3. มีความเพียรเพื่อละกเิ ลส
2.3 พระเจา้ พมิ พิสาร พระเจ้าพิมพิสาร เปน็ กษัตริย์ครองเมืองราชคฤหแควน้ มคธ สบื ต่อจากพระราช
บิดา เม่อื เจ้าชายสิทธัตถะออกผนวชแลว้ ไดเ้ สด็จไปประทบั อยทู่ ปี่ ณั ฑวบรรพต แคว้นมคธ เมื่อพระเจา้ พิมพิสารได้
ขา่ วจงึ เสด็จไปนมัสการ และชกั ชวนให้สละเพศบรรพชติ มาครองราชยด์ ้วยกนั เมอ่ื ได้รบั คาปฏิเสธจงึ ขอคาปฏญิ ญา
วา่ หากทรงคน้ พบสิง่ ทแี่ สวงหาเม่ือใด ขอให้มาสอนพระองค์เป็นคนแรก
หมายวา่ จกั เดินกลับไปกลับมาสารวมอนิ ทรยี ์ มีจิตไม่คิดไปภายนอก 8. เธอควรสาเร็จสหี ไสยาสน์ คอื นอนตะแคงขา้ งขวา เท้า
เหลือ่ มเท้า มีสติสมั ปชัญญะ ทาความหมายในอันทีจ่ ะลุกขนึ้ ไว้ในใจ พอต่ืนขน้ึ แลว้ รบี ลุกขึ้น
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 31
ดว้ ยเหตนุ ้ี พระพุทธเจ้าเมอื่ โปรดปญั จวคั คยี ์โปรดพระยสะและสหายมพี ระอรหันต์ จานวน ๖๐ องค์ ทรง
ส่งไปประกาศพระศาสนายังแคว้นตา่ ง ๆ แล้วพระองคจ์ งึ เสด็จมงุ่ ตรงไปยงั เมืองราชคฤห์ แควน้ มคธ เพอ่ื เปลือ้ งคา
ปฏิญญาทป่ี ระทานใหก้ ับพระเจ้าพมิ พิสารนน้ั เอง
ความปรารถนาของพระเจา้ พิมพสิ าร 5 ข้อ
๑. ขอใหไ้ ด้ครองราชย์สืบสนั ตตวิ งศ์
๒. ขอใหส้ มเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ เสด็จมายงั แวน่ แควน้ ของพระองค์
๓. ขอพระองคจ์ งไดเ้ ฝ้าสมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า
๔. ขอสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้าตรสั เทศนาโปรดพระองค์
๕. ขอพระองค์จงรทู้ ว่ั ถึงธรรมของสมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้า
พระพทุ ธองคท์ รงพจิ ารณาเหน็ ว่า พระเจา้ พิมพิสารเป็นผู้นาแควน้ ใหญ่ ถ้าพระเจา้ พิมพิสารทรงเล่อื มใสใน
พระพุทธศาสนาแล้ว ประชาชนคนอื่น ๆ ก็จะดาเนนิ รอยตาม ทรงดาริเชน่ นีจ้ ึงเสด็จไปยังเมืองราชคฤหส์ มยั นนั้ พระ
เจา้ พมิ พสิ ารและชาวเมอื งทรงเคารพนับถือชฏลิ สามพน่ี อ้ งอยู่ พระองคจ์ ึงตอ้ งไปโปรดสามพน่ี ้องกอ่ นเม่อื พระพทุ ธ
องค์ทรงแสดงธรรมโปรดชฎลิ สามพน่ี ้องสละลทั ธิความเชื่อดังเดมิ น้ันมาเปน็ สาวกของพระองค์หมดแล้ว กพ็ าสาวก
ใหมจ่ านวนพันรูปไปพกั ยงั สวนตาลหนมุ่ ใกลเ้ มืองราชคฤห์
เม่อื พระเจา้ พมิ พิสารไดส้ ดับข่าวน้ี จึงเสด็จพร้อมประชาชนจานวนมากไปยงั สวนตาลหนุ่ม ไดเ้ ห็นอาจารย์
ของตนน่งั คกุ เขา่ คองอัญชลตี อ่ พระพุทธเจ้าประกาศเหตุผลท่ีสละลทั ธิความเชื่อถือเดิมหนั มานับถือพระพทุ ธศาสนา
ก็หายสงสัย ฟงั ธรรมของพระพทุ ธเจา้ แล้วนับถือพระรตั นตรัย และถวายภัตตาหารแดพ่ ระพทุ ธเจ้า พร้อมภิกษสุ งฆ์
ทพ่ี ระราชวังในวนั รุ่งข้ึนหลงั จากนัน้ ไม่กีว่ นั ก็ถวายสวนไผน่ อกเมืองให้เปน็ วดั แห่งแรกในพระพทุ ธศาสนา เรียกว่า
วัดเวฬวุ ัน เวฬุวนั นี้เรียกอีกอย่างหนงึ่ ว่า กัลปทนิวาปสถาน คอื สถานทใี่ หเ้ หยอ่ื แก่
กระแต พระเจ้าพิมพสิ ารเปน็ คนแรกที่ทาพธิ กี รวดน้าอทุ ศิ สว่ นกุศลให้ผตู้ าย
เรอื่ งมีอยู่ว่า หลงั จากถวายวัดเวฬวุ ันแลว้ คนื น้ัน พระเจา้ พิมพสิ ารทรงฝนั
ร้าย เหน็ พวกเปรตมารา่ ร้องอยตู่ อ่ หนา้ นา่ เกลยี ดนา่ กลวั มาก รงุ่ เช้าขน้ึ มาพระองค์
เสด็จไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เมอ่ื ทรงทราบวา่ เปรตเหล่าน้ันเคยเป็นพระญาตขิ อง
พระองคม์ าขอส่วนบญุ และได้รับคาแนะนาให้กรวดนา้ อุทิศส่วนกุศลให้พวกเขาวัน
ตอ่ มาพระเจา้ พิมพสิ ารจึงได้นิมนต์พระพทุ ธเจ้าพรอ้ มภกิ ษุสงฆไ์ ปเสวยภตั ตาหารใน
พระราชวงั แลว้ กรวดนา้ อุทิศสว่ นกุศลแก่พวกเปรตเหล่านน้ั ตกดกึ คืนนัน้ พวกเปรต
มาปรากกฏโฉมอกี แต่คราวนห้ี นา้ ตาย้ิมแยม้ แจ่มใสขอบคณุ ที่แบง่ สว่ นบณุ ใหแ้ ล้วก็
อนั ตรธานหายวบั ไป
เมือ่ หนั มานบั ถือพระพุทธศาสนาแล้ว พระเจ้าพมิ พิสารทรงนานบุ ารุง
พระพทุ ธศาสนาอย่างเข้มแขง็ จนแวน่ แควน้ ของพระองค์มชี อ่ื เสียงขจรขจายไปท่ัววา่ เป็นดนิ แดนแหง่ พระธรรม
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 32
พระเจา้ พิมพิสารเปน็ พระโสดาบัน8 มีพระอคั รมเหสีพระนามว่า โกศลเทวี หรอื เวเทหิ เปน็ พระกนษิ ฐาของ
พระเจ้าปเสนทิโกศล พระเจ้าปเสนทโิ กศลก็ได้พระกนิษฐาของพระเจ้าพมิ พิสารเป็นพระมเหสีเช่นกนั พระเจ้าพมิ
พิสารมพี ระโอรสนามวา่ อชาตศตั รู (ผูเ้ กิดมาไม่เปน็ ศตั รู) ในชว่ ยตง้ั ครรภพ์ ระนางเวเทหิทรงแพ้พระครรภ์ใครเ่ สวย
พระโลหิตของพระสวามี โหราจารย์ทานายวา่ พระโอรสองค์น้จี ะทาปิตุฆาต แตพ่ ระเจา้ พิมพิสารก็มิทรงแยแสตอ่ คา
ทานาย เม่อื พระโอรสประสตู ิแลว้ ทรงใหก้ ารศึกษาอบรมเป็นอย่างดี เจา้ ชายนอ้ ยกอ็ ยูใ่ นพระโอวาทเป็นอย่างดี แต่
พอเจา้ ชายนอ้ ยได้รู้จกั พระเทวทตั ถูกพระเทวทตั ลา้ งสมองให้เหน็ ผิดเปน็ ชอบ
คร้งั แรกพระเจา้ อชาตศัตรปู ลงพระชนมพ์ ระราชบดิ าดว้ ยอาวุธแตไ่ มส่ าเร็จ พระเทวทัตต์จึงยุยงให้พระเจา้
อชาตศัตรูปลงพระชนม์พระเจ้าพมิ พสิ ารด้วยการขังพระองคไ์ วใ้ นห้องมดื และใหอ้ ดพระกระยาหาร แมพ้ ระวรกาย
จะทรุดโทรมผ่ายผอมอย่างหนกั แต่พระเจ้าพิมพิสารกย็ งั มีพระชนมชพี อยู่ไดด้ ้วยการต้ังจิตเดนิ จงกรม แต่พระเจา้
อชาตศัตรยู ังคงทาบาปหนกั ซ้าอีกด้วยการรบั สั่งให้เจา้ พนกั งานกรดี ฝา่ พระบาทของผเู้ ป็นบิดาบังเกดิ เกลา้ 9 เพอ่ื มิให้
พระเจ้าพมิ พิสารทรงเดินจงกรมไดอ้ กี ตอ่ ไป เปน็ เหตใุ ห้พระเจ้าพมิ พิสารสิน้ พระชนม์
คุณธรรมท่คี วรเอาเปน็ แบบอย่าง : ทรงมีนา้ พระทัย ทรงมีพระราชศรัทธา
และทรงเอาพระทยั ใสใ่ นการทานุบารุงพระพุทธศาสนา
2.4 นางขชุ ชตุ ตรา
นางขุชชตุ ตรา เปน็ สตรรี ปู คอ่ ม เป็นธิดาของแม่นมของโฆษกเศรษฐผี ้เู ป็นบดิ าเล้ยี งของพระนางสามาวดีซึง่
ตอ่ มาได้เป็นพระมเหสีของพระเจ้าอุเทน กษัตริยก์ รุงโกสมั ภีนางขชุ ชุตตราได้รบั
มอบหมายจากเศรษฐใี หเ้ ป็นหญิงรับใชป้ ระจาตัวของพระนางสามาวดีตงั้ แตย่ งั สาว ตอ่ มา
เมอ่ื พระนางไดเ้ ปน็ พระมเหสีของพระเจา้ อุเทนและเข้าไปอยู่ในราชสานักแลว้ นางขชุ ชตุ ต
รากไ็ ด้ตดิ ตามไปรบั ใช้ด้วยพระเจา้ อุเทนพระราชทานเงนิ คา่ ดอกไมแ้ ก่พระนางสามาวดี
วนั ละ 8 กหาปณะ ซ่ึงพระนางได้มอบหมายให้นางขชุ ชตุ ตราเป็นผ้จู ัดซอื้ ดอกไม้ และนาง
ขุชชุตตรากไ็ ดย้ กั ยอกเงินคา่ ดอกไมว้ ันละ 4 กหาปณะ ซือ้ มาเพยี ง 4 กหาปณะเท่านั้น
เป็นประจาทกุ วนั
วนั หนึ่งโฆษกเศรษฐีกบั เพื่อน ๆ ไดก้ ราบทลู อาราธนานิมนตพ์ ระพุทธเจา้ พรอ้ ม
ดว้ ยพระสาวกเสด็จมาฉนั ภตั ตาหารและถวายวดั ท่ีไดส้ ร้างข้นึ นางขชุ ชุตตราไดร้ บั
มอบหมายใหด้ ูแลเร่ืองดอกไม้เช่นเคย ด้วยภาระหน้าท่ีท่ีต้องอยูบ่ ริเวณใกล้เคยี งทปี่ ระทับของพระพุทธเจา้ ทาให้
นางมโี อกาสได้ฟังธรรมของพระพุทธองค์ เมอื่ จบพระธรรมเทศนานางได้ดวงตาเห็นธรรมบรรลุเปน็ อริยบุคคลข้ัน
โสดาบนั วันนั้นนางได้ซอื้ ดอกไม้ทัง้ 8 กหาปณะมาถวายพระนางสามาวดี ทาใหพ้ ระนางสามาวดีเกดิ ความสงสัยจึง
8 โสดาบัน ละสังโยชนเ์ บอ้ื งต่า ๓ ประการคอื สกั กายทฏิ ฐิ คือ ความเห็นว่าเป็นตวั ของตน ความเห็นเป็นเหตุถือตวั ตน
เป็นอัตตาทฎิ ฐิ เช่น เห็นรปู เป็นตน เห็นเวทนาเป็นตน วิจิกจิ ฉา คือ ความสงสัยในพระรตั นตรยั และในกุศลธรรมทง้ั หลาย
สลี ัพพตปรามาส คือ ความยดึ มนั่ ในข้อปฏบิ ัตอิ ยา่ งเครง่ ครัด ท่ีเข้าใจวา่ เปน็ ข้อปฏบิ ัติท่บี ริสทุ ธห์ิ ลุดพ้น เปน็ มิจฉาทิฏฐิ เช่น การ
ประพฤตวิ ัตรอย่างโค การนอนบนหนามของพวกโยคี เป็นต้น
9 อรรถกถากลา่ ววา่ ผลกรรมในอดตี พระราชาพิมพิสารนี้เคยใสฉ่ ลองพระบาทเข้าไปในลานพระเจดีย์ และเอาเทา้ สกปรก
เหยยี บเส่อื ที่เขาจดั ไว้สาหรับน่ัง จึงทรงเสวยผลของกรรมนั้น คตินช้ี าวพทุ ธในพม่าถอื กันมากจนไม่มีใครสวมรอ้ งเทาเข้าไปในบรเิ วณ
วัด
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 33
ซักถาม นางขุชชุตตรากไ็ ดร้ บั สารภาพ และเล่าเร่ืองท่ตี นไดฟ้ งั พระธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจา้ จนเขา้ ใจแจม่ แจง้
และบรรลุโสดาปัตติผลแลว้ พระนางสามาวดมี ีความสนพระทยั ใครอ่ ยากฟังธรรมที่นางขุชชุตตราได้ฟังแล้ว จงึ ให้
นางขุชชตุ ตราอาบน้าแตง่ ตัวอยา่ งดี ปูอาสนะให้นัง่ แสดงธรรมแกพ่ ระนางและหญงิ บรวิ ารดงั ทีพ่ ระพุทธเจ้าทรง
แสดง เมือ่ จบการแสดงธรรม หญิงเหล่าน้นั ทัง้ หมดบรรลุโสดาปตั ติผล พระนางจึงแสดงคารวะและตรสั ให้นางขชุ
ชตุ ตราไมต่ อ้ งทางานอีกตอ่ ไป
ใหน้ างอยู่ในฐานะเป็นผนู้ าธรรมะของพระพทุ ธเจา้ มาแสดงทกุ วันซึ่งนางกไ็ ด้ปฏิบตั เิ ปน็ ประจา ทาใหน้ าง
เป็นผู้มีความแตกฉานในธรรมมีความเชี่ยวชาญในธรรมเปน็ อยา่ งย่งิ พระพุทธเจา้ ทรงยกย่องนางขุชชตุ ตราว่า”เป็น
เลศิ กว่าอุบาสิกาทงั้ หลาย ผ้เู ปน็ ธรรมกถกึ คอื " ผแู้ สดงธรรม "
คณุ ธรรม : มคี วามเพยี รชว่ ยเหลอื ตนเอง เป็นฝึกฝนตนเอง เป็นผู้มปี ญั ญามาก
3. ศาสนิกชนตัวอย่าง
3.1 พระมหาธรรมราชา (ลไิ ท) พระราชประวตั ิ พระมหาธรรมราชาลิไท หรือพระมหาธรรมราชาท่ี 1
เป็นกษัตรยิ ์องคท์ ี่ 5 แห่งราชวงศ์พระร่วง สมัยกรงุ สโุ ขทัยเป็นราชธานีพระองคเ์ ป็น
ราชโอรสของพระเจา้ เลอไท และเปน็ พระราชนดั ดาของพอ่ ขนุ รามคาแหงพระมหา
ธรรมราชาลิไท เป็นกษัตรยิ ์องค์แรกของไทยท่ีทรงผนวชในขณะเสวยราชยพ์ ระองค์
ทรงมีความรูแ้ ละศรทั ธาเลื่อมใสในพระพทุ ธศาสนามาก ไดท้ รงอปุ ถัมภบ์ ารงุ อยา่ ง
แข็งแรง ทรงสรา้ งและซ่อมวัดหลายวัด ทรงสรา้ งพระพทุ ธรปู เช่น พระพทุ ธชินสีห์
และขณะท่ีพระองคผ์ นวชน้ันกไ็ ดท้ รงพระราชนิพนธห์ นงั สอื เตภูมิกถา หรอื ไตรภมู ิ
พระรว่ ง ทรงสั่งสอนศีลธรรมแก่ประชาชนด้วยพระองค์เองในด้านการคณะสงฆ์
พระองคไ์ ดท้ รงส่งทูตไปอาราธนาพระมหาสามีสงั ฆราชเมอื งลังกา นามวา่
สุมนะ เข้ามาสกู่ รงุ สุโขทัย ยิ่งไปกวา่ นัน้ พระองคท์ รงแบง่ คณะสงฆ์ออกเปน็ 2 ฝา่ ย
คอื คามวาสี ได้แก่ คณะสงฆ์ที่สมาทานคนั ถธุระ ศกึ ษาเรยี นภาษามคธ เพ่อื ศกึ ษา
พระพุทธวจนะในพระไตรปฎิ ก มักอยูก่ นั ในบา้ นเมืองอันเปน็ สานักศึกษา และฝา่ ย
อรัญญวาสี คอื คณะสงฆท์ ่สี มาทานวปิ สั สนาธรุ ะ พระพุทธชนิ สหี ์ สนั นษิ ฐานว่า สร้างในสมยั
คุณธรรมที่ควรถอื เปน็ แบบอย่าง : พระมหาธรรมราชาลไิ ท
1. มีความศรทั ธาเล่ือมใสในพระพทุ ธศาสนาเปน็ อยา่ งมาก ปจั จบุ นั ประดษิ ฐานวดั บวรนเิ วศฯ กรุงเทพฯ
2. ทรงรบั ภาระธุระเอาใจใสต่อกิจการคณะสงฆเ์ ปน็ อยา่ งดี
3. ทรงมีความรทู้ างพระพุทธศาสนาเปน็ อยา่ งดี
3.2 สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม
พระยาวชิรญาณวโรรส ประสตู ิเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2403 เปน็ พระเจา้ ลูกยาเธอ พระองค์ที่ 47
ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 4 พ.ศ. 2416 พระชนมายุ 14 พรรษา ทรงผนวชเปน็ สามเณร
ประทับ ณ วัดบวรนเิ วศวหิ าร เป็นเวลา 78 วนั จงึ ทรงลาผนวช พ.ศ. 2420 พระชนมายุ 18 พรรษา ทรงรบั
ราชการในกรมราชเลขา จนกระทั่ง พ.ศ. 2422 พระชนมายุ 20 พรรษาบรบิ ูรณ์ทรงผนวชเปน็ พระภกิ ษุ และเม่อื
ทรงผนวชได้ 3 พรรษา ทรงเข้าแปลพระปรยิ ตั ิธรรมสนามหลวง ได้ 5 ประโยค
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 34
สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงรอบรู้ภาษาหลายภาษา คอื บาลสี นั สกฤต องั กฤษ ฝรั่งเศส ทรงอาศัย
ความร้ทู างภาษาดังกล่าวน้ี แสวงหาวชิ าความรู้พัฒนาพระองค์เอง พร้อมท้งั ทรงใช้พระปรีชาสามารถทางภาษา
สรา้ งวรรณกรรมอันทรงคณุ ค่าทางการศึกษาท้ังทางธรรมและทางโลกไวม้ ากมายไม่น้อยกวา่ 400 เร่อื ง
หลายเรือ่ งเป็นพระนพิ นธ์ทีม่ อี ทิ ธพิ ลต่อสังคมวฒั นธรรมอย่างกว้างขวาง เช่น พระนพิ นธ์เร่ือง
“นวโกวาท”นพิ นธข์ ึ้นราว พ.ศ. 2442 เปน็ หนงั สอื ทางพระพทุ ธศาสนาท่ี
แพร่หลายมากที่สดุ ฉบบั “แบบเรียนเร็ว”พระนิพนธ์เรื่อง “พุทธประวัติ”
นบั เป็นหนังสือที่ให้ข้อมูลเก่ยี วกบั พุทธประวตั เิ ชงิ วชิ าการสมัยใหม่ มกี าร
อ้างองิ ทางโบราณคดี พระนิพนธเ์ รอื่ ง “วนิ ัยมุข” ทรงพระวนิ จิ ฉยั ข้อพระวนิ ัย
ต่าง ๆ ส่วนขอ้ ไหนท่ีมคี วามไมช่ ดั เจน พระองค์กฝ็ ากไว้ให้ “บณั ฑิตผู้รู้” รุน่
หลงั ชว่ ยวเิ คราะห์ต่อ อย่างทพ่ี ระองค์นพิ นธไ์ ว้ในคานาของหนังสอื วนิ ัยมุข
พ.ศ. 2456 ไวว้ ่า
“…นิสัยของขา้ พเจ้าไมเ่ ช่ือคาที่กล่าวไว้ในปกรณท์ ้ังหลาย เลือกเช่อื
แต่คาทสี่ มเหตุสมผล... ต้ังหลักแหง่ การรจนาไวว้ ่า ข้อทีพ่ ิจารณาได้
สมเหตุสมผล จึงจะถอื เอาเป็นประมาณ ข้อท่ีพิรุธ ก็ต้องค้างตงิ ไว้ ไมว่ า่ มาใน
บาลหี รอื ในอรรถกถา และแสดงมติของข้าพเจ้าไว้บ้าง เพอื่ เป็นทางดาริของ
นกั วินัย ข้าพเจ้า มงุ่ ความเจริญแหง่ ความร้เู ปน็ ที่ต้งั ถา้ นอ้ มใจเชอ่ื เปน็ ญาณ
วิปปยตุ แล้ว ความรยู้ อ่ มไมเ่ จรญิ เลย…” เปน็ การแสดงความเป็นต้นแบบของ
ความเป็น “นักวชิ าการ” สมัยใหม่ของพระองค์ คือเปดิ โอกาสให้วพิ ากษไ์ ดอ้ ย่างเสรี
ผลงานทางวรรณกรรมของสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้าฯ ไดก้ อ่ ใหเ้ กิดผลทางวัฒนธรรมของสังคมไทย ทัง้
สังคมสงฆ์และสงั คมชาวเมอื งไมน่ ้อย โดยเฉพาะวฒั นธรรมของความเปน็ นักวิชาการเสรีทพ่ี ระองคป์ ฏิบัติทาใหด้ ู
เปน็ ตวั อยา่ ง
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้ทรงรบั สถาปนาเฉลมิ พระยศตามลาดบั จนกระทง่ั
พ.ศ. 2453 พระชนมายุ 51 พรรษา ทรงรับมหาสมณุตมาภิเษก เปน็ สมเด็จพระมหาสมณะ ตาแหน่งพระสงั ฆราช
เนอื่ งดว้ ยทรงเปน็ เจา้ นายช้นั สูง จึงเรยี กพระนามเปน็ พเิ ศษวา่ “สมเด็จพระมหาสมณะ” และ ต่อมาได้ทรงรบั
สถาปนาพระอิสริยยศเป็น สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส สน้ิ พระชนม์เมือ่ วนั ที่ 2 สิงหาคม
พุทธศกั ราช 2464 สริ ิพระชนมายไุ ด้ 62 ปี ทรงอยู่ในพรหมจรรยก์ ว่า 42ปี ทรงปกครองวัดบวรนิเวศวิหารกวา่
28 ปี
คุณธรรมที่ควรถือเปน็ แบบอยา่ ง :
1. ทรงเป็นพหูสตู กลา่ วคือ พระองค์ทรงเขา้ รบั การศึกษาทัง้ วิชาการทางโลกและทางธรรม
2. ทรงเป็นนกั บรหิ าร
4. ชาดก
ความหมายของชาดก คอื เลา่ ถึงการทพี่ ระโพธสิ ตั วเ์ วียนว่ายตายเกิด ถือเอากาเนิดในชาติตา่ ง ๆ
ดงั นั้นกล่าวโดยสรปุ ชาดก เปน็ ววิ ัฒนาการแห่งการบาเพญ็ คุณงามความดขี องพระโพธิสตั ว์ ในอรรถ
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กล่มุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 35
กถาแสดงด้วยว่า ผนู้ ้ันผูน้ กี้ ลบั ชาตมิ าเกิดเปน็ ใครในสมยั พระพุทธเจา้ แต่ในบาลพี ระไตรปิฎกกลา่ วถึง
เพยี งบางเร่ือง เพราะฉะนน้ั สาระสาคญั จึงอยทู่ คี่ ณุ งามความดแี ละอยู่ทค่ี ตธิ รรมในนิทานน้ัน ๆ
4.1 มติ ตวนิ ทกุ ชาดก พระพทุ ธจ้าทรงปรารภอดีตชาติของพระภิกษผุ วู้ า่ ยากรูปหน่ึงวา่ มติ ตวินทุกนนั้
ตงั้ เเตเ่ ลก็ จนโตบิดามารดาถนอมเล้ยี งดง่ั เเก้วตาดวงใจ เเตม่ ิตตวินทกุ กะกลับเกกมะเหรกเกเร ด้ือรั้น ไมเ่ ช่ือฟัง
มารดาบดิ าของมิตตวินทกุ ะ เป็นพระโสดาบนั แต่มิตตวินทกุ ะเป็นคนทุศีล ไมม่ ีศรทั ธา.
ตอ่ มาเมื่อบิดาตายแล้ว มารดาตรวจตราดูแลทรพั ยส์ มบตั ิ วันหนึง่ กล่าวกะเขาวา่ “…ลูกรัก ความเป็น
มนษุ ย์เป็นของที่ได้ยาก เจ้าก็ไดแ้ ล้ว เจ้าจงใหท้ านรกั ษาศลี กระทาอโุ บสถกรรม ฟงั ธรรมเถิด มติ ตวินทุกะกลา่ ว
ว่า แม่ ทานเปน็ ต้นไมเ่ ป็นประโยชนแ์ ก่ฉนั แมอ่ ย่าได้กลา่ วอะไรๆ กะฉัน ฉันจะไปตามยถากรรม…” มารดาใช้
อบุ ายจา้ งไปวัดฟงั ธรรม หวงั ใหธ้ รรมช่วยกลอ่ มเกลาจิตใจ มิตตวนิ ทุกะมิไดเ้ ล่อื มใสศรัทธา เเตอ่ ยากไดเ้ งนิ มากกวา่
เมอื่ ไปถึงวดั จึงแอบไปนอนหลบั อยใู่ ต้ธรรมาสน์ตลอดคืน แล้วกลบั มารบั ค่าจ้างจากมารดาโดยไมล่ ะอายเเก่ใจ วนั
หน่งึ อยากท่องโลกกวา้ ง จึงอาศัยพวกพ่อคา้ เดนิ เรือไปยังต่างเมือง เเม้มารดาขดั ขวางหา้ มปราม มติ ตวนิ ทุกะกไ็ ม่
เชอ่ื ฟัง ผลักมารดาผู้นา่ สงสารเซถลาลม้ ลงไป แล้วเดนิ ขา้ มไปโดยไมห่ นั กลับมามองมารดาท่รี อ้ งห้ามปรามเขาอีก
เลยการทาร้ายมารดาจะนาพาให้มิตตวินทุกะ ต้องพบวิบากรรม
มิตตวนิ ทกุ ะเดนิ ทางล่องเรอื ออกไปคา้ ขายกบั บรรดาพอ่ ค้า จนลว่ งเขา้ วนั ที่ 7 เรอื ได้หยุดน่ิงอยกู่ ลาง
มหาสมทุ ร ทาอยา่ งไรก็ไมส่ ามารถแล่นตอ่ ไปได้ ทุกคนมคี วามคดิ เหน็ ว่าน่าจะมีคนกาลกณิ ีอยูใ่ นเรือ จงึ ได้ทาการจบั
ฉลากเพ่ือเสีย่ งทาย และมิตตวินทกุ ะกจ็ ับฉลากได้ 3 คร้ัง ทาให้ถูกลอยแพลงกลางมหาสมทุ รแพของมิตตวนิ ทุกะ
ลอยไปตดิ เกาะแหง่ หน่ึง ซง่ึ เปน็ ทีอ่ ยู่ของนางเวมานิกเปรต 4 นาง แตม่ ติ ตวนิ ทกุ ะกลับมองเหน็ เป็นหญงิ สวยงาม จึง
อยู่ร่วมกบั นางเวมานิกเปรตทงั้ 4 แตก่ ็ยังไมเ่ ปน็ ที่พอใจ จงึ เดินทางตอ่ ไป จนพบเกาะ 3 เกาะ คอื วิมานเงิน ทอ่ี ยู่
ของนางเวมานิกเปรต 8 นาง วิมานแกว้ มณี ทอี่ ยขู่ องนางเวมานิกเปรต 16 นาง และวิมานทอง ที่อยู่ของนางเวมา
นิกเปรต 32 นาง ซ่งึ มติ ตวนิ ทุกะไดอ้ ยู่ร่วมกบั นางเวมานิกเปรตทง้ั หมด แตก่ ย็ ังไมเ่ ป็นท่ีพอใจ จึงออกเดนิ ทางต่อไป
ในทส่ี ดุ เขาได้มาพบสถานที่แหง่ หนง่ึ คือ อุสสาทนรก แตด่ ้วยผลแห่งกรรมทาใหเ้ ขามองเหน็ เป็นเมืองที่
รงุ่ เรอื ง สวยงาม เมอ่ื เข้าไปในน้นั เขาไดพ้ บสตั ว์นรกตนหน่งึ ซงึ่ ไดร้ ับทุกขเวทนาจากกงจกั รท่ีอยบู่ นศรีษะแตม่ ิตตวนิ
ทกุ ะกลบั เหน็ เปน็ ชายหนุม่ รปู งาม มีดอกบัวอยบู่ นศรษี ะ มิตตวนิ ทุกะคิดอยากไดด้ อกบัวน้ัน จงึ เข้าไปขอดอกบวั แต่
สตั ว์นรกน้ันบอกว่า ไมใ่ ช่ดอกบัว แตเ่ ปน็ กงจักร มติ ตวนิ ทกุ ะไม่เชื่อ รบเรา้ จะเอาให้ได้สัตว์นรกนน้ั คิดวา่ ผลแหง่
กรรมชั่วของตนคงหมดแล้ว จงึ มอบกงจกั รนัน้ ใหแ้ ก่มติ ตวินทกุ ะ เม่ือได้รบั กงจกั รมาแล้ว เขาจึงได้รู้วา่ ไมใ่ ชด่ อกบวั
และขอให้ผู้เป็นเจ้าของเอาคนื กลับไป แต่สัตวน์ รกตนนัน้ ไดห้ ายไปเสยี แลว้
ฝ่ายรกุ ขเทวดา ซงึ่ แท้จรงิ คอื พระโพธิสตั ว์ เมอ่ื ทราบความทง้ั หมด ได้กล่าวกบั มติ ตวินทุกะว่า เพราะ ความ
โงเ่ ขลา ดื้อรนั้ และความโลภ เห็นผิดเป็นชอบ จงึ ทาให้มิตตวนิ ทกุ ะต้องทนทุกขท์ รมานจากกงจกั รนี้ไปจนกว่าวิบาก
กรรมจะหมดสน้ิ ไป สรปุ ดวงอานาจกรรมช่วั บังตาเหน็ กงจกั รเปน็ มงกุฎดอกบวั ท่ีสวยงาม
เอว กิจฉฺ าภโต โปโส ปิตุ อปรจิ ารโก
ปติ ริมิจฺฉาจริตวฺ าน นริ ย โส อปุ ปชฺชติ
“ผทู้ ่ีมีมารดาบิดาเลยี้ งมาไดโ้ ดยยากอยา่ งน้ี ไมบ่ ารงุ มารดาบิดาประพฤติผิดในมารดาบิดา ยอ่ มเข้าถึงนรก”
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 36
4.2 พระราโชวาทชาดก ในสมัยหนึ่งพระพทุ ธเจา้ ประทบั อยู่วดั เชตวัน เมืองสาวัตถีทรงปรารภโอวาทของ
พระราชา ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก วา่ กาลคร้งั หนึง่ นานมาแลว้ พระโพธสิ ัตว์เกดิ เป็นพระฤๅษนี าเพญ็ เพยี รอยใู่ น
ป่าหมิ พานต์ มีรากไมแ้ ละผลไม้เปน็ อาหาร ในสมัยน้ัน พระเจา้ พรหมทัตขน้ึ ครองราชสมบตั ใิ นเมืองพาราณสี
พระองค์เป็นผ้รู ังเกยี จความไม่ดี วันหนงึ่ ทรงดารวิ ่า "เราปกครองเมืองมาน้ี มีใครเดอื นร้อนและกลา่ วโทษของเรา
หรอื เปล่าหนอ" จงึ ทรงแสวงหาอยทู่ ง้ั ในวังและนอกวังก็ไมพ่ บเห็นใครกลา่ วโทษพระองค์ ทรงปลอมพระองค์ไปตาม
หมบู่ า้ นตา่ ง ๆ ก็ไม่พบเหน็ จึงแวะเขา้ ไปในปา่ หิมพานต์เขา้ ไปสนทนากบั ฤๅษดี ว้ ยทาทีเป็นคนหลงทาง
ฤๅษไี ด้ทาการต้อนรบั ดว้ ยผลไม้ป่านานาชนดิ พระราชาปลอมไดเ้ สวยผลไมป้ า่ มีรสหวานอรอ่ ยดี จึงถามถงึ
สาเหตุท่ที าให้ผลไม้มรี สหวานอรอ่ ยดี ฤๅษีจงึ ทูลว่า “ท่านผูม้ ีบญุ เป็นเพราะพระราชาครองราชย์โดยธรรมเป็นแน่
ผลไม่จงึ มรี สหวานอร่อยด"ี พระราชาปลอมสงสัยจงึ ถามอีกวา่ “ถา้ พระราชาไม่ครองราชยโ์ ดยธรรม ผลไม้จะมี
รสชาติเป็นเชน่ ไรล่ะพระคณุ เจ้า " ฤๅษีตอบว่า “ผลไม้กจ็ ะมรี สขมฝาด หมดรสชาติ
ไมอ่ ร่อยละโยม” พระราชาปลอมสนทนาเสร็จแล้วก็อาลาฤๅษีกลบั คนื เมอื งไป ทรงทา
การทดลองคาพดู ของพระฤๅษดี ว้ ยการไม่ประพฤตปิ ฏิบตั ธิ รรมเปน็ ปีแล้วกลับไปหา
ฤๅษีอีก ฤๅษกี ท็ าการตอ้ นรับดว้ ยผลไม้ พอผลไมเ้ ขา้ ปากเทา่ น้ันกต็ อ้ งถ่มท้ิงไป เพราะ
ผลไม้มีรสขมฝาด ฤๅษีจึงแสดงธรรมว่า “โยม..คงเปน็ เพราะพระราชาไมค่ รองราชย์
โดยธรรมแน่เลย ธรรมดาฝูงโควา่ ยข้ามแม่นา้ จ่าฝูงวา่ ยคดฝูงโคกว็ า่ ยคดตามกนั
ไป เหมือนหมูม่ นษุ ย์ถ้าผูน้ ามนษุ ย์ประพฤติไม่เปน็ ธรรม ประชาชนกป็ ระพฤติไม่
เป็นธรรมเช่นเดยี วกนั พระราชาผู้ไมต่ ้งั อยใู่ นธรรม ทวยราษฎร์กเ็ ปน็ ทกุ ข์ท่ัวกนั
ถ้าจา่ ฝูงโคงา่ ยนา้ ตรง ฝูงโคก็วา่ ยตรงเช่นกัน เหมอื นหมู่มนษุ ย์ถ้าผู้นา
ประพฤติเป็นธรรม ประชาชนก็ตอ้ งประพฤตเิ ปน็ ธรรมเช่นกนั พระราชาผ้ตู ง้ั อยู่ใน
ธรรม ทวยราษฎรก์ ็อยู่รม่ เย็นเชน่ กนั ” พระราชาสดับธรรมของพระฤๅษีแล้วจึงแสดง
พระองคเ์ ปน็ พระราชาใหพ้ ระฤๅษที ราบ ไหว้ฤๅษีแลว้ กลับคนื เมอื งประพฤติตัง้ ตนอยใู่ นทศพิธราชธรรมเชน่ เดมิ ทา
ให้สรรพสิ่งทั้งปวงกลบั เปน็ ปกตติ ามเดมิ
“… เมื่อฝูงโคข้ามไปอยู่ ถา้ โคผู้นาฝูงไปคด โคเหล่าน้นั ย่อมไปคดท้ังหมดใน
เมื่อโคผนู้ าไปคด ในมนษุ ยก์ เ็ หมือนกนั ผู้ใดได้รับสมมติให้เปน็ ผู้นา ถา้ ผู้นน้ั
ประพฤติอธรรมประชาชนนอกน้ีกจ็ ะประพฤติอธรรมเหมือนกนั แวน่ แคว้น
ทั้งหมดจะไดป้ ระสบความทกุ ข์ ถา้ พระราชาเปน็ ผู้ไม่ต้งั ในธรรม
เมอ่ื ฝงู โคขา้ มไปอยู่ ถา้ โคผนู้ าฝงู ไปตรงโคเหล่าน้นั ยอ่ มไปตรงทัง้ หมดใน
เมื่อโคผนู้ าไปตรง ในหมู่มนษุ ย์กเ็ หมอื นกนั ผ้ใู ดได้รับสมมติให้เป็นผ้นู าถ้าผู้น้ัน
ประพฤติธรรม ประชาชนนอกนยี้ ่อมประพฤตธิ รรมเหมอื นกัน แว่นแคว้น
ทัง้ หมดยอ่ มไดป้ ระสบความสุขถ้าพระราชาเป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรม ฯ
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 37
คุณธรรม สาวก สาวิกา ชาวพทุ ธตัวอยา่ ง คณุ คา่
ความซื้อสัตย์
ความกตญั ญู
ความอดทน
ความใฝ่รู้ฝ่เรียน
ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์
ความรบั ผดิ ชอบ
เป็นผู้ทรงจามาก
ฝึกตน
เปน็ ผู้มปี ญั ญามาก
ออ่ นนอ้ มถอ่ มตน
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 38
สาระการเรยี นรู้พืน้ ฐานพระพุทธศาสนา ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒
1. มติ ตวนิ ทุกชาดก เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับอะไร
1. สัตวท์ ั้งหลายท่ีเป็นเพ่ือนทกุ ข์ 2. อนัตตา คอื การไมใ่ ช่สัตว์ ไม่ใช่คน
3. โอวาทของพระราชา 4. เห็นกงจักรเปน็ ดอกบัว
2. พระสารีบตุ รได้รบั ยกย่องจากพระพุทธเจา้ วา่ เป็นเลิศทางด้านใด
1. ปญั ญาเป็นเลิศ 2. แสดงธรรมเปน็ เลศิ แบบฝึกหัดท้ายหน่วย
3. คุณธรรมเปน็ เลิศ 4. มฤี ทธิ์เดชเปน็ เลิศ
3. คณุ ธรรมขอ้ ใดของพระเจา้ พิมพิสารทค่ี วรยึดถอื เปน็ แบบอย่าง
1. เป็นผู้มีความกตญั ญู 2. เป็นผมู้ ฤี ทธิ์มาก
3. เป็นผฉู้ ลาดสอนคน 4. เปน็ ผู้มีความเสียสละและอดทน
4. การท่นี างขุชชุตตรายักยอกค่าดอกไม้และสานกึ ผดิ หลังฟังธรรม แสดงว่านางมีคณุ ธรรมข้อใด
1. ละอายต่อบาป 2. เป็นผ้ฝู ึกตนเอง
3. เกรงกลัวต่อบาป 4. เป็นคนสุจริต
5. คตธิ รรมจากเร่ืองมิตตวนิ ทุกชาดก ตรงกับสานวนไทยข้อใด
1. ราไม่ดโี ทษป่โี ทษกลอง 2. มอื ถือสากปากถอื ศีล
3. เห็นกงจักรเปน็ ดอกบัว 4. หน้าเนื้อใจเสอื
6. นางขชุ ชุตตราได้รบั ยกยอ่ งจากพระพทุ ธเจา้ ว่าเป็นเลศิ ทางดา้ นใด
1. แสดงธรรมเปน็ เลศิ 2. ปัญญาเปน็ เลิศ
3. ออ่ นน้อมถอ่ มตนเปน็ เลศิ 4. คณุ ธรรมเป็นเลิศ
7. พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ าทา่ นใดท่เี ป็นผู้พระราชนิพนธห์ นังสือไตรภมู ิพระรว่ ง
1. สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส
1. พระเจ้าพมิ พสิ าร
3. พระสารบี ุตร
4. พระมหาธรรมราชาลิไท
8. พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ าท่านใดทไ่ี ด้รบั ฐานะเปน็ อัครสาวกเบอ้ื งขวาของพระพุทธเจ้า
1. พระเจา้ พิมพสิ าร 2. พระสารีบตุ ร
3. พระโมคคลั ลานะ 4. นางขุชชุตตรา
9. วัดใดเป็นวดั แหง่ แรกในพระพทุ ธศาสนา
1. วัดเวฬุวันมหาวิหาร 2. วดั พระศรีรัตนมหาธาตุ
3. วัดบวรนเิ วศ 4. วดั มกุฏกษัตรยิ าราม
10. คตธิ รรมท่ีไดจ้ ากเรื่องราโชวาทชาดก คือข้อใด
1. ความเสยี สละ 2. ความเปน็ ผู้ฉลาดสอนคน
3. ผ้นู าท่ดี ีต้องเปน็ ตัวอย่างและท่พี ่ีงของประชาชน 3. ผู้นาทดี่ ีต้องปกครองเก่ง
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 39
11. เหตกุ ารณ์ในพุทธประวตั ติ อนผจญมารนั้น ภาษาธรรม คาวา่ “มาร” หมายถึงอะไร
1. ศัตรู 2. กิเลส
3. ตัณหา 4. ความเชื่อ
12. เจา้ ชายสิทธัตถะทรงศกึ ษาวิชาในขอ้ ใด กบั อาฬารดาบส กาลามโคตร และอทุ ทกดาบส รามบตุ ร
1. ความรูท้ างศิลปศาสตร์ 2. ฝึกจติ บาเพ็ญตบะ
3. บาเพญ็ ทุกกรกิรยิ า 4. ฝึกปฏบิ ัติโยคะ
13. ให้เรียงลาดับการค้นควา้ ทางพน้ ทุกข์ของพระพทุ ธเจ้าจากก่อนไปหลัง
1. ฝึกปฏิบตั โิ ยคะ บาเพญ็ ตบะ บาเพ็ญเพยี รทางจิต บาเพญ็ ทุกกรกิริยา
2. บาเพญ็ ทุกกรกริ ิยา บาเพญ็ ตบะ ฝึกปฏิบตั โิ ยคะ บาเพ็ญเพยี รทางจติ
3. ฝึกปฏิบัตโิ ยคะ บาเพ็ญตบะ บาเพ็ญทุกกรกริ ิยา บาเพ็ญเพียรทางจิต
4. บาเพ็ญตบะ ฝกึ ปฏิบตั ิโยคะ บาเพ็ญทุกกรกิรยิ า บาเพญ็ เพียรทางจิต
14. เหตกุ ารณก์ อ่ นพระพทุ ธเจ้าตรสั รู้ ข้อใดถูกต้อง
1. ทรงรบั หญ้ากสุ ะจากนางสุชาดา
2. ทรงรับขา้ วมธุปายาสจากนายโสตถิยะ
3. พระองค์เสด็จข้ามแม่นา้ เนรัญชราไปทางฝั่งตะวันออก
4. ประทบั นง่ั ขัดสมาธิ ณ โคนต้นโพธ์ิ ผนิ พระพักตรไ์ ปทางทิศตะวนั ออก
15. เพราะเหตใุ ด พระพุทธเจ้าทรงตง้ั พระทยั ม่ันคงวา่ จะต้องสอนปญั จวคั คีย์ หลังจากตรสั รูแ้ ล้ว
1. ปญั จวคั คยี ์สามารถบรรลพุ ระอรหนั ตไ์ ด้เร็ว
2. ชว่ ยเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาไปยงั ดนิ แดนตา่ งๆ
3. ปญั จวคั คียเ์ คยรับใช้เมอื่ คร้งั ท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงบาเพ็ญเพยี ร
4. ตอ้ งการใหป้ ัญจวัคคีย์เป็นสกั ขีพยานแหง่ การตรัสรู้ ของพระองค์
16. เพราะเหตุใด พระพุทธเจา้ จงึ ทรงแตง่ ตง้ั พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ เป็นอัครสาวก
1. เพราะเปน็ ผ้ทู ี่จัดได้ว่าเปน็ ที่ยอมรบั ของหมู่สงฆ์สาวก ของพระพทุ ธเจา้
2. เพราะเป็นผทู้ ่ีอยใู่ นตระกลู สูง และมอี าวโุ สกวา่ พระภิกษอุ ื่น
3. เพราะเคยเป็นศษิ ย์รนุ่ แรกของพระพุทธเจ้า
4. เพราะร้เู รอ่ื งพระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี สามารถเปน็ กาลังสาคญั ชว่ ยพระพุทธองค์
17. ใครเปน็ ผทู้ อ่ี ปุ ติสสะมคี วามศรัทธาจนกระท่ังเขา้ ไปอุปสมบทในพระพทุ ธศาสนา
1. พระอัสสชิ 2. พระวปั ปะ
3. พระโกณฑัญญะ 4. พระมหานามะ
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 40
18. ขอ้ ใดจดั เปน็ คณุ ธรรมอันเปน็ แบบอยา่ งของพระสารีบตุ ร
1. เปน็ ผมู้ คี วามอดทนเป็นอย่างย่งิ และมีความออ่ นน้อม ถอ่ มตน
2. เป็นผมู้ ีความใฝร่ อู้ ย่างย่งิ และเป็นผู้ฝึกฝนตนเองเสมอ
3. เป็นผู้มปี ัญญาหลกั แหลม และมีความกตัญญเู ปน็ เลิศ
4. เปน็ ผนู้ าท่ีดี และมีความอ่อนนอ้ มถอ่ มตน
19.อปุ สรรคสาคญั ในการบาเพ็ญเพยี รทางจติ ของพระโมคคัลลานะ คืออะไร
1. เกดิ ความงว่ ง 2. มคี วามเบอ่ื หน่าย
3. มีความทอ้ ถอย 4. เป็นผูม้ ีฤทธ์ิ
20. ข้อใดจัดเปน็ คุณธรรมอันเป็นแบบอย่างของพระโมคคัลลานะ
1. เป็นผมู้ ีปญั ญาเป็นเลิศ และเปน็ ผูน้ าทีด่ ี 2. มคี วามกตัญญู และมีปัญญาเปน็ เลิศ
3. มคี วามอดทนยง่ิ และเปน็ ผู้ถ่อมตน 4. เป็นผนู้ าทด่ี ี และมีความกตญั ญู
21. ขอ้ ใดจดั เปน็ คุณธรรมอันเปน็ แบบอยา่ งของนางขุชชุตตรา
1. มีความเสียสละ และเอาใจใส่ในการทานุบารุง พระพุทธศาสนา
2. เปน็ ผฝู้ กึ ตนเองอยเู่ สมอ และเอาใจใส่ในหนา้ ท่ี
3. มคี วามซอ่ื สตั ย์ และมีความกตัญญู
4. มีความกตัญญู และมคี วามเสียสละ
22. นางขุชชุตตรา ไดร้ บั การยกยอ่ งจากพระพุทธเจ้าวา่ เปน็ เลศิ กวา่ อบุ าสกิ าทงั้ หลายในดา้ นใด
1. เปน็ ธรรมกถึก 2. ความซื่อสัตย์
2. เปน็ แบบอย่าง 4. ความใฝ่รู้
23. พระสารีบุตร เป็นเอตทคั คะในด้านใด
1. ปัญญา 2. ฤทธิม์ าก
3. แสดงธรรม 4. การจาพระวนิ ัย
24. ถา้ นักเรยี นอา่ นหนังสือแลว้ งว่ งนอน นักเรยี นจะคิดถงึ แนวทางการปฏิบัติของผูใ้ ด
1. พระสารบี ตุ ร 2. นางขชุ ชุตตรา
3. พระโมคคัลลานะ 4. พระเจ้าพมิ พสิ าร
25. คุณธรรมอนั เป็นแบบอยา่ งของพระเจ้าพมิ พิสาร คือข้อใด
1. มีความกตญั ญูกตเวที มฤี ทธิ์มาก 2. มีความกล้าหาญ มีความเสยี สละ
3. มคี วามใฝร่ ู้อย่างย่งิ เปน็ ผูน้ าท่ดี ี 4. เป็นผนู้ าที่ดี มน่ั คงในพระรตั นตรัย
26. พระราชกรณียกจิ ของพระมหาธรรมราชาลิไทยขอ้ ใด ทีแ่ สดงว่ามสี ่วนสาคญั ในการเผยแผ่
พระพุทธศาสนา
1. โปรดใหย้ กผนงั กัน้ นา้ ต้งั แต่สุโขทัยถึงพษิ ณุโลก 2. ทรงพระราชนพิ นธ์เรอ่ื ง ไตรภมู พิ ระรว่ ง
3. ทรงสร้างวัดปา่ มะมว่ ง และวัดเวฬวุ นั 4. โปรดให้สร้างปราสาทราชมณเฑียร
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 41
25. คณุ ธรรมอันเป็นแบบอย่างของพระมหาธรรมราชาลไิ ทย คอื ข้อใด
1. มีความกตัญญอู ยา่ งย่งิ 2. มีความเสยี สละ กลา้ หาญ
3. เป็นผูม้ ีความอดทนอย่างย่งิ 4. เป็นผ้ใู ฝห่ าความรอู้ ยเู่ สมอ มปี ัญญาเป็นเลศิ
26. สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงมีคุณธรรมอนั เปน็ แบบอย่างหลายประการ
ยกเว้น ขอ้ ใด
1. ทรงมคี วามอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นเลิศ 2. ทรงมีความเป็นผนู้ าเปน็ เลิศ
3. ทรงมีหริ ิโอตตปั ปะเป็นเลิศ 4. ทรงมีความใฝร่ ใู้ ฝศ่ กึ ษา
27. การศกึ ษามติ ตวนิ ทุกชาดก จะทาให้ได้ขอ้ คิดถงึ ผลเสียของเรอื่ งใด
1. ความโลภ 2. ความโกรธ
3. ความคดโกง 4. ความตระหน่ี
28. การศกึ ษาราโชวาทชาดก ทาให้ได้ข้อคิดดงั คากล่าวข้อใด
1. อย่าเหน็ กงจักรเป็นดอกบวั 2. ความพยายามนาไปสู่ความสาเร็จ
3. การทาดยี อ่ มไดร้ ับส่งิ ทด่ี ีตอบแทน 4. ความกตญั ญูกตเวทเี ป็นเคร่ืองหมายของคนดี
บันทกึ
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 42
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3
หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา พระรัตนตรยั
สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
มาตรฐานท่ี ส.1.1 เขา้ ใจประวัติ ความสาคญั หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรม
ศาสนาท่ตี นนบั ถอื และศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาทีถ่ กู ตอ้ ง ยดึ ม่นั และปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรมเพอื่ อยรู่ วมกันอยา่ ง
สันตสิ ขุ
ส.1.1.4. อภิปรายความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถือกับ การพฒั นาชุมชนและ
การจดั ระเบียบสังคม
ส.1.1.5. วิเคราะห์พุทธประวตั หิ รือประวตั ศิ าสดาของศาสนาท่ีตนนับถือตามที่กาหนด
1. ความหมายและคณุ ค่าของธรรมคุณ 6
สฺวาขาโต ภควตา ธมโฺ ม แปลวา่ พระธรรมอนั พระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว ดีแล้ว คอื ตรสั ไวเ้ ป็นความ
จริงแท้ อีกท้งั งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในทส่ี ุด พร้อมทงั้ อรรถพร้อมท้ังพยญั ชนะ ประกาศหลกั การครอง
ชวี ติ อนั ประเสริฐ บริสุทธิ์ บรบิ รู ณ์ส้นิ เชิง
สฺนทฏิ ฐิโก แปลว่า อนั ผปู้ ฏิบตั ธิ รรมจะพึงเห็นชดั ด้วยตนเอง คอื ผใู้ ดปฏิบัตธิ รรม ผู้ใดบรรลธุ รรม ผู้น้นั ย่อม
เหน็ ประจักษด์ ้วยตนเอง
อกาลิโก แปลวา่ มป่ ระกอบด้วยกาล คือ ไม่ขึ้นกับกาลเวลา พร้อมเมอื่ ใด บรรลุได้ทนั ที บรรลเุ ม่อื ใด เห็น
ผลได้ทนั ที อีกอยา่ งว่า เป็นจรงิ อย่อู ย่างไร กเ็ ปน็ อยา่ งนน้ั ไม่จากัดด้วยกาล
เอหิปสฺสโิ ก แปลว่า ควรเรียกให้มาดู คอื เชิญชวนให้มาชม และพิสูจน์ หรอื ท้าทายตอ่ การตรวจสอบ
เพราะเปน็ ของจรงิ และดีจริง
โอปนยโิ ก แปลวา่ ควรนอ้ มเข้ามา คือ ควรเข้ามาไวใ้ นใจ หรือน้อมใจเข้าไปให้ถึง ดว้ ยการปฏบิ ตั ิให้เกิดมี
ขึ้นในใจ หรือให้ใจบรรลุถงึ อยา่ งน้นั หมายความว่า เชิญชวนให้ทดลองปฏบิ ัติดู อีกอยา่ งหน่ึงวา่ เปน็ สิ่งทน่ี าผู้ปฏิบัติ
ให้เขา้ ไปถึงท่ีหมายคอื นพิ พาน
ปจฺจตตฺ เวทพตพโฺ พ วิญฺญูหิ แปลว่า อนั วญิ ญูชนพึงรเู้ ฉพาะตน คือ เป็นวิสัยของวญิ ญชนจะพงึ รไู้ ด้ เป็น
ของจาเพาะตน ตอ้ งทาจงึ เสวยได้เฉพาะตัว ทาให้กันไม่ได้ เอาจากกันไม่ได้ และรูไ้ ดป้ ระจักษท์ ใี่ นใจของตนนี่เอง
2. หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา
2.1 อรยิ สจั จ์ 4 "ตถาคต คอื พระพทุ ธเจ้า จะเกิดข้นึ หรือไมเ่ กิดขึน้ กต็ าม ความจริงก็คงอยเู่ ปน็ กฎ
ธรรมดา เปน็ ความแนน่ อนของธรรมชาติ …ตถาคต รคู้ วามจริง ค้นพบความจริงนแี้ ล้ว จงึ บอกกลา่ ว เปิดเผย
แสดง ชี้แจง ทาให้ง่าย ว่าดังนี้ ๆ"
พระพุทธเจ้า คือผู้ค้นพบความจริง แล้วนาจริงนั้นมา เปิดเผย แสดงให้ปรากฏ พระพุทธเจ้าไม่ใช่เป็นผู้
บัญญัติ หรือเป็นผู้สร้าง ผู้บันดาลข้ึน มาจากความไม่มี พระองค์เพียงแต่แสดงความจริงที่มีอยู่ การที่พระองค์
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 43
บาเพ็ญบารมี ท้ังหลายเพื่อตรัสรู้เข้าถึงความจริงที่มีอยู่เป็นธรรมดาตลอดเวลา ไม่มีใครเสกสรรค์ บันดาล (ไม่มี
ผู้สร้าง เพราะถ้ามีผู้สร้าง ก็ต้องมีผู้ที่สร้างนั้น ถ้ามีผู้สร้างมีได้เอง ก็ แน่นอนว่า สภาวธรรม ก็มีอยู่ได้โดยไม่ต้องมี
ผู้สรา้ ง) มันไม่อยใู่ ต้อานาจบงั คบั บญั ชา ของใคร ไม่มใี ครบดิ ผนั เปลย่ี นแปลงมนั ได้ ผใู้ ดมีปญั ญาจึงจะรู้เขา้ ใจและใช้
ประโยชน์ มันได้
ความเป็นจริงของกฎธรรมชาตซิ ง่ึ พระพทุ ธเจ้าไดท้ รงสอนเร่อื ง "ไตรลักษณ"์ เป็นหลกั ทีเ่ ด่นวา่ สิ่งท้ังหลาย
นี้ อนจิ จฺ ไม่เที่ยง เกดิ ข้นึ แลว้ ดบั หาย มคี วามเปล่ยี นแปลง, ทุกขฺ คงอยู่ในสภาพเดมิ ไม่ได้ อยใู่ นภาวะขัดแย้ง ถา้ เรา
ไปเกย่ี วข้องด้วยความ อยาก มันก็ฝืนความปรารถนา, อนตฺตา ไม่เป็นตวั ตนของใครได้ ใครจะยึดถือครอบครองสงั่
บงั คบั ไมไ่ ด้ เพราะมันเปน็ ไปตามเหตปุ จั จยั ของมัน หรือดารงอยู่ตามสภาวะของมนั บนฐานแหง่ ธรรมชาติ
ขอ้ ตกลงเบอ้ื งต้น
อรยิ สสั จ์ 4 และกิจในอรยิ สจั จ์ 410
ทกุ ข์ สมทุ ทยั นโิ รจน์ มรรค
ควรกาหนดรู้ ควรละเสยี ควรทาให้แจ้ง ควรเจรญิ
สัจจะ 4 ญาณ 3
สจั จญาณ กิจจญาณ กตญาณ
ทกุ ข์ รู้วา่ ทุกข์ คือดังนี้ รูว้ า่ ทุกข์นค้ี วรกาหนดรู้ รูว้ า่ ทกุ นี้ กาหนดรแู้ ลว้
- รู้ว่าปัญหาคืออะไร ตัวปัญหา - รู้ว่าปัญหานี้ต้องเข้าใจสภาพ - รู้ว่าได้เข้าใจสภาพ และ
อยทู่ ี่ไหน และขอบเขตเปน็ ต้น ข้องมนั ขอบเขตของปัญหาแลว้
สมุทยั ร้วู า่ สมทุ ัยคือดังน้ี รวู้ ่าสมุทยั น้คี วรละเสีย รวู้ ่าสมทุ ัยน้ี ได้ละแล้ว
(รูว้ า่ ตญั หาเป็นเหตุแห่งทุกข)์ (รู้ว่าตณั หาตอ้ งละเสยี ) (รู้ว่าละตัณหาได้แล้ว)
- รู้วา่ สาเหตุของปญั หาคืออะไร - ร้วู ่าตอ้ งแก้ไขที่สาเหตนุ ั้น - รู้ว่าสาเหตุน้ันได้แก้ไขกาจัด
แลว้
นโิ รธ รวู้ ่านโิ รธ คอื ดงั น้ี รู้ว่านิโรธ ควรทาใหแ้ จ้ง รู้ว่านิโรธน้ีได้ประจักษ์แจ้ง
(รวู้ ่านพิ พานเปน็ ภาวะดับทกุ ข)์ (รวู้ า่ นพิ พาน ควรบรรล)ุ แลว้
- ร้วู า่ ภาวะหมดปญั หาที่ต้องการ - รู้ว่าภาวะน้ันเป็นจุดหมายท่ี (รู้ว่าไดบ้ รรลนุ ิพพานแล้ว)
คออะไร ตนต้องการหรือควร ตอ้ งไปให้ถึง - รู้วา่ ได้บรรลจุ ดุ หมายน้นั แล้ว
ต้องการอะไร
มรรค ร้วู า่ มรรรค คือ ดงั น้ี รู้วา่ มรรคควรเจรญิ รวู้ า่ มรรคน้ีได้เจริญแล้ว
(รู้ว่ามรรคมีองค์ 8 เป็นทางดับ (รวู้ า่ มรรคมอี งค์ 8 ควรปฏิบตั ิ) (รู้ว่าได้ปฏิบัตติ ามมรรคแลว้ )
ทุกข)์ - รู้ว่าวิธีน้ันจะต้องลงมือปฏิบัติ - รู้ว่าได้ปฏิบัติตามวิธีการนั้น
- รู้ว่าวิธแี ก้ปญั หาเป็นอย่างไร หรือจัดดาเนินหาร เสร็จส้ินเรียบรอ้ ยแล้ว
10 พุทธธรรม ฉบบั ขยายความ
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ
กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 44
อริยสัจ 4 : หลักความจริงท่ีเป็นธรรมชาติของชีวิต เป็นหลักการแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างเหตแุ ละผล ๔ ประการ
1. ทุกข์ (ความจริงทค่ี วรกาหนดรู)้ สภาพท่ที นได้ยาก ภาวะทีท่ นอยใู่ นสภาพเดิม
ไมไ่ ด้ สภาพท่ีบบี คั้น
2. สมทุ ัย (ความจรงิ ทค่ี วรละ) ความจริงที่ว่าด้วยเหตเุ กิดแหง่ ความทุกข์
3. นิโรธ (หลกั ธรรมท่ที าให้บรรลุ) ความดับทกุ ข์หรอื ดบั ปญั หาตา่ งๆ
4. มรรค (หลักธรรมที่ควรเจริญ หรือทาให้เกิดขึ้น) ข้อปฏิบัติที่ทาให้พ้นจาก
ความทุกขห์ รือปญั หาตา่ งๆ
1) ทกุ ข์ ธรรมท่คี วรกาหนดรู้
1.1) ขนั ธ์ 5 ขันธ์ 5 (เบญจขนั ธ)์ เป็นหลกั ธรรมในศาสนาพุทธทส่ี อดคล้องกับเรอ่ื งของ
“ทุกข์” ตามหลักอริยสัจ 4 โดยหมายถึง กองแห่งรูปธรรมและนามธรรมท้ัง 5 ท่ีทาให้เกิดเป็นตันตนหรือชีวิต
ขึน้ มา หรอื อาจพดู ให้เขา้ ใจได้ง่ายว่า สว่ นประกอบ 5 อย่างทรี่ วมกันแล้วกอ่ ใหเ้ กดิ เป็นคนและสัตว์ขึ้นมานนั่ เอง
ขนั ธ์ 5 ประกอบดว้ ย กองรูปธรรม และนามธรรมทั้ง 5 คอื รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร และวิญญาณ ซึ่ง
สามารถแยกออกเป็น 1 รูป และ 4 นาม ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. รูปขันธ์ หมายถงึ กองรปู ส่วนทเ่ี ปน็ ร่างกาย พฤตกิ รรม คณุ สมบตั ติ ่างๆ ของรา่ งกาย และ
ส่วนประกอบท่ีเป็นรปู ธรรมท้ังหมด
2. เวทนาขันธ์ หมายถึง กองเวทนา สว่ นที่เป็นความร้สู กึ ทกุ ข์ สุข ดีใจ พอใจ
3. สญั ญาขนั ธ์ หมายถงึ กองสัญญา สว่ นทเี่ ปน็ การจาส่งิ ท่ไี ด้รับ
4. สงั ขารขันธ์ หมายถึง กองสงั ขาร ส่วนทีเ่ ปน็ การคดิ ปรงุ แต่งโดยสามารถแยกแยะสง่ิ ท่ีรู้สึกหรอื จดจาได้
5. วญิ ญาณขันธ์ หมายถึง กองวญิ ญาณ หรือ จติ เป็นการรูแ้ จง้ ถึงส่ิงตา่ งๆ ผ่านทางตา หู จมกู ลิ้น กาย
และใจ
ซ่งึ หลกั ธรรมคาสอนเร่ือง “ขันธ์ 5” จะมุง่ เน้นสอนในเรอื่ งสังขารเป็นหลัก โดยให้มองเห็นความเป็นจริง
ของสงั ขารว่าน้นั เปน็ ส่งิ ทปี่ รงุ แต่งข้ึนมา ไม่มคี วามเทีย่ งและกอ่ ให้เกิดทุกขห์ ลายอย่างไม่วา่ จะเปน็ ความอยาก ความ
ยดึ ม่นั ถอื ม่ันในตนเอง ดงั นั้นเม่อื สังขารเกดิ ข้ึนมาก็ย่อมมีวันสญู สลายไปตามกาลเวลา
ดงั นั้นขนั ธ์ 5 จงึ หมายถึง กองนามธรรมและรปู ธรรม 5 อย่างที่กอ่ ใหเ้ กดิ ชีวิตที่เรยี กวา่ สงั ขารขนึ้ มาขน้ึ มา
โดยประกอบดว้ ยรปู เวทนา สัญญา สังขาร และวญิ ญาณ ทร่ี วมกนั กลายเปน็ ชวี ิต สามารถแยกออกไดเ้ ปน็ สว่ นที่เปน็
รูปคอื ร่างกาย และสว่ นทีเ่ ปน็ นามคือส่วนทเ่ี ปน็ ความคิดและความร้สู กึ ท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ทกุ ข์นั่นเอง
1.2) อายตนะ 6 อายตนะ แปลว่า ท่ีเชือ่ มต่อ, เคร่ืองตดิ ต่อ หมายถงึ ส่งิ ที่เป็นสือ่ สาหรบั ตดิ ตอ่ กัน ทาให้
เกิดความร้สู กึ ขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่างคือ
1. อายตนะภายใน หมายถึงส่อื เชอื่ มตอ่ ทีอ่ ยูใ่ นตวั คน บา้ งเรียกวา่ อินทรีย์ 6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
ใจ ท้งั หมดนี้เปน็ ท่ีเชือ่ มตอ่ กบั อายตนะภายนอก
2. อายตนะภายนอก หมายถงึ สอ่ื เชื่อมต่อท่ีอยนู่ อกตัวคน บ้างเรยี กวา่ อารมณ์ 6 มี 6 คอื รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐพั พะ ธรรมารมณ์ ท้งั หมดนเี้ ป็นคูก่ บั อายตนภายใน เช่น รูปค่กู ับตา หคู ู่กับเสียง เป็นต้น
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 45
ส่ิงท่ีสาคญั ท่ตี ้องมอี ยูใ่ นใจอนั หนึง่ คือ การรับรู้ (วิญญาณ); การรบั รทู้ างตา (จักขุวญิ ญาณ), การรบั รู้ทางหู (โสต
วญิ ญาณ), การรบั ร้ทู างลน้ิ (ชิวหาวิญญาณ), การรับรู้ทางจมกู (ฆานะวญิ ญาณ), การรับรทู้ างกาย (กายวญิ ญาณ)
วญิ ญาณแตล่ ะอย่างทง้ั หมดนเี้ กิดในใจของเรา
พระพทุ ธเจ้าเคยตรัสไวใ้ นหลาย ๆ ทว่ี า่ “พอมีผสั สะแลว้ ก็จะมีสญั ญา (ความหมายร้)ู ดว้ ย มี
เวทนา (ความรูส้ กึ ) ด้วย มเี จตนา (การปรุงแต่งคิดนึกไปในทางกาย ในทางวาจา หรือไปในทางใจ
บางทกี ใ็ ช้คาว่า “สังขาร”) ”
ฆานวิญญาณ มโนวิญญาณ
จักขุวญิ ญาณ โสตวญิ ญาณ
กายวญิ ญาณ ชวิ หาวญิ ญาณ
พอมีการรบั รู้เกดิ ในแตล่ ะชอ่ งทางๆ เชน่ พอมีเสียง มีหู มโี สตวิญญาณ การประจวบพรอ้ มของธรรม ๓ ประการ
จะมี “ผัสสะ” เกิดขน้ึ ในใจของเรา พอในใจมกี ารเกิดขนึ้ ของเวทนา สญั ญา เจตนาหรอื สังขาร กต็ ้องมกี ารรับรขู้ อง
ส่ิงท่เี กิดขึน้ ในใจนี้ จงึ เป็นการรับรู้อันท่ี ๖ เรียกวา่ “มโนวญิ ญาณ”วิญญาณในข้อท่ี ๖ เปน็ มโนวิญญาณกต็ ้องมาคู่
กับชอ่ งทางคอื มโน ก็ตอ้ งมาคู่กับสงิ่ ท่ไี ปรับรคู้ ือ สัญญา เวทนา เจตนา และผัสสะซ่ึงตรงนัน้ กต็ ้องไปจัดหมวดหมู่
รวบกนั อยทู่ อ่ี ายตนะภายนอก เพราะฉะนั้นจึงมอี ายตนะภายนอกท่อี ยู่ในช่องทางคอื ใจ
อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 46
2) สมุทยั ธรรมท่คี วรละ
2.1) หลักกรรม สมบัติ 4 วิบัติ 4
สมบตั ิ 4 : ความเพียบพร้อม, ความสมบรู ณแ์ หง่ องค์ประกอบตา่ งๆ ซง่ึ อานวยแก่การให้ผลของกรรมดี
1. คติสมบัติ สมบตั แิ หง่ คติ, สถานที่หรือสภาพแวดล้อมเหมาะสมเก้อื กลู
2. อปุ ธสิ มบตั ิ สมบตั แิ หง่ รา่ งกาย, การมีบุคลดี เชน่ มีรปู สวย ร่างกายสง่างาม
3. กาลสมบัติ สมบัติแห่งกาล, การทาอะไรที่ถูกท่ีถกู เวลา ถกู จงั หวะ
4. ปโยคสมบตั ิ สมบัติแหง่ การประกอบ, ความสมบรู ณเ์ ร่อื งทีจ่ ะทา เชน่ ทาเรอ่ื งตรงกับเข้าท่ีต้องการ
วิบัติ 4 : จดุ ออ่ น, ความบกพรอ่ งแหง่ องคป์ ระกอบต่างๆ ซึ่งไม่อานวยแก่การใหผ้ ลของกรรมดี
1. คติวบิ ัติ วบิ ตั ิแหง่ คติ ,สถานทหี่ รือสภาพแวดลอ้ มไม่เหมาะสม ไม่เก้ือกลู
2. อปุ ธิวิบัติ วิบตั ิแห่งร่างกาย,การบุคลิกภาพบกพรอ่ ง เช่น ร่างกายพกิ าร ออ่ นแอ
4. ปโยคสมบัติ วิบตั แิ หง่ กาล,การทาอะไรไม่ถูกเวลา ไม่ถูกจังหวะ
4. ปโยควิบัติ วิบตั แิ ห่งการประกอบ,เรือ่ งท่ที าบกพร่อง เชน่ ทาเรอ่ื งทเ่ี ข้าไมต่ อ้ งการ
สมทุ ยั คอื สาเหตทุ ่ีทาใหเ้ กิดทกุ ข์ ได้แก่ ตัณหา หรือความทะยานอยาก ซ่ึงจาแนกได้ 3 ประการ
1. กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม กาม หมายถงึ รูป เสียง
กลิ่น รส สมั ผสั ท่นี า่ ใคร่ น่าปรารถนา นา่ พอใจ ความทะยานอยากในกาม จงึ
หมายถึง ความดิน้ รนอยากเห็นสงิ่ ทส่ี วยงาม อยากฟงั เสียงที่ไพเราะ อยากดม
กล่ินทหี่ อม อยากลิ้มรสทอี่ รอ่ ย อยากสมั ผัสทนี่ ่าใคร่น่าปรารถนา น่าพอใจ
2. ภวตณั หา ความทะยานอยากในความเปน็ คอื ด้ินรนอยากเปน็
บคุ คลประเภทที่ตนชอบ เช่น นักรอ้ ง นกั แสดง นักการเมอื ง หรอื อยากไดเ้ ล่อื น
ยศเลือ่ นตาแหนง่ กอ่ นใครๆ
3. วิภวตัณหา ความอยากในความไมม่ ีหรอื ไม่เปน็ คอื ด้ินรนอยาก
ไมเ่ ป็นสท่ิ ่ีเขาใหเ้ ป็นหรืออยากจะพน้ ไปจากตาแหน่างท่เี ปน็ อยแู่ ล้ว รวมทง้ั
อยากให้สงิ่ นั้นส่ิงน้ีหมดไป
................................ตัณหา ............................................ตัณหา ......................................ตัณหา
อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 47
2.2) อกุศลกรรมบถ 10
อกศุ ลกรรมบท 10 หมายถึง ทางแหง่ ความชว่ั หรือ กรรมช่ัวอนั เปน็ ทางไปสู่ความเสอ่ื มและความทกุ ข์
การทาความช่วั แบ่งได้ 3 ทาง
1) การทาความชัว่ ทางกาย - ปาณาตบิ าต คอื การฆ่าสตั ว์ หรือการทาให้ชวี ิตสตั วโ์ ลกถงึ แก่ความตาย
มี 3 ประการ - อทินนาทาน คอื การลกั ขโมยของผู้อนื่ หรอื การถอื เอาส่ิงของท่เี จา้ ของ
ไม่ให้ รวมถงึ การฉ้อโกง การยักยอก การหลอกลวง
- กาเมสุมิจฉาจาร คือ การประพฤติผิดในสามี ภรรยา บุตร ธิดาของผู้อื่น
2) การทาความช่ัวทาง - มุสาวาท คือ การพดู เท็จ พูดสง่ิ ทีไ่ มจ่ ริงโดยท่ีตนรู้ว่าไม่จรงิ รวมถึงการพดู
วาจา มี 4 ประการ กากวมเพื่อหลอกลวงผู้อ่ืน
- ปิสณุ าวาจา คอื การพูดส่อเสียด พดู กระทบกระเทยี บเหนบ็ แนม เพอ่ื ให้
อีกฝา่ ยหนง่ึ เจบ็ ใจ การพดู สอ่ เสียดมักเกิดจากความอิจฉา
- ผรสุ าวาจา คือ การพดู คาหยาบ การพูดหยาบก่อใหเ้ กิดความแตกรา้ ว ทา
ใหเ้ รอื่ งเล็กกลายเปน็ เรอ่ื งใหญ่
- สมั ผัปปลาปะ คอื การพดู เพ้อเจอ้ ไมม่ ีสาระ ไม่มีประโยชน์แก่ใครไมว่ า่
ตนเองหรอื ผอู้ ื่น
3) การทาความชว่ั ทางใจ - อภชิ ฌา คอื การคิดเพ่งเลง็ อยากไดข้ องผูอ้ น่ื โดยไมน่ กึ วา่ ของใครใครก็
มี 3 ประการ หวง แมย้ งั มไิ ดล้ งมอื ขโมยแต่ก็ทาใหจ้ ิตใจเสอ่ื ม
- พยาบาท คอื การคิดรา้ ยต่อผอู้ ื่น อยากใหผ้ ้อู น่ื เจ็บปวด เสยหาย ประสงค์
ร้าย ความคิดรา้ ยน้นั จะบั่นทอนความสามารถ และความดีของตนเอง
- มิจฉาทิฐิ คอื ความเห็นผดิ จากคลองธรรม เชน่ ไม่เชื่อว่าทาดีไดด้ ี ทาช่ัว
ไดช้ ่ัว เป็นต้น
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 48
2.3) อบายมุข 6
อบายมขุ 6 หมายถงึ ทางแห่งความเส่อื ม มี 6 ประการ
กรรม ผล
1) ตดิ สรุ าและของมนึ เมา
- ทาให้เสียทรพั ย์ – ทาให้เกิดการทะเลาะวิวาทกันและบางครั้งถึงกับฆา่
2) ชอบเทย่ี วกลางคนื กนั - เปน็ บอ่ เกิดแห่งโรค เพราะทาให้เสยี สุขภาพ บั่นทอนกาลังกาย - ทาให้เสีย
เกียรติยศและช่อื เสยี ง - ทาให้เปน็ หน้าดา้ นไมร่ ้จู กั อาย- บั่นทอนกาลังสติปญั ญา
3) ชอบเทยี่ วดกู ารละเลน่
4) ติดการพนนั - เป็นการไม่รักตัว เพราะทาใหร้ า่ งกายและจิตใจไมป่ กติ - เป็นการไม่รกั
ลกู เมยี หรอื ครอบครัว - เปน็ การไมร่ ักษาทรพั ย์สมบตั ิ - เป็นท่ีระแวงสงสัยของ
5) คบคนชัว่ เปน็ มิตร ผอู้ ่ืน - เป็นเปา้ หมายใหเ้ ขาใส่ความได้ เพราะทาอะไรผิดเลก็ น้อย-เปน็ ท่มี าของ
6) เกยี จคร้านการงาน ความเดอื ดร้อนนานาชนดิ เพราะเมือ่ เทย่ี วจนหมดเงิน
ทาให้ใจจดจอ่ อยู่กบั ส่ิงที่จะเล่น ไมเ่ ป็นอันทามาหากจิ เสยี ทงั้ เวลา เสียงท้ังเงนิ ทา
ให้คนเชื่อถอื นอ้ ยลง ถูกมองว่าเป็นคนไม่เอาการเอางาน
- เม่อื ชนะยอ่ มก่อเวร- เม่ือแพ้ย่อมเสียดายทรัพย์ - ทรัพย์สนิ ยอ่ มเสยี หาย
เพราะเงินทไี่ ด้มาน้นั มกั เกบ็ ไว้ไดไ้ มน่ าน- ไมใ่ ครเชื่อถอื เพราะผ้อู ืน่ ยอ่ มขาดความ
เชื่อถือในถ้อยคา - เพ่ือนฝงู ดูหมนิ่ ไมอ่ ยากคบค้าสมาคม - ไมม่ ีใครอยากไดเ้ ป็น
คคู่ รอง เพราะกลัวครอบครวั ไม่ราบรน่ื
คือทาใหเ้ ปน็ คนชว่ั ตามไปดว้ ย ไดร้ ับความทุกข์ความเดือดร้อนตามไปดว้ ย
- ไมเ่ สยี ทรัพย์ไปโดยเปลา่ ประโยชน์ - ไม่หมกมนุ่ ในสง่ิ ทหี่ าสาระมไิ ด้
- ประกอบหน้าท่ีการงานได้เตม็ ที่- ชวี ติ ไมต่ กตา่ - เปน็ ทีร่ ักและไวว้ างใจของผูอ้ ื่น
- สามารถประกอบอาชพี หนา้ ทีก่ ารงานไดด้ ว้ ยความสุจริต
“…ดูกอ่ นทา่ นพราหมณ์ เมื่อตถาคตตรัสรใู้ หม่ ๆ ธิดามาร 3
คน ซง่ึ มรี ่างกายเป็นทิพยส์ วยงามกว่าลูกสาวของทา่ นหลาย
เทา่ นกั มาประเล้าประโลมเรา เรายังไมส่ นใจ ไม่พอใจ เหตุ
ไฉนจะมาพอใจยินดีในลกู สาวของทา่ นน้ี…”
“...อานนท์ ! เราเป็นเชน่ กบั ช้างทเ่ี ข้าสสู่ งคราม การอดทนตอ่
ลูกศรที่แล่นมาจาก ๔ ทิศเป็นภาระของช้างที่เขา้ ส่สู งคราม
ฉนั ใด ! การอดทน ต่อถอ้ ยคาทคี่ นทศุ ีล (ไม่มศี ลี ) เป็นอันมาก
กล่าวแลว้ เปน็ ภาระของเรา ฉันน้นั เราจกั อดกล้นั ต่อคา
ลว่ งเกนิ ดังช้างศึกท่อี ดทนตอ่ ลูกศร เพราะคนเป็นอันมากเป็น
ผู้ทศุ ลี …”
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ
กล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 49
3) นิโรธ ควรทาให้แจ้ง
นโิ รธ คือความดับทุกข์ หมายถึง สภาวะท่ีทกุ ขด์ ับไปเม่ือดบั สาเหตขุ องความทกุ ข์ได้ ความทุกข์ก็จะสิ้นไป
อันเกดิ จากการปฏิบตั ิธรรม ธรรมที่ควรบรรลุ คอื
3.1) สามิสสุข “สามสิ สขุ ” คือความสขุ ทอี่ งิ อามิส กลา่ วคือความสุขที่อาศัยกามคณุ ไดแ้ ก่ ความสุขท่พี ระ
ท่านเรียก “สุขเวทนา” อนั เกดิ แตก่ ารได้พบเหน็ ได้ยนิ ได้ฟัง ไดก้ ลิ่น ไดร้ ส และได้สมั ผัส รปู – เสียง– กลน่ิ – รส และ
สิ่งสมั ผัสทางกายท่ีนา่ เพลิดเพลิน นา่ กาหนัดยนิ ดี พอใจ ในขณะเดียวกันสุขเวทนาท่อี งิ อามสิ นัน้ แหละ ย่อมเป็นเหตุ
เป็นปจั จยั ใหเ้ กดิ กิเลส ตัณหา อุปาทาน อนั เปน็ เหตุนาเหตหุ นุนใหไ้ ม่สารวมกาย วาจา ใจ และประกอบกรรมชั่วหรอื
บาปอกศุ ล ใหเ้ กดิ ความทุกข์เดอื ดร้อนไดอ้ กี จึงเป็นความสุขที่ไม่เท่ยี งแท้ถาวร เพราะเปน็ ความสุขที่ยงั มโี อกาสกลบั
เปน็ ทุกขไ์ ด้อีก
3.2) นิรามสิ สุข “นริ ามิสสุข” เป็นความสุขทีไ่ ม่อิงอามิส คอื เปน็ ความสขุ ทไ่ี ม่ต้องอาศยั กามคุณ แต่อาศัย
เนกขมั ม์ คอื การปลกี ออกจากกามคุณ หรือเป็นอิสระจากกามคุณ จงึ ไม่มีเหตุปัจจยั ให้เกดิ กเิ ลส ตัณหา อุปาทาน ที่
จะเปน็ เหตนุ าเหตุหนนุ ให้กระทากรรมชั่วหรอื บาปอกศุ ล ให้เกิดความทกุ ขเ์ ดอื ดร้อนไดอ้ ีก ความสุขอันเกดิ แต่ความ
สงบจากกรรมช่วั และ/หรอื อนั สงดั จากกเิ ลส ตณั หา อุปาทาน เช่นน้ี ยอ่ มเป็นความสุขทีเ่ ท่ยี งแทถ้ าวร คอื เป็น
ความสขุ ท่ไี ม่มเี หตุปจั จยั ให้กลับเปน็ ทกุ ขไ์ ด้อกี
4) มรรค ควรเจริญ
มรรค คอื หนทางนาไปสูค่ วามดับทกุ ข์ อนั ไดแ้ ก่ อรยิ มรรค 8 ซึง่ ได้รบั
การหล่อ เลยี้ งด้วยการดารงชีวิตอย่างมีสตคิ วามมีสตินาไปสสู่ มาธิและปัญญาซ่งึ
จะปลดปลอ่ ย ใหพ้ น้ จากความทุกข์และความโศกเศร้าท้ังมวลอันจะนาไปสู่ความ
ศานตแิ ละ ความเบิกบาน พระพทุ ธองคไ์ ด้ทรงเมตตานาทางพวกเราไปตาม
หนทางแหง่ ความร้แู จง้ น้ี
4.1) บพุ พนิมิตของมชั ฌมิ ปฏปิ ทา กค็ อื บพุ ภาคของการศึกษา
หมายถึง ส่วนเบอื้ งต้นของการศกึ ษา นนั่ คอื “สมั มาทฏิ ฐิ ความเห็นชอบ” เปน็
องคป์ ระกอบสาคญั ของมรรค ในฐานะทีเ่ ป็นจดุ เร่ิมต้นของการปฏบิ ัตธิ รรมหรอื
เปน็ ขั้นเร่มิ แรกในระบบการศกึ ษาตามหลักการของ พระพุทธศาสนา และ
เป็นธรรมที่ตอ้ งพฒั นาใหบ้ รสิ ุทธิ์ ชัดเจน เปน็ อสิ ระมากขน้ึ ตามลาดับจน
กลายเปน็ การตรัสรใู้ นท่ีสดุ สัมมาทฎิ ฐิ คอื ปญั ญาชน้ั สูงทีเ่ กดิ จาการส่ังสอนอบรม
ในด้านจิตใจ จนเหน็ สัจจะท้งั ปวงว่าอะไรควรข้องแวะ อะไรควรละอย่างชดั เจน
การจัดการศกึ ษาจนได้ปญั ญาประเภทสมั มาทิฎฐิ คอื การวางรากฐานความ
ถูกตอ้ งให้แกว่ ิชาการทั้งปวง ความรใู้ ด ๆ ก็ตามท่ีตัง้ อยูบ่ นสัมมาทิฎฐิ ลว้ น
เป็นความรูท้ ่ีไมเ่ ป็นพษิ เป็นภัยแกใ่ คร แต่จะสรา้ งสรรค์ประโยชนฝ์ ่ายเดยี ว พื้นฐานสาคัญของการเรยี นการสอนวชิ า
ตา่ งๆ ต้องมีสัมมาทฏิ ฐเิ ปน็ แกนกลาง พระพุทธองคก์ ไ็ ด้ชชี้ ัดว่าการเกิดสมั มาทิฏฐิมาจากเหตสุ องอย่าง ปรโตโฆ
สะ คือปจั จัยกระตุน้ การเรียนรจู้ ากภายนอก เช่น การแนะนา การถ่ายทอด คาบอกเล่า ตลอดจนการเลยี นแบบ
อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ
กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 50
จากพอ่ แม่ ครู เพื่อน โยนโิ สมนสกิ าร คอื ปจั จยั กระตุ้นการเรยี นร้จู ากภายใน หมายถงึ การคิดอย่างแยบคาย หรือ
ความรจู้ ักคดิ คิด คดิ อย่างมีระบบ คิดอย่างมีกระบวนการ คิดรอบดา้ น หรอื คิดตามแนวทางปญั ญา
อกี นยั หน่ึง บพุ พนิมติ แปลวา่ ส่ิงทเี่ ปน็ เครือ่ งหมายให้รู้ หมายถึง สง่ิ ท่ีบ่งบอกล่วงหน้าก่อนทีอ่ รยิ มรรคมี
องค์ 8 จะเกดิ ขึ้นในตวั ของผูป้ ฏบิ ัติ บุพพนิมติ ของมัชฌมิ าปฏิปทา มี 7 ประการ
การมกี ัลยาณมิตร คือการมเี พอ่ื นทีด่ ีทแี่ นะนาประโยชน์ เรียกวา่ กลั ยาณมติ ตตา
ความถึงพร้อมด้วยศลี คอื การมีวินัย มีระเบยี บในชีวติ ของตนและการอยรู่ ว่ มกันในสงั คม เรียกว่า สลี
สมั ปทา
ความถึงพร้อมด้วยฉันทะ คอื ความพอใจใฝร่ กั ในปัญญา ในจริยธรรม ใฝ่รใู้ นความจริงและใฝใ่ นความดี
เรยี กวา่ ฉันทสมั ปทา
ความถึงพร้อมด้วยการที่จะฝกึ ฝนพัฒนาตน คือ การรู้จักฝึกฝนพฒั นาตน เรียกว่า อัตตสมั ปทา
ความถึงพร้อมดว้ ยทิฏฐิ คอื การยึดถือ เชอ่ื ถอื ในหลกั การและมีความเหน็ ความเข้าใจ พืน้ ฐานทมี่ องเหน็
สง่ิ ทงั้ หลายตามเหตุผล เรียกวา่ ทิฏฐิสัมปทา
ความถึงพรอ้ มดว้ ยความไมป่ ระมาท คือ มีความกระตือรอื รน้ อยเู่ สมอ เหน็ คุณค่าของกาลเวลา เห็นความ
เปลีย่ นแปลงเปน็ สิ่งท่กี ระต้นุ เตอื นให้เรง่ รัดการค้นหาให้เข้าถงึ ความจรงิ หรือในการทาชีวิตท่ีดีงามให้สาเรจ็ เรียกวา่
อปั ปมาทสมั ปทา
การรู้จักใช้ความคดิ ที่ถูกวิธี คดิ เปน็ คดิ อย่างมรี ะเบยี บ รู้จกั คิดพจิ ารณา เพ่อื นามาใชพ้ ัฒนาตนใหก้ า้ วหนา้
ย่ิงๆขนึ้ ไป เรยี กว่า โยนโิ สมนสกิ าร
4.2) ดรุณธรรม 6 ดรุณธรรม ดรณุ ธรรม เรยี กอีกอย่างหน่ึงวา่ วฒั นมขุ หมายถึง ธรรมท่ีเป็นหนทางแห่ง
ความสาเร็จ คอื การเปิดประตูสูค่ วามเจริญก้าวหน้า ดาเนนิ ตามหลักธรรมทเ่ี ป็นประตแู หง่ ประโยชนส์ ุข หรือข้อ
ปฏิบตั ิที่เป็นดจุ ประตูชัยอันเปิดออกไปสู่ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของชีวิต มี 6 ประการคอื
ก) อโรคยะ หมายถึง การรักษาสุขภาพดี มีลาภอนั ประเสริฐ
ข) ศีล หมายถึง การมีระเบียบวินยั ดี มคี วามประพฤตทิ ี่ดี
ค) พุทธานุมัต หมายถึง ได้คนดีเปน็ แบบอย่าง ศึกษาเย่ยี งอยา่ ง
ง) สุตะ หมายถงึ การตัง้ ใจเรยี นใหร้ ้จู รงิ คอื การศึกษาเล่าเรียน
จ) ธรรมานุวัติ หมายถงึ ทาแตส่ ่งิ ทถ่ี กู ตอ้ งดงี าม คือ ดารงม่ันในสจุ ริต
ฉ) อลนี ตา หมายถึง มีความขยนั หมนั่ เพียร คือมกี าลังใจแข็งกล้า
4.3) กุลจิรัฏฐติ ิธรรม คอื ธรรมหรือขอ้ ปฏิบตั สิ าหรับรักษาวงศ์ตระกลู ให้ดารงอยู่ไดน้ าน ธรรม สาหรบั
ดารงตระกลู ใหย้ ั่งยืน มี 4 ประการ คอื
ก) นัฏฐคเวสนา คอื การแสวงหาทรัพยส์ นิ หรอื สิง่ ของใดทหี่ มดหรอื หายไป ควรรู้จักหามา
ทดแทนไว้ สิ่งของทจ่ี าเป็นในครอบครวั เช่น ปจั จัย
ข) ชิณณปฏิสังขรณา คอื การบรู ณะซ่อมแซมพัสดทุ ่ีเก่าชารดุ หมายถึง สิ่งของท่ีจาเป็นเมื่อ เกิด
ชารุดเสยี หายจะตอ้ งรู้จกั ซอ่ มแซมให้ใช้การได้ เช่น ทอี่ ยอู่ าศยั อุปกรณ์ เครอ่ื งใช้ต่างๆ ภายในบา้ น เป็นต้น
ค) ปรมิ ิตปานโภชนา คอื การร้จู ักประหยัด รจู้ กั กินรู้จักใช้เทา่ ทีจ่ าเป็นใหเ้ หมาะสมแกฐ่ านะตน
ไม่ใช้จา่ ยเกินฐานะของตนเอง ไม่ก่อหนส้ี นิ ให้กับครอบครวั รู้จักกิน
อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ