The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนา มัธยมศึกษาปีที่2 สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by varayuth2006, 2021-09-18 03:55:17

พระพุทธศาสนา มัธยมศึกษาปีที่2 สมบูรณ์

พระพุทธศาสนา มัธยมศึกษาปีที่2 สมบูรณ์

กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 51

ง) อธปิ จั จสลี วันตสถาปนา คอื การประกอบอาชีพสุจรติ มีความขยนั หม่นั เพียรในการทางาน

ก็สามารถสืบทอดต่อวงศ์ตระกลู ให้เจรญิ ยั่งยืนต่อไปได้
หากครอบครัวใดปฏบิ ัตไิ ด้ดงั น้จี ะนาความมั่งคง่ั ยงั่ ยนื มาสู่ตระกลู ในทางตรงกันข้าม หากตระกูลใดละ

เว้นหลักธรรมดังกล่าว ตระกูลน้นั ยอ่ มไม่มีความมงั่ คัง่ หรือตั้งอย่ไู ดไ้ ม่นาน

4.4) กุศลกรรมบถ 10 คอื ทางแห่งกุศล ทางแหง่ ความดี หรือกรรมดีท่คี วรประพฤติปฏิบัติ มี 10
ประการ แบง่ เปน็ 3 หมวด ดังน้ี

ก) กายสุจริต 3 คอื 1. ปาณาติปาตา เวรมณี คือ การละเวน้ จากการฆ่าสตั วต์ ดั ชวี ิต
การกระทาความดี 2. อทินนาทานา เวรมณี คือ

ทางกาย 3. กาเมสุมฉิ าจารา เวรมณี คือ การละเวน้ จากการปฏบิ ตั ิผิดกาม

ข) วจีสจุ ริต 4 คือ 1. กาเมสุมิฉาจารา เวรมณี คอื การละเว้นจากการพดู เท็จ ควรพดู ในสิง่ ท่ีเปน็ จรงิ
การกระทาความดี 2. ปิสณุ าย วาจาย เวรมณี คือ การละเวน้ จากการพดู สอ่ เสียด ยุยงใหแ้ ตกแยก
ทางวาจา 3. ผรุสาย วาจาย เวรมณี คือ การละเว้นจากการพดู คาหยาบ ควรพูดสุภาพ

4. สมั ผปั ปลาปา เวรมณี คือ การละเวน้ จากการพดู เพอ้ เจ้อและไร้สาระ

ค) มโนสจุ รติ 3 คือ 1. อนภิชฌา คอื ไม่โลภอยากได้ของผอู้ นื่
การกระทาความดี 2. อพยาบาท คือ ไมค่ ดิ ปองรา้ ย ไม่คิดแค้นเคืองผ้อู ื่น
ทางใจ 3. สัมมาทิฏฐิ คือ ไม่เห็นผิดจากทานองคลองธรรม ไมเ่ หน็ ผิดเปน็ ชอบ

4.5) สตปิ ฏั ฐาน 4 สตปิ ฏั ฐาน หมายถงึ ขอ้ ปฏบิ ตั ิที่เปน็ ท่ีต้งั แหง่ สติ หรอื การต้งั สตกิ าหนดพิจารณาสิ่ง
ต่างๆ ให้ รู้เท่าทัน ทาใหม้ ีสติสมั ปชญั ญะที่สมบรู ณ์ และทาใหไ้ มป่ ระมาทในการ

ดาเนินชวี ิต การต้งั สตกิ าหนดพจิ ารณาสิง่ ทั้งหลายให้เห็นตามความเป็นจรงิ มี 4
ฐาน คอื

ก) กายานุปสั สนา คอื การต้งั สติกาหนดพจิ ารณากาย เพือ่ ให้

รเู้ ทา่ ทันและเข้าใจตามความ เปน็ จรงิ ว่ากายนไ้ี ม่มีตวั ตนทแ่ี ท้จริง ไม่ใช่ของเรา
เราบงั คับไม่ได้ ต้องมแี ก่ เจ็บ ตาย ไปตามกาลเวลา

ข) เวทนานปุ สั สนา คือ การตั้งสตกิ าหนดพจิ ารณาเวทนา คอื
ความสุข ความทุกข์ หรือความ เฉยๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในขณะใดขณะหนึ่งอย่างรู้เทา่ ทนั
ว่ามนั เป็นอยา่ งไร

ค) จิตตานุปัสสนา คอื การต้งั สตกิ าหนดพิจารณาจติ ที่มสี ง่ิ
มาปรุงแตง่ ทั้งจิตฝ่ายกศุ ล และฝ่าย อกุศล เพื่อใหร้ ้เู ท่าทันถงึ สภาพหรืออาการ

ของจติ วา่ จิตใจขณะนัน้ เปน็ อย่างไร มีความข่นุ มวั หดหู่ ฟ้งุ ซา่ น เบ่อื หนา่ ย เกยี จ
คร้าน หรือขยนั

ง) ธัมมานุปสั สนา คอื การตั้งสตกิ าหนดพจิ ารณาธรรมท่ีเปน็

กุศลหรอื เป็นอกศุ ล ซึง่ เกดิ ขน้ึ กบั ใจวา่ เกดิ ขึน้ จากเหตปุ ัจจยั อะไรบา้ ง และจะดบั ไปดว้ ยวิธีใด โดยการพิจารณา
ธรรมใหเ้ ห็นตามความเป็นจรงิ

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 52

ผู้ที่สามารถกาหนดสติให้รเู้ ท่าทนั ธรรมทงั้ ธรรมทั้ง 4 ประการน้ี เปน็ ผู้ดารงตนอยใู่ นความไมป่ ระมาท
เพราะมสี ติอยตู่ ลอดเวลา ดงั นน้ั หลักธรรมดังกลา่ วจึงเปน็ ธรรมทค่ี วรเจริญเพื่อความสาเรจ็ ในชีวิต

4.6) มงคล 38 หมายถงึ สิ่งที่มีทาให้มโี ชคดี ธรรมท่ีนาความสุขและความเจรญิ มาให้แกผ่ ูป้ ฏบิ ัติ มี 38
ประการ หลักธรรมท่เี ปน็ มงคลมี 3 ประการ มีดงั นี้

ก) ธรรมจริยา จ คอื การประพฤติธรรม การดารงอยูใ่ นศลี ประพฤติปฏบิ ตั ิตนให้อยใู่ นกรอบของ
ความ ถูกตอ้ งและความดตี ามหลักกศุ ลกรรมบถ 10 เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลอันเปน็ มงคลแกชีวิต น้นั คอื ความสุขความเจรญิ

ข) อารตี วริ ตี ปาปา คอื การละเวน้ จากการประพฤตปิ ฏบิ ัตชิ ่ัว การไมก่ ระทาส่ิงทไ่ี มด่ ี สง่ิ ท่ีทาให้

จติ ใจ เศร้าหมองเดือดรอ้ น มผี ลเปน็ ทุกข์ทั้งทางกาย วาจาและใจ
ค) มัชชปานา จ สญั ญโม คอื การเว้นจากการดืม่ นา้ เมา ซึ่งเป็นอบายมุขประการหน่งึ ทจ่ี ะนาไปสู่

ความ เส่อื ม รวมทง้ั สิง่ เสพตดิ ทง้ั หลายด้วยเพราะจะนาความเดอื ดร้อนมาใหท้ ง้ั ตนเองและผู้อนื่ การละเว้นจากสงิ่
เหล่านีไ้ ด้ถือเปน็ มงคลอันประเสริฐท่ีควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ันบคุ คลจึงไมค่ วรเขา้ ไปขอ้ งแวะหรือไมห่ วนกลบั ไปหา ไมว่ ่า
โดยวิธใี ดกต็ าม เพราะทาใหเ้ สยี ทรัพย์ เกดิ โรค ขาดสตยิ ั้งคดิ และอาจทาใหเ้ กดิ การทะเลาะวิวาท

บนั ทกึ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 53

ทบทวนความรทู้ ้ายบท

นกั เรยี นตอบความคดิ เหน็ ลงในช่องว่างตามความหมายของหลักธรรม

ประโยชน์ของการเวน้ จากอบายมุข 6

1. การดม่ื นา้ เมา ……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

2.การเท่ยี วกลางคนื ……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

3. การเทย่ี วดูการละเลน่ ……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

4. การเป็นนักเลงการพนนั ……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

5. การเกยี จคร้านทาการงาน ……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

6. การคบคนชว่ั เป็นมติ ร ……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

พระพทุ ธศาสนาสอนสามสิ สุข ในฐานะชาวพุทธ ควรปฏบิ ัติตอ่ สามสิ สขุ นัน้ อยา่ งไร
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 54

สาระการเรยี นรพู้ นื้ ฐานพระพุทธศาสนา ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒

1. บคุ คลใดไม่มีภวตณั หา

1. สมพงศ์อยากเห็นนางสาวไทย 2. สมโภชอยากมรี ถเก๋ง

3. สมหวังอยากไดเ้ งนิ ทอง 4. สมพฒั นอ์ ยากเป็นรฐั มนตรี

2. “เหน็ กงจกั รเปน็ ดอกบัว” มีความหมายตรงกนั ข้ามกบั ข้อใดมากทส่ี ดุ

1. สัมมาสติ 2. สัมมาทฏิ ฐิ

3. สมั มาสมาธิ 4. สัมมาอาชีวะ

3. อริยสัจ ๔ ข้อใดกล่าวถูกต้อง

1. ทกุ ข์ – ความดบั ทุกข์ 2. สมทุ ยั – เหตทุ ่ีทาใหพ้ น้ ทุกข์

3. นิโรธ – ความไมส่ บายกายไม่สบายใจ 4. มรรค – ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทกุ ข์

4. ความต้องการและการกระทาในขอ้ ใดเก่ียวขอ้ งกบั “วภิ วตณั หา” มากทส่ี ุด

1. เต๋าตอ้ งการมลี ูก จึงบนบานศาลกลา่ วกบั เจ้าพอ่

2. จอ๊ บไมต่ ้องการเป็นคนจน จึงปลน้ เขากนิ ไปวันๆ

3. โบว์ต้องการเปน็ เจา้ ของมรดก จึงทาพินยั กรรมปลอม

4. แท่งไมต่ ้องการใหใ้ ครดถู ูกเหยยี ดหยาม จึงตงั้ หนา้ ทางานจนรวย

5. อภิชาตถือว่าเป็นลกู คนมงั่ มีจึงไม่เกรงกลวั ใครและชอบแกล้งเพอื่ นเปน็ ประจา ทาใหเ้ พอื่ นๆ ไม่คบหา

สมาคมด้วย อภิชาตรู้สกึ กลุ้มใจมาก จากขอ้ ความนี้นกั เรยี นคดิ วา่ “สมุทัย” ทแ่ี ทจ้ ริงของความกลุ้มใจคอื ขอ้

ใด

1. การเกิดเป็นลูกคนมั่งมี 2. การทเี่ พ่อื นๆ ไม่คบหาสมาคม

3. ความไม่เกรงกลัวใครและมีนิสยั ชอบแกลง้ คนอนื่ 4. ถกู ทกุ ข้อ

6. หลกั ธรรรมใดทีส่ อดคลอ้ งกับหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. กลุ จิรัฏฐิติธรรม ๔ 2. ดรณุ ธรรม ๖

3. มงคลชวี ิต 4. อริยสัจ 4

7. หากนักเรียนต้องการทีจ่ ะประสบความสาเรจ็ ความกา้ วหนา้ ในชีวิต ควรนาหลักธรรมใดไปปฏบิ ตั ิ

1. อริยสจั 4 2. กลุ จริ ัฏฐติ ธิ รรม ๔

3. มงคลชีวติ 4. ดรณุ ธรรม ๖

8. ขอ้ ใดคือความหมายของ สมั มาสังกัปปะ

1. การดาเนนิ อาชีพโดยชอบ 2. การดาริเพ่อื ผลอันชอบ

3. การทางานถกู ทาง 4. ความพยายามถกู ตอ้ ง

9. หลกั ธรรมใดเปน็ หลกั ธรรมสาคัญเพือ่ การดบั ทุกข์และพ้นทุกข์

1. มงคลชวี ิต 2. ดรณุ ธรรม ๖

3. อรยิ สัจ 4 4. กุลจริ ฏั ฐติ ธิ รรม ๔

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 55

10. เกง่ เป็นผู้ที่มีความประหยดั ร้จู ักนาของเหลือใชม้ าใชป้ ระโยชน์ แสดงวา่ เก่งเปน็ ผูม้ หี ลักธรรมใด

1. มงคลชีวิต 2. ดรณุ ธรรม ๖

3. กุลจิรัฏฐิตธิ รรม ๔ 4. อรยิ สจั 4

11. ข้อใดเรยี งลาดับโครงสรา้ งพระไตรปฎิ ก ซึ่งแบ่งออกเปน็ ๓ ส่วน ได้ถกู ต้อง

1. พระวนิ ยั ปฎิ ก พระธรรมปิฎก พระสตุ ตนั ตปฎิ ก

2. พระวินยั ปฎิ ก พระอภิธรรมปฎิ ก พระสุตตนั ตปิฎก

3. พระวนิ ัยปฎิ ก พระสุตตันตปฎิ ก พระอภธิ รรมปฎิ ก

4. พระสตุ ตันตปิฎก พระวนิ ัยปิฎก พระอภธิ รรมปิฎก

12. กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก มีความหมายตรงกบั ข้อใดมากทีส่ ดุ

1. หว่านพืชเชน่ ไร ไดผ้ ลเชน่ นนั้

2. คนรกั เท่าผนื หนงั คนชงั เทา่ ผนื เสื่อ

3. ต้นคด ปลายตรง

4. ชา้ ๆ ได้พร้าเลม่ งาม

13. จฬู กัมมวิภังคสูตรคอื หลักธรรมว่าด้วยเร่ืองใด

1. การจาแนกกรรม 2. การปฏิบัติตนเป็นคนดี

3. การจาแนกเหตุและผล 4. การประมวลหลกั ธรรรม

14. องค์ประกอบใดของศาสนาท่มี คี วามสาคญั มากท่สี ุด

1. ศาสดา 2. หลกั ธรรมคาสอน

3. พิธกี รรม 4. พระเจา้ สูงสุด

15. พระสุตตันตปฎิ กคอื คมั ภีร์ท่ีรวบรวมเร่อื งราวใด

1. ระเบยี บขอ้ บงั คับสาหรับภกิ ษุ 2. ระเบยี บข้อบังคับสาหรบั ภิกษุณี

3. พระธรรมเทศนา ประวตั ิ 4. หลักธรรมและเนือ้ หาวิชาการ

16. การถึงพร้อมดว้ ยการประกอบความเพียร ตรงกับหลกั ธรรมข้อใด

1. คตสิ มบตั ิ 2. อุปธสิ มบตั ิ

3. กาลสมบัติ 4. ปโยคสมบตั ิ

17. วิบตั ิ ๔ คอื หลกั ธรรมวา่ ดว้ ยเรอ่ื งใด

1. ความเพยี บพรอ้ ม 2. ความบกพร่อง ขอ้ เสยี จดุ ออ่ น

3. ทางแหง่ ความเส่ือม 4. หนทางแห่งความสาเร็จ

18. คาพังเพยใดมคี วามหมายใกลเ้ คียงกบั กฎแห่งกรรม

1. หนเี สือปะจระเข้ 2. เห็นกงจกั รเป็นดอกบัว

3. ทาคุณบชู าโทษ 4. หว่านพชื เชน่ ไร ไดผ้ ลเช่นนน้ั

19. ขอ้ ใดคืออายตนะภายใน

1. จกั ขุ โสตะ มโน 2. กาย รูปะ สทั ธะ

3. จักขุ กาย รูปะ 4. รสะ โสตะ ชิวหา

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 56

20. หลักธรรมมีความสาคัญอยา่ งไร

1. เป็นคาสอนท่ีให้บุคคลยดึ ม่ันปฏิบัติตาม

2. เป็นแนวทางในการดาเนินชวี ิตและแก้ไขปญั หาชวี ติ

3. เปน็ แบบอยา่ งให้ปฏิบัติตาม หากฝา่ ฝืนมีบทลงโทษ

4. เป็นการควบคุมความประพฤตขิ องบุคคลทง้ั กาย วาจา ใจ

21. ข้อความใดกล่าวถึงพระธรรมคาสอนของพระพทุ ธเจ้า ท่ีตรัสไว้ดีแล้ว เปน็ ความจริงอันประเสรฐิ

1. สนั ทฏิ ฐิโก 2. โอปนยิโก

3. เอหปิ ัสสิโก 4. สวากขาโต ภควตา ธมั โม

22. “พรพรรณมีความสขุ ใจทีไ่ ด้รบั คาชมเชยจากคุณครู” ขอ้ ความนี้สอดคลอ้ งกบั ขอ้ ใด

1. รูป 2. เวทนา

3. สญั ญา 4. วญิ ญาณ

23. ขอ้ ใดอธบิ ายความหมายของวิญญาณได้ถูกตอ้ ง

1. สว่ นประกอบของร่างกาย 2. การรับรู้ จาแนกแยกแยะเวทนา

2. สิ่งปรุงแต่งจิตให้กระทากรรมดี และชัว่ 4. การรบั รู้ผ่านประสาทสมั ผสั ทง้ั 5 และใจ

24. อายตนะภายใน ได้แกข่ ้อใด

1. หวั ใจ ปอด ไต ตับ กระเพาะ 2. ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

3. เสยี ง คอ จมกู ตา 4. ปาก จมูก ตา ลน้ิ

25. ขอ้ ใดจดั เป็นอายตนะภายนอก

1. ตา หู รูป เสยี ง รส 2. ตา หู จมูก ปาก คอ

3. หน้า มือ ขา แขน ลาตัว 4. รปู เสียง กลนิ่ สัมผัส รส

26. ชัชเป็นชายหน่มุ รปู รา่ งสงา่ งาม บคุ ลกิ ดี สอดคลอ้ งกบั สมบัติในข้อใด

1. คติสมบัติ 2. อปุ ธิสมบตั ิ

3. กาลสมบัติ 4. ปโยคสมบตั ิ

27. กอ้ นอยใู่ นครอบครวั ท่มี ีถน่ิ ฐานในชมุ ชนแออดั และห่างไกลความเจริญ สอดคล้องกบั วบิ ัติ 4 ข้อใด

1. คตวิ บิ ัติ 2. อุปธวิ บิ ัติ

3. กาลวบิ ัติ 4. ปโยควบิ ตั ิ

28. เดก็ ชายโต้งชอบตกปลาและแอบเอาปากกาของเพอื่ นไปใช้เสมอ การกระทาของโต้งผิดตามหลัก

อกุศลกรรมบถ 10 ในขอ้ ใด

1. มจิ ฉาทิฐิ อภิชฌา 2. ปาณาตบิ าต มสุ าวาท

3. กาเมสมุ ิจฉาจาร มสุ าวาท 3. ปาณาติบาต อทินนาทาน

29. ยาใจชอบพดู จากระทบกระเทยี บเหนบ็ แนมเพื่อนๆ อยูเ่ สมอ การกระทาของยาใจเปน็ กรรมช่ัวทางวาจา

ในขอ้ ใด

1. มสุ าวาท 2. ผรุสวาจา

3. ปสิ ณุ วาจา 4. สัมผปั ปลาปะ

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กล่มุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 57

30. “ส้มชอบไปเลน่ ไพก่ ับเพอ่ื นๆ หลงั เลิกงานเป็นประจา ทาใหส้ ้มตอ้ งกลับบ้านดึกทุกคืน” ข้อความน้ี

สอดคลอ้ งกับอบายมุขในขอ้ ใด

1. ติดการพนนั คบคนช่ัวเปน็ มิตร 2. ชอบเที่ยวกลางคนื คบคนไมเ่ ลอื ก

3. เกยี จครา้ นการงาน ติดการพนนั 4. คบคนไมเ่ ลอื ก หลงมัวเมา

31. เมอื่ ยศศักดไิ์ ดร้ บั เงนิ เดือนจากการทางาน เขาก็นาไป ซื้อของเทา่ ท่จี าเปน็ และส่วนทเี่ หลอื เขากเ็ กบ็ ฝาก

ธนาคาร ขอ้ ความดังกล่าวสอดคลอ้ งกบั ความสุขในขอ้ ใด

1. ใชจ้ ่ายทรัพย์ ประพฤตสิ จุ รติ ออมทรัพย์ 2. มีทรัพย์ เพ่ิมพนู ทรพั ย์ ประพฤตสิ ุข

3. มีทรพั ย์ ใชจ้ ่ายทรพั ย์ รา่ รวยทรพั ย์ 4. มที รพั ย์ ใช้จ่ายทรพั ย์ ไม่มหี นี้สิน

32. ขอ้ ใดจัดเปน็ นิรามสิ สขุ

1. ตะวนั สขุ ใจท่มี ีเงินมากกว่าเพือ่ น 2. ดาวสุขใจท่ีพอ่ แม่รกั และให้ความอบอุน่

3.ต้อมดใี จทช่ี นะการแข่งขนั เทเบลิ เทนนสิ 4. อน้ พึงพอใจทข่ี จัดอว้ นออกจากทีมฟุตบอล

33. การกระทาในขอ้ ใด จดั เป็นกลั ยาณมิตร

1. เพื่อนแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งไรกค็ ล้อยตาม 2. ไมข่ ดั ขวางการกระทาของเพอ่ื นในทุกเรอื่ ง

3. แนะนาให้เกิดความคิดเห็นทถ่ี ูกตอ้ ง 4. แนะนาใหเ้ สย่ี งโชคจนมฐี านะร่ารวย

34. การปฏิบตั ติ นตามหลักดรณุ ธรรม 6 ส่งผลสาคัญอยา่ งไร

1. พรัง่ พร้อมดว้ ยกลั ยาณมติ ร 2. มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้

3. มีสัมมาคารวะ 4. มคี วามรา่ รวย

35. การปฏบิ ตั ติ นตามหลักกลุ จิรฏั ฐิตธิ รรม 4 จะส่งผลดี ในขอ้ ใด

1. มคี วามสขุ ทางกาย วาจา ใจ 2. มีความเจริญรงุ่ เรืองตลอดกาล

3. ชอ่ื เสียงของวงศ์ตระกูลเปน็ ทีแ่ พรห่ ลาย 4. ตระกลู ดารงอย่ดู ้วยความสงบสขุ มฐี านะมั่นคง

36. ธรรมข้อใดเปน็ ทางแหง่ การกระทาของผฉู้ ลาดหรือคนดี

1. กุศลกรรมบถ 10 2. กลุ จริ ฏั ฐติ ิธรรม 4

3. สมบตั ิ 4 4. สตปิ ฏั ฐาน 4

37. บคุ คลใดมีการกระทาที่สอดคล้องกับอกศุ ลมูล 3

1. กง่ิ ตอ้ งการใหน้ ักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/6 มคี วามสามัคคีกนั

2. ก้งุ พยายามฝึกซ้อมวงิ่ เพอ่ื แขง่ ขนั ในกีฬาสขี องโรงเรยี น

3. กอ้ นคดิ อยากให้นอ้ งชายสอบเข้ามหาวทิ ยาลัยได้

4. แกว้ โกรธเก๋ที่เอาการบา้ นของแกว้ ไปลอก

38. การกระทาข้อใดสอดคลอ้ งกับสติปฏั ฐาน 4

1. การตงั้ สติพจิ ารณากาย เวทนา จติ ธรรม 2. การฝึกปฏิบตั ิสมาธิ 4 ประการ

3. การพจิ ารณาสตติ ามหลกั สมาธิ 4. การพจิ ารณาเหน็ กาย วาจา ใจ

39. ขอ้ ใดจดั เปน็ ตน้ ตอแห่งความชว่ั ท่ีพงึ ละเว้น

1. วิบัติ 4 นิรามิส 2. กศุ ลมูล อกศุ ลมูล

3. อคติ 4 อกุศลมูล 4. อกุศลมลู อบายมขุ 6

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 58

40. ธรรมข้อใดมคี วามสอดคลอ้ งกนั

1. เบญจศีล-เบญจธรรม 2. กศุ ลมูล เบญจธรรม

3. อคติ 4 สมบตั ิ 4 4. วบิ ตั ิ 4 อคติ 4

41. พระสุตตันตปิฎก จะกลา่ วเกยี่ วกับเรือ่ งใด

1. หน้าทข่ี องพระภกิ ษุ พระภิกษุณี และพธิ กี รรม

2. โครงสร้าง หลักการ และสาระสาคัญของพระไตรปิฎก

3. หลักธรรมในรูปแบบวชิ าการทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงค้นพบ

4. พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจา้ ทีท่ รงแสดงแก่ บคุ คลตา่ งๆ

42. พระไตรปฎิ กหมวดทปี่ ระมวลสตู รโดยจัดตามกลมุ่ เน้อื หา คอื ขอ้ ใด

1. องั คตุ ตรนกิ าย 2. มชั ฌิมนกิ าย

3. สงั ยุตนกิ าย 4. ทีฆนิกาย

43. ข้อความเกี่ยวกบั พระไตรปฎิ กข้อใดไม่ถูกต้อง

1. พระไตรปฎิ ก แบ่งออกเป็น 3 หมวด

2. พระสุตตนั ตปฎิ ก แบง่ ออกเปน็ 5 นกิ าย

3. พระอภธิ รรมปิฎก เป็นคาสอนทใี่ ชส้ าหรบั สวดมนต์

4. พระวนิ ยั ปฎิ ก คอื ส่วนที่วา่ ดว้ ยสกิ ขาบทของ พระภิกษุ และภิกษณุ ี

44. พระวนิ ยั ปิฎกในหมวดขนั ธกะ จะเปน็ สว่ นทีว่ ่าดว้ ยอะไร

1. การสรุปขอ้ ความในพระวนิ ยั ปฎิ ก

2. หลักธรรมสาคญั ทพ่ี ุทธศาสนิกชนพงึ ปฏบิ ัติ

3. ศลี สาคญั ทภ่ี กิ ษุ และภกิ ษณุ ีพงึ ปฏบิ ตั ิกอ่ นเผยแผ่

4. สังฆกรรม พิธีกรรม วัตรปฏบิ ัติ และมารยาทของสงฆ์

45. ข้อใดคอื ความหมายของพุทธศาสนสุภาษิตทีว่ ่า กมฺมนุ า วตฺตตี โลโก

1. กรรมเปน็ ผลของการกระทา 2. สัตวโ์ ลกย่อมเปน็ ไปตามกรรม

3. กรรมดยี อ่ มสนองตอบผทู้ าดี 4. ทาดยี ่อมไดด้ ี ทาชวั่ ยอ่ มได้ช่วั

46. ผู้ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามศีล 5 ยอ่ มได้ไปเกิดในนรก ผปู้ ฏบิ ัติตามศลี 5 และปฏบิ ตั ติ ามธรรม 5 ย่อมได้ไปเกดิ ใน

สวรรค์ ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกบั เรือ่ งใด

1. ทาดไี ด้ดตี อบสนอง 2. ผปู้ ฏิบตั ิธรรม ยอ่ มเป็นสุข

3. สตั ว์โลกย่อมเปน็ ไปตามกรรม 4. ผู้ปฏบิ ตั ิตามศีล จัดเป็นกรรมดี

47. คากล่าวทีว่ ่า “ทาดไี ด้ดี ทาช่ัวไดช้ วั่ ” สอดคลอ้ งกับขอ้ ใด

1. กฎธรรมชาติ 2. กฎแห่งกรรม

3. กฎแหง่ ธรรม 4. กฎของศาสนา

48. ผทู้ ี่มีความเออ้ื เฟ้ือจะมหี นา้ ตาอิ่มเอม มนี สิ ยั ดี แสดงออกในทางทด่ี ี แสดงถึงผลของกรรมในระดบั ใด

1. ระดับภายในจิตใจ 2. ระดับบคุ ลกิ ภาพ

3. ระดบั ภายนอก 4. ระดบั สังคม

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 59

49. การกระทาในขอ้ ใด จัดเปน็ การส่ังสมบุญ

1. ทาบญุ ดว้ ยใจบริสุทธ์ิ 2. รักษาศีลปฏิบัติธรรม

3. ทาดีอยา่ งตอ่ เน่ือง 4. ทาบุญมากๆ

50. การกระทาขอ้ ใดสอดคล้องกับพทุ ธศาสนสภุ าษิตทวี่ ่า “ผบู้ ชู ายอ่ มไดร้ บั การบชู าตอบ ผู้ไหวย้ อ่ มไดร้ บั การ

ไหวต้ อบ”

1. โสนตั้งใจเรียนหนังสอื ทาใหไ้ ด้รับผลการเรยี นดี

2. เพื่อนๆ ชอบหัวเราะเยาะตอ้ มท่พี ูดเสยี งแปร่ง

3. เมือ่ สุดายม้ิ ทกั ทายมารตี มารตีกย็ ้ิมใหส้ ดุ า

4. นาวนิ ไปเลน่ กีฬาฟุตบอลเป็นประจา

บันทกึ

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กล่มุ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 60

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4
พระไตรปฎิ ก พทุ ธศาสนสภุ าษิต

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐานที่1.2 เข้าใจตระหนักและปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนที่ดี และธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา

หรอื ศาสนาที่ตนนับถอื
ส.1.2.1 ปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมตอ่ บุคคล ต่าง ๆ ตามหลกั ศาสนาที่ตนนบั ถอื ตามทกี่ าหนด

ส.1.2.2. มมี รรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนทดี่ ี ตามทก่ี าหนด

1. ความเปน็ มาและความสาคญั ของพระไตรปิฎก

พระไตรปฏิ ก คอื คมั ภีรข์ องพระพทุ ธศาสนา เป็นคมั ภรี ์หรอื ตาราทางพระพุทธศาสนา ซงึ่ รวบรวมคาส่งั

สอนของ พระพทุ ธเจ้าเป็นหมวดหมูแบ่งออกเปน็ 3 ปฎิ ก ดว้ ยกันคือ
1. พระวนิ ยั ปฎิ ก ว่าดว้ ยวินยั หรอื ศลี ของ ภกิ ษุและภิกษณุ ี
2. พระสตุ ตนั ตปิฎกวา่ ดว้ ยพระธรรมเทศนาโดยทวั่ ไป มปี ระวตั แิ ละทอ้ งเรอื่ งประกอบ

3. พระอภิธรรมปิฎก ว่าดว้ ยธรรมะล้วน ไมม่ ีประวตั ิ และทอ้ งเรื่อง
ประกอบรวมทั้ง 3 หมวด มี 45 เล่ม

พระไตรปฎิ ก ในสมัยพระพทุ ธเจ้าบนั จดจากันมาโดยวธิ ีมขุ ปาฐะ (ปากเปล่า) ซึง่ มีพระสงฆท์ ช่ี า่ ชองในแต่ละ
หมวด ในด้านพระสูตร พระอานนทถ์ ือวา่ เปน็ ผูจ้ าได้มาก ในด้านพระวนิ ยั ถือว่าพระอุบาลเี ป็นผ้ทู รงจาไดม้ าก แต่
หลังจากพระองคป์ รนิ พิ พานแลว้ พระสงฆจ์ งึ จัดใหม้ ีการสงั คายนารวบรวมหลกั คาสอนเป็นหมวดหมู่ บันทกึ

พระไตรปิฎกเป็นลายลักษณ์อักษร โดยพระมหินทเถระได้บนั ทึกในคราวทาสงั คายนาทป่ี ระเทศลงั กา
ประวัติการสังคายนาพระไตรปิฎก

“สังคายนา” หรือ “สงั คตี ”ิ คือการจดั ระเบยี บหลกั คาสอนไว้เปน็ หมวดหมู่ สะดวกแก่การจดจานาไป
อ้างองิ นน้ั มมี าตงั้ แต่สมยั ที่พระพทุ ธเจา้ ยงั ทรงพระชนมอ์ ยแู่ ล้ว ปรากฏหลกั ฐานในปาสาทิกสูตรและสังคตี สิ ูตร ทฆี
นกิ าย ปาฏกิ วรรค มีใจความสรุปถึง มหาวรี ะศาสดาของศาสนาเชนได้ดับขนั ธล์ งทเ่ี มืองปาวา พวกสาวกนคิ รนถ์ เกิด

ความแตกแยกทะเลาะวิวาทโจมตีกันเอง ด้วยเหตุท่ยี ดึ ถอื ปฎิบัติและแปลความธรรมวินยั ของศาสดาท่เี พิ่งจะลว่ งลับ
ไม่ตรงกนั

ท่านพระจนุ ทะปรึกษากับพระอานนท์ แล้วพากนั ไปเฝา้ พระพุทธเจ้าทรงแนะนาใหร้ วบรวมธรรมภาษติ ของ
พระองคเ์ พ่อื ให้พรหมจรรยต์ ง้ั อยยู่ งั่ ยืน เวลานน้ั พระสารีบุตรอัครสาวกยังมชี ีวิตอยู่ ทา่ นพระสารบี ุตรกไ็ ด้ปรารภ
เหตกุ ารณอ์ นั นา่ เศรา้ สลดใจคร้งั นี้ จงึ พูดกับพระสงฆใ์ ห้ดูเป็นบทเรยี นและว่าควรสงั คายนาจัดหมวดหมพู่ ระธรรม

วนิ ัยไว้ใหเ้ ปน็ หลกั ฐาน เพือ่ ให้พระศาสนาไมว่ ปิ รติ และดารงอยูไ่ ดน้ านแม้องคพ์ ระศาสดาจะปรนิ พิ พานแล้ว ท่านได้
แสดงไว้ใหด้ ูเป็นตวั อยา่ ง หลักธรรมท่ีพระสารีบุตรได้แสดงไว้น้ี จัดเปน็ พระสูตรหนงึ่ เรยี กว่าสงั คตี สิ ูตร (พระสตู รวา่

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 61

ด้วยการสงั คายนา หรือสงั คีติ) เป็นตัวอย่างที่พระอัครสาวกคอื พระสารบี ุตรไดก้ ระทาไว้ แตท่ ่านพระสารีบตุ รเองได้
ปรนิ พิ พานไปกอ่ นพระพุทธเจ้า ดงั นน้ั เมือ่ พระพทุ ธเจ้าปรินิพพานแลว้ ภาระจึงตกอยูก่ ับพระมหากัสสปเถระ ซึ่ง

ตอนทพี่ ระพทุ ธเจา้ ปรนิ พิ พานนน้ั เป็นพระสาวกผู้มอี ายุพรรษามากทส่ี ุด
ความสาคัญของพระไตรปิฎก

(พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ๒๕๔๓: ๖๘–๗๑) ได้กลา่ วและอธบิ ายความสาคญั ของพระไตรปฎิ ก ไว้เป็น
ขอ้ ๆ ดังน้ี

๑. พระไตรปฎิ กเป็นทรี่ วมไวซ้ ง่ึ พระพุทธพจน์ อนั เป็นคาสง่ั สอนของพระพุทธเจา้ ท่ีพระองคไ์ ดต้ รัสไวเ้ อง ซ่งึ

ตกทอดมาถงึ สมัยพวกเรา ทาใหเ้ รารจู้ กั คาสอนของพระพุทธเจา้ จากพระไตรปิฎกเป็นสาคญั
๒. พระไตรปฎิ กเป็นทสี่ ถิตของพระศาสดาของพุทธศาสนกิ ชน เพราะเปน็ ที่บรรจุพระธรรมวินยั ที่

พระพุทธเจ้าตรสั ไว้ใหเ้ ป็นศาสดาแทนพระองค์ เราจะเฝา้ หรอื รู้จกั พระพทุ ธเจา้ ได้จากพระดารสั ของพระองค์ท่ีท่าน
รกั ษากนั ไวใ้ นพระไตรปฎิ ก

๓. พระไตรปิฎกเปน็ แหลง่ ต้นเดมิ ของคาสอนในพระพทุ ธศาสนา คาสอน คาอธบิ าย คมั ภีร์ หนงั สอื ตารา ท่ี

อาจารยแ์ ละนกั ปราชญท์ งั้ หลายพดู กล่าวหรือเรยี บเรียงไวท้ ี่จดั ว่าเปน็ ของในพระพุทธศาสนา จะต้องสืบขยาย
ออกมาและเปน็ ไปตามคาสอนแม่บทในพระไตรปฎิ ก ทเ่ี ป็นฐานหรอื เปน็ แหลง่ ต้นเดิม

๔. พระไตรปฎิ กเปน็ หลักฐานอา้ งอิง ในการแสดงหรอื ยืนยันหลักการท่ีกล่าววา่ เป็นพระพทุ ธศาสนา จะ
เปน็ ท่นี า่ เชอ่ื ถือหรือยอมรับได้ดว้ ยดี เมื่ออ้างอิงหลักฐานในพระไตรปิฎก ซง่ึ ถอื ว่า เปน็ หลกั ฐานอ้างอิงข้ันสดุ ทา้ ย
สงู สดุ

๕. พระไตรปิฎกเปน็ มาตรฐานตรวจสอบคาสอนในพระพุทธศาสนา คาสอนหรอื คากลา่ วใด ๆ ท่ีจะถอื วา่
เปน็ คาสอนในพระพุทธศาสนาได้ จะต้องสอดคล้องกับพระธรรมวินัยซึง่ มีมาในพระไตรปฎิ ก (แม้แต่คาหรอื ขอ้ ความ

ในพระไตรปฎิ กเอง ถา้ ส่วนใดถกู สงสัยวา่ จะแปลกปลอม กต็ รวจสอบด้วยคาสอนท่ัวไปในพระไตรปฎิ ก)
๖. พระไตรปฎิ กเป็นมาตรฐานตรวจสอบความเชื่อถอื และขอ้ ปฎิบตั ิในพระพทุ ธศาสนา ความเชือ่ ถือหรือ

ขอ้ ปฏบิ ตั ติ ลอดจนพฤตกิ รรมใด ๆ จะวินจิ ฉัยว่าถกู ต้องหรือผิดพลาดเป็นพระพทุ ธศาสนาหรอื ไม่ กโ็ ดยอาศัยพระ

ธรรมวนิ ัยที่มีมาในพระไตรปิฎกเป็นเครอ่ื งตดั สนิ
ดว้ ยเหตดุ ังกล่าวมาน้ี การศกึ ษาค้นควา้ พระไตรปิฎกจงึ เปน็ กิจสาคัญยิ่งของชาวพทุ ธ ถือว่าเปน็ การสบื ตอ่

อายุพระพุทธศาสนา หรือเป็นความดารงอยขู่ องพระพุทธศาสนากลา่ วคอื ถ้ายงั มกี ารศึกษาค้นควา้ พระไตรปฎิ กเพอื่
นาไปใช้ปฏบิ ตั ิ พระพทุ ธศาสนากย็ ังดารงอยู่ แตถ่ ้าไมม่ ีการศึกษาคน้ คว้าพระไตรปฎิ ก แม้จะมกี ารปฏิบัติกจ็ ะไม่
เปน็ ไปตามหลักการของพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาก็จะไมด่ ารงอยคู่ ือจะเสอื่ มสูญไป

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 62

ประวัตกิ ารสงั คายนาพระไตรปฎิ กฝ่ายเถรวาท

ปฐมสงั คายนา (หลงั พุทธปรินพิ พาน 3 เดอื น, อนิ เดยี )
ประกอบดว้ ยพระอรหนั ตบุคคลผูไ้ ดป้ ฏสิ มั ภิทาและอภญิ ญา 500 องค์ มีพระมหากัสสปะเป็นประธาน

พระอานนทเ์ ป็นผู้วสิ ัชนาพระธรรม พระอบุ าลีเป็นผวู้ ิสัชนาพระวนิ ัย (พระอริยบุคคลนอกน้นั ตลอดลงมาถงึ ปุถชุ น
สงฆม์ ิไดเ้ ข้ารว่ ม)

ในทป่ี ระชมุ น้มี ีมติเห็นพ้องว่า แม้กอ่ นพุทธปรินพิ พาน พระบรมศาสดาจะมพี ทุ ธานญุ าตใิ ห้สงฆพ์ ิจารณา

ถอนสิกขาบทเลก็ นอ้ ยได้ แต่สงฆจ์ ะพงึ สมาทานประพฤตใิ นสกิ ขาบทตามทท่ี รงบญั ญตั ิไว้ ไมถ่ อนสิกขาบทแม้
เลก็ น้อยเลยเพื่อมิเป็นเหตใุ ห้ชาวบ้านตเิ ตียน

พระธรรมวนิ ยั ท่ีลงมติกนั ไวใ้ นครั้งปฐมสังคายนาและได้นบั ถอื กันสืบมา เรยี กวา่ เถรวาท แปลวา่ คาสอนที่
วางไวเ้ ป็นหลักการโดยพระเถระผู้ประชมุ ทาสังคายนาครั้งแรก

สงั คายนาคร้ังที่2 (ประมาณ100ปหี ลงั พุทธปรินพิ พาน,อนิ เดยี )

พระอรหันต์ 700 องค์ มพี ระสัพพกามมี หาเถระ ศษิ ยข์ องพระอานนทเถรเจ้า เปน็ ประธาน
มลู เหตแุ ห่งการสังคายนาสบื เนอื่ งมาจากภกิ ษวุ ัชชีบุตรแสดงวตั ถุ 10 ประการ นอกพระธรรมวินัย โดยมาก

เกยี่ วกับการขบฉัน เชน่ ภิกษเุ กบ็ สะสมเกลอื ไว้ใสป่ รงุ ในอาหารได้, ภกิ ษฉุ ันอาหารหลังเวลาเพลได้, ภิกษดุ ่มื เหล้า
อยา่ งอ่อนๆได้ เปน็ ตน้ มาข้อสดุ ท้ายนา่ สนใจ คอื ภิกษุรับและยินดซี งึ่ เงนิ และทองหาได้เปน็ อาบัติไม่ ซ่งึ ขอ้ น้เี อง เป็น
มลู เหตุสาคัญแหง่ การทาสังคายนาครง้ั ที่ 2

สังคายนาครง้ั ที่ 3 (ประมาณพ.ศ.235, อนิ เดยี )
เกดิ ข้นึ ในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช โดยพระอรหนั ต์ 1,000 องค์ มีพระโมคคัลลีบุตรตสิ สะ เปน็

ประธาน มลู เหตุแหง่ การสงั คายนาสืบเน่ืองมาจากความวิบตั ิแห่งศลี สามญั ญตาและทิฏฐิสามญั ญตารุนแรงขึ้นเป็น
ลาดบั พระพทุ ธศาสนาแตกแยกกันออกเปน็ 18 นิกาย รวมถึงมีผูป้ ลอมบวชเปน็ จานวนมากเพ่ือหวังลาภสักการะ

สังคายนาคร้ังท่ี 4 (ประมาณ พ.ศ. 238, ศรลี ังกา)

พระมหินทเถระ โอรสของพระเจ้าอโศก ประธานคณะธรรมทูตที่ได้ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ เกาะ
ลงั กา เมื่อปักหลกั พระศาสนาได้มัน่ คงแลว้ ไดท้ าการสังคายนาเพื่อปรบั ภาษาให้เขา้ กบั ภาษาลงั กา

สงั คายนาครั้งที่ 5 (พ.ศ. 433, ศรีลงั กา)
ในครั้งน้ัน มีความกังวลว่าความทรงจาของพุทธบริษัทจะเส่ือมลง จึงได้ทาสังคายนาพระธรรมวินัย แล้ว
จารึกเปน็ ตวั อักษรลงในใบลาน

สงั คายนาครง้ั ที่ 6 (พ.ศ. 956, ศรีลงั กา)
โดยพระพุทธโฆษาจารย์และคณะ ส่วนมากเป็นงานชาระอรรถกถา

สังคายนาครัง้ ท่ี 7 (พ.ศ. 1587, ศรีลังกา)
โดยมากเป็นการแตง่ ฏีกา
สงั คายนาคร้ังที่ 8 (พ.ศ. 2020, ไทย)

สมัยพระเจ้าติโลกราช พระมหากษัตริย์แห่งล้านนา มีพระธรรมทินนาเถระเป็นประธาน โดยเป็น
พระไตรปิฎกภาษาบาลี จารึกด้วยอักษรล้านนา

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 63

สงั คายนาคร้ังท่ี 9 (พ.ศ. 2331, ไทย)

เนื่องจากงานรวบรวมพระไตรปิฎกท่ีพระเจ้ากรงุ ธนบุรีได้ทรงเรม่ิ ไวย้ ังค้างอยู่ มาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงมีพระราชปรารภว่า การศึกษาของคณะสงฆ์ย่อหย่อนลงไป เพราะ
พระไตรปิฎกมีข้อความวิปลาสคลาดเคล่ือนมาก จึงตรัสให้สมเด็จพระสังฆราชเป็นประธาน พร้อมกับพระมหา

เถรานุเถระจานวน 218 รปู และราชบัณฑิต 32 คน ประชุมกนั ทาสังคายนา โดยเปน็ ภาษาบาลี อักษรขอม จารึก
ในใบลาน

ในหลวงรัชกาลท่ี 5 ทรงปรารภว่าพระไตรปิฎกที่เขียนไว้ในใบลานไม่ม่ันคง ท้ังจานวนก็มาก ยากท่ีจะ

รักษา และเป็นตัวขอม ผู้ไม่รู้อ่านไม่เข้าใจ จึงโปรดให้ถ่ายจากอักษรขอมเป็นอกั ษรไทย และพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ
ไดจ้ บละ 39 เล่ม เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2436 ไทยจึงเปน็ ชาตแิ รกท่พี ิมพพ์ ระไตรปฎิ กขน้ึ เปน็ เลม่ หนังสือ

พ.ศ. 2468 สมัยรัชกาลท่ี 7 เพิ่มเติมส่วนที่ขาดจนครบสมบูรณ์ 45 เล่ม เรียกว่าพระไตรปิฎกฉบับ
สยามรัฐ พระราชทานไปยังประเทศต่างๆ และสถานศึกษาต่างๆท่ีขอมา ทาให้พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี

อักษรไทยแพร่หลายไปในนานาประเทศ

ในสมัยรัชกาลที่ 9 ปราชญ์บางท่านถือว่าเป็นยุคทองของพระไตรปิฎก พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐภาษา
บาลี อักษรไทย ได้ถูกแปลถ่ายทอดลงสู่ภาษาไทย เพ่ือร่วมในพิธีฉลอง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2500,

พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย ฉบับพิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2525, พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราช
วิทยาลัย ฉบับภาษาไทย เสร็จสมบูรณ์ พ.ศ. 2542 ปัจจุบันประเทศไทยจึงมีพระไตรปิฎกฉบับแปลไทยเสร็จ

สมบรู ณถ์ งึ 3 ฉบบั

ตารางสรุปยอ่ : การทาสงั คายนา

คร้ังที่ ปีท่ที าสงั คายนา สถานที่

ปฐมสังคายนา : สังคายนาครั้งท่ี ๑ กรุงราชคฤหม์ หานคร

ทตุ ยิ สงั คายนา : สงั คายนาครัง้ ที่ ๒ (พ.ศ. 100) วาลกุ าราม เมืองไพศาลี

ตตยิ สงั คายนา : สงั คายนาคร้งั ท่ี ๓ (พ.ศ. 118) อโศการาม พระนครปาตลีบุตร

จตุตถสังคายนา : สังคายนาครงั้ ท่ี ๔ (พ.ศ. 128) ถูปาราม เมอื งอนรุ าธบุรี

ปัญจมสังคายนา : สงั คายนาครง้ั ที่ ๕ (พ.ศ. 433) ตสิ สมหาวหิ าร ลงั กาประเทศ

ฉฏั ฐสังคายนา : สังคายนาครง้ั ที่ ๖ (พ.ศ. 956) ลังกาประเทศ

สัตตมสังคายนา : สังคายนาครง้ั ที่ ๗ (พ.ศ. 1587) ลงั กาประเทศ

อฏั ฐสังคายนา : สังคายนาครั้งท่ี ๘ (พ.ศ. 2020) เชียงใหม่ ล้านนา

นวมสังคายนา : สังคายนาคร้ังที่ ๙ (พ.ศ. 2431) กรงุ เทพ ประเทศไทย

ทสมสังคายนา : สงั คายนาคร้ังที่ ๑๐ (พ.ศ. 2468) กรุงเทพ ประเทศไทย

เอกาทสมสังคายนา : สงั คายนาครง้ั ที่ ๑๑ (พ.ศ. 2530) กรงุ เทพ ประเทศไทย

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 64

โครงสร้างพระไตรปฎิ ก11

11 https://www.payutto.net สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) รู้จักพระไตรปฎิ ก เพื่อเป็นชาวพทุ ธทแี่ ท้

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 65

1. พทุ ธศาสนสภุ าษิต

“พุทธสุภาษติ ” คาสอนในพระพทุ ธศาสนามีองค์ 9 ประการ ที่เรียกวา่ นวงั คสตั ถุศาสน์ ได้แก่ สุตตะ เคยยะ
เวยยากรณ คาถา อุทาน อิตวิ ุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม และ เวทลั ละ พทุ ธศาสนสุภาษติ ได้มาจากเน้อื หาท่ีปรากฎ
อยู่ในคาสอนดงั กลา่ ว ทีม่ ีอยู่เปน็ จานวนมาก เป็นเนอื้ ความสั้น ๆ ที่ทรงคุณค่า ให้ข้อคิด ขอ้ เตอื นใจ

พุทธศาสนสภุ าษติ คือ สุภาษติ ทีพ่ ระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าทรงดารสั ไว้ ซ่งึ มีคุณค่าสูงสง่ สามารถใช้ได้ทง้ั เปน็
แนวทางดาเนนิ ชวี ติ เตอื นใจ หาคาตอบทีด่ สี าหรบั ปัญหาทสี่ งสัย หรือ แม้แต่เตือน สติ ให้เรา หู ตา สวา่ ง เกิดปญั ญา
เข้าใจ ไดอ้ บุ ายที่ดีในการดาเนนิ ชวี ติ การแกป้ ัญหา และพ้นจากเครอ่ื งเศร้าหมองได้

กมมฺ ุนา วตฺตตี โลโก : “สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม”

(ความหมาย) . …………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

กลยฺ าณการี กลยฺ าณ ปาปการจี ปาปก : “ทาดไี ด้ดี ทาชัว่ ได้ช่วั ”
(ความหมาย) . …………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สโุ ข ปุญญฺ สฺส อุจฺจโย :“ความสงั่ สมขึ้นซง่ึ บญุ นาสุขมาให้”
(ความหมาย) . …………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุม่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 66

พจิ ารณาสถานการณ์และวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามพทุ ธสภาษติ

สถานการณ์ ตรงกบั พทุ ธศาสนสุภาษิต เหตุผลประกอบ

ปา้ วยั 53 ปี เล้ยี ง "สุนัขแมว ………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
จรจดั " นับ 100 ตวั ลาบาก ……………………………………………….. ………………………………………………..
แค่ไหนก็ทง้ิ ไมล่ ง
……………………………………………….. ………………………………………………..

………………………………………………… …………………………………………………

………………………………………………… …………………………………………………

………………………………………………… …………………………………………………

รัฐบาลสหรัฐฯ จะมอบความ ………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
ชว่ ยเหลอื มลู ค่า 55 ล้าน ……………………………………………….. ………………………………………………..
เหรียญ โดยสว่ นใหญจ่ ะเป็น
ความช่วยเหลอื เพือ่ การ ……………………………………………….. ………………………………………………..
ดาเนนิ การตอบสนองด้าน ………………………………………………… …………………………………………………
มนุษยธรรม แกร่ ัฐบาลไทย
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………

ผู้กากบั รว่ มกับพวกใช้ถงุ คลุม ………………………………………………… …………………………………………………
หวั ผตู้ อ้ งหาแล้วเสยี ชวี ิต ………………………………………………… …………………………………………………

……………………………………………….. ………………………………………………..
……………………………………………….. ………………………………………………..

………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………

กาโล ฆสติ ภูตานิ สพฺพาเนว สหตฺตนา.
“กาลเวลา ยอ่ มกินสรรพสตั ว์ พร้อมทง้ั ตัวเอง”

พุทธพจน์

เวลาท่ีผา่ นไปแลว้ จะไม่สามารถหวนกลบั มาใหมไ่ ด้ ดังน้ัน เราควรใชเ้ วลาทุก ๆ ขณะให้เกิด
ประโยชน์มากทีส่ ดุ เท่าที่จะเป็นไปได้ พยายามสรา้ งประโยชน์ใหต้ วั เองและสังคมให้มากที่สุด

บาเพ็ญบญุ บารมใี ห้ไดม้ ากท่สี ุด อย่าปล่อยให้เวลาสูญสนิ้ ไปโดยเปล่าประโยชน์

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 67

หน่วยกการเรยี นรู้ที่ 5

หน้าทแี่ ละมารยาท ชาวพทุ ธ

สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐานท่ี 1.2 เขา้ ใจ ตระหนักและปฏิบตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนที่ดี และธารงรักษาพระพทุ ธศาสนา
หรือศาสนาท่ีตนนับถือ

ส.1.2.2. มมี รรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนทด่ี ี ตามที่กาหนด
ส.1.2.3 วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธี และปฏิบัตติ นได้ถกู ตอ้ ง

1. หนา้ ท่ีชาวพุทธ
พทุ ธศาสนิกชนยึดถอื พระพทุ ธศาสนาเปน็ สรณะในการดารงชีวิต ในประเทศไทยประชาชนมากกวา่ ร้อยละ

๙๕ นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาเปน็ เวลากว่าพันปแี ล้วทพ่ี ระพทุ ธศาสนาได้เข้ามาผสมกลมกลืนกับวถิ ีชีวติ ความเป็นอยู่
ของคนไทย จนแยกกนั ไมอ่ อก ความเจรญิ หรือความเล่ือมของพระพุทธศาสนายอ่ มมผี ลกระทบต่อสังคมไทย พวก
เราชาวพทุ ธจงึ มีหน้าท่จี ะทานุบารุงพระพทุ ธศาสนาใหเ้ จริญม่ันคงสืบไป หน้าท่ีสาคญั ของชาวพทุ ธมดี ังน้ี

1.1 บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา พระภิกษสุ งฆ์ ซ่งึ เปน็
บรรพชติ ในพระพทุ ธศาสนา มหี น้าท่ีศกึ ษาปฏบิ ตั ิธรรม เผยแผค่ าสอน สืบต่อ
พระพุทธศาสนา มีคุณธรรมและหลกั ความประพฤติท่ีต้องปฏบิ ัตมิ ากมาหน้าทข่ี อง
พระภิกษุที่สมั พันธก์ บั คฤหสั ถ์ ได้แก่ การใหค้ วามอนุเคราะห์ชาวบา้ น ตามหลักปฏิบัติใน
ฐานะทพ่ี ระภิกษุเป็นเสมือนทศิ เบื้องบนไดแ้ ก่

1) ห้ามปรามสอนให้เว้นจากความช่ัว คอื งดเวน้ จากการเบียดเบยี นกนั
ไม่ทาลายท้งั ชีวิตตนเองและผอู้ ืน่

2) แนะนาส่งั สอนใหต้ ้งั อยู่ในความดี งดเวน้ อบายมุข 6
3) อนุเคราะห์ด้วยความปรารถนาดดี ว้ ยนา้ ใจอันงามโดยยึดถือหลักสังคห
วตั ถุ 412
4) ใหไ้ ดฟ้ งั ได้รูส้ ิง่ ท่ียังไม่เคยรู้ไมเ่ คยฟงั คอื สอนใหร้ ้จู กั แยกแยะมติ รแท้ มติ รเทียม ให้คบบัณฑิตเพือ่
ประโยชน์ในการดารงชีพ
5) ชแี้ จงอธิบายทาส่ิงท่เี คยฟงั แลว้ ให้เข้าใจแจ่มแจ้ง ในสิง่ ท่สี ดบั เลา่ เรยี นมาแล้ว เชน่ การแสวงหา
ทรพั ย์โดยวิธสี ุจรติ การรจู้ ักรักษาทรพั ย์ และการดารงชีวติ ตามฐานะ
6) บอกทางสวรรค์ให้ คอื การแนะนาวธิ คี รองตน ครองคน ครองงาน หรอื วธิ ีครองชีวติ ใหไ้ ดร้ บั ผลดี
มีความสุข

12 สังคหวัตถุ คอื การให้ การเสยี สละ การแบ่งปันเพื่อประโยชน์แกค่ นอนื่ ,การพดู จาดว้ ยถอ้ ยคาไพเราะอ่อนหวาน จรงิ
ใจ,ชว่ ยเหลอื กัน (ชว่ ยกิจกันไป),การเปน็ ผมู้ คี วามสม่าเสมอ โดยประพฤติตัวให้มีความเสมอต้นเสมอปลาย

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 68

1.2 การแสดงธรรมและการปาฐกถาธรรม การแสดงธรรมนน้ั เรียกเต็มๆ ว่า การแสดงพระธรรมเทศนา
หรอื เรียกย่อๆ ว่า “เทศน"์ มีทง้ั เทศนเ์ ดยี ว (เทศน์รปู เดยี ว) และเทศนป์ จุ ฉาวสชั นา (เทศนถ์ าม - ตอบ) ตงั้ แต่ 2 รูป

ขนึ้ ไป การแสดงพระธรรมเทศนาน้ีเปน็ รูปแบบท่ีทากันมาแต่โบราณ มีระเบยี บพิธเี ป็นแบบอยา่ งโดยเฉพาะ คือ มี
การอาราธนาศลี อาราธนาธรรม และผฟู้ งั น่ังอย่างสงบเรียบร้อย ประนมมือ ตง้ั ใจฟงั ท่านผู้รู้กล่าววา่ การฟงั เทศน์

แบบนี้เป็นการรกั ษาศลี ฝึกสมาธิ และอบรมปญั ญาไปในตัว
สว่ นการแสดงปาฐกถาคอื การแสดงธรรม โดยใช้ภาษาธรรมดาทสี่ อ่ื ความหมายไดง้ ่าย ตัดรูปแบบและพธิ ีกรรม

อยา่ งที่ใชใ้ นการเทศน์ออกหมดสนิ้ ทง้ั น้ีในการแสดงธรรมและ

๑) ภิกษผุ ้แู สดงธรรมจะตอ้ งเปน็ ผปู้ ระพฤตดิ ปี ฏิบัติชอบ
๒) แสดงธรรมตามหลกั ธรรมท่พี ระพทุ ธองคไ์ ด้ทรงตรัสไว้

๓) แสดงธรรมโดยเคารพต่อผูฟ้ ังธรรม
๔) แสดงธรรมตามหลักองคธ์ รรมกถึก13
๕) แสดงธรรมโดยยึดลักษณะการสอนของพระพทุ ธเจ้า

1.3 การเข้าคา่ ยคุณธรรม สภาพสังคมในปจั จุบนั เต็มไปดว้ ยปัญหาต่างๆมากมาย ทง้ั ปัญหาแหล่งเส่ือม
โทรม ปัญหาโสเภณีปัญหาแรงงาน ปัญหาเยาวชน ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาสภาวะแวดล้อมเป็นพิษปัญหาขัดแยง้

ทางสังคมและการเมอื ง ปญั หาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด ซึง่ ปัญหาต่างๆเหล่านล้ี ้วนเกดิ จากความเห็นแกต่ วั
การเอารัดเอาเปรียบ การขาดคุณธรรม การขาดคุณธรรมซึง่ สง่ ผลให้สงั คมเส่อื มโทรมไม่สงบสขุ

การแกป้ ญั หาทางหนึ่ง กค็ ือ การปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ใหแ้ ก่เดก็ หรอื เยาวชน ซงึ่ เปน็ วัยรุน่ ท่ีกาลงั

สดใส ตื่นตวั เตม็ ไปด้วยพลงั ทางกาย พลังทางความคดิ และพลังสตปิ ัญญา หากเยาวชนไดร้ บั การพฒั นาไมถ่ กู วธิ ี
ขาดระบบแบบแผนที่ดพี อ เยาวชนกจ็ ะเปน็ ปญั หาสาคญั ของชาตเิ ชน่ เดียวกนั ดังนน้ั จงึ จาเป็นที่จะต้องหาวธิ ีการ

เพ่ือให้เยาวชนเข้าใจบทบาท ของตนเอง มีจติ สานึกรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสังคม โดยการจัดกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นการ
ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ให้เยาวชนรู้จกั นาหลักธรรมไปใช้ในการดารงชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
เช่น กจิ กรรมกตญั ญูกตเวที กิจกรรมอนุรักษศ์ ิลปวฒั นธรรมไทย กจิ กรรมสรา้ งสายสมั พนั ธ์ กิจกรรมสรา้ งความ

สามคั คี เป็นตน้
1.4 การเข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนา พิธีกรรมทางพระพทุ ธศาสนา หมายถงึ ระเบียบปฏบิ ัติ

เก่ียวกบั ศาสนาหรอื ลัทธิประเพณที กี่ าหนดข้นึ เป็นแบบอย่างสาหรับใหพ้ ุทธศาสนกิ ชนได้ยดึ ถอื ปฏบิ ัติ เปน็ การ
แสดงออกถึงความเชือ่ ทางศาสนา ซงึ่ กระทาเพอ่ื ใหเ้ กิดความอบอุ่นทางใจ ทาให้การปฏิบัติศาสนกิจเปน็ สิ่งสาคญั
และมีความน่าเชือ่ ถือ นา่ ศรทั ธามากย่งิ ขนึ้ การเข้ารว่ มพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนาจะตอ้ งคานึงถึงความเหมาะสม

ในหลายๆดา้ นต้องร้จู ดุ ม่งุ หมายแหง่ การกระทา
หลกั เกณฑก์ ารเขา้ ร่วมพธิ ีกรรมทางพระพทุ ธศาสนา ดงั น้ี

13 ๑ แสดงธรรมไปตามลาดบั คือแสดงหลกั ธรรมหรือเนื้อหาวิชาตามลาดบั ความง่ายยาก มีเหตผุ ลสมั พนั ธ์ต่อเน่อื งกันเป็น
ลาดบั ๒ ชีแ้ จง ยกเหตุผลมาแสดงใหเ้ ข้าใจ คอื ช้ีแจงให้เข้าใจชัดในแตล่ ะแงแ่ ต่ละประเดน็ โดยอธบิ ายขยายความตามแนวเหตผุ ล

๓ แสดงธรรมดว้ ยเมตตา คอื สอนผ้ฟู ังดว้ ยจติ เมตตา มุ่งจะใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ ก่ผ้ฟู งั อย่างแท้จรงิ ๔ ไมแ่ สดงธรรมด้วยการเหน็ แก่
อามสิ คอื สอนโดยไม่หวงั ผลประโยชน์ตอบแทน ๕ แสดงธรรมไมก่ ระทบตนและผู้อ่นื คอื สอนตามหลกั เนอ้ื หาวชิ า มุ่งแสดงธรรม
ไมก่ ลา่ วยกย่องตนเองและไมก่ ลา่ วเสยี ดสี กลา่ วขม่ ผู้อืน่ หรือกล่าว “ยกตนข่มทา่ น”

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ติ สมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 69

1.) มีใจมนั่ หมายถงึ มีจิตใจบรสิ ุทธิ์ และมคี วามแนว่ แน่

2.) ถูกต้องตามหลกั ทางพระพุทธศาสนา หมายถงึ การเขา้ ร่วมพิธกี รรมต่างๆจะตอ้ งยดึ ถอื หลักเกณฑ์

และระเบียบทางพระพุทธศาสนาเปน็ สาคญั

3.) ประหยัด หมายถึง การประหยดั ทรพั ยท์ ใ่ี ช้ในการจดั พิธีกรรมหรือเขา้ ร่วมพธิ กี รรมนน้ั ๆ

4.) คานงึ ถงึ ประโยชน์ หมายถงึ การพจิ ารณาว่าการเข้าร่วมในพิธกี รรมน้นั ๆจะไดร้ บั คุณประโยชน์

อยา่ งใดบา้ ง เชน่ ชว่ ยลดความเห็นแกต่ ัว ทาให้จติ ใจบรสิ ุทธ์ิ

5.) มคี วามเหมาะสม หมายถึง พธิ ีกรรมนนั้ ไมข่ ัดต่อประเพณีนิยม วฒั นธรรม ระเบียบ กฎเกณฑ์

รวมถงึ ธรรมเนียมปฏิบัติอนั ดีงามของสงั คม

1.5 การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ พทุ ธมามกะ แปลวา่ ผรู้ ับเอาพระพุทธเจา้ เป็นของตน การแสดงตนเปน็

พทุ ธมามกะ หมายถงึ การประกาศตนของผ้แู สดงวา่ เปน็ ผรู้ ับนับถอื พระพทุ ธเจ้าเป็นของตน ความเป็นมา เมื่อ

ความนิยมในการบวชสามเณรลดลง พรอ้ มกบั การส่งเด็กไปเรยี นในตา่ งประเทศมากขนึ้ พระบาทสมเดจ็ พระ

จลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงพระราชปริวติ กว่า เดก็ ๆจกั ไม่มคี วามร้สู กึ ท่ดี ตี อ่ พระพทุ ธศาสนา จึงโปรดใหพ้ ระโอรส

ของพระองค์ทรงปฏญิ าณพระองค์เป็นผนู้ บั ถือพระพุทธศาสนากอ่ น และพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอย่หู ัว

(รชั กาลท่ี ๖) ไดเ้ ป็นพระองคแ์ รกที่ปฏญิ าณพระองคต์ ามธรรมเนยี มทที่ รงตงั้ ขึ้นใหม่นัน้ ความนิยมแสดงตนเปน็

พุทธมามกะของชาวพทุ ธไทย สามารถสรปุ ได้ ดังนี้

๑) เมอ่ื บตุ รหลานของตนรเู้ ดยี งสาเจริญวยั อยูใ่ น

ระหวา่ ง ๑๒ – ๑๕ ปี ก็ประกอบพธิ ใี ห้บตุ รหลานได้แสดง

ตนเปน็ พุทธมามกะ เพ่ือใหเ้ ด็กสบื ความเปน็ ชาวพทุ ธตาม

ตระกลู ตอ่ ไป

๒) เมอื่ จะส่งบุตรหลานไปเรยี นยงั ต่างประเทศที่

มใิ ชด่ นิ แดนของพระพุทธศาสนา

๓) เมอื่ จะปลูกฝังนสิ ัยของเยาวชนให้ม่ันคงใน

พระพทุ ธศาสนาสว่ นมากทางโรงเรยี นจะเปน็ ผจู้ ดั ทา

พธิ ีกรรม อาจจะเปน็ ปีละคร้งั

๔) เมอ่ื มบี ุคคลต่างศาสนาเกิดความเลื่อมใสใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ทรงแสดงตนเป็น
พระพทุ ธศาสนาตอ้ งการจะประกาศตน เป็นชาวพุทธ
พุทธมามกะ ตอ่ พระพักตร์สมเดจ็ พระสังฆราช
พธิ แี สดงตนเปน็ พุทธมามกะ (จวน อฏุ ฐายี)

๑) ไปนมัสการพระอาจารย์เพ่อื แจง้ ความประสงค์ นัด

วนั เวลา และนมิ นต์พระสงฆ์

๒) ในวันประกอบพธิ ี ผูแ้ สดงตนแตง่ กายชดุ สีขาวล้วน ชุดนักเรียน หรือชุดสุภาพสีออ่ น พร้อมกัน ณ

สถานทปี่ ระกอบพิธี

๓) จดุ ธูปเทียนบชู าพระรตั นตรัยเปล่งวาจาบูชาพระรัตนตรยั กราบ ๓ ครั้ง

๔) ถอื พานเครอื่ งสกั การะเข้าไปหาพระอาจารย์ ณ ท่ีชมุ นมุ สงฆ์ วางพานแลว้ กราบ ๓ ครง้ั

ยกพานเครื่องสักการะถวาย กราบ ๓ ครงั้

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 70

๕) เปลง่ วาจากล่าวคานมัสการ (นะโม ๓ จบ) และคาปฏญิ าณตนเป็นพุทธมามกะ จบ
๖) เมื่อพระสงฆ์รบั ว่า “สาธุ” แล้วกราบ ๓ คร้งั นงั่ ราบกบั พ้ืน ประนมมอื รับฟงั

โอวาท จากพระอาจารย์
เมื่อจบโอวาทแลว้ รับว่า “สาธุ” แล้วนง่ั คกุ เข่าประนมมือ อาราธนาศลี ๕ รับศีล

จบแล้ว กราบ ๓ คร้งั
๗) ประเคนจตปุ จั จยั ไทยธรรมถวายพระสงฆ์ (ถ้าม)ี
๘) พระสงฆ์อนโุ มทนา

๙) กรวดน้า-รบั พร
๑๐) กราบ ๓ ครง้ั เป็นเสร็จพิธี

คาปฏิญาณตนเปน็ พุทธมามกะ
คาบชู าพระรัตนตรัย
อิมนิ า สกั กาเรนะ พทุ ธงั ปเู ชมิ อมิ ินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สัก

กาเรนะ สังฆงั ปูเชมิ (ถ้าหลายคน เปล่ยี น ปูเชมิ เปน็ ปเู ชมะ)
คากลา่ วแสดงตนคนเดียว (ชาย) ต้งั นะโม ๓ จบ

“เอสาหงั ภนั เต สุจิระปะรนิ พิ พุตัมปิ ตงั ภะคะวนั ตงั
สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ พุทธะมามะโกติ มัง สังโฆ ธาเรตุ”
คากลา่ วสาหรบั ผ้หู ญงิ แสดงตนคนเดียวเหมอื นกับคาแสดงตนของชาย

เพยี งแตเ่ ปล่ยี นคาวา่ พทุ ธะมามะโกติ เป็น พทุ ธะมามะกาติ เท่าน้ัน
คากลา่ วสาหรับแสดงตนหลายคน (ชาย)

“เอเต มะยัง ภนั เต สุจิระปะรินิพพุตมั ปิ ตงั ภะคะวันตัง สะระณงั คัจฉามะ ธัมมญั จะ สังฆญั จะ พทุ ธะมา
มะกาติ โน สังโฆ ธาเรตุ”

คากล่าวสาหรับผู้หญิงหลายคนแสดงตน

เหมอื นคาแสดงตนของชายหลายคน
เพียงแต่เปลี่ยนคาว่า เอเต มะยงั เปน็ เอตา มะยงั เท่าน้นั

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 71

2.การเปน็ ลกู ทดี่ ีตามหลกั ทศิ 6

มารดา-บิดาพึงอนุเคราะหบ์ ตุ รดว้ ยสถาน

๕ คือ เบอื ้ งซ้ายเพอ่ื น

๑. หา้ มจากความชั่ว มิตร

๒. ใหต้ ้งั อยใู่ นความดี เบอื ้ งหลงั สามี เบอื ้ งลา่ งบริวาร
๓. ให้ศกึ ษาศิลปวิทยา ภรรยา

๔. หาคู่ครองทีส่ มควรให้

๕. มอบทรัพย์ใหใ้ นกาลอันควร

หนา้ ท่บี ตุ รธดิ าควรปฏบิ ัตติ ่อบดิ มมารดา

5 สถาน คอื เบอื ้ งขวาครู เบอื ้ งบนศาสดา
1. ทา่ นเลย้ี งเรามาเลยี้ งท่านตอบ อาจารย์ ที่ตนนบั ถือ

2. ชว่ ยทากจิ ธุระการงานให้ท่าน เบอื ้ งหน้าบดิ า

3. ดารงวงศ์สกุลของทา่ น มารดา

4. ประพฤติตนใหเ้ หมาะสมกับ

การเป็นทายาท

5. เม่ือท่านล่วงลบั ไปแลว้ อุทศิ ส่วนกศุ ลให้ท่าน

3. มารยาทชาวพุทธ มารยาท หมายถงึ กิรยิ าวาจาที่ถือวา่ สุภาพเรยี บรอ้ ย มรรยาทชาวพุทธจึงหมายถึง

กิริยาวาจาท่ีสภุ าพเรยี บร้อยท่พี ทุ ธศาสนกิ ชนควรปฏิบตั ิ ท่ีสาคัญได้แก่

มารยาททางกาย

๑) การยนื การยืนเพ่อื แสดงความเคารพ ใช้ในโอกาสแสดงความเคารพ

๒) การประนมมือ การยกมอื ท้งั สองขึน้ กระพ่มุ ตง้ั ไวร้ ะหวา่ งอก

๓) การไหว้ การไหวพ้ ระรัตนตรัย การไหว้บิดามารดาครูอาจารย์

๔) การกราบ วิธปี ระนมมือขนึ้ เสมอหนา้ ผากแลว้ น้อมศีรษะลงจรดพนื้

มารยาททางวาจา

ชาวพุทธท่ดี ี ควรมวี าจาสุภาพออ่ นโยน เว้น วจีทุจรติ 4 ประการ ไดแ้ ก่ พดู เท็จ พดู คาหยาบ พดู ส่อเสยี ด

และพดู เพ้อเจอ้ ประพฤติวจีทุจรติ 4 ประการ ได้แก่ ไมพ่ ูดเทจ็ ไม่พูดคาหยาบ ไม่พดู ส่อเสยี ด และไมพ่ ดู เพอ้ เจ้อ

การแต่งกายไปวัด การแตง่ กายไปงานมงคล งานอวมงคล

๑. การแต่งกายไปวัด ปฏบิ ตั ติ นต่อวัดดว้ ยความสุภาพและความเคารพ

2. การแต่งกายไปในงานมงคล ควรแตง่ กายใหเ้ หมาะสมกับงานน้นั ๆ เพ่ือเป็นการใหเ้ กยี รตเิ จ้าภาพ

๓. การแต่งกายไปงานอวมงคล ควรแตง่ ตัวตามประเพณนี ิยม ชายแตง่ สากลนิยมสีเข้ม เนคไทสดี า รองเทา้

ดา ไมใ่ ชเ้ สอ้ื ผ้าและรองเทา้ สีฉดู ฉาด ไม่สมควรพดู คยุ หัวเราะกันอยา่ งสนุกสนาน

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 72

“...มารยาททางกาย คือ การเดิน การน่ัง การแสดงความ เคารพ การรบั ประทานอาหาร การแต่งกาย
และมารยาททางวาจา เชน่ การพูดสนทนาในโอกาสตา่ ง ๆ กัน ล้วนมี พื้นฐานมาจากคาส่ังสอนใน
พระพทุ ธศาสนา ผ้นู ับถอื ไดน้ าเอาหลักของเสขิยวัตร ธรรมเนียมเกี่ยวกบั มารยาท มาประยุกตใ์ ชเ้ ป็นตน้ แบบ
มารยาทไทย...”

……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 73

แบบฝกึ หัดทา้ ยหนว่ ย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
สาระการเรยี นร้พู นื้ ฐานพระพุทธศาสนา

1. เหตใุ ดทิศเบอื้ งหนา้ จึงหมายถงึ บิดามารดา

1. เป็นผคู้ วรแก่การบูชา 2. เปน็ ผู้มอี ุปการะแก่บตุ รและธดิ า

3. เป็นผสู้ งเคราะหม์ ิตรทงั้ สองฝ่ายดว้ ยดี 4. เป็นผคู้ อยชว่ ยรกั ษาพยาบาลในเวลาเจ็บไข้

2. ข้อใดต่อไปนที้ นี่ ักเรียนไม่ควรปฏิบตั หิ ากนกั เรียนต้องการไปทาบญุ ทวี่ ัด

1. สวมเสอ้ื ผา้ สีเรยี บๆ ไม่ฉูดฉาดเกินไป 2. ใสเ่ คร่อื งประดับเพยี งเลก็ นอ้ ย

3. สวมกางเกงยีนสร์ ดั รูปตามแฟช่ัน 4. สวมกางเกงขายาว

3. การจัดระเบียบสงั คมจะได้ผลดี คนในสังคมควรปฏิบตั ิเช่นไร

1.เคารพกฎหมายอย่างเครง่ ครัด 2. มีความเคารพตัวเอง ละอายตอ่ การทาผดิ

3. เห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ส่วนตวั 4. มีความรบั ผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง

4. บุคคลใดตอ้ นรับแขกที่มาเยยี่ มโดยใช้ธรรมปฏสิ นั ถาร

1. ประเวศยกมอื ไหวท้ ักทาย 2. ประวทิ ย์ยกเกา้ อ้ีมาใหน้ ่ัง

3. ประดิษฐ์นานา้ ส้มมาให้ดมื่ 4. ประพนั ธน์ าผลไมม้ าเลย้ี ง

5. การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ หมายถงึ

1. การแสดงตนเป็นผ้ยู อมรับนบั ถอื พระพทุ ธเจ้า 2. การแสดงตนของพระพทุ ธเจา้

2. การประกาศศาสนา 4. การเข้าร่วมพิธีทางศาสนา

6. การประเคนของถวายพระสงฆห์ ากเป็นผู้หญงิ ควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร

1. ให้ส่งต่อให้ชายกอ่ น 2. วางไวต้ รงหน้าพระสงฆ์

3. วางบนผา้ รองรบั ของ 4. สง่ ใหถ้ ึงมือพระสงฆ์

7. เมอื่ เดินสวนทางกบั พระสงฆค์ วรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร

1. เดินชดิ ทางด้านซ้ายมือของท่าน และยกมือไหว้ 2. เดินชดิ ทางด้านขวามอื ของทา่ น และยกมอื ไหว้

3. ยนื ตัวตรง มือประสานกันไว้ด้านหลัง 4. หยดุ นง่ั ลงและยกมอื ไหว้

8. ผใู้ ดแตง่ ตัวไม่เหมาะสมกับการไปงานอวมงคล

1. มะลใิ ส่ชุดกระโปรงสดี า 2. จาปาใส่เสือ้ สีขาวและกางเกงสีดา

3. ช่อผกาใสช่ ุดขาว 4. บวั ใสเ่ สอื้ สายเดย่ี ว

9. การแตง่ กายไปงานมงคลใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมมีความสาคญั อย่างไร

1. เพอ่ื ให้รู้ว่าเป็นผ้มู ีการศึกษา 2. เพ่ือเป็นการให้เกียรติเจ้าของงาน

3. เพอื่ แสดงฐานะทางสังคม 4. เพอื่ แสดงใหร้ ู้ว่าเปน็ คนเรียบร้อย

10. ขอ้ ใดปฏิบัตไิ มถ่ กู ต้องในการสนทนากับพระสงฆ์

1. ควรประนมมอื ทุกคร้ัง 2. พูดคุยตามสบายเหมือนเพอื่ น

3. สตรไี ม่ควรสนทนากบั พระสงฆ์ตามลาพัง 4. ไม่พดู คาหยาบคาย

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมปฺ ตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2 74

11. การกระทาทีจ่ ดั เปน็ “ธรรมฉันทะ ซ่งึ ชาวพทุ ธพึงปฏบิ ตั ิ มหี ลายประการ ยกเว้นข้อใด

1. อยากชว่ ยเหลอื คนอ่นื

2. อยากเรยี นหนงั สอื ให้มคี วามรู้

3. อยากเรยี นแพทย์เพราะเปน็ อาชีพที่มรี ายไดด้ ี

4. อยากชวนเพอื่ นไปร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สงิ่ แวดล้อม

12. วธิ เี ผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาที่ดี คอื ขอ้ ใด

1. เขา้ รว่ มพธิ ีกรรมตา่ งๆ 2. ประพฤตติ นเปน็ แบบอย่าง

3. อธบิ ายหลกั ธรรมแกผ่ ไู้ มร่ ู้ 4. พระภกิ ษุเป็นผ้บู รรยายธรรม

13. การบรรยายธรรมเพอื่ เผยแผพ่ ระพุทธศาสนา มแี นวทางการบรรยายหลายวธิ ี ยกเวน้ ข้อใด

1. บรรยายธรรมในวนั สาคัญทางพระพุทธศาสนา 2. บรรยายธรรมเปรียบเทียบกบั ศาสนาอน่ื

2. บรรยายธรรมในงานนิทรรศการ 4. บรรยายธรรมในหนงั สือตา่ งๆ

14. ชาวพุทธทกุ คนพึงปฏบิ ตั ิตนเปน็ ลูกทด่ี ตี ามหลกั ทศิ 6 ในขอ้ ใด

1. ทศิ เบ้ืองหน้า 2. ทิศเบอ้ื งหลัง

3. ทิศเบื้องล่าง 4. ทศิ เบื้องบน

15. การเขา้ ค่ายคณุ ธรรม มีผลตอ่ การปลกู ฝงั เยาวชนในเร่อื งใด

1. อยรู่ ว่ มกันดว้ ยความสงบ 2. มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ มีจิตม่งุ ม่ันในการทาดี

3. สรา้ งความรัก ความสามัคคี ความกตญั ญู 4. มจี ิตสานึกในการรบั ผิดชอบต่อตนเองและสงั คม

16. ขอ้ ความใดสอดคลอ้ งกบั การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ

1. การประกาศตนว่าเปน็ ผู้ยอมรับนบั ถอื พระพทุ ธศาสนา

2. การประกาศตนในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา

3. การตั้งจติ มั่นคงในการปฏิบัติตนเปน็ ชาวพทุ ธที่ดี

4. การเขา้ ร่วมพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนา

17. ขอ้ ใดเปน็ คากลา่ วปฏิญาณตนเป็นพทุ ธมามกะ

1. อมิ นิ า สกกฺ าเรน พทุ ธ ปูเชมิ… 2. นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต…

3. เอเต มย / เอตา มย ภนเฺ ต… 4. ยถา วาริวหา…

18. เมือ่ เพอื่ นของคณุ พ่อมาหาคณุ พอ่ ทบี่ ้าน นกั เรียนควรปฏบิ ัตติ นในการต้อนรับอย่างไร

1. กล่าวตอ้ นรับ 2. เชญิ ใหเ้ ข้าไปในบา้ น

3. ไหว้และเชิญเข้าไปในหอ้ งรบั แขก 4. สนทนากับเพื่อนของคณุ พ่ออยา่ งเปน็ กันเอง

19. ข้อใดเปน็ มารยาทท่ีไม่เหมาะสมของแขก

1. โก้ไหวล้ งุ สมานเจา้ ของบ้านกอ่ นกลบั

2. แก้วคยุ กับก้อยซ่งึ เปน็ เจ้าของบ้านนานคร่งึ วนั

3. เกก๋ ดกรง่ิ สัญญาณให้กบซงึ่ เปน็ เจา้ ของบา้ นออกมา ตอ้ นรบั

4. ดาวและเพ่อื นๆ ไปพบปา้ แม้นเพ่ือแจ้งขา่ วการพัฒนา หมูบ่ า้ น แล้วรีบลากลบั

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 75

20. การปฏบิ ตั ติ นในการยืนต่อหนา้ พระภกิ ษุข้อใดถกู ตอ้ ง
1. ยนื ตรง ขาชิด ก้มหนา้ เลก็ น้อยพองาม

2. ยืนกม้ ศีรษะ กม้ หน้าเล็กนอ้ ย ตัวตรง
3. ยนื ตรง ขาชิด ปลายเท้าหา่ งกันเลก็ น้อย ยนื ค้อม เลก็ น้อย

4. ยืนทา่ สารวม มองสบตาพระภิกษุ มือประสาน หงายมอื
21. การปฏบิ ัตติ นในการให้ที่นงั่ แก่พระสงฆ์ ขอ้ ใดถกู ต้อง

1. จัดสถานทใี่ ห้พระสงฆ์นงั่ กบั พ้ืน

2. ถา้ นงั่ แถวเดยี วกบั พระสงฆใ์ หน้ ง่ั เก้าอด้ี ้านขวา
3. เมื่อพระสงฆข์ นึ้ รถประจาทาง สตรีควรใหท้ น่ี ่ังแกพ่ ระสงฆ์

4. ถา้ สตรีจาเปน็ ต้องนงั่ แถวเดียวกับพระสงฆ์ใหบ้ ุรษุ นัง่ คน่ั
22. การรับสิ่งของขณะท่พี ระสงฆ์นงั่ เก้าอ้ี ขอ้ ใดไม่ถูกตอ้ ง

1. เมื่อรับแลว้ ถ้าเป็นของใหญ่ ให้วางของไว้ขา้ งตวั ซา้ ยมือ นอ้ มตัวลงไหวป้ ระคองของลกุ ขน้ึ ยนื ถอยหลงั

เล็กน้อย เดินกลบั
2. เมอื่ รบั ของแล้วถา้ ของน้นั เล็กกน็ อ้ มตัวลงไหวพ้ รอ้ มของในมอื

3. นง่ั คกุ เข่ารบั ของน้อมตัวไหวร้ บั ของ ยืนขึ้นเดนิ หนั หลังกลบั
4. นั่งคกุ เขา่ น้อมตวั ลงยกมือไหว้ ยนื่ มอื ทงั้ สองออกไปรบั ของ
23. การแตง่ กายไปวดั ไมค่ วรใสเ่ ครือ่ งประดับด้วยเหตผุ ล ในขอ้ ใด

1. เป็นการขัดเกลากเิ ลสตัณหาใหน้ ้อยลง
2. เป็นการแสดงความเคารพสถานที่

3. เพราะตอ้ งการทาบุญปฏบิ ัตธิ รรม
4. เพราะเป็นเหตใุ ห้เกดิ โจรกรรม
24. การแตง่ กายไปงานอวมงคลในข้อใดปฏิบตั ไิ ดถ้ ูกตอ้ ง

1. แต่งกายตามสมัยนิยม ทันสมัย
2. แต่งสีดา หรอื สีเรียบๆ ไม่ฉดู ฉาด

3. แต่งกายสีเรียบๆ ใสเ่ คร่อื งประดับพองาม
4. แตง่ เครอ่ื งแบบเต็มยศ ไมส่ วมใสเ่ ครอื่ งประดบั
25. การเขา้ ร่วมพิธกี รรมทางพระพทุ ธศาสนานน้ั จะไดร้ ับคณุ ประโยชน์ในดา้ นใดมากทีส่ ดุ

1. เป็นการสบื ทอดวัฒนธรรมไทยให้เป็นทแี่ พร่หลาย
2. สรา้ งความสามัคคีและความซอ่ื สัตย์

3. ลดความเห็นแกต่ วั มจี ิตบรสิ ทุ ธิ์
4. มเี พ่อื นรว่ มการกุศลดว้ ย

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 76

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6
วันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา และศาสนพิธี

สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐานท่ี 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ิตนเป็นศาสนิกชนทดี่ ี และธารงรกั ษาพระพุทธศาสนา

หรอื ศาสนาที่ตนนับถือ

ส.1.2.3 วเิ คราะหค์ ุณค่าของศาสนพิธี และปฏบิ ัติตนได้ถูกตอ้ ง
ส.1.2.4 อธบิ ายคาสอนทีเ่ กี่ยวเนอ่ื งกับวันสาคญั ทางศาสนา และปฏิบตั ติ น ได้ถูกต้อง

1.วนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

1.1 วนั มาฆบชู า วนั มาฆบูชา คอื การบูชาในเดอื นมาฆะ คือ วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 3 เหตุการณ์สาคัญท่ี
เกดิ ขึ้นคือการประชุมสงฆโ์ ดยมไิ ด้นดั หมายกนั ทีเ่ รยี กว่า จาตุรงคสนั นบิ าต ประกอบดว้ ยองค์ 4 คือ 1. เปน็ วันเพ็ญ
เดอื นมาฆะ 2. พระภิกษุ 1,250 องค์ มาประชมุ กนั โดยมิได้นัดหมาย 3. ภกิ ษเุ หลา่ นั้น ล้วนเปน็ พระอรหันต์ 4.
ได้รบั การบวชจากพระพทุ ธเจ้า เปน็ เอหภิ กิ ขุทัง้ ส้ิน

ในวนั นั้น พระพุทธเจา้ ได้ทรงแสดงธรรม คือแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ วางหลักคาสอนสาคญั ของพระพุทธ
องคไ์ ว้ 3 ประการ คอื 1. ไม่ทาความชว่ั 2. การทาบุญกศุ ลให้ถึงพรอ้ ม และ 3. การทาจิตของตนให้ผอ่ งแผว้

หลกั คาสอน 3 ประการ พระพทุ ธเจา้ ตรสั ว่า เป็นคาสอนของพระพุทธเจ้าท้ังหลายตรัสไว้อย่างนถี้ อื เปน็
ธรรมนญู ของพระสงฆใ์ น การยดึ ถือปฏิบตั ติ อ่ ไป

ความสาคัญของโอวาทปาฎิโมกข์
โอวาทปาฏโิ มกข์ หลกั คาสอนอันเป็นหวั ใจพระพทุ ธศาสนา ทพี่ ระสมั มาสัมพุทธเจ้าทรงประทานในวัน
มาฆบูชา ประกอบด้วย หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 และวิธกี าร 614
หลักการ 3 ไดแ้ ก่

1. การไม่ทาบาปทัง้ ปวง
2. การทากศุ ลให้ถงึ พรอ้ ม
3. การทาจิตใจให้บริสุทธิ์ (ทัง้ สามข้อนอ้ี าจอนมุ านเขา้ กับ ศีล สมาธิ และปญั ญา
อุดมการณ์ 4 ไดแ้ ก่
1. ความอดทนอดกลั้น เม่อื ประสบกบั สงิ่ ทไ่ี มช่ อบใจ

14 หลกั การ 3 ถอื ได้วา่ เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เปน็ การสอนหลักในการดาเนนิ ชีวิตท่ีถกู ต้องแก่พทุ ธศาสนิกชนสว่ น
อุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 นั้น อาจจะเรยี กไดว้ า่ เป็นหลักครหู รอื หลกั ของผสู้ อนคอื วิธีการทจ่ี ะนาไปปรบั ปรงุ ตัวให้เปน็ กลั ยาณมิตร
ทง้ั ต่อตนเองและผูอ้ ่นื ซึ่งผู้ใดปฏิบัติได้นอกจากจะเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีแล้ว ยังจะช่วยเผยแพรพ่ ระศาสนาให้เปน็ ไปอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพอกี ดว้ ย

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2 77

2. การม่งุ ให้ถงึ พระนิพพานเปน็ เป้าหมายหลักของผู้ออกบวช
3. พระภกิ ษุและบรรพชติ ไมพ่ ึงทาผู้อ่ืนใหล้ าบากด้วยการทาความทุกข์กายหรือทกุ ข์ทางใจไม่

วา่ จะในกรณีใดๆ
4. พระภกิ ษุตลอดจนบรรพชติ ต้องขอแกท่ ายกดว้ ยอาการที่

ไมเ่ บยี ดเบียน ( คือการไมเ่ อย่ ปากเซา้ ซข้ี อ และไม่ใชป้ ัจจัยสีอ่ ย่างฟุ่มเฟอื ย)
วิธีการ 6 ที่ธรรมทตู ผเู้ ผยแผพ่ ระพุทธศาสนาถอื เป็

นกลยทุ ธ เพอื่ เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกันและถูกต้องเปน็ ธรรม ไดแ้ ก่

1. การไม่กลา่ วร้าย
2. การไมท่ ารา้ ย

3. ความสารวมในปาตโิ มกข์ (รกั ษาความประพฤตใิ หน้ ่า
เลือ่ มใส)

4. ความเปน็ ผ้รู จู้ ักประมาณในอาหาร (เสพปัจจัยสอ่ี ย่างรู้

ประมาณพอเพยี ง)
5. ทน่ี ง่ั นอนอนั สงัด (สันโดษไม่คลุกคลีด้วยหมคู่ ณะ)

6. ความเพยี รในอธจิ ติ

1.2) วันวิสาขบูชา วันวสิ าขบชู า คือ การบูชาในวันเพ็ญ เดือน ๖ เป็นวนั คล้ายวนั ประสูติ ตรัสรู้ และ

ปรินิพพานของพระพุทธเจา้ ซึ่งนับเปน็ เร่อื งอศั จรรย์ดว้ ยยังไมเ่ คยมีการประจวบกนั เช่นน้แี ก่บุคคลหรือเหตกุ ารณ์
ใดมาก่อนตราบจนปจั จุบนั แต่ความอัศจรรย์ดงั กล่าว ยงั ไม่เทยี บเทา่ กับการอุบตั ิของพระพุทธเจ้าขึน้ ในโลก และ

ได้ทรงประดษิ ฐานพระพุทธศาสนาเพ่อื ประโยชนส์ ุขแก่สรรพสัตว์
วันวสิ าขบชู าจึงนบั ว่าเป็นวนั สาคญั มกี ารจัดพิธบี ูชากันทัว่ ไปในประเทศที่มพี ุทธศาสนกิ ชน นอกจากน้ี

เมื่อมีการประชุมสมชั ชาสหประชาชาติสมัยสามญั ครงั้ ท่ี ๔ เมอ่ื วนั ที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ องค์การ

สหประชาชาตไิ ด้มีมติกาหนดใหว้ ันวิสาขบชู าเป็นวนั สากลในกรอบขององคก์ ารสหประชาชาติ วันวสิ าขบชู า เป็น
วนั ทรี่ ะลึกถึงวนั ทีอ่ งคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประสูติ ตรสั รู้ และปรนิ พิ พาน ซ่ึงตรงกบั วนั เพญ็ เดือนวสิ า

ขมาส (เดือน 6) บรรจบกนั ทง้ั 3 ครา
หลกั ธรรมวันวสิ าขบชู า
1. กตญั ญู กตเวทคี วามกตญั ญู คือ ความร้อู ุปการคุณทม่ี ีผู้ทาไวก้ อ่ นเปน็ คณุ ธรรมค่กู ับ ความกตเวที คอื

การตอบแทนอปุ การะคุณทผ่ี อู้ ่ืนทาไว้น้นั ผทู้ ่ีทาอุปการรคุณก่อนเรยี กว่า บุพการี
2. อรยิ สัจ ๔ อรยิ สัจ คอื ความจรงิ อนั ประเสริฐ หมายถึง ความจริงทีไ่ มผ่ ันแปร เกิดมีไดแ้ ก่ทุกคนมี ๔

ประการ คอื ทกุ ข์ สมุทยั นิโรธ มรรค
3. ความไมป่ ระมาท ความไมป่ ระมาท คอื การมสี ตทิ ง้ั ขณะทาขณะพดู และขณะคิดสติ คื การระลึกร้ทู ัน
1.3) อัฏฐมบี ชู า วันอฏั ฐมคี ือวันแรม ๘ คา่ เดอื น ๖ เปน็ วนั ทม่ี เี หตุการณ์สาคญั ทางพระพุทธศาสนา ถอื

เป็นวนั ท่ตี รงกับวันท่ีตรงกับวนั ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระเป็นวนั ทช่ี าวพทุ ธตอ้ งวิปโยคและสญู เสยี พระบรม

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 78

สรรี ะแห่งองคพ์ ระบรมศาสดา ซง่ึ เป็นทีเ่ คารพสักการะอยา่ งสูงยง่ิ และเปน็ วนั ควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกถึง
พระพทุ ธคุณใหส้ าเร็จเป็นพุทธานุสสตภิ าวนามยั กุศล

หลังถวายพระเพลิงพระบรมศพพระพทุ ธเจ้า หลังจากทพ่ี ระเพลิง

เผาซง่ึ เผาไหมพ้ ระพุทธสรีระดบั มอดลงแล้ว บรรดากษตั ริย์มลั ละทง้ั หลายจึง

ไดอ้ ญั เชญิ พระบรมสารรี กิ ธาตุท้งั หมด ใส่ลงในหีบทองแล้วนาไปรักษาไว้

ภายในนครกุสนิ ารา ส่วนเครือ่ งบริขารตา่ งๆ ของพระพทุ ธเจา้ ไดม้ ีการอัญเชญิ

ไปประดษิ ฐานตามท่ีตา่ งๆ

และเม่ือบรรดากษตั ริยจ์ ากแควน้ ตา่ งๆ ไดท้ ราบว่าพระพทุ ธเจ้าได้
เสด็จดับขนั ธปรนิ พิ พานทีก่ รุงกสุ นิ ารา จงึ ได้สง่ ตวั แทนไปขอแบ่งพระบรม
สารีรกิ ธาตุ เพอ่ื นากลับมาสกั การะยังแควน้ ของตน แตก่ ถ็ ูกกษัตริยม์ ัลละ
ปฏิเสธ จงึ ทาให้ทงั้ สองฝา่ ยขดั แย้งและเตรียมทาสงครามกัน

แตใ่ นสุด โทณพราหมณ์ ได้เข้ามาเป็นตวั กลางเจรจาไกลเ่ กลีย่ เพ่อื
ยตุ ิความขัดแย้งโดยเสนอให้แบง่ พระบรมสารีริกธาตุออกเปน็ 8 สว่ นเทา่ ๆ กัน
ซง่ึ กษัตรยิ แ์ ตล่ ะเมอื งทรงสรา้ งเจดยี ์ทีบ่ รรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุ ตามเมืองต่างๆ ดังน้ี

พระบรมสารรี ิกธาตแุ บ่งเปน็ 8 ส่วน ซ่งึ กษัตรยิ ์แตล่ ะเมืองทรงสร้างเจดียท์ บ่ี รรจุ
กษตั ริย์ลิจฉวี ทรงสร้างเจดีย์บรรจุไว้ท่ี เมืองเวสาลี
กษัตริยศ์ ากยะ ทรงสร้างเจดยี ์บรรจุไว้ที่ เมืองกบลิ พัสด์ุ
กษัตริยถ์ ลู ยิ ะ ทรงสร้างเจดยี ์บรรจุไวท้ ี่ เมอื งอัลลกปั ปะ
กษตั ริยโ์ กลยิ ะ ทรงสร้างเจดยี บ์ รรจไุ ว้ที่ เมอื งรามคาม
มหาพราหมณ์ สร้างเจดียบ์ รรจไุ วท้ ่ี เมอื งเวฏฐทีปกะ
กษัตริย์มลั ละแห่งเมอื งปาวา ทรงสร้างเจดียบ์ รรจุไวท้ ี่ เมอื งปาวา
พระเจา้ อชาตศัตรู ทรงสร้างเจดยี ์บรรจุไว้ท่ี เมอื งราชคฤห์
มัลลกษัตรยิ แ์ หง่ กสุ ินารา ทรงสร้างเจดยี บ์ รรจไุ วท้ ี่ เมอื งกสุ ินารา
กษัตรยิ เ์ มืองโมริยะ ทรงสร้างสถปู บรรจุพระองั คาร (อังคารสถูป) ที่ เมอื งปิปผลวิ นั
โทณพราหมณ์ สรา้ งสถูปบรรจทุ ะนานตวงพระบรมสารีริกธาตุ ที่ เมืองกุสนิ ารา

1.4) วนั อาสาฬหบูชา

วนั อาสาฬหบูชา คือวนั ท่ีพระพุทธเจ้าไดท้ รงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นคร้ังแรก หลงั จากตรสั รู้ได้ 2
เดือน โดยแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้แก่ พระโกณฑัญญะ พระวปั ปะ พระภัททยิ ะ พระมหานา
มะ และพระอัสสชิ ทปี่ า่ อิสปิ ตนมฤคทายวัน เมอื งพาราณสี แควน้ มคธ จนพระอญั ญาโกณฑญั ญะ ไดบ้ รรลุธรรมและ
ขอบวชเปน็ พระภิกษรุ ูปแรกในพระพุทธศาสนา จึงถือว่าวันนี้มีพระรัตนตรัยครบองคส์ ามบรบิ รู ณ์ครง้ั แรกในโลก คือ
มีทัง้ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ ซงึ่ เหตกุ ารณ์น้เี กดิ ขึ้นกอ่ นพุทธศกั ราช 45 ปี

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 79

ทงั้ น้ีพระธรรมทพี่ ระพุทธเจา้ ทรงแสดงแก่ปญั จวัคคีย์ทัง้ 5 เรยี กว่า

“ธัมมจักกัปปวตั นสตู ร” แปลวา่ พระสูตรแหง่ การหมนุ วงล้อธรรม ซึ่ง

หลงั จากปฐมเทศนา หรือเทศนากณั ฑ์แรกท่ีพระองค์ทรงแสดงจบลง

พระอัญญาโกณฑัญญะกไ็ ดด้ วงตาเห็นธรรม สาเร็จเป็นพระโสดาบัน จงึ ขอ

อุปสมบทเปน็ พระภกิ ษุในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจา้ ก็ได้ประทาน

อปุ สมบทใหด้ ้วยวธิ ีท่เี รยี กวา่ “เอหิภิกขุอปุ สัมปทา”

หลักธรรมสาคัญ 2 ประการ

1. อริยอฏั ฐงั คกิ มคั ค์ หรอื มรรคมีองค์ 8 2. อริยสจั 4

1.5) วันเข้าพรรษา

เข้าพรรษา หมายถึง การอยปู่ ระจาทข่ี องพระสงฆต์ ลอด ๓ เดือนฤดู

ฝน ซงึ่ เป็นธรรมเนียมทางพระวินัย พระภกิ ษุตอ้ งอยปู่ ระจาทีว่ ดั ใดวดั หน่ึง

ตามเวลาท่กี าหนดไว้ ระยะกาลเขา้ พรรษามี ๒ ครั้ง คอื เข้าวันแรม ๑ ค่า

เดอื น ๘ ออกวันขึน้ ๑๕ คา่ เดอื น ๑๑ เรียกวา่ เข้าปรุ มิ พรรษาหรือวัน

เขา้ พรรษาตน้ และเขา้ วนั แรม ๑ คา่ เดือน ๙ และออกวันขนึ้ ๑๕ ค่าเดอื น ๑๒

เรยี กว่าเข้าปจั ฉิมพรรษาหรือวนั เขา้ พรรษาหลัง พระสงฆ์สว่ นใหญน่ ยิ มเข้าพรรษาต้น

1.๖) วันออกพรรษา

วนั ออกพรรษา คอื วันพน้ กาหนดระยะเวลาการเขา้ พรรษาครบ ๓ เดือนแล้ว ตรงกบั วนั ข้นึ ๑๕ คา่ เดอื น

๑๑ ในวันออกพรรษาน้ันมขี อ้ อนญุ าตใหส้ งฆท์ าปวารณาแทนอุโบสถได้ โดยปกตธิ รรมดาสงฆจ์ ะทาอุโบสถสวดปาฏิ

โมกข์ (คอื ทบทวนพระวนิ ัย ๒๒๗ ขอ้ ใหท้ ี่ประชุมสงฆฟ์ งั ว่า ใครมขี ้อบกพร่องอะไรบา้ ง) ทกุ ๑๕ วัน คือ เดอื นละ ๒

คร้ัง แตใ่ นวันออกพรรษานใ้ี ห้ทาปวารณาแทนการสวดปาฏโิ มกข์

ข้อควรปฏบิ ัติในเทศกาลเขา้ พรรษา

๑. ทาบญุ ตกั บาตรท่ีบา้ นหรือทีว่ ัด

๒. ไปวดั เพ่ือรับศลี และฟงั ธรรม

๓. มกี ารหล่อเทียนพรรษา

๔. ถวายผา้ อาบน้าฝนหรือไทยธรรม

๕. อธิษฐานทาความดตี ลอดพรรษา

ข้อควรปฏบิ ัติในวนั ออกพรรษา

เมื่อถงึ กาหนดวันออกพรรษา พระสงฆ์จะทาปวารณาแทนการทาอโุ บสถตามพุทธานญุ าต คือ เปิดโอกาส

ใหม้ ีการแนะนาตักเตอื นกันได้

2. ศาสนพธิ ี

ศาสนพธิ ี คอื พิธีทางศาสนาหรอื แบบแผนแนวทางการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ทางศาสนาในทาง

พระพุทธศาสนา พิธกี รรมเป็นสง่ิ ทช่ี ่วยหลอ่ เลย้ี งศาสนธรรมอันเป็นแก่นแทข้ องพระพทุ ธศาสนาไว้

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 80

ดงั นัน้ การกระทาศาสนพธิ ีหรอื พธิ กี รรมต่างๆ ในทางพระพุทธศาสนา ควรท่จี ะต้องมีการแนะนาและใหผ้ ู้ร่วม
พิธีได้ศึกษาทาความเข้าใจเกย่ี วกับพิธตี า่ งๆ ใหถ้ อ่ งแทต้ ามหลกั การทางพธิ ีกรรมของ

พระพุทธศาสนาเพ่ือผู้ปฏบิ ตั ิจะได้นาไปปฏบิ ตั ิได้อยา่ งถกู ตอ้ งตามจุดมุ่งหมายในศาสน
พธิ นี นั้ ๆ

ประโยชนข์ องศาสนพธิ ี ศาสนพิธีทีถ่ ูกตอ้ งทาให้พิธีมคี วามเรยี บรอ้ ย งดงาม ย่อม
เพม่ิ พูนความศรทั ธาของผู้ทไี่ ดพ้ บเหน็ เป็นเครอ่ื งแสดงเกียรตยิ ศของเจา้ ภาพและ
ผ้เู ข้ารว่ มพธิ ีอีกทงั้ ยงั เปน็ การรกั ษาวฒั นธรรมประเพณีทีด่ งี าม ของชาติไว้

ประเภทของศาสนพิธที างพระพุทธศาสนา ศาสนพธิ ใี นทางพระพุทธศาสนาเปน็
การสร้างความดี การทาบญุ การถวายทานต่างๆ ได้มกี ารรวมไว้ และแบ่งออกเปน็ ๔

ประเภท คือ
๑. กศุ ลพิธี คอื พิธกี รรมทเี่ นอ่ื งด้วยการอบรมความดงี าม
๒. บญุ พิธี คอื พธิ ีทาบญุ เปน็ ประเพณใี นครอบครัว ในสงั คม

๓. ทานพิธี คอื พิธีถวายทานต่างๆ
๔. ปกณิ กพิธี คือ พธิ ีเบ็ดเตล็ดเป็นมารยาทและวิธปี ฏิบัตศิ าสนพิธ

2.1 รปู แบบของงานศาสนพิธี
๑) งานพระราชพธิ ี เปน็ งานทพี่ ระมหากษัตรยิ ท์ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯเป็นงานที่

พระมหากษตั ริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ัดข้นึ เปน็ ประจาปี

เช่น พระราชพิธฉี ตั รมงคล พระราชพธิ ีเฉลิมพระชนมพรรษา หรืองานทีท่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้จัดขึ้น
เป็นกรณีพเิ ศษ เช่น พระราชพธิ อี ภเิ ษกสมรส พระราชพิธสี มโภชเดอื นและข้ึนพระอู่

๒)งานพระราชกศุ ล เปน็ งานทพี่ ระมหากษัตริยท์ รงบาเพญ็ พระราชกศุ ล เปน็ งานที่
พระมหากษตั รยิ ท์ รงบาเพ็ญพระราชกุศล งานพระราชกศุ ลบางงานต่อเน่ืองกบั งานพระราชพธิ ี เชน่ พระราชกุศล
มาฆบูชา พระราชกศุ ลทกั ษณิ านุประทานพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบพุ การี พระราชกศุ ลทรงบาตร

๓) งานรัฐพธิ ี เปน็ งานพิธที ร่ี ัฐบาลหรอื ทางราชการจดั ขน้ึ เป็นประจาปี เป็นงานพธิ ีที่รฐั บาลหรอื
ทางราชการจัดขึ้นเป็นประจ าปี โดยกราบทูลเชญิ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จฯ ทรงเปน็ ประธานประกอบพิธี เชน่ รฐั

พธิ ีท่ีระลึกวันจกั รี รฐั พธิ ฉี ลองวันพระราชทานรฐั ธรรมนญู ซงึ่ ปจั จุบนั ทรงรบั เข้าเป็นงานพระราชพธิ ี
๔) งานราษฎร์พธิ ี เปน็ งานทาบญุ ตามประเพณีนยิ มทรี่ าษฎรจดั ข้นึ เปน็ งานท าบญุ ตามประเพณี

นิยมทร่ี าษฎรจดั ข้ึนเพื่อความเป็นสิริมงคลแกต่ นเองและชุมชน หรือเปน็ การท าบญุ เพื่ออุทศิ ผลให้แก่ผลู้ ่วงลบั ไป

แลว้ ในโอกาสต่างๆ ซงึ่ เป็นการจดั ตามความศรัทธาและความเชื่อที่ถอื ปฏบิ ตั ิสืบทอดกันมาตามท้องถิน่ หรอื ชุมชน
นัน้ ๆ

2.2 องคป์ ระกอบของพิธี
๑) พธิ กี รรม คือ การกระทาทีเ่ ป็นวธิ ีการเพื่อให้ได้รับผลสาเร็จและนาไปสูผ่ ลท่ตี อ้ งการอนั เปน็

เครอื่ งน้อมนาศรทั ธาที่จะพาเข้าสู่เป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของผู้ที่จัดกจิ กรรมน้นั ๆ และสามารถนอ้ มนาใหผ้ ู้

ศรัทธาเข้าถงึ ธรรมที่สูงขึ้น

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 81

๒) พธิ กี าร คือ ข้นั ตอนของพิธีทกี่ าหนดไวต้ ามลาดับตัง้ แตเ่ ริ่มตน้ พธิ ีจนจบพธิ เี พอ่ื ให้การจัด
กิจกรรมในพธิ นี นั้ ๆ เปน็ ไปด้วยความถูกต้อง เรียบร้อย และสวยงาม อันนามาซ่งึ ความศรทั ธาและความเช่ือในการ

จดั กิจกรรมรว่ มกัน ทั้งในสว่ นผทู้ เี่ ขา้ ร่วมพิธีและผู้ทพ่ี บเห็น
๓) พธิ กี ร15 คือ ผู้ดาเนินรายการประกอบพธิ กี รรมน้นั ๆ ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามขน้ั ตอนท่ไี ด้กาหนดไว้

โดยทาหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบในดา้ นพธิ ีการ ประสาน ควบคมุ และกากับพธิ กี ารต่าง ๆให้เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยตาม
กาหนดการ ในกรณีที่เป็นพิธกี รทางศาสนา จะเรียกว่า “ศาสนพธิ กี ร” ซง่ึ หมายถงึ ผทู้ าหน้าทค่ี วบคมุ และปฏบิ ตั ิศา
สนพธิ ใี หถ้ ูกต้องตามพิธีกรรมทางศาสนาตลอดจนประสานงานเพอื่ ให้การดาเนนิ กิจกรรมในพธิ นี น้ั ๆ เป็นไปด้วย

ความเรียบรอ้ ย
2.3 ลาดับของศาสนพธิ ีการเตรียมการ เมือ่ มกี ารปรกึ ษาหารือและมขี ้อตกลงกนั เปน็ ทเ่ี รยี บร้อยแลว้ ใน

การจดั พิธเี นื่องในโอกาสตา่ ง ๆ นั้น ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมายให้ทาหนา้ ท่ีในการเปน็ ผู้ดาเนินกจิ กรรมจะตอ้ งมีการ
เตรยี มการ ดังน้ี

๑) การเตรียมสถานที่ จิ กรรมแรกท่ีผู้ดาเนินกจิ กรรมควรคานงึ ถงึ คือ การเตรยี มสถานท่ี ควร

คานงึ ถงึ ความเหมาะสมของสถานที่ งานทีจ่ ะจัดเปน็ งานพธิ ีใด งานมงคล หรืองานอวมงคล สถานทนี่ น้ั มคี วาม
เหมาะสมกับการจัดพิธีหรอื ไมเ่ พยี งใด ซ่งึ จะได้มกี ารวางแผนในการจดั กจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกับสถานที่

๒) การเตรยี มอปุ กรณ์ การเตรยี มอปุ กรณ์ เปน็ สิ่งจาเป็นของพิธีตา่ ง ๆ ซ่งึ ผูท้ าหน้าที่ศาสนพิธกี ร
ควรมีความรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั พิธีการหรือพธิ ีกรรมต่าง ๆ เช่น วัตถุประสงค์ของการจดั ศาสนพธิ เี ป็นงานมงคล
งานอวมงคล หรอื การจดั งานมงคลและงานอวมงคลพรอ้ มกัน ซึ่งแต่ละงานจะตอ้ งใชอ้ ุปกรณใ์ นการประกอบพิธีท่ี

แตกต่างกัน เช่น งานมงคลสมรส งานวางศลิ าฤกษเ์ ปน็ ต้น
๓) การเตรียมบุคลากร การเตรียมบคุ ลากร เป็นการแสดงถงึ ความพรอ้ มของผู้จดั งานพิธตี า่ ง ๆ

เพื่อความสะดวกในการประสานงาน อนั เป็นการแบ่งหน้าทร่ี ับผดิ ชอบในแต่ละส่วนของผู้ปฏิบัตงิ านและสามารถ
ตรวจสอบไดว้ ่านิมนตพ์ ระสงฆ1์ 6หรือยัง นมิ นตจ์ านวนเท่าใด ใครเป็นประธานใครรับภารกิจสว่ นใด ใครเปน็ พิธีกร
ใครทาหนา้ ท่ศี าสนพิธีกร เปน็ ตน้

15 คุณสมบัติของศาสนพธิ ีกร
๑) ความรูค้ วามสามารถ ในการปฏบิ ัติศาสนพิธี
๒) มีไหวพรบิ ปฏภิ าณ ตดั สนิ ใจ และแกไ้ ขขอ้ ขดั ข้องได้รวดเร็วและเรยี บรอ้ ย
๓) มีความแมน่ ยา ละเอียด รอบคอบ
๔) แต่งกายและปฏบิ ตั ิตนให้เหมาะสมตามกาลเทศะ มีมารยาทเรยี บรอ้ ย
๕) สามารถประสานงาน ควบคุม กากบั พธิ ีการไดด้ ี

16 พระสงฆ์การนิมนตพ์ ระสงฆค์ วรเขียนเปน็ หนงั สือ หรอื ภาษาทางราชการ เรยี กว่า“การวางฎกี านมิ นต์พระสงฆ์” เพอื่
ถวายพระสงฆไ์ วเ้ ปน็ หลกั ฐาน ซง่ึ ประกอบดว้ ยขอ้ ความสาคญั เป็นการนมสั การให้พระสงฆท์ ราบวา่ นมิ นตง์ านพิธีใด วนั เวลา และ
สถานทีใ่ นการประกอบพิธอี ยู่ที่ไหนควรแจง้ ให้ชัดเจน สาหรบั จานวนพระสงฆใ์ นแต่ละพิธไี มไ่ ดก้ าหนดจานวนมากไวเ้ ทา่ ใดแตม่ ี

กาหนดจานวนข้างน้อยไว้คอื ไม่ต่ากว่า ๕ รูป ๗ รปู ๙ รปู และ ๑๐ รปู เพอื่ จะไดค้ รบองคค์ ณะสงฆ์ส่วนงานพระราชพิธหี รือพธิ ีของ
ทางราชการนิยมนมิ นตพ์ ระสงฆ์ ๑๐ รูป ทั้งงานมงคลและงานอวมงคล แต่ถา้ หากเปน็ พธิ ีบาเพญ็ กศุ ลสวดพระอภธิ รรมศพประจาคืน
นั้น นิมนตพ์ ระสงฆ์สวดพระอภธิ รรม จานวน ๔ รปู

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กล่มุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 82

๔) การเตรียมกาหนดการ กาหนดการ คอื เอกสารท่จี ัดทาขึน้ เพอื่ บอกลักษณะของงาน เป็นต้น
ว่า งานอะไรใครเป็นประธาน สถานท่ี วัน เวลาในการจัดงาน ลาดบั ขน้ั ตอนของงาน การแตง่ กาย เพื่อใหผ้ ู้ท่ีรว่ มใน

พิธๆี มีความเข้าใจตรงกนั และทราบข้ันตอนของพธิ ี กาหนดการมี ๔ ประเภท คือ
๑. หมายกาหนดการ

๒. หมายรับสง่ั
๓. พระราชกจิ
๔. กาหนดการ

2.4 การจดั ทานพธิ ีการถวายทาน เปน็ การทาบุญหรอื ทาความดีประการหน่ึง ตามหลักการทาบญุ ของ
พระพุทธศาสนา ๓ ประการ คอื ทานมัย บุญสาเร็จดว้ ยการให้ทาน ศีลมัย บญุ สาเร็จ ด้วยการรกั ษาศีล ภาวนามยั

บุญสาเร็จดว้ ยการเจริญภาวนา
หลักการเกีย่ วกบั การถวายทานแดพ่ ระสงฆ์
๑) หลกั สาคัญของการถวายทานแด่พระภิกษุสามเณร ต้องต้งั ใจถวายจริง ๆ
๒) จดั เตรยี มทานวัตถุท่จี ะถวายให้เสรจ็ เรียบรอ้ ย ตามศรทั ธาและทนั ถวาย ถา้ เปน็ ภตั ตาหาร17 จวี ร และ

คลิ านเภสัช ซง่ึ เปน็ วตั ถยุ กประเคนไดต้ อ้ งประเคน

๓) แจง้ ความประสงคท์ ี่จะถวายทานใหพ้ ระภิกษุสงฆท์ ราบ และนดั หมายวนั เวลา และ สถานที่
๔) ถ้ามคี วามประสงคจ์ ะถวายทานร่วมกบั พธิ ีการอืน่ ๆ กต็ ้องเป็นเรอื่ งของงานพิธี แต่ละอยา่ งไป
๕) ส่งิ ทสี่ มควรถวายเป็นทานตามพระวนิ ยั (๑) เคร่ืองน่งุ หม่ ได้แก่ ไตรจีวร สบง องั สะ หรือผา้ เช็ดตวั

(๒) บณิ ฑบาต ได้แก่ ภัตตาหาร นา้ ด่มื นา้ ปานะ (๓) เสนาสนะ ได้แกก่ ฏุ ิศาลาบาเพ็ญกุศล (๔) คลิ านเภสชั หรอื ยา
รักษาโรค

๖) ส่งิ ของทีค่ วรถวายเปน็ ทานตามท่ีปรากฏในพระสตู ร (๑) อันนัง ใหอ้ าหาร (๒) ปานัง ใหน้ ้ารอ้ น-น้าเยน็
น้าอัฏฐบาน (๓) วตั ถัง ให้ผ้าน่งุ ห่ม (๔) ยานงั ใหย้ านพาหนะ (๕) มาลงั ใหด้ อกไมท้ ่ีมกี ลิน่ หอม (๖) คันธงั ใหข้ อง
หอมตา่ ง ๆ (๗) วเิ ลปะนงั ให้เครื่องทาต่าง ๆ (๘) เสยยงั ใหท้ นี่ อนหมอนม้งุ (๙) วะสะถัง ใหท้ ี่อยู่อาศยั (๑๐) ทเี ปย

ยัง ใหป้ ระทีป หรือใหแ้ สงสวา่ ง
2.5 การถวายสังฆทาน

การถวายสังฆทาน คอื การถวายทานที่อุทิศแก่สงฆ์ ซ่งึ ต้องเป็นการต้งั ใจถวาย แกส่ งฆจ์ รงิ ๆ ไม่เห็นแก่หนา้
พระภกิ ษรุ ูปใดรปู หน่งึ ไม่วา่ จะเปน็ ภิกษหุ รอื สามเณร เปน็ พระสงฆเ์ ถระ หรอื พระสงฆอ์ นั ดับ ถา้ เจาะจงจะถวาย
พระภกิ ษุรปู ใดแล้ว ก็จะเป็นเหตุให้มจี ิตใจไขวเ้ ขวเกิดความ ยินดยี ินร้ายไปตามบคุ คลท่ีรับสังฆทานนน้ั จะเป็นภิกษุ

หรือสามเณร จะเปน็ รูปเดยี วหรือหลายรปู กถ็ อื ว่าเปน็ การถวายสงั ฆทานทัง้ สน้ิ
ในคร้ังพทุ ธกาลมแี บบแผน ในการถวายสังฆทาน ๗ ประการ คอื

๑) ถวายแกห่ มภู่ กิ ษแุ ละภกิ ษุณีมพี ระพุทธเจ้าเปน็ ประมขุ
๒) ถวายแกห่ มูภ่ ิกษุ มพี ระพทุ ธเจ้าเปน็ ประมขุ

17 ภกิ ษุหา้ มฉันเนื้อ 10 ชนิด 1.เนื้อมนษุ ย์ 2.เนอื้ ชา้ ง 3.เนื้อม้า 4.เนอ้ื สุนัข 5.เนอื้ งู 6.เน้ือราชสหี ์ 7. เน้อื หมี 8.เนอ้ื
เสอื โครง่ 9.เน้ือเสอื ดาว 10.เน้ือเสือเหลือง

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 83

๓) ถวายแก่หมภู่ กิ ษุณีมีพระพทุ ธเจา้ เปน็ ประมขุ
๔) ถวายแก่หมภู่ กิ ษแุ ละภิกษณุ ีไมม่ ีพระพทุ ธเจ้าเป็นประมุข

๕) ถวายแกห่ ม่ภู ิกษุไม่มพี ระพุทธเจ้าเปน็ ประมุข
๖) ถวายแกห่ มูภ่ กิ ษณุ ีไม่มพี ระพุทธเจ้าเป็นประมขุ

๗) ร้องขอต่อสงฆใ์ หส้ ่งใคร ๆ ไปรบั แล้วถวายแก่ผู้น้ัน
2.6 แนวทางการปฏบิ ตั ศิ าสนพิธีการต่างๆ

ก. จดุ ธปู เทียนบูชาพระรตั นตรยั กราบ ๓ ครัง้

ข. อาราธนาศีล
ค. พระสงฆใ์ ห้ศีล

ง. กล่าวนะโม ๓ จบ
จ. กลา่ วคาถวายทาน
ช. พระสงฆร์ บั “สาธุ”

ซ. ผูถ้ วายทานประเคนวัตถุทานนนั้ ๆ
ฌ. พระสงฆ์อนโุ มทนา

ญ. ผถู้ วายทาน กรวดนา้ -รบั พร
ฐ. เสร็จพิธถี วายทาน
2.7 คาบูชาพระและคาอาราธนา

คาบูชาพระ
“อิเมหิสักกาเรหิพทุ ธงั อภปิ ูชยาม.ิ

อิเมหสิ ักกาเรหิธมั มงั อภิปชู ยาม.ิ
อิเมหสิ กั กาเรหิสงั ฆัง อภิปชู ยามิ.
คาอาราธนาศีล ๕

“มะยงั ภนั เต, วิสุง วสิ ุง รกั ขะณัตถายะ, ตสิ ะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิยาจามะ. ทตุ ยิ มั ปมิ ะยัง ภันเต
, วิสุง วสิ งุ รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานยิ าจามะ. ตะติยัมปิมะยงั ภนั เต, วสิ ุง วิสุง รักขะณตั

ถายะ, ตสิ ะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สลี านิ ยาจามะ.”
คาอาราธนาพระปรติ ร
“วปิ ตั ตปิ ะฏพิ าหายะ สพั พะสัมปตั ติสิทธยิ า, สพั พะ ทุกขะ วนิ าสายะ ปะรติ ตัง พรถู ะ มังคะลัง. วิปัตติ

ปะฏพิ าหายะ สพั พะสมั ปัตติสิทธิยา, สัพพะ ภะยะ วินาสายะ ปะริตตงั พรถู ะ มังคะลัง. วปิ ตั ตปิ ะฏพิ าหายะ
สพั พะสมั ปตั ติสิทธิยา, สัพพะ โรคะ วนิ าสายะ ปะริตตัง พรถู ะ มังคะลัง.”

คาอาราธนาธรรม
“พรัห(ม)มา จะ โลกาธิปะตี, สะหัมปะติกตั อัญชะลี, อันธวิ ะรัง อะยาจะถะ, สันตีธะ สตั ตาปปะระชกั ขะชาติ
กา, เทเสตธุ มั มงั อนกุ ัมปมิ ัง ปะชัง.ฯ”

คาถวายข้าวพระพทุ ธ
“อิมัง, สปู ะพะยญั ชะนะสัมปันนงั , สาลนี ัง, โภชะนงั , อทุ ะกัง, วะรัง, พทุ ธัสสะ, ปูเชม.ิ ”

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 84

คาลาข้าวพระพุทธ
“เสสัง มังคะลัง ยาจามิ.”

“…ภิกษทุ ัง้ หลาย ผู้ใดมีความรักในเราตถาคต… ชนเปน็
อันมาก แมจ้ ะทาการบูชาเรา ด้วยของหอมและระเบยี บดอกไม้
เป็นต้น ก็ยังไมไ่ ดช้ ่ือวา่ บชู าเราอย่างแท้จรงิ ส่วนชนท้งั หลายเหล่า
ใดเปน็ ผ้ปู ฏิบตั ิธรรมตามสมควรแก่ธรรมอยา่ งสม่าเสมอ ชน
ท้ังหลายเหลา่ น้นั นัน่ แหละ ไดช้ อ่ื วา่ เป็นผ้บู ชู าตถาคตดว้ ยการบชู า
อยา่ งย่งิ …"

พทุ ธพจน์

อตตฺ สารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 85

แบบฝดึ หัดท้ายหนว่ ย

สาระการเรียนรู้พืน้ ฐานพระพทุ ธศาสนา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒

1. จงเรียงลาดับวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาในแต่ละปจี ากก่อนไปหลงั ใหถ้ ูกตอ้ ง

1. มาฆบชู า วิสาขบูชา อาสาฬหบูชา 2. วสิ าขบูชา อาสาฬหบูชา มาฆบูชา

3. อาสาฬหบูชา มาฆบชู า วิสาขบชู า 4. อาสาฬหบชู า เข้าพรรษา วสิ าขบชู า

2. เหตกุ ารณใ์ ดไมไ่ ดเ้ กดิ ข้นึ ในวนั อาสาฬหบูชา

1. พระพุทธเจา้ แสดงธัมมจักกปั ปวตั ตนสูตร 2. โกณฑัญญะได้ดวงตาเหน็ ธรรม

3. มีพระรตั นตรยั ครบองค์สาม 4. พระพทุ ธเจ้าแสดงโอวาทปาฏิโมกข์

3. วนั สาคัญใดเปน็ วนั ประสตู ิ ตรัสรู้ และปรนิ ิพพาน

1. มาฆบชู า 2. วสิ าขบูชา

3. อาสาฬหบูชา 4. อฏั ฐมีบูชา

4. วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาวนั ใดท่ีไมม่ ีพธิ ีเวียนเทยี น

1. วิสาขบูชา 2. ออกพรรษา

3. มาฆบชู า 4. อาสาฬหบูชา

5. การถวายผ้าอาบน้าฝนกระทากันในโอกาสใด

1. กอ่ นวนั เข้าพรรษา 2. ก่อนวันออกพรรษา

3. วันมาฆบูชา 4. ในฤดูฝน

6. วนั เทโวโรหณะ คอื วันที่เกิดเหตุการณใ์ ด

1. วันแสดงปฐมเทศนา 2. วันประสตู ิ

3. วันปรินิพพาน 4. วันที่พระพทุ ธเจา้ เสด็จลงจากเทวโลก

7. วนั อฏั ฐมีบูชามคี วามสาคัญอย่างไร

1. เป็นวนั ถวายพระเพลงิ พระพุทธสรรี ะ

2. เป็นวนั ท่ีพระพุทธเจ้าเสดจ็ ดบั ขันธปรินิพพาน

3. เป็นวันเริ่มตน้ ของการจาพรรษา

4. เป็นวันท่พี ระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ปญั จวคั คีย์

8. ในวนั ออกพรรษา พระภกิ ษุจะต้องทาปวารณากรรม เพ่อื อะไร

1. เพอ่ื ใหพ้ ระภิกษุวา่ กลา่ วตักเตอื นกนั ได้

2. เพ่อื ขอขมาโทษตอ่ กนั

3. เพือ่ ประกาศเก่ียวกับการเขา้ พรรษาทีผ่ ่านมา

4. เพื่อประกาศคณุ ความดี

9. หลักธรรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับวันมาฆบูชา คือหลกั ธรรมใด

1. อรยิ สจั 4 2. มัชฌิมาปฏิปทา

3. ธมั มจักกปั ปวัตนสตู ร 4. โอวาทปาฏิโมกข์

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 86

10. พธิ กี รรมในขอ้ ใดตอ้ งทาตามวนั เวลาที่กาหนด

1. การถวายสงั ฆทาน 2. การถวายเครื่องไทยธรรม

3. การทอดกฐนิ 4. การทอดผา้ ปา่

11. วันจาตรุ งคสนั นบิ าต หมายถึงวันใด

1. วันมาฆบชู า 2. วนั วิสาขบูชา

3. วนั อาสาฬหบูชา 4. วันเข้าพรรษา

12. หลกั ธรรมสาคญั ในวันมาฆบูชา คอื อะไร

1. อริยสัจ 4 2. กุศลกรรมบถ

3. ความไม่ประมาท 4. โอวาทปาฏโิ มกข์

13. พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาในวนั ใด

1. วันมาฆบชู า 2. วนั วสิ าขบูชา

3. วนั เข้าพรรษา 4. วนั อาสาฬหบูชา

14. พระภกิ ษุทกุ รปู ตอ้ งทาการปวารณาในวันใด

1. วนั เขา้ พรรษา 2. วนั ออกพรรษา

3. วนั มาฆบชู า 4. วนั อัฏฐมีบชู า

15. พิธกี รรมในขอ้ ใด ทป่ี ฏบิ ตั ิในทุกวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

1. ทาบญุ เวียนเทยี น 2. เวยี นเทยี น ปวารณาตน

3. ทาบญุ ตกั บาตร ฟงั ธรรม 4. ถวายเทียน ถวายผ้าอาบนา้ ฝน

16. การเดินเวยี นเทียนในวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนาในรอบแรก ใหก้ ล่าวข้อความใด

1. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหงั สัมมาสัมพทุ โธ…

2. อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา…นโมตัสสะ

3. สุปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ…

4. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม…

17. องค์การสหประชาชาตไิ ดก้ าหนดวนั ใด เป็นวนั สาคัญสากลในกรอบองคก์ ารสหประชาชาติ

1. วันมาฆบชู า 2. วันวสิ าขบูชา

3. วนั อัฏฐมีบูชา 4. วันเขา้ พรรษา

18. หลกั ธรรมสาคัญที่สอดคลอ้ งกับวนั อัฏฐมีบูชา คอื อะไร

1. อกศุ ลกรรมบถ 2. อปั ปมาทะ

3. อิทธิบาท 4. นโิ รธ

19. หลกั ธรรมท่เี ก่ียวเน่ืองในวันวสิ าขบูชา คืออะไร

1. บุพพนมิ ิตของมัชฌมิ า 2. สามสิ สุข นริ ามิสสขุ

3. อัปปมาทะ 4. อรยิ สัจ 4

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 87

20. ขอ้ ความใด ไม่เกยี่ วข้องกับวนั อาสาฬหบชู า

1. พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา 2. เป็นวันท่พี ระรัตนตรัยครบองค์ 3

3. พระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้สมั มาสมั โพธญิ าณ 4. พระพทุ ธเจ้าประกาศพระพทุ ธศาสนา

21. พระพุทธเจา้ ทรงแสดงธรรมใด ในวันอาสาฬหบชู า

1. ธัมมจักกัปปวตั ตนสูตร 2. โยนโิ สมนสิการ

3. สตปิ ฏั ฐาน 4 4. มงคล 38

22. การตักบาตรเทโวโรหณะ นิยมทากนั ในวนั ใด

1. วนั พระ 2. วันเขา้ พรรษา

3. วนั ออกพรรษา 4. วันธรรมสวนะ

23. การทาบญุ ตักบาตรมีผลสาคญั ตอ่ ผปู้ ฏิบัติอย่างไร

1. ได้บญุ กศุ ล เป็นตัวอย่างท่ดี ี มีผู้ยกย่อง

2. เปน็ การฝกึ จิตให้มคี วามสามัคคี ความสงบ

3. มคี วามเอ้ือเฟอื้ เผื่อแผ่ ลดความโลภ ความตระหนี่

4. เปน็ การลดความเหน็ แก่ตวั ได้บุญกุศลในชาติหนา้

24. คากลา่ ว “อิมัง สูปะพะยญั ชะนะสมั ปันนัง สาลนี งั …” เปน็ คากลา่ วในโอกาสใด

1. ถวายภัตตาหารแด่พระพุทธรูป 2. ถวายภตั ตาหารแดพ่ ระสงฆ์

3. ถวายเคร่อื งไทยธรรม 4. ถวายเทียนพรรษา

25. คากลา่ ว “อิมานิ มะยงั ภนั เต ภัตตานิ สะปะรวิ ารานิ ภิกขุสังฆสั สะ โอโณชะยามะ…” เปน็ คากลา่ วใน

โอกาสใด

1. ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ 2. ถวายผา้ อาบน้าฝน

3. ถวายเทียนพรรษา 4. ถวายสงั ฆทาน

26. วตั ถุประสงค์ของการถวายเคร่ืองไทยธรรม เคร่ืองไทยทาน มีหลายอยา่ ง ยกเว้นข้อใด

1. เพ่ือความเป็นสิรมิ งคลแก่ผู้ถวายเอง

2. เพอ่ื ถวายความอปุ ถัมภ์แด่พระภกิ ษุสงฆ์

3. เพือ่ ลดความตระหนี่ ความโลภ ความเห็นแก่ตัวของผ้ถู วายของ

4. เป็นการสรา้ งสัมพันธภาพทีด่ ีและเพม่ิ พลังความ สามัคครี ะหวา่ งศาสนิกชน

27. ข้อความในข้อใดกลา่ วถึงการปฏิบตั ิตนในการทอดผา้ ปา่ ไม่ถูกต้อง

1. ผา้ ป่ามีผ้าบงั สุกุลเป็นหลกั สาคญั

2. วัดตา่ งๆ จะจัดใหม้ ีการทอดผ้าป่าไดป้ ีละ 1 คร้ัง

3. คาถวายผ้าป่าเริม่ ด้วย อมิ านิ มะยงั ภนั เต ปังสุกูละจีวะรานิ…

4. การทอดผ้าปา่ อาจกระทาเปน็ ส่วนบุคคลหรือรวมกัน หลายคนกไ็ ด้

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 88

28. การเรยี งลาดับหมายเลขหน้าขอ้ ความ เกยี่ วกบั ขัน้ ตอนการถวายผ้ากฐนิ แดพ่ ระสงฆ์ ข้อใดถูกต้อง

1. พธิ ีกรกลา่ วคาอาราธนาศีล

2. ประเคนผา้ กฐินแด่พระภิกษรุ ปู ใดรปู หนง่ึ

3. เจา้ ภาพยกผ้าไตรวางบนแขนทง้ั สอง นง่ั คกุ เขา่ ประนมมอื หันหนา้ ไปทางพระพุทธรปู

4. กล่าวคาบชู าพระรตั นตรยั และกล่าวคาถวายผ้ากฐิน

5.รว่ มพธิ ีถวายเครื่องบรวิ ารกฐนิ แดพ่ ระสงฆ์

6.พระสงฆ์สวดอนุโมทนา

7. ผู้รว่ มพธิ กี รรมกรวดน้า

8. เจ้าภาพจุดธปู เทยี นบูชาพระรัตนตรยั

1. 3), 1), 5), 4), 2), 6), 7), 8)

2. 1), 2), 3), 4), 5), 6), 7), 8)

3. 8), 1), 3), 4), 2), 5), 6), 7)

4. 1), 3), 4), 5), 2), 6), 7), 8)

29. ระยะเวลาในการทอดกฐนิ กับการทอดผา้ ปา่ แตกต่างกันอยา่ งไร

1. การทอดผา้ ปา่ จะทอดในพรรษา ส่วนการทอดกฐินจะ กระทาหลังจากออกพรรษาแลว้

2. การทอดกฐนิ จะทอดเวลาใดก็ได้ สว่ นการทอดผา้ ปา่ จะกระทาหลงั จากออกพรรษาแล้ว

3. การทอดกฐินจะเร่มิ ตั้งแต่แรม 1 คา่ เดอื น 11 จนถงึ วันขึน้ 15 คา่ เดือน 12 สว่ นการทอดผา้ ป่า

จะไม่จากัดเวลา

4. การทอดกฐินจะทอดในวันขึน้ 15 คา่ เดอื น 12 ส่วนการทอดผ้าป่าจะทอดในวันแรม 1 คา่ เดือน 11

30. พธิ ีกรรมการกรวดน้าหลงั จากการทาบุญนน้ั สอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมในขอ้ ใด

1. ความเพียรพยายาม 2. ความกตัญญกู ตเวที

3. อกศุ ลกรรมบถ 4. ความเสียสละ

บนั ทึก

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 89

หน่ยวการเรยี นรทู้ ่ี 7
การบรหิ ารจดิ และการเจรญิ ปญั ญา

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐานท่ี 1.2 เข้าใจ ตระหนกั และปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนที่ดี และธารงรกั ษาพระพุทธศาสนา

หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื
ส 1.2.5 อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธีพธิ ีกรรม ตาม แนวปฏิบตั ขิ องศาสนาอื่น ๆ เพื่อนาไปสู่

การยอมรบั และความเข้าใจซ่ึงกนั และกัน
ส.1.2.6.วเิ คราะห์การปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมทางศาสนาทตี่ นนับถอื เพอ่ื การดารงตนอยา่ งเหมาะสม

ในกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก และการอยรู่ ่วมกันอย่างสันตสิ ขุ

1. ความหมาย คณุ คา่ และประโยชนข์ องการบรหิ ารจติ

การบรหิ ารจิต : การบารงุ รักษาจิตใหเ้ ขม้ แขง็ ผ่องใสบริสุทธ์ิฝึกฝนให้จิตสงบนง่ิ อยกู่ บั เร่อื งใดเรือ่ งหนง่ึ
โดยเฉพาะ ซ่ึงการฝึกจติ ให้สงบ

การเจรญิ ปัญญา : การฝึกฝนอบรมหรือการพัฒนาตนให้เกดิ ปัญญา 3 ประการ ไดแ้ ก่ ปัญญาที่เกิดจาก
การฟงั การอา่ น หรือการศึกษาเล่าเรยี น ปัญญาที่เกดิ จากการคิดพิจารณาและปญั ญาท่ีเกดิ จากการลงมือปฏิบัติ

1.1 การบรหิ ารจิต คอื การรกั ษาคุ้มครองจิต การฝกึ ฝนอบรมจิตหรือการทาจติ ให้สงบ สะอาด ปราศจาก
ความวนุ่ วายเดอื ดรอ้ น ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ มสี ขุ ภาพจติ ดี และใหน้ ามาใช้ปฏิบัตงิ านได้ดี การบรหิ ารจิตจงึ เป็นการฝกึ
จิตใหแ้ นว่ แน่อยู่ในส่ิงหนง่ึ สิ่งใดโดยเฉพาะ ดงั น้ัน จติ ที่ฝกึ ดแี ล้วคือจติ ท่ีมคี วามแน่วแนไ่ ม่หวนั่ ไหวตอ่ ความช่วั ร้ายทั้ง
ปวง

สมาธิ แปลตามศัพท์ว่า ความต้ังม่ัน เปน็ วธิ ีการบรหิ ารจติ หรือ การทาจติ ให้สงบ เปน็ เครื่องมอื หรอื วิธกี าร
ท่ีจะนาไปสู่การเกดิ ปัญญาและยงั เปน็ ขอ้ พึงปฏบิ ัติโดยท่ัว ๆ ไปดว้ ย

สมาธิมี 3 ระดบั ด้วยกนั คือ
1) ขณิกสมาธิ เปน็ สมาธิขัน้ ตน้ และขั้นแรกของการฝึกวิปัสสนา
2) อุปจารสมาธิ หรอื สมาธจิ วนแนว่ แน่ เปน็ ระดบั ท่รี ะงับอปุ สรรคของการฝกึ สมาธิ
3) อปั ปนาสมาธิ หรอื สมาธิแน่วแน่ เปน็ สมาธริ ะดับสงู บรรลฌุ าณ จิตสงบ
นิวรณ์ คือ ส่ิงที่ขดั ชวางจิตมใิ ห้บรรลุจุดมงุ่ หมาย ประกอบด้วย
1) กามฉนั ทะ หรือความพอใจรกั ใครใ่ นกามคุณ 5 ไดแ้ ก่ รู้ เสียง กลิน่ รส สมั ผัส
2) พยาบาท หรือ ความโกรธ ความเคียดแค้นความผูกใจเจบ็ คิดทารา้ ยผอู้ ื่น
3) ถนี มทิ ธะ หรอื ความทอ้ แท้ เซ่ีองซึม ครา้ นท่จี ะทา หดหู่
4) อุทธัจจกุกกุจจะ หรือความคดิ ฟงุ้ ซ่าน ความเดือดรอ้ นใจ ความราคาญใจ ความระแวง จิตวอกแวก
5) วจิ ิกิจฉา หรอื ความลงั เลไม่แน่ใจ สงสยั เคลือบแคลง

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 90

อทิ ธิบาท 4 ซึ่งประกอบดว้ ย
1) ฉันทะ ความพอใจที่จะฝกึ
2) วริ ิยะ ความเพยี รพยายามที่จะฝึก
3) จติ ตะ ความเอาใจใสใ่ นการฝกึ
4) วิมังสา การพจิ ารณาใตร่ตรองหาเหตผุ ลในสิ่งทีท่ าอยู่
1.2. การบริหารจิตตามหลักสติปฏั ฐาน
สตปิ ฏั ฐานในฐานะสมั มาสติ : สตปิ ัฏฐาน แปลว่า ที่ตง้ั ของสติ หรือการท่ีสติเข้าไปตั้งอยู่ คือมีสตกิ ากับอยู่
ว่าโดยหลกั การก็คอื การใช้สติ หรอื วิธปี ฏิบัติเพือ่ ใช้สติให้บงั เกิดผลดีที่สุด การเจรญิ สติปัฏฐานนี้ เป็นวธิ ีปฏิบัติ
ธรรมที่นิยมกันมาก และยกย่องนับถอื กันอย่างสูง
1. กายานปุ ัสสนา หมายถึง การพิจารณากาย การมีสตติ ิดตามดูกายเนอื ง ๆ การรู้เหน็ กาย ซึ่งพระองค์
ตรสั ไว้ 3 ประการคอื

1.1 เหน็ กายในกาย ภายใน ไดแ้ ก่ การรูเ้ ห็นกายของตน
1.2 เหน็ กายในกาย ภายนอก ไดแ้ ก่ การรเู้ หน็ กายของบุคคลอ่นื
1.3 เห็นกายในกาย ท้ังภายในและภายนอกเนือง ๆ ได้แก่ การรู้เหน็ ท้ังของตนและของผอู้ ื่น
2. เวทนานปุ ัสสนา การพจิ ารณาเวทนา (ความรู้สึก) คือ
2. 1 สขุ เวทนา ความรูส้ กึ สบายเปน็ สุข
2.2 ทกุ ขเวทนา ความรสู้ ึกไม่สบาย เปน็ ทุกข์
2.3 อุเบกขาเวทนา ความรสู้ ึกเฉย ๆ (ไมส่ ขุ ไม่ทกุ ข)์
2.4 สุขเวทนาทม่ี ีอามิส (กามคุณ) ระคนไปด้วยกเิ ลส
2.5 สขุ เวทนาที่ไม่มอี ามสิ
3. จิตตานุปัสสนา การพิจารณาจติ คือ จิตของตนในขณะนัน้ ๆ เป็นอย่างไร เชน่ มรี าคะ ไมม่ ีราคะ มี
โทสะ ไม่มีโทสะ มโี มหะ ไม่มีโมหะ
4. ธัมมานุปัสสนา การพจิ ารณาธรรม คอื ร้นู ิวรณ์ 5 รู้ขันธ์ 5 รอู้ ายตนะ รโู้ พชฌงค์ 7 และร้อู รยิ สัจ
เปน็ ต้น

เสริมความรู้ (อานาปานสต)ิ
“ภกิ ษทุ ้งั หลาย เมอ่ื เธอเจริญอานาปานสติแลว้ อยา่ งนแ้ี ล ทาใหม้ ากอยา่ งนแี้ ล้วเธอพึงหวงั ผล 7
ประการ ผล 7 ประการคอื อะไรบ้าง กล่าวคอื 1.บรรลอุ รหตั ตผลในปจั จุบนั ทนั ที 2.หากไมไ่ ดบ้ รรลุอรหตั ตผลใน
ปจั จบุ นั กจ็ ะบรรลุในเวลาใกลม้ รณะ 3.หากไมไ่ ด้บรรลอุ รหัตตผลในปัจจุบันและในเวลาใกล้มรณะ ก็จะไดเ้ ป็นพระ
อนาคามีผู้อันตราปรินิพพาย4ี . ...ก็จะไดเ้ ปน็ พระอนาคามผี ู้อปุ หัจจปรนิ พิ พายี 5. ...กจ็ ะได้เปน็ พระอนาคามีผอู้ สัง
ขารปรินิพพายี 6. ...กจ็ ะได้เปน็ พระอนาคามีผสู้ สังขารปรนิ ิพพายี7. ...ก็จะไดเ้ ปน็ พระอนาคามีผ้อู ทุ ธังโสโตอกนิฏฐ
คามี เพราะอทุ ธมั ภาคิยสงั โยชน์ 5 ประการหมดสิ้นไป ภกิ ษุท้ังหลาย เม่ือเธอเจรญิ อานาปานสติแลว้ อย่างนแ้ี ล
ทาใหม้ ากอย่างน้ีแล้ว เธอพงึ หวังผล 7 ประการดงั กลา่ วมาน้ี”

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 91

2. การเจรญิ ปญั ญาตามหลกั โยนโิ สมนสกิ าร

โยนโิ สมนสิการ แปลว่า การทาไว้ในใจโดยแยบคาย หมายถึง การใช้ความคิดท่ีถกู วธิ ี กลา่ วคอื มอง

สง่ิ ทงั้ หลายดว้ ยความคดิ พิจารณาสืบค้นคิดหาเหตุผล ตลอดจนแยกแยะและวิเคราะห์ปัญหาด้วยปัญญา มอง

ปญั หาตามความเป็นจริง หรอื มองสิ่งท้งั หลายตามสภาวะและความสมั พนั ธ์แห่งเหตปุ ัจจยั

การคิดแบบโยนโิ สมนสิการ มี ๑๐ วธิ คี ดิ ด้วยกนั คือ

๑) คิดแยกแยะส่วนประกอบ ๒) คิดแบบคณุ โทษและทางออก

๓) คดิ แบบสบื สาวเหตปุ ัจจยั ๔) คิดแบบสมั พนั ธห์ ลกั กับเป้าหมาย

๕) คดิ แบบแก้ปัญหา ๖) คดิ แบบรู้เท่าทนั ธรรมดา

๗) คิดแบบคุณค่าแท้คณุ ค่าเทียม ๘) คดิ แบบปลุกเร้าคุณธรรม

๙) คดิ แบบอยใู่ นปัจจบุ ัน ๑๐) คิดแบบแยกประเด็น

“ภิกษทุ ง้ั หลาย เม่อื ดวงอาทติ ย์อทุ ัยอยู่ ยอ่ มมแี สงอรณุ ขนึ้ มาก่อน เปน็ บุพนิมิตฉนั ใดความถึงพร้อม
ด้วยโยนิโสมนสิการกเ็ ปน็ ตัวนา เป็นบุพนมิ ิตแหง่ การเกดิ ขึน้ ของอริยอัษฎางคกิ มรรค แกภ่ กิ ษุ ฉันนัน้ ภิกษุ
ผู้ถึงพรอ้ มดว้ ยโยนโิ สมนสิการ พงึ หวังสิ่งน้ีได้ คอื จักเจริญ จกั ทาให้มากซ่ึงอริยอัษฎางคกิ มรรค”

(พุทธพจน์)

2.1 การคิดแบบคุณค่าแท้ คณุ ค่าเทียม
วธิ คี ิดแบบคุณค่าแท้ คณุ ค่าเทยี ม เปน็ วธิ ีคดิ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ความต้องการ และการประเมิน

คณุ ค่า คือ ถ้าจัดเพยี งแต่จะสนองตัณหาของตนไมว่ ่ากับส่งิ ใด เป็นการคิดแบบคุณค่าเทยี มแตถ่ ้าคิดถึง
แกน่ หรือคณุ ประโยชนท์ แ่ี ท้จริงของสงิ่ น้ัน เปน็ การคิดแบบคณุ ค่าแท้

การคดิ แบบคณุ ค่าแท้ จึงเป็นวธิ ีคิดบนพน้ื ฐานของคณุ ค่า ภายใต้ประโยชน์ท่สี นองความ

ต้องการของชวี ิต รู้จกั ใชป้ ญั ญาพิจารณาว่าการกิน การใช้ การอยู่ การแสวงหา ควรปฏิบัติให้พอดี
พอควร และ พอประมาณ ตามประโยชน์ทแ่ี ท้จริงของสิ่งนน้ั ๆ ดงั น้นั การคดิ แบบคุณคา่ แทจ้ งึ เป็นวิธี

คิดบนหลกั ของ การประเมนิ คณุ คา่

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ติ สมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 92

2.2 การคดิ แบบคณุ โทษ และทางออก

พระพุทธศาสนาสอนวา่ ธรรมดาโลกและชวี ิตยอ่ มมีความเปล่ยี นแปลง ไมย่ งั่ ยืน และไม่

แน่นอน มนษุ ยไ์ มส่ ามารถบังคับทกุ อยา่ งใหด้ าเนินไปตามความปรารถนา ด้วยเหตุน้เี ม่ือเกิด
ปญั หา การคิดหาทางออกทดี่ ที ่ีสุดพรอ้ มๆ กับการพจิ ารณาหาผลดีและผลเสยี จะทาให้เรา
สามารถปฏิบัตติ นไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ทกุ สภาพการณ์ ดงั นนั้ จึงควรมองปัญหาให้รอบด้านและ
หาทางเลือกให้กบั ชวี ิต

ทางเลือก ขอ้ ดี ข้อเสีย ทางออก

……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….

……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….

……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 93

……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….

……………………………. ……………………………. …………………………….
……………………………. ……………………………. …………………………….

วเิ คราะหม์ งคล ข้อ 2 ข้อ 25 และข้อ 28 โดยใชว้ ิธีคดิ แบบโยนิโสมนสกิ ารขอ้ ใดขอ้ หน่งึ

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 94

แบบฝกึ หดั ทา้ ยหน่วย

สาระการเรียนรูพ้ ื้นฐานพระพทุ ธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒

1. ตรสั รู้ชอบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง ตรงกบั พทุ ธคณุ ขอ้ ใด

1. พระปัญญาธคิ ณุ 2. พระกรณุ าธคิ ุณ

3. พระบรสิ ุทธคิ ุณ 4. พระเมตตาธิคณุ

2. การฝึกสมาธแิ บบอานาปานสติ มีลักษณะอยา่ งไร

1. การเพ่งกสิณ 2. การแผ่เมตตา

3. การกาหนดลมหายใจเข้า-ออก 4. การระลกึ ถงึ คณุ พระพุทธเจา้

3. ผลของสมาธิมีสว่ นช่วยพัฒนาบุคลกิ ภาพของผู้ปฏิบัติอยา่ งไร

1. มลี กั ษณะสภุ าพ อ่อนโยน แชม่ ชนื่ 2. มีลักษณะเอือ้ เฟ้อื เผ่ือแผ่ มเี มตตา

3. มลี กั ษณะเขม้ แขง็ มัน่ คง ไม่ออ่ นแอ 4. กายมกี าลัง จิตกาลงั เป็นบอ่ เกิดแหง่ ปญั ญา

4. การฝึกใหร้ จู้ ักคดิ แบบโยนิโสมนสิการ ช่วยพฒั นาสง่ิ ใดสาหรบั ตนมากที่สุด

1. พัฒนาปัญญา 2. พฒั นารา่ งกาย

3. พัฒนาอาชพี 4. พัฒนาการศกึ ษา

5. จุดมุ่งหมายหลักของการปฏบิ ตั สิ มาธคิ ือข้อใด

1. การควบคมุ จิตใจใหส้ งบ 2. การกาหนดจติ ให้แน่วแน่

3. หลอมจติ ใจให้เป็นหนงึ่ เดยี ว 4. เพิ่มพลังให้แกจ่ ติ

6. ข้อใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากการฝึกสมาธิบรหิ ารจติ

1. มีความหนักแน่นมนั่ คง 2. มคี วามสงบ ใจเย็น

3. ทางานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 4. เปน็ คนแข็งแรง

7. การกรวดนา้ หมายถึง

1. การอทุ ศิ ส่วนกศุ ล 2. การอธิษฐานขอพร

3. ประเพณที ่สี ืบตอ่ กันมา 4. เพ่ือแสดงวา่ การทาบุญเสรจ็ สน้ิ ลงแลว้

8. การนั่งขัดสมาธทิ ี่ถกู ต้อง ตอ้ งปฏิบัตอิ ย่างไร

1. น่ังตามสบาย นงั่ โนม้ ตัว

2. เท้าขวาทบั เทา้ ซา้ ย มือวางบนเขา่

3. เทา้ ขวาทับเทา้ ซา้ ย มือขวาทบั มือซ้ายวางบนตัก

4. เทา้ ขวาทบั เทา้ ซา้ ย มอื ซ้ายทับมอื ขวาวางบนตัก

9. ในการฝกึ สมาธิ ศนู ยก์ ลางของลมหายใจมักนยิ มกาหนดใหอ้ ย่บู รเิ วณใด

1. ทรวงอก 2. ปลายจมกู

3. ช่องท้อง 4. โพรงจมูก

10. ขอ้ ใดไมใ่ ชข่ นั้ ตอนการเตรียมตัวกอ่ นการน่ังสมาธิ

1. แตง่ ตวั ดว้ ยชดุ สบาย 2. ทาจติ ใจให้ผ่องใส

3. นอนให้เต็มอมิ่ 4. เลอื กสถานที่ท่ีสงบปลอดโปรง่

อตฺตสารเู ป สมตฺโต ชีวติ สมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 95

11. โดมมสี มาธิในการสานตะกร้าจึงทาใหล้ วดลายของตะกร้าทุกใบมีความสวยงาม ขอ้ ความดังกลา่ วแสดงถึง

1. ประโยชนใ์ นการบริหารจิตในขอ้ ใด 2. รู้จกั ตัดสนิ ใจอย่างถูกตอ้ ง

3. มคี วามวอ่ งไวในการทางาน 4. มคี วามพากเพียรในการทางาน

12. การทางานสาเร็จอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ คุณยายทาสมาธิอย่างสมา่ เสมอ คุณยายจงึ เปน็ คนอารมณด์ ีและยงั

สามารถเดนิ ทางไปในทต่ี ่างๆ ไดอ้ ยา่ งกระฉบั กระเฉง ข้อความดงั กลา่ วแสดงถึงประโยชนข์ องสมาธิในขอ้ ใด

1. ทาให้หน้าตายิ้มแยม้ 2. เดินทางโดยไม่เหน่ือย

3. วอ่ งไวกระฉับกระเฉง 4. สุขภาพกายและสขุ ภาพจิตดี

13. การบริหารจิต มจี ุดมุ่งหมายสาคญั ในข้อใด

1. ตดั กเิ ลส 2. ตรวจสอบจิต

3. จิตใจสงบไมล่ มื ตวั 4. เปน็ พ้ืนฐานนาไปสู่การทาสมาธิ

14. “คณุ ยายพาติม๋ ไปทาบญุ และฟังเทศนท์ ่ีวัดเป็นประจา” ขอ้ ความนีจ้ ะสง่ ผลในข้อใด

1. คณุ ยายมีเพื่อนไปวดั

2. ติม๋ มคี วามเพยี รพยายาม

3. ติ๋มมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา

4. คุณยายวางแผนการดาเนนิ ชีวติ ให้ติม๋

15. บคุ คลในภาพน้ี มหี ลกั การและ จดุ ม่งุ หมายอย่างไร

1. มจี ดุ มงุ่ หมายเข้าสเู่ สน้ ชัยเป็นคนแรก หลักการคอื การวงิ่ ให้เร็วทส่ี ุด

2. มีจดุ มงุ่ หมายในการแข่งกีฬา หลกั การคอื ตอ้ งชนะ
3. มีจุดมงุ่ หมายคอื รางวลั หลักการคือต้องมรี างวัล
4. มีจดุ ม่งุ หมายของความมีน้าใจเปน็ นกั กีฬา

16. “รุ่นพี่ทเี่ รยี นจบสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ ได้มาเลา่ ประสบการณ์ให้ร่นุ น้องฟงั ” ขอ้ ความนจ้ี ะสง่ ผลในขอ้
ใด

1. มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรูร้ ะหวา่ งร่นุ พร่ี ุน่ น้อง
2. รุ่นน้องคดิ จะพยายามตงั้ ใจเรียน
3. รนุ่ นอ้ งคดิ ถึงบุญคุณของรุ่นพ่ี

4. รุน่ น้องรักรุ่นพ่ี
17. จากภาพ จะมผี ลตอ่ ความรู้สึก ของนกั เรยี นอย่างไร

1. เปน็ หนา้ ท่ีของผ้ใู ห้
2. เปน็ เร่อื งปกติของสังคมปจั จุบนั

3. ชืน่ ชมผู้ทม่ี อบของและคดิ ว่าเปน็ สงิ่ ท่ดี ี
4. ผู้มอบตอ้ งการสร้างภาพพจน์ทด่ี ีใหแ้ ก่ตวั เอง

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมฺปตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กล่มุ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 96

18. ถา้ นกั เรยี นตอ้ งการเปน็ เกษตรกรทด่ี ใี นอนาคต นักเรียนควรปฏิบัตอิ ย่างไร

1. ซักถามชาวนาชาวสวนเกีย่ วกบั การประกอบอาชีพ
2. ตง้ั ใจเรยี นวิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยี

3. เลอื กเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
4. ปรกึ ษาคุณครทู ี่ปรึกษาและคุณครแู นะแนว
19. หลกั การสาคญั ของผูท้ ่ขี ับรถโดยสารประจาทาง คือข้อใด

1. ตง้ั ใจขบั รถดว้ ยความระมัดระวังไมป่ ระมาท เพอ่ื พาผโู้ ดยสารไปสู่สถานีขนสง่ ปลายทาง
2. ขับรถคันใหมเ่ พอื่ ความปลอดภยั ของผโู้ ดยสาร

3. พดู จาสุภาพเรยี บร้อยกบั ผู้โดยสารทุกคน
4. เก็บเงินผโู้ ดยสารใหไ้ ด้มาก
20. หลักการสาคัญของการบริหารจติ คือข้อใด

1. นัง่ ท่าขัดสมาธิ
2. ฝกึ ใหม้ ีสติอยูก่ บั ตัวทุกขณะ

3. ทาตามข้ันตอนอยา่ งเครง่ ครัด
4. จดุ ธูป เทียน บูชาพระรตั นตรัย

บันทกึ

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตวั คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 97

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8
การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรม ทางพระพทุ ธศาสนา

สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐานท่ี 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ัตติ นเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี และธารงรักษาพระพทุ ธศาสนา

หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือ
ส 1.2.5 อธบิ ายความแตกต่างของศาสนพิธีพธิ ีกรรม ตาม แนวปฏบิ ตั ิของศาสนาอื่น ๆ เพ่ือนาไปสู่

การยอมรบั และความเข้าใจซ่งึ กนั และกัน
ส.1.2.6.วเิ คราะห์การปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ เพอื่ การดารงตนอย่างเหมาะสม

ในกระแสความเปลยี่ นแปลงของโลก และการอยูร่ ว่ มกันอยา่ งสันตสิ ุข

1. การปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเหมาะสมในกระแสความเปล่ยี นแปลงของโลก

ในปจั จบุ ันสังคมมนษุ ยม์ กี ารเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา วิทยาการสาขาต่างๆ เชน่ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
มีความเจรญิ ก้าวหนา้ มากขึ้นตามลาดบั ทาใหว้ ิถีชวี ติ ของมนษุ ยม์ ีการเปลยี่ นแปลงไปมาก เช่น การกินอยู่ของ
มนุษย์ตลอดจนสขุ ภาพอนามยั ได้รบั การพัฒนาใหด้ ขี ึ้นเรอ่ื ยๆ มีท้งั เครื่องบิน เรือ รวมทั้งคอมพวิ เตอรท์ ่ี นอกจากจะ
เปน็ เครือ่ งทนุ่ แรงและท่นุ สมองแลว้ ยังสามารถเชือ่ มการติดต่อสือ่ สารท่วั โลกผ่านระบบ อนิ เทอรเ์ น็ต ทาให้รับรู้
ข่าวสาร ชดั เจน รวดเร็วไดอ้ ีกดว้ ย

การเปล่ยี นแปลงทางวัตถใุ นสงั คมมนุษย์ ทาใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและจิตใจตามมา ซ่ึงมี ควม
สาคัญไม่นอ้ ยกว่าการเปล่ยี นแปลงทางวัตถุ

โลกและสังคมมนษุ ย์ในกระแสความเปล่ยี นแปลงของโลก ปัจจบุ นั เรียกวา่ ยุคแห่งการบรโิ ภคนิยม คือ การ
ได้ กินมากๆ กินดๆี และใชม้ ากๆ ใชด้ ีๆ มีความพอใจในความหรูหราฟมุ่ เฟอื ย สังคมไทยจากสงั คมเกษตรกรรม ก็
ปรับเปลีย่ นเป็นสังคมอุตสาหกรรม มีเทคโนโลยีทเี่ ข้ามาอานวยความสะดวกสบาย มากขึ้นซ่งึ วิถีการดาเนิน ชวี ติ
ทกุ ๆ อยา่ ง กด็ าเนินไปเพือ่ ความอยรู่ อด กลายเป็นวถิ ชี ีวิตและ การบริโภคเพอ่ื ความชอบของแต่ละบคุ คล
2. การปฏบิ ตั ิตนของชาวพทุ ธ

ทา่ มกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกและสงั คมมนษุ ย์ การปฏบิ ัตติ นของเราต้องอยภู่ ายใต้กรอบ
หลักธรรม คาสอนของพระพุทธศาสนา ท่ีเนน้ ความสุขสงบทางจติ ใจมากกว่าวัตถุ และสอนใหเ้ ดินทางสายกลางที่
เรยี กวา่ มชั ฌิมาปฏปิ ทา

คาสอนทางพระพุทธศาสนามีมากมายทมี่ นุษยส์ ามารถนาไปปฏิบัติ ให้เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน เชน่
สอนเรื่องสันโดษ ซึ่งมิไดแ้ ปลว่า มกั นอ้ ย แต่แปลว่า ยนิ ดใี นส่งิ ทต่ี นหาไดอ้ ย่างชอบธรรม หรอื สอนใหค้ นแขง่ ขนั กนั
ทาความดี มีความเอือ้ เฟอ้ื ต่อผอู้ ่นื สอนให้ระงบั และลดความโลภ

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 98

อรยิ ทรัพย์ 7
ศรทั ธา ความเช่อื ทม่ี เี หตุผล ความเช่อื มน่ั ดว้ ยปัญญาตามหลักความถูกต้อง ประกอบดว้ ยมี

เหตุผลทีเ่ หมาะสม
ศลี การรกั ษากาย วาจาให้เรียบร้อย การรักษาวตั รปฏิบัติท้งั

ทางกาย วาจาและใจของตน ใหเ้ รียบร้อยและมีความสารวม
หริ ิ ความละอายใจต่อการทาชว่ั
โอตตปั ปะ ความเกรงกลวั ต่อผลของการทาชวั่
พาหสุ จั จะ ความเป็นผู้ไดศ้ กึ ษาเล่าเรียนมาก ใฝร่ ู้ ใฝ่ศกึ ษาจนมคี วามรู้

มาก
จาคะ ความเสยี สละวามเสยี สละเออ้ื เฟอื้ เผ่ือแผแ่ ละช่วยเหลือผู้อน่ื
ปญั ญา ความร้คู วามเข้าใจถอ่ งแทใ้ นเหตุผล เขา้ ใจความดี ความช่วั

เข้าใจความถกู และผิด
ไม่เอาใจเขา้ หาอวชิ ชา

ความรุนแรงกับความยตุ ธิ รรม • สถานท่ีใดก็ตามที่ไมม่ คี วามยตุ ธิ รรมมกั มคี วามรุนแรงเกดิ ขนึ ้ บางทีคนเรากม็ ีความเห็น

ตา่ งกนั วา่ อย่างนี ้ยตุ ธิ รรมหรือไม่ นามาซึ่งความลาเอียง อนั เป็นที่มาแห่งความไมย่ ตุ ธิ รรม หรือที่เรียกวา่ อคติ ๔

อคติ ๔
ฉันทาคติ ความลาเอียงเพราะชอบ ความลาเอียงเพราะรักหรอื ชอบ หมายถึง การทาให้เกิดความไม่ชอบ

ธรรม หรือการทาให้เสียความยตุ ธิ รรม เพราะอา้ งเอาความรักหรือความชอบพอกนั ฉันทาคติมักเกิดกบั ตัวเอง พ่อ
แม่ ญาตพิ ี่นอ้ ง เพอื่ น คนใกล้ชดิ และพวกพ้อง ความรกั หรือความชอบที่มีตอ่ บุคคลเหล่าน้อี าจเปน็ สาเหตุให้เรา
กลายเปน็ คนมีอคตไิ ด้ เชน่ ถา้ เดก็ สองคนทะเลาะกัน พอ่ แมข่ องเด็กท้ังสองก็มกั จะเข้าข้างลูกของตนเองเชือ่ ไว้ก่อน
ว่าลกู ของตนเองเปน็ ฝ่ายถกู โดยไม่รบั ฟงั เหตุผลของอกี ฝา่ ยหนึ่ง น่เี ปน็ ความลาเอียงเพราะรกั

โทสาคติ ความลาเอยี งเพราะชัง ไมช่ อบ หรือโกรธแคน้ หมายถงึ การทาให้เกิดความไม่ชอบธรรม หรอื การ
ทาให้เกิดเสียความยุตธิ รรม เพราะเกลยี ดชัง โกรธ หรือทะลอุ านาจโทสะ โทสาคติมักจะเกิดกบั คนที่เราเกลยี ดมาก
ๆ เช่น คู่แข่ง ศตั รู หรือคนทเ่ี คยทาให้เราเจ็บใจ ทาใหเ้ ราเสยี ผลประโยชน์ บุคคลเหล่าน้อี าจมสี ว่ นทาใหเ้ ราเป็นคน
ลาเอยี งไดโ้ ดยไม่รู้ตัว เชน่ ถา้ ทหารทะเลาะกันกับตารวจ คนขบั รถรับจ้างมักจะเขา้ ขา้ งทหารไวก้ อ่ น เพราะคนขบั รถ
ถกู ตารวจเขยี นใบสง่ั บ่อย ๆ น่ีเป็นความลาเอียงเพราะไม่ชอบหน้ากนั

โมหาคติ ความลาเอยี งเพราะหลงหรือความเขลา ความร้เู ทา่ ไมถ่ ึงการณ์ ความหลงผิดหรอื ความเขลา
หมายถึง การทาให้เกดิ ความไมช่ อบธรรม หรือการทาให้เสยี ความยุตธิ รรมเพราะความไมร่ ู้ โมหาคติมกั จะเกิดข้นึ
โดยไมต่ ั้งใจ เนือ่ งมาจากความสะเพรา่ ความไมล่ ะเอียดถถี่ ว้ น รบี ตดั สินใจโดยยงั มไิ ดพ้ ิจารณาให้รอบคอบเสียกอ่ น
จึงเป็นสาเหตุทาใหค้ นผดิ กลายเป็นคนถูก คนถูกกลายเปน็ คนผิด ซงึ่ การกระทาในลกั ษณะดงั กลา่ วก่อให้เกดิ ความ
เสยี หายขน้ึ ได้ เชน่ ผู้ชายสองคน คนหนง่ึ แตง่ ตัวดี ดภู ูมิฐาน หนา้ ตาหลอ่ เหลา อีกคนหน่ึงน่งุ กางเกงยีนสเ์ ก่า ๆ
เสื้อผ้าขาด ๆ ดโู ทรม ๆ ไม่นา่ ไว้วางใจ คนเฝ้าบ้านไวใ้ จผชู้ ายคนแรกมากกวา่ ผู้ชายคนหลงั และยอมเปิดประตูบ้าน
ใหเ้ ข้าไปนัง่ ในหอ้ งรบั แขก ผู้ชายคนดงั กลา่ วกลายเป็นโจรผูร้ ้าย น่ีเปน็ ความลาเอยี งเพราะความเขลา

อตฺตสารเู ป สมตโฺ ต ชีวติ สมฺปตโฺ ต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชวี ติ

กลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 99

ภยาคติ ความลาเอียงเพราะกลัว การทาใหเ้ กดิ ความไมช่ อบธรรม หรือการทาให้เสยี ความยตุ ธิ รรม เพราะ
มีความหวาดกลวั หรอื เกรงกลวั ภยันตราย ความกลัวมหี ลายรูปแบบ เช่น ความกลัวภยั อันตรายมาถึงตนหรอื

ครอบครวั กลวั เสยี หนา้ กลัวคนเกลียด กลัวจะไดส้ ิง่ ที่ไมต่ ้องการ เป็นต้น ความกลวั เหล่านเี้ ปน็ สาเหตุสาคัญอยา่ ง
หนึง่ ท่ที าให้คนเราปฏิบัตหิ นา้ ที่ด้วยความลาเอียง เช่น ผใู้ ต้บงั คับบญั ชาสองคน คน

หนึ่งเป็นลูกของพอ่ คา้ ขายของชา อกี คนหน่งึ เป็นลูกเจ้าพอ่ มีอทิ ธพิ ลเลีย้ งนักเลงไว้
มาก ท้งั สองคนทาผิด คนแรกถกู ผ้บู งั คับบญั ชาไล่ออกจากงาน สว่ นคนหลงั ยงั คง
ทางานตอ่ ไป ไมม่ กี ารลงโทษใด ๆ น่ีเป็นความลาเอยี งเพราะหวาดกลัวอทิ ธพิ ลมดื

แนวทางปฏิบัติเพอ่ื ชีวิตและสงั คม
มนษุ ย์เราชอบความยุตธิ รรม รกั ความซอื่ สัตย์ และเกลยี ดชังความลาเอียง

แตก่ ารท่ีเราจะสรา้ งความยตุ ิธรรม ความซ่ือสตั ย์ และหลกี เล่ียงความลาเอยี งได้น้ัน
เป็นเรื่องคอ่ นข้างยาก วิธเี ดียวท่ที าได้ คือ การฝกึ ฝนจิตใจใหห้ นกั แน่น โดยยดึ หลกั
การเอาใจเขามาใสใ่ จเรา เราเกลยี ดชังความลาเอียงหรอื ความอยุตธิ รรมอยา่ งไร

คนอ่นื ก็เกลยี ดชงั ความลาเอียง ความอยุตธิ รรมเช่นเดียวกบั เรา อย่างไรก็ตาม
วธิ แี ก้ไขขอ้ อคติแตล่ ะประเภทท่ีเกิดขน้ึ ก็สามารถทาไดเ้ ชน่ กนั ดังน้ี

1. ฉนั ทาคติ แก้ไขโดยการฝกึ ทาใจให้เป็นกลาง โดยการปฏิบัติต่อทุกคนใหเ้ หมาะสมเหมือนกนั ตอ้ งไม่
ประมาท ไมเ่ ผลอ และตอ้ งมสี ติอยูเ่ สมอว่ากาลงั ทาอะไรกบั ใคร

2. โทสาคติ แกไ้ ขโดยการทาใจใหห้ นกั แนน่ ใจเย็น ไมว่ ู่วาม รจู้ ักเอาใจเขามาใสใ่ จเรา และพยายามแยกเรื่อง

ส่วนตวั กลับเรอ่ื งงานออกจากกัน
3. โมหาคติ แกไ้ ขได้โดยการเปิดใจให้กว้าง ทาใจให้สงบ มองโลกในแง่ดี ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของคนอนื่

และตอ้ งศกึ ษาส่ิงทีต่ นเข้าไปเกี่ยวขอ้ งใหด้ ี
4. ภยาคติ แก้ไขได้โดยการพยายามฝึกให้เกิดความกลา้ หาญ โดยเฉพาะความกล้าหาญทางจรยิ ธรรม คือ กล้า

คดิ กล้าพดู และกล้าพดู ในสง่ิ ทีด่ ีงาม

คณุ คา่ และประโยชนข์ องการไม่มีอคติ
อคตเิ ปน็ ทางท่ไี มค่ วรปฏบิ ัติ ดังนัน้ จึงควรหลกี เล่ยี งโดยการพจิ ารณาถึงผลเสยี ทจ่ี ะเกิดข้ึนตามมา หาก

พิจารณาว่าเรากาลงั มีจิตใจลาเอียงหรือไม่ยตุ ธิ รรม ก็ให้ปรบั ปรงุ พฤตกิ รรมของตนเองใหมใ่ ห้ตรงกนั ข้ามกับคือ
ความมาลาเอยี ง ท่ใี ดมีอคติ ท่ีนัน่ กจ็ ะไมม่ ีความยตุ ิธรรม ความลาเอยี งสรา้ งความเคยี ดแค้น นอ้ ยเน้อื ตา่ ใจ กาจัด
อคตไิ ด้ จะสามารถอยรู่ ว่ มกันได้อยา่ งโปรง่ ใส และมคี วามสขุ จากการที่กล่าวจะเหน็ ไดว้ า่ ความลาเอียงเป็นสงิ่ ที่

มนุษย์ไม่ตอ้ งการ เพราะความลาเอยี งเป็นตัวทาลายความยุตธิ รรมในทุกแห่งทกุ สถานการณ์ สังคมใดประกอบด้วย
กลมุ่ ชนที่มีอคติ สังคมนั้นยอ่ มมีแต่ความหวาดระแวง หาความสงบสขุ มไิ ด้ ด้วยเหตุนกี้ ารแสดงความคิดเหน็ ควร

วิพากษว์ ิจารณ์ การตัดสินใจและการสนบั สนุนหรือทาลายลา้ ง จงึ ตอ้ งสืบคน้ หาข้อเท็จจริง ใชเ้ หตุผลที่ถกู ตอ้ ง ยดึ
มั่นในหลักความยตุ ิธรรม มีความเปน็ กลาง มหี ลกั ฐานแล้วดาเนนิ การไปตามหลักของศีลธรรม ประเพณี และ
กฎหมาย กระทาเช่นน้ไี ด้ผ้กู ระทาย่อมไดร้ ับความไว้วางใจจากสงั คม และสงั คมย่อมเกดิ ความสงบสุข

ความรนุ แรงกับความไม่รู้

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชีวิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ

กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระพทุ ธศาสนา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 100

ความรุนแรงบางครั้งเกิดขน้ึ เพราะความไมร่ ู้หรือความเขา้ ใจผดิ ชาวพทุ ธที่ดีจึงตอ้ งหมน่ั แสวงหาความรู้
เพ่ือปอ้ งกันมใิ ห้เกิดความรนุ แรง โดยปฏิบัติตามหลัก วุฑฒิธรรม ๔
วฑุ ฒธิ รรม ๔

สัปปุรสิ สงั เสวะ (คบสัตบุรุษ) หมายถงึ “หาครูดีให้พบ”การเลอื กครดู นี ้นั ตอ้ งพิจารณา 2 เรือ่ งใหญ่เป็น
สาคญั คือ ต้องพิจารณาจากการมคี วามรู้จรงิ และการมีนิสยั ดีจริง เราจึงจะแน่ใจไดว้ า่ ท่านจะสามารถสอนได้จริงทัง้
ในภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ เพราะครคู อื ต้นแบบ และต้นแบบเป็นสิ่งสาคัญ

สทั ธัมมัสสวนะ (ฟงั ธรรม) หมายถงึ “ฟังคาครูใหช้ ดั ”เมื่อเราได้พบครูดแี ล้ว สิง่ สาคัญอนั ดับท่ีสองกค็ อื
ตอ้ งฟงั คาครใู หเ้ ข้าใจ อย่าให้ผิดพลาดคลาดเคลื่อนเพยี้ นความหมาย ฟงั แลว้ ตอ้ งได้ “คาจากัดความ” ของเร่อื งนน้ั ๆ
ออกมาอย่างชดั เจนการให้คาจากัดความ คือ การกาหนดความหมายทถี่ ูกต้องและชดั เจน ท้งั ในทางทฤษฎแี ละทาง
ปฏบิ ตั ิ เพอื่ ใหค้ รแู ละนักเรยี น เกิดความเขา้ ใจทต่ี รงกัน วิธีการหาคาจากัดความแบบง่ายๆ กค็ ือ การต้งั คาถามใน
เรือ่ งท่เี รยี นดว้ ยคาว่า “อะไร”

โยนโิ สมนสิการะ (ตริตรองธรรม) หมายถึง “ตรองคาครูใหล้ ึก”เม่อื เราได้พบครดู ีแล้ว ได้ฟงั คาครูชดั เจน
แล้ว แต่จะเข้าใจความรู้ของครไู ด้ลกึ ซงึ้ มากน้อยแคไ่ หน ก็อยู่ทก่ี ารนาความรกู้ ลับมาไตรต่ รองใหล้ กึ ซึ้ง การตรองคา
ครูใหล้ กึ คือ การไตรต่ รองใหเ้ กดิ ความเข้าใจทถี่ ูกตอ้ งถงึ วัตถุประสงค์ของธรรมะในเร่อื งน้ันๆ วิธกี ารหาวตั ถปุ ระสงค์
กท็ าไดง้ ่ายๆ ดว้ ยการต้งั คาถามวา่ “ทาไม”

ธัมมานธุ มั มปฏปิ ัตติ (ปฏบิ ตั ิสมควรแก่ธรรม) หมายถงึ “ทาตามครใู ห้
ครบ”เมือ่ เราหาครดู พี บแลว้ ฟงั คาครูชัดเจนแล้ว ตรองคาครูอยา่ งลึกซงึ้ แลว้ สิ่ง
ท่ตี อ้ งทาให้ได้กค็ อื ต้องปฏิบตั ิจรงิ ใหไ้ ด้เหมือนครู คนทไ่ี ดค้ รดู ีแลว้ เอาดีไม่ไดก้ ็
เปน็ เพราะ “ทาตามคาครูไมค่ รบ” เพราะถา้ ทาครบ ผลงานก็ตอ้ งออกมาดี
เหมอื นท่ีครูทา วิธกี ารที่จะทาตามคาครไู ดค้ รบนั้น มที างเดยี ว กค็ อื ต้องรบั เอา
นสิ ยั ทีด่ ขี องครูมาเปน็ นิสยั ของตนใหไ้ ด้ ย่งิ ถ้าเป็นเรอื่ งการเรยี นธรรมะดว้ ยแลว้
ต้องเอานิสัยท่มุ ชีวิตเปน็ เดมิ พนั ในการทาความดีตามอยา่ งพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า

“วฒุ ธิ รรม 4 ประการ” คือขุมทรพั ยท์ างปัญญาทพี่ ระสัมมาสัมพทุ ธ

เจา้ ทรงมอบไว้ให้แกพ่ วกเรา เพ่ือเปน็ หลักในการเรียนรวู้ ิชาทง้ั หลายไมว่ ่าจะ

เปน็ ท้งั ทางโลกและทางธรรม ขอเพียงแตพ่ วกเราตั้งใจศึกษาใหค้ รบทง้ั อะไร

ทาไม อยา่ งไร และผลเป็นอย่างไร แลว้ ลงมือปฏบิ ตั ิอยา่ งเอาชวี ิตเป็นเดมิ พนั แลว้ ความสุขและความเจรญิ ในชวี ติ

ย่อมบังเกดิ ขน้ึ ตามมาทันที

พรหมวหิ าร ๔ กับสันตสิ ขุ
ความรุนแรงในบางครง้ั เกิดจากการไมม่ นี า้ ใจ หรือไมม่ ีความเปน็ มติ รตอ่ กนั ซง่ึ หลกั พรหมวหิ าร ๔ คือ

ธรรมประจาใจ อนั ประเสริฐ เปน็ หลักธรรมช่วยให้คนเราอย่รู ว่ มกนั ไดอ้ ย่างสงบสขุ มคี วามรัก ความเออ้ื อาทรต่อ
กัน

อตตฺ สารเู ป สมตฺโต ชวี ิตสมปฺ ตฺโต สมรรถนภาพในการปรับตัว คือความสาเร็จของชีวติ


Click to View FlipBook Version