กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
โรงเรยี นวชั รวทิ ยา
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 41
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
1
ความสําคญั ของการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น
แนวการจัดการศึกษาตามจดุ มุงหมายตามของหลักสตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ถอื วาเปน
หวั ใจสําคญั ของการปฏิรูปการศึกษาที่มุงพัฒนาผูเรียนใหเปน บคุ คลท่ีสมบูรณ
พ.ร.บ. พ.ศ. 2542 มาตรา 6
คนเกง ประหยัด ขยัน อดทน มวี นิ ยั
นา ท่ี เสียสละ
มีความสามารถ คนดี
เปนประชาธปิ ไตย มคี ณุ ธรรม
แข็งแรง แกป ญ หาเปน
ไมเบยี ดเบยี น
เบิกบาน มคี วามสุข
อบอนุ อยูใ นสังคมอยา งปกติสุข
2
ความหมายของกจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น
กจิ กรรมท่ีจดั อยา งเปนกระบวนการ
รปู แบบวธิ ีการทหี่ ลากหลาย
พัฒนาผูเ รยี นทัง้ ทางดา นรางกาย
จติ ใจ สติปญ ญา อารมณและสตปิ ญญา
มุงสง เสริมเจตคติคุณคาชีวิต
สรา งจิตสาํ นึกในธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม
ปลกู ฝง คณุ ธรรม จริยธรรม คานิยมท่พี ึงประสงค
สง เสรมิ ใหรจู กั และเขาใจตนเอง
ปรบั ตวั และปฏบิ ตั ติ นเปน ประโยชน
ตอสงั คมประเทศชาติและดํารงชีวิตได
อยางมคี วามสขุ
เปาหมาย
1. ผูเรียนไดป ระสบการณท่หี ลากหลาย เกิดความรู ความชํานาญ ทง้ั วชิ าการและวิชาชีพอยาง
กวางขวาง
2. ผเู รียนคน พบความสนใจ ความถนัด และพฒั นาความสามารถพเิ ศษเฉพาะตวั มองเห็นชองทางใน
การสรา งงานอาชพี ในอนาคตไดเ หมาะสมกับตนเอง
3. ผเู รียนเห็นคณุ คาขององคค วามรูตางๆ สามารถนาํ ความรแู ละประสบการณไ ปใชในการพัฒนา
ตนเองและประกอบสัมมาชพี
4. ผเู รียนพฒั นาบุคลกิ ภาพ เจตคติ คานยิ มในการดําเนนิ ชวี ติ และเสรมิ สรา งศีลธรรมจริยธรรม
5. ผูเรียนมีจติ สํานึกและทาํ ประโยชนเ พ่ือสังคมและประเทศชาติ
3
หลักการกจิ กรรมพัฒนาผเู รียนมีหลักการจดั ดงั นี้
1. กําหนดวัตถปุ ระสงคและแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ชัดเจนเปนรปู ธรรม
2. จดั ใหเหมาะสมกบั วัย วุฒิภาวะ ความสนใจ ความถนดั และความสามารถของผูเ รียน
3. บรู ณาการวิชาการกับชวี ิตจรงิ ใหผ ูเรยี นไดตระหนักถึงความสําคัญของการเรียนรตู ลอดชวี ติ
4. ใชก ระบวนการกลุม ในการจดั ประสบการณเ รียนรู ฝกใหคิดวิเคราะห สรางสรรคจ นิ ตนาการท่ีเปน
ประโยชนแ ละสมั พันธกับชีวติ ในแตละชวงวัยอยางตอเน่ือง
5. จํานวนสมาชกิ มคี วามเหมาะสมกบั ลักษณะของกิจกรรม
6. มกี ารกําหนดเวลาในการจดั กิจกรรมใหเหมาะสม สอดคลอ งกับวิสัยทัศนและเปา หมายของ
สถานศึกษา
7. ผูเรียนเปน ผูด ําเนินการ มีครูเปน ที่ปรึกษา
8. ยดึ หลกั การมสี ว นรว มโดยเปดโอกาสใหค รู พอแม ผปู กครอง ชมุ ชน องคก รท้ังภาครัฐและเอกชน
มีสว นรว มในการจัดกจิ กรรม
9. มีการประเมินผลการจดั กจิ กรรม โดยวิธีการทห่ี ลากหลาย และสอดคลองกบั กิจกรรมอยางเปน
ระบบและตอเนื่อง โดยถอื วาเปน เกณฑประเมินของการผานระดบั ช้ัน
4
สว นที่ 1
วสิ ัยทศั นของโรงเรยี นวัชรวิทยา
พฒั นาคุณภาพผเู รียน โดยการจดั การเรยี นรู การบริหารจัดการดวยระบบคุณภาพและความรว มมือของ
ภาคเี ครอื ขา ย
พันธกจิ
1. สงเสรมิ และพัฒนาผเู รียนใหมคี ณุ ภาพตามเกณฑมาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล
2. สงเสริมและพฒั นาครใู หเปนไปตามมาตรฐานวชิ าชพี ครูสูมาตรฐานสากล
3. พฒั นาการบรหิ ารจดั การดวยระบบคุณภาพเพ่ือความเปนเลิศโดยเนน หลักการกระจาย
อาํ นาจสกู ารเปน โรงเรยี นมาตรฐานสากล
4. สงเสรมิ ใหชุมชนมสี วนรว มในการจดั การศกึ ษา
เปา ประสงค
1. นักเรียนไดเ รยี นรูอยางมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สพฐ. และเกณฑโรงเรียน
มาตรฐานสากล
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพฒั นาตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูมาตรฐานสากล
3. โรงเรียนบรหิ ารจัดการดวยระบบคุณภาพ
4. สถานศกึ ษาเปน ทีย่ อมรับของชมุ ชน
5
ลักษณะของกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน
กิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุงใหผูเรียน
ไดพัฒนาตนเองงตามศักยภาพ พัฒนาอยางรอบดานเพื่อความเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังรางกาย สติปญญา
อารมณ และสังคม เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝงและสรางจิตสํานึก
ของการทําประโยชนเพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได และอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข กิจกรรม
พัฒนาผูเรียนม่ังพัฒนาผูเรียนใหใชองคความรู ทักษะและเจตคติจากการเรียนรู 8 กลุมสาระการเรียนรู
และประสบการณของผูเรียนมาปฏิบัติกิจกรรมเพื่อชวยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ อันไดแก
ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกปญ หา ความสามารถในการ
ใชทักษะชีวิต และความสามารถในการใชเทคโนโลยี ซึ่งจะสงผลใหการพัฒนาผูเรยี นใหมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค มีทักษะการทํางานและอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุขในฐานะเปนพลเมืองไทยและพล
โลก อันไดแก รักชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการ
ทาํ งาน รักความเปนไทยและมจี ิตสาธารณะ
กิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดวย
กจิ กรรม 3 ลักษณะ ดงั น้ี
1. กิจกรรมแนะแนว
เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรูจักตนเอง รูรักษส่ิงแวดลอม สามารถคิด
ตัดสินใจ คิดแกปญหา กาํ หนดเปาหมาย วางแผนชีวติ ทั้งดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรบั ตนไดอยาง
เหมาะสม นอกจากนี้ยังชวยใหครูรูจักและเขาใจผูเรียน ท้ังยังเปนกิจกรรมท่ีชวยเหลือและใหคําปรึกษาแก
ผูป กครองในการมสี ว นรวมพฒั นาผูเรยี น
2. กจิ กรรมนกั เรยี น
เปนกจิ กรรมท่มี ุงพฒั นาความมีระเบียบวนิ ยั ความเปนผนู าํ ผูตามทีด่ ี ความรบั ผดิ ชอบทํางาน
รว มกนั การรูจักแกปญหา การตัดสนิ ใจทีเ่ หมาะสม ความมีเหตุผล การชว ยเหลือแบงปน เอ้ืออาทรและ
สมานฉันท โดยจัดใหส อดคลองกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ รยี น ใหไ ดปฏบิ ัตดิ วย
ตนเองในทุกขัน้ ตอน ไดแก การศึกษาวเิ คราะห วางแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมินและปรบั ปรงุ การทาํ งาน เนน
การทาํ งานรวมกันเปนกลุมตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวฒุ ิภาวะของผเู รียนและบริบทของ
สถานศึกษาและทอ งถ่ิน กิจกรรมนกั เรียนประกอบดวย
1. กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผบู าํ เพ็ญประโยชน และนักศึกษาวชิ าทหาร
2. กิจกรรมชมุ นมุ / ชมรม
ทัง้ นี้ นกั เรียนระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตนจะตองเขารว มกจิ กรรมท้ังในขอ 1 และ ขอ 2
สาํ หรับนักเรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลายสามารถเลือกเขารว มกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งในขอ 1 หรือ ขอ
2
6
3. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน
เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถ่ิน
ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม
และการมจี ติ สาธารณะ เชน กจิ กรรมอาสาพัฒนาตางๆ กิจกรรมสรางสรรคส ังคม
กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ทั้ง 3 ลกั ษณะมีความสมั พันธเชือ่ มโยงกัน (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,2551)
7
โครงสรางหลกั สตู ร
กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน โรงเรยี นวัชรวิทยา
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน
ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 1
ภาคเรยี นที่ 1
ก 21901 แนะแนว ม.1 1 ชม./สปั ดาห/ 20 ชม./ ภาค
ก 21902 ลกู เสอื -เนตรนารี 1 ชม./สัปดาห/20 ชม./ ภาค
ก 21903 ชมุ นมุ /ชมรม 1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
ก 21904 กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน 8 ชม./ภาค
ภาคเรียนท่ี 2
ก 21905 แนะแนว ม.1 1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
ก 21906 ลูกเสอื -เนตรนารี 1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
ก 21907 ชุมนมุ /ชมรม 1 ชม./สัปดาห/20 ชม./ ภาค
ก 21908 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน 8 ชม./ภาค
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 2 1 ชม./สัปดาห/20 ชม./ ภาค
ภาคเรยี นที่ 1 1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
ก 22901 แนะแนว ม.2 8 ชม./ภาค
ก 22902 ลกู เสอื -เนตรนารี
ก 22903 ชุมนุม/ชมรม 1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
ก 22904 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน 1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
1 ชม./สปั ดาห/ 20 ชม./ ภาค
ภาคเรียนที่ 2 8 ชม./ภาค
ก 22905 แนะแนว ม.2
ก 22906 ลูกเสือ-เนตรนารี
ก 22907 ชุมนุม/ชมรม
ก 22908 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน
ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 8
ภาคเรียนท่ี 1 1 ชม./สัปดาห/20 ชม./ ภาค
1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
ก 23901 แนะแนว ม.3 1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
ก 23902 ลกู เสือ-เนตรนารี 8 ชม./ภาค
ก 23903 ชมุ นมุ /ชมรม
ก 23904 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน 1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
ภาคเรยี นที่ 2 1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
8 ชม./ภาค
ก 23905 แนะแนว ม.3
ก 22906 ลกู เสือ-เนตรนารี
ก 22907 ชมุ นมุ /ชมรม
ก 22908 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน
ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 9
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 4
1 ชม./สปั ดาห/ 20 ชม./ ภาค
ภาคเรียนท่ี 1 1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
10 ชม./ภาค
ก 31901 แนะแนว ม.4
ก 31902 ชุมนมุ /ชมรม 1 ชม./สัปดาห/20 ชม./ ภาค
ก 31903 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน 1 ชม./สปั ดาห/ 20 ชม./ ภาค
10 ชม./ภาค
ภาคเรียนท่ี 2
ก 31904 แนะแนว ม.4
ก 31905 ชมุ นุม/ชมรม
ก 31906 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
ภาคเรียนท่ี 1 10 ชม./ภาค
ก 32901 แนะแนว ม.5 1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
ก 32902 ชมุ นุม/ชมรม 1 ชม./สปั ดาห/ 20 ชม./ ภาค
ก 32903 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน 10 ชม./ภาค
ภาคเรยี นที่ 2
ก 32904 แนะแนว ม.5
ก 32905 ชุมนมุ /ชมรม
ก 32906 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน
ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 6 10
ภาคเรยี นที่ 1 1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
1 ชม./สัปดาห/ 20 ชม./ ภาค
ก 33901 แนะแนว ม.6 10 ชม./ภาค
ก 33902 ชมุ นุม/ชมรม
ก 33903 กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน 1 ชม./สปั ดาห/20 ชม./ ภาค
1 ชม./สปั ดาห/ 20 ชม./ ภาค
ภาคเรียนที่ 2 10 ชม./ภาค
ก 33904 แนะแนว ม.5
ก 33905 ชุมนมุ /ชมรม
ก 33906 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน
บทบาทของบุคลากรท่ีเกีย่ วขอ ง 11
คณะกรรมการสถานศึกษา
ผูบ รหิ ารสถานศึกษา
ผปู กครอง บคุ คลท่เี กี่ยวของ หวั หนา กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น
ผเู รียน ครูทป่ี รกึ ษากจิ กรรมทุกคน
บทบาทของบคุ ลากรที่เก่ยี วขอ ง
ในการดําเนินการจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี นใหม ปี ระสทิ ธิผล จาํ เปนอยา งยิง่ ทจี่ ะตองกําหนด
บทบาทหนา ที่ของบุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ ง สถานศกึ ษาจะสามารถนําไปปรบั ปรุงและเลือกปฏิบตั ิไดตามความ
เหมาะสมและความพรอมของแตล ะสถานศกึ ษา คอื
บทบาทของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 หมวด 4 มาตรา 29 และหมวด 5
มาตรา 40 ท่ีมงุ เนน ใหช ุมชนมสี วนรว มในการจัดการศึกษาและใหมีคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
เพ่อื ทาํ หนา ที่ กาํ กบั และสงเสรมิ สนบั สนุนในการบรหิ ารจัดการในสถานศกึ ษานน้ั คณะกรรมการ
สถานศึกษาควรมีบทบาทในการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ดังนี้
1. ใหค วามเห็นชอบ มีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย เปา หมายและดาํ เนนิ การ
1.1 มีสวนรว มในการวางแผน วิเคราะหการจดั กิจกรรมของสถานศกึ ษา
1.2 ใหความเห็นชอบแผนการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา
1.3 มีสวนรวมในการดาํ เนินการจัดกิจกรรมใหเ ปน ไปอยา งมีประสทิ ธภิ าพ
1.4 มีสว นรว มในการประเมินผลเพ่อื ปรับปรุงและพฒั นาในโอกาสตอไป
2. สงเสริม สนบั สนนุ การดําเนินการจัดกิจกรรมของสถานศึกษาในดานตาง ๆ
2.1 ดานงบประมาณ กรรมการสถานศกึ ษาตองมีสวนในการจัดหางบประมาณ
สนบั สนนุ การจัดกิจกรรม วสั ดภุ ณั ฑ เครื่องอปุ กรณตางๆ ในการปฏบิ ัติกจิ กรรม
2.2 เปน วิทยากรและแนะนาํ วิทยากร คณะกรรมการสถานศึกษาสวนใหญประกอบไปดวย
12
ผทู รงคุณวุฒิในสาขาตา ง ๆ ผูแทนองคกร ปกครองทองถิน่ ผูแ ทนชมุ ชน ผแู ทนผูปกครอง และศษิ ยเ กาซ่งึ
ลว นแตม ศี ักยภาพในตวั เอง ฉะนน้ั จงึ สามารถเปนวทิ ยากรหรอื จัดหาวิทยากรภายนอกในกรณีท่ีขาด
ผเู ชีย่ วชาญเฉพาะสาขาทีก่ าํ หนดในกจิ กรรมพัฒนาผเู รียน
2.3ใหค ําปรึกษาและสง เสริมการใชภ ูมปิ ญ ญาทองถ่นิ ในการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น
ควรกาํ หนดใหสอดคลอ งกับภูมิปญ ญาทองถิ่น เพอ่ื สงเสริมใหผ ูเรยี นเหน็ คุณคา ของวัฒนธรรมทองถน่ิ และ
ตระหนักในหนา ทใ่ี นการสืบทอดมรดกทางวฒั นธรรมทองถิ่น
2.4 เปนแหลงการศึกษาและแหลง ขอมลู กรรมการสถานศึกษาจะตอ งมีการประสาน
สัมพนั ธกบั แหลง การเรียนรใู นทอ งถิน่ ที่เปน โรงงานสถานประกอบการแหลง วิทยาการตา งๆ เพ่ือใหค วาม
รว มมอื ในการ ใชเปน แหลงฝก ปฏิบตั กิ ิจกรรม และเปนแหลง ศกึ ษาดงู านตามความตองการของผูเรยี นใน
แตละกิจกรรม
บทบาทของผบู ริหารสถานศึกษา
บทบาทของผูบริหารสถานศกึ ษา ในการจดั กิจกรรมพัฒนาผเู รยี นของโรงเรียนวัชรวทิ ยา มี
ดงั นี้
1. กาํ หนดนโยบายและแนวทางปฏิบตั ิ
ผบู รหิ ารสถานศกึ ษารว มกับคณะกรรมการกจิ กรรมพัฒนาผูเรียนหรอื หัวหนา งานกิจกรรม
พัฒนาผเู รียน กาํ หนดนโยบายและแนวทางปฏบิ ตั ิดังน้ี
1.1ศึกษาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 และคมู ือ
การจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รียนตามคาํ สั่งของกระทรวงศึกษาธิการ
1.2 กาํ หนดระเบียบและหลกั เกณฑการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นของสถานศึกษา
1.3 ศึกษาขอ มูล แหลง วทิ ยาการการเรียนรใู นชมุ ชนและทองถิ่น
1.4 กาํ หนดและมอบหมายบุคลากรทีเ่ ก่ยี วของในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รียนในสถานศึกษา
2. นเิ ทศและติดตาม
2.1 นิเทศและตดิ ตามการจดั ทาํ แผนงาน โครงการ ปฏิทินงานของหวั หนางานกิจกรรม
พัฒนาผเู รยี นและอนมุ ัติใหค วามเห็นชอบ
2.2 นิเทศ ติดตามการดาํ เนนิ งานกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี นอยางตอเน่ืองใหเ ปนไปตามระเบียบ
ขอบังคบั ของสถานศกึ ษาและเปาหมายของการ จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
3. สง เสริมสนับสนุน
3.1 ใหม ีการจดั กจิ กรรมทีห่ ลากหลาย สอดคลองกับความตองการของผเู รยี น
3.2 สง เสรมิ การจดั กิจกรรมท่ีเนนวัฒนธรรมหรอื ภมู ปิ ญ ญาทองถิน่
3.3 สนับสนนุ ทรัพยากรทเ่ี กี่ยวของในการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู รียน
3.4 ใหคาํ ปรกึ ษาแกบุคลากรทเ่ี กยี่ วของในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
13
4. ประเมินและรายงาน
4.1 รับทราบผลการประเมนิ พรอมทัง้ เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรม
พฒั นาผูเรยี นเพ่ือประโยชนใ นการจดั กจิ กรรมในภาคเรยี นตอไปรายงานการจดั กิจกรรมพัฒนา
ผเู รยี น ใหค ณะกรรมการสถานศึกษา ทราบเพื่อเปน ประโยชนใ นการจดั กจิ กรรมในภาคเรียนตอ ไป
บทบาทของหัวหนางานกจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น
บทบาทของหัวหนางานกจิ กรรมพฒั นาผูเรียน ในการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู รยี นของโรงเรียน
วัชรวิทยา มดี งั น้ี
1. สํารวจขอมลู ความพรอม ความตองการและสภาพปญหาการดําเนนิ การสํารวจขอมูลความพรอม
ความตองการ และสภาพปญหาของสถานศกึ ษา ชมุ ชน ทอ งถิน่ และผเู รยี น เพ่ือเตรียมความพรอมในการจัด
กจิ กรรมใหส อดคลองกบั ความตอ งการและปญหาของผเู รียน
2. จัดประชุมครทู ีป่ รกึ ษากจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น ประชมุ ครูท่ปี รกึ ษากิจกรรมพฒั นาผเู รียนเพอื่ รวมกนั
กาํ หนดแนวทางในการจดั กจิ กรรมใหม ีความเหมาะสมกับสภาพความตองการและปญหาของสถานศกึ ษา
ชุมชน ทองถ่ิน และผูเรยี น
3. จดั ทาํ แผนงาน โครงการ และปฏทิ นิ งานกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จัดทําและรวบรวม แผนงาน
โครงการ โดยกําหนดเปน รายภาคเรยี น หรอื รายป การศึกษาหรือตามระยะเวลาทกี่ าํ หนดและเสนอขออนุมัติ
ตอผูบรหิ ารสถานศึกษา
4. ใหคาํ ปรึกษาแกค รูท่ีปรกึ ษากจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น และผูเ รียน มหี นาที่ใหคาํ ปรกึ ษา เพ่ือชวยใน
การดาํ เนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นใหเปนไปอยางมีประสิทธภิ าพ
5. นิเทศ ติดตาม และประสานงานการดําเนนิ การจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ประสานงานและอาํ นวย
ความสะดวกใหการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นดาํ เนินไปดวยความเรยี บรอ ย และนเิ ทศ ติดตามใหเปน ไปตาม
ระเบยี บและหลักเกณฑการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นของสถานศกึ ษา
6. รวบรวมผลการประเมินการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น จากครทู ี่ปรึกษากิจกรรมตลอดจนปญ หา
และอุปสรรคในการจดั กิจกรรม และนําเสนอแนวทางในการพัฒนาการจัดกิจกรรมพฒั นาผเู รียนตอผูบริหาร
สถานศึกษา
14
บทบาทของครูท่ีปรึกษากิจกรรมพฒั นาผเู รยี น
ครทู กุ คนตอ งเปนครทู ี่ปรึกษากจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นตามคาํ ขอของผเู รียนหรือตามที่สถานศกึ ษา
มอบหมาย ซงึ่ จะตองมบี ทบาทดังตอ ไปน้ี
1. ปฐมนิเทศ
ปฐมนเิ ทศใหผ เู รยี นเขาใจเปาหมายและวิธีการดําเนนิ การจัดกจิ กรรมพัฒนาผูเรียน
2. เลือกต้งั คณะกรรมการ
จัดใหผ ูเ รยี นเลือกตง้ั คณะกรรมการดําเนินกิจกรรมพฒั นาผูเรียน
3. สง เสริมการจดั ทําแผนงาน/โครงการ
สง เสรมิ ใหผูเ รยี นทเ่ี ปน สมาชิกของกิจกรรมรวมแสดงความคิดเหน็ ในการจัดทาํ แผนงาน/
โครงการและปฏทิ นิ การปฏิบัติงานอยางอิสระ
4. ประสานงาน
ประสานงานและอํานวยความสะดวกในดานทรัพยากรตามความเหมาะสม
5. ใหค ําปรึกษา
ใหค ําปรกึ ษา ดูแล ติดตามการจัดกจิ กรรมของผูเรยี นใหเ ปนไปตามแผนงานดวยความ
เรียบรอยและปลอดภยั
6. ประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลการเขารว มและการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของผูเรียน
7. สรุปและรายงานผล
สรปุ รายงานผลการจัดกจิ กรรมตอ หัวหนา งานกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น
15
บทบาทของผเู รยี น
ผเู รยี นทกุ คนมีบทบาทในกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น ดังนี้
1. เขารวมกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถ ผเู รยี นทกุ คนตองเขารวมกิจกรรม
ตามความถนัดและความสนใจทกุ ภาคเรียน โดยรวมกลมุ เสนอกิจกรรมตามความตองการหรอื อาจเขารวม
กิจกรรมตามขอเสนอแนะของสถานศกึ ษา
2. รับการปฐมนิเทศจากครูท่ีปรกึ ษากจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น ผเู รยี นจะตองพบครูท่ีปรกึ ษากจิ กรรม
เขา รบั การปฐมนิเทศ รบั ฟงขอเสนอแนะตา งๆ เพื่อเขารว มและดําเนนิ การจัดกจิ กรรมไดอยา งถูกตอง
เหมาะสม
3. ประชมุ เลือกตง้ั คณะกรรมการฝายตา งๆ ประชุมเลือกต้ังคณะกรรมการฝา ยตางๆ ประกอบดวย
ประธาน เลขานกุ าร เหรญั ญกิ นายทะเบียน และอ่นื ๆ ตามความเหมาะสม
4. ประชุมวางแผน จดั ทํา แผนงาน โครงการ และปฏิทินงาน การดําเนนิ กิจกรรมใหบ รรลตุ าม
วตั ถุประสงค จําเปนตองมีการวางแผนในการดําเนนิ งาน ท่ีประชมุ ควรเปด โอกาสใหท ุกคนมีสวนรว มในการ
วางแผน และจดั ทําโครงการปฏทิ นิ งานทกี่ าํ หนดวนั เวลา ไวอ ยางชดั เจน แลวนาํ เสนอตอครทู ่ีปรึกษากจิ กรรม
5. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามแผนงาน โครงการ และปฏิทนิ งานที่ไดกําหนดไว
เมือ่ แผนงาน โครงการและปฏทิ นิ งานไดรับอนมุ ัติจากผูบริหารสถานศึกษาแลว ผเู รียนจึง จะ
สามารถปฏิบตั ิกจิ กรรมตามแผนงาน โครงการและปฏทิ นิ งานที่ไดกําหนดไวในรปู แบบของคณะกรรมการ ท่ีไดรับ
การเลือกตงั้ โดยใชก ระบวนการกลุม และใหผ เู รียนทุกคนไดพัฒนาตนเองใหเตม็ ศักยภาพตามความสนใจ
ความถนัด และความสามารถ
6. ประเมินผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
การประเมินผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมสามารถประเมินผลไดด ังนี้
6.1 ประเมินผลเปนระยะอยางตอเน่ือง
6.2 ประเมนิ ตนเองและประเมินเพ่ือนรวมกจิ กรรม จากพฤติกรรมและคุณภาพของงาน
7. สรปุ ผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมพฒั นาผูเรยี น
เมอ่ื ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเสรจ็ ส้ินตามโครงการแลว คณะกรรมการดาํ เนินกิจกรรมจะตองประชุม
เพอ่ื สรุปผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและนําเสนอครทู ่ีปรึกษากิจกรรม
16
บทบาทของผปู กครองและชุมชน
ผูปกครองมีบทบาทในการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รียนดงั น้ี
1. รวมมือประสานงานรว มมือกบั สถานศึกษาในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
2. สงเสรมิ สนับสนนุ
2.1ใหโ อกาสผเู รียน ไดใชส ถานประกอบการเปนแหลง เรยี นรู
2.2 เปน วทิ ยากรใหค วามรู และประสบการณ
2.3 ใหก ารสนับสนนุ วสั ดุ อุปกรณ งบประมาณ ในการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู รียน
2.4 ดูแลเอาใจใสผูเรยี นและใหขอมลู ทีเ่ ปน ประโยชนตอการปองกนั แกไขและพฒั นาผูเรยี น
3. ตดิ ตาม ประเมินผล
3.1 รว มมอื กับสถานศกึ ษาเพื่อตดิ ตามพฒั นาการของผเู รียน
3.2 บันทึกสรุปการพัฒนาการ และการปฏบิ ัติกจิ กรรมของผูเ รียน
ข้นั ตอนการดําเนินการจดั กจิ กรรม
1. ประชุมชีแ้ จงคณะครู ผเู รียน ผูป กครอง เพ่ือสรา งความเขาใจเกยี่ วกับการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
2. สาํ รวจขอ มูล
2.1 ความพรอมของสถานศึกษา ชุมชน และทอ งถน่ิ
2.2 สภาพปญหา และความตอ งการของผูเ รยี น
3. รวมกนั วางแผนระหวา งคณะครู ผูเรียน และผเู กยี่ วของ จดั ทําแผนงาน โครงการ ปฏทิ นิ
ปฏิบตั งิ าน กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น ทกุ ภาคเรียน และเสนอขออนุมตั ิ
4. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามแผนงาน โครงการ ปฏทิ ินปฏิบัติงาน กิจกรรมพฒั นาผเู รยี นทก่ี ําหนดไว
5. นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
6. สรุป รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน
17
การประเมนิ ผล
การประเมนิ ผลกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
การประเมินผลการเรยี นผานระดบั ชนั้
การประเมินผลกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น
ผลการประเมิน “ผา น” (ผ) ทกุ กจิ กรรม
เกณฑก ารผา น
มเี วลาเขา รวมกิจกรรมและปฏบิ ัติ ผานจุดประสงคทส่ี ําคัญของแตละ
กิจกรรมตามเกณฑท สี่ ถานศกึ ษากําหนด กิจกรรมทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด
(อยา งนอ ย 80 %) (ทกุ จุดประสงค)
การประเมินผลการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปน เง่ือนไขสาํ คัญประการหน่งึ สําหรบั การผา น
ระดบั ช้นั หรือจบหลักสูตร ผเู รยี นตองเขารว มและปฏบิ ัติกิจกรรมพฒั นาผูเรียน ตลอดจนผานการประเมนิ ตาม
เกณฑที่สถานศึกษากาํ หนดตามแนวประเมนิ ดงั น้ี
1. ประเมนิ การรวมกจิ กรรมพัฒนาผูเรียนตามวัตถุประสงค ดวยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย ตามสภาพจริงให
ไดผลการประเมนิ ท่ีถูกตอง ครบถวน
2. ครทู ีป่ รึกษากิจกรรม ผเู รยี นและผปู กครอง จะมีบทบาทในการประเมิน ดังน้ี
2.1 ครทู ปี่ รึกษากจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน
(1) ตองดแู ลและพัฒนาผูเรยี นใหเกดิ คณุ ลักษณะตามวัตถุประสงคข องกจิ กรรม
(2) ตองรายงานเวลา และพฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรม
(3) ตอ งศึกษาตดิ ตาม และพัฒนาผูเรียนในกรณีทผ่ี ูเรยี นไมเขารว มกจิ กรรม
2.2 ผูเรยี น
(1) ปฏิบัติกิจกรรมใหบ รรลุผลตามวัตถปุ ระสงค
(2) มหี ลกั ฐานแสดงการเขา รว มกิจกรรมไมน อยกวา 80% หรอื ตามเกณฑท ่ี
สถานศึกษากาํ หนด พรอมท้ังแสดงผลการปฏิบตั ิกิจกรรม และพฒั นาการดานตาง ๆ
(3) ถาไมเกิดคุณลักษณะตามวตั ถุประสงค ตองปฏิบัตกิ จิ กรรมเพ่ิมเติมตามท่ีครู
ทีป่ รึกษากิจกรรมมอบหมาย หรอื ใหความเห็นชอบตามที่ผเู รยี นเสนอ
(4) ประเมนิ ตนเองและเพอ่ื นรวมกจิ กรรม
18
2.3 ผูปกครอง
(1) ผูป กครองใหค วามรวมมือในการตดิ ตามการพัฒนาการของผเู รยี นกบั
สถานศึกษาเปนระยะๆ
(2) ผูปกครองบนั ทึกความเหน็ สรปุ พฒั นาการและการปฏิบัตกิ จิ กรรมของผูเรยี น
3.เกณฑการผานกจิ กรรมพฒั นาผูเรียน
3.1 ผูเรียนเขา รวมกิจกรรมอยางนอย 80% หรอื ตามที่สถานศกึ ษากาํ หนด
3.2 ผูเรียนผานจุดประสงคทส่ี าํ คัญของแตล ะกจิ กรรม
การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู รียนรายกิจกรรม
1. ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของผูเรยี นตามจดุ ประสงคของแตละกจิ กรรมโดยประเมินจาก
พฤติกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรม และผลการปฏบิ ัติดว ยวธิ ที ี่หลากหลายตามสภาพจริง
2. ตรวจสอบเวลาเขารวมกิจกรรมของผเู รียนอยางนอย 80 %
3. ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมของผูเรียน ภาคเรยี นละ 1 ครง้ั ควรประเมนิ การปฏิบัตกิ จิ กรรมระยะ
หน่ึงเพ่อื ใหผูเ รยี นไดป รับปรุงแกไข
4. ในกรณีทีผ่ เู รยี นผา นจุดประสงคสําคัญของกจิ กรรมและมเี วลาเรียนครบตามเกณฑ คอื อยา งนอย
80% ใหผ ลเปน “ผา น” (ผ) หากบกพรอ งเกณฑใดเกณฑห นง่ึ หรือท้ังสองเกณฑจะ”ไมผา น” (มผ.)
*** ครทู ่ีปรกึ ษาจะตอ งซอ มเสริมขอบกพรองใหผานเกณฑกอ นจึงจะไดรบั การตัดสนิ ใหผ า นกจิ กรรม
การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
เปน การประเมนิ สรุปผลการผา นกิจกรรมของผเู รียนแตละคนเพ่อื นําผลไปพจิ ารณาตดั สินการผา น
โดยมีขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ดิ งั นี้
1. ครทู ่ปี รกึ ษาแตละกิจกรรมสง ผลการประเมนิ ท้งั 3 กจิ กรรม ใหแ กห ัวหนากิจกรรมพัฒนาผเู รียน
2. หัวหนางานกจิ กรรมพัฒนาผูเรียนรวบรวมสรุปสงกับคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการให
ความเหน็ ชอบ
3. เสนอผบู ริหารสถานศึกษาพจิ ารณาตัดสิน และอนมุ ัติผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
19
สว นที่ 2
ตารางรายละเอยี ดการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นโรงเรยี นวัชรวทิ ยา
ระดบั ชน้ั กจิ กรรม จํานวน ชม./สปั ดาห
ม.1-3 1. กจิ กรรมแนะแนว 1
1
ม.4-6 2. ลูกเสือ - เนตรนารี 1
3. กิจกรรมพัฒนาผเู รียนตามความถนดั ความสนใจ 1
(ชมุ นมุ /ชมรม) 1
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมพัฒนาผูเรยี นตามความถนดั ความสนใจ
(ชมุ นุม/ชมรม)
ระดับชั้น กจิ กรรม จํานวน ชม. / ป
ม.1 กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน 16
ม.2 กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน 16
ม.3 กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน 16
ม.4 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน 20
ม.5 กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน 20
ม.6 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน 20
กิจกรรมพัฒนาผูเรียนท่ีกําหนดไวในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี1 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ปละ 120 ช่ัวโมง
และชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 4-6 จํานวน 360 ชวั่ โมงน้ัน เปนเวลาสําหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน
และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน ในสวนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนให
สถานศึกษาจัดสรรเวลาใหผเู รียนไดป ฏิบตั ิกิจกรรม ดังนี้
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน (ม.1-3) รวม 3 ป จาํ นวน 48 ช่ัวโมง
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ป จํานวน 60 ชว่ั โมง
20
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ รยี นโรงเรยี นวัชรวทิ ยา
1. กจิ กรรมแนะแนว
ความหมายของการแนะแนว
การแนะแนว หมายถงึ กระบวนการซ่ึงจะชว ยใหบ ุคคลรูจกั และเขา ใจตนเอง ผอู นื่ และ
สภาพแวดลอ มดวยกลวิธแี ละเครือ่ งมือตางๆ และสามารถเลอื กตดั สินใจไดอ ยางถูกตองเหมาะสม สามารถ
ปรับตวั เขา กับสภาพแวดลอมและสถานการณต าง ๆ ไดอยางเหมาะสมและอยใู นสงั คมอยา งมีความสุข
ปรชั ญาการแนะแนวและหลักการแนะแนว
ปรัชญาการแนะแนว หลักการแนะแนว
1. คนทกุ คนมคี ุณคา และมีศักดศ์ิ รีแหงความเปนมนุษย 1. จัดบริการใหกับทุกคน (ไมเลอื กปฏบิ ัติและใหบริการ
และตอ งการการยอมรับซง่ึ กันและกนั ดวยความเคารพในเกยี รติแหง ความเปนมนุษยทเ่ี ทาเทียม
กัน โดยคํานงึ ถึงประโยชนข องผูรบั รกิ ารเปน สําคญั
2. คนทุกคนมีสทิ ธิเสรภี าพเทาเทยี มกัน 2. การจดั บรกิ ารจะตองคํานึงถงึ สทิ ธิเสรภี าพของบคุ คล
ไมมีการบงั คับ
3. บุคคลเปนทรัพยากรท่ีมีคา คนแตล ะคนมีศกั ยภาพ 3. การใหบ ริการตองเปด โอกาสใหบ ุคคลไดมีบทบาท
ที่สามารถพฒั นาและเรยี นรูได สาํ คัญในการใชป ญ ญาเรยี นรู หาวิธีแกป ญหาดวยตนเอง
และไดพัฒนาตนเต็มตามศักยภาพของตน ทุกคนยอมมี
ความแตกตางกันบริการแนะแนวตองจัดนกั เรียนทกุ คน
เพอื่ ไดมีโอกาสเลอื กและตดั สินใจดวยตนเองตามความ
ถนัด ความสนใจ ความสามารถ และสอดคลองกบั ความ
ตองการของทองถน่ิ และสังคมโลก
4. แตล ะคนมีความแตกตา งกันทงั้ ทางรายกาย 4. การใหบรกิ ารตองตอบสนองความตองการของ
อารมณ สังคม สตปิ ญ ญา ความสนใจ ความสามารถ ผรู บั บริการและคํานงึ ถึงความแตกตางระหวางบุคคล
ความถนัดและเจตคติ คนมีความเปล่ียนแปลงอยตู ลอดเวลา บริการแนะแนว
ตอ งจดั อยา งตอเน่ืองใหน กั เรียนรจู กั ตนเองเพ่ือสามารถ
วเิ คราะหค วามสมั พันธระหวางตนเองกบั สิง่ แวดลอม ที่
เปล่ยี นไปจนสามารถตัดสนิ ใจได
21
ปรชั ญาการแนะแนว หลกั การแนะแนว
5. พฤตกิ รรมทุกอยา งของบคุ คลยอ มมสี าเหตุ การท่ี 5. การใหบ ริการคือการอํานวยเหตุปจจยั ท่เี หมาะสม
บุคคลแสดงออกอยางใดหรือเปนเชนไร ยอมเกิดจาก ในการสรา งเสริมพัฒนาการหรอื พฤติกรรมทพี่ ึง
ตนเองและส่ิงแวดลอมเปนเหตแุ ละบุคคลเปล่ยี นแปลง ประสงค พฤติกรรมทกุ อยางยอ มมีสาเหตุ การจัดการ
ไดต ามเหตุ แนะแนวจึงตองศึกษาพฤติกรรมของนักเรยี นใหช ัดเจน
จะตองมขี อมลู ของนักเรียนในดา นตางๆตรงตาม
ขอ เท็จจรงิ และเปน ปจจุบนั เพ่ือใหค รแู ละนักเรียนเกดิ
ความเขาใจกนั ยอมรับความจริง ตลอดจนสามารถ
แกไขและพฒั นาตนได
6. คนทกุ คนยอมปี ญหา คนตองอยูรวมกนั ในสงั คม 6. การใหบรกิ ารชว ยเหลือเพื่อนมนุษย เปนภารกิจ
ท่ตี อ งพ่ึงพาอาศัยกนั และพฤติกรรมของแตละบคุ คล ท่ีพ่งึ กระทําดว ยความเมตตา และดวยความรู
ยอมสง ผลกระทบตอบุคคลอ่ืน ความเขา ใจ และทุกคนควรมีสวนรวมรวมถงึ การ
ชว ยเหลือสงั คม และส่งิ แวดลอม
7. ธรรมชาตขิ องคนอยูรวมกันเปนสงั คม จาํ เปน ตอง 7. การจัดบรกิ ารแนะแนวจะตองมีการประสานงาน
มคี วามสมั พนั ธแ ละพง่ึ พาอาศัยซงึ่ กันและกัน และรวมมือในระหวา งบุคลากรทกุ ที่เกี่ยวขอ งท้งั ใน
และนอกโรงเรยี น และควรจัดบริการตา งๆ ให
ครอบคลุมท้ังดานการศึกษา ดานอาชพี ดานสว นตัว
และสงั คม
จุดมุงหมายของการแนะแนว
การแนะแนวมเี ปาหมายสาํ คัญเพ่ือใหบุคคลรจู ดั ตนเอง รูจัดส่งิ แวดลอ ม สามารถคดิ วิเคราะห
สงั เคราะห ตดั สินใจแกปญ หา รูจ ักเลอื กและวางแผนชวี ติ การเรยี น และสามารถปรับตนเองไดอ ยาง
เหมาะสม สามารถพัฒนาตนเตม็ ศักยภาพ อนั จะนาํ ไปสูการมชี ีวติ ท่ดี ีมีความสขุ ความสําเรจ็ และเปน
ประโยชนตอตนเอง สังคมและประเทศชาตติ อไป การแนะแนวมจี ุดมุง หมายหลัก 3 ประการ คือ
1. การปองกันปญหา
2. การแกไขปญ หา
3. การสงเสริมพัฒนาการทุกดา น
22
ขอบขา ยของการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวตองครอบคลุมขอบขาย 3 ดาน ไดแ ก
1. แนะแนวดา นการเรียนหรอื การศึกษา ซงึ่ มีขอบขา ยงานตั้งแตก ารสรางเจตคติทีด่ ีตอการเรยี น
การฝก ทักษะหรอื เทคนิคการเรียนทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ กจิ นิสยั ในการเรยี น การวางแผนการเรยี นทดี่ ี การรู
ชองทางการศึกษาและการเลือกทางศึกษาตอ ตลอดท้งั การสรางนสิ ยั ใฝเรียนรตู ลอดชีวิต
2. แนะแนวดานอาชีพ ซึง่ มีขอบขายงานตัง้ แตก ารสรา งเจตคติท่ีดีตอการทํางาน และการประกอบ
อาชพี การสรา งความตระหนักรบั รเู กี่ยวกบั ความเปลย่ี นแปลงของโลกอาชีพ การสํารวจอาชีพ การตดั สนิ ใจ
และวางแผนดา นอาชพี การเตรียมตัวเพอื่ อาชีพ การเขาสูอาชพี และการพัฒนาตนเองเพอ่ื ความกาวหนา ใน
อาชพี
3. แนะแนวดา นสว นตัวและสงั คม ซ่งึ มีขอบขายงานต้ังแตก ารรจู ักเขาใจตนเองและผูอื่น เหน็ คณุ คา
ของตน ผอู นื่ ครอบครัว สงั คม รูจ กั ชวี ิตและสงั คมทเี่ ปล่ียนแปลงอยตู ลอดเวลา การรูจ กั ปรบั ตัวและ
แกปญ หาการพฒั นาตนเอง การฝกทักษะชวี ติ และทักษะทางสงั คม เพ่ือใหม ีบุคลิกภาพดี สขุ ภาพกาย
สุขภาพจิตทสี่ มบูรณ
การเตรยี มพรอมทจี่ ะเปน ผูจ ัดบริการแนะแนว
1. พอใจในความเปนจริงของชีวิตปจจบุ นั
2. มมี นุษยส ัมพนั ธด ี และทาํ งานอยา งมีความสขุ
3. มคี วามสุขในการใหความชว ยเหลือผอู นื่
4. เก็บความลบั ไดเ ปนเลศิ
5. มคี วามรแู ละศึกษาขัน้ ตอน ตลอดจนเทคนิคการใหบ ริการเปน อยางดี อยา งนอ ยใหถ งึ ข้ันเชื่อถอื
ได
การศึกษาและทาํ ความเขาใจพฤตกิ รรมของนักเรยี น
พฤตกิ รรมปกติ หรือพฤติกรรมที่พึ่งปรารถนา (Desirable Behaviors) เปนพฤติกรรมทน่ี ักเรียน
แสดงไดเหมาะสมกบั สภาพการณแ ละเปนท่ียอมรบั ของครู เชน มองครูเม่ือครูอธิบายไมรบกวนเพอ่ื นขณะ
เพือ่ นทํางานรวมกิจกรรมตา ง ๆ ตามทคี่ รูกาํ หนด เปน ตน นักเรยี นที่มพี ฤตกิ รรมปกตจิ ะเปน ผูท ส่ี ามารถ
ปรับตวั เองใหเ ขากับส่ิงแวดลอมไดม ีความรูส ึกอยูในโลกของความเปนจรงิ มีความรูสึกมัน่ คง รูจกั ตนเอง มี
จุดมงุ หมายในชวี ติ มีความสามารถที่จะเรยี นรูจากประสบการณ มีความสัมพันธอันดตี อผอู ื่น มองโลกในแงดี
มีจติ ใจราเริง เบิกบาน รูจ ักหาความเพลดิ เพลนิ และความพอใจจากสงิ่ งาย ๆ ในชวี ิต มสี ขุ ภาพดี และมี
อารมณม่นั คง
23
พฤติกรรมที่มักจะเปนปญหาในโรงเรียน
ปญ หาพฤติกรรมนักเรียนท่ีพบในโรงเรียน เปน สัญญาณที่แสดงวาเด็กกาํ ลังมีปญ หาการปรบั ตวั ทาง
รางกาย อารมณ สงั คมหรือสติปญญาบางอยาง ซึง่ ครูควรจะรูพฤติกรรมท่ีสบั สนนนั้ โดยทาํ ความ
เขาใจและคอยใหค วามชว ยเหลือเยยี วยาหรอื แกไ ขพฤติกรรมเหลานั้นอยางใกลช ดิ และหาทางปองกันไมใหเ กดิ
ปญหาลกุ ลาม เพื่อใหน ักเรยี นมกี ารพฒั นาตัวเองทุกดา นอนั จะนาํ มาซึ่งการเรยี นรทู ี่ดแี ละมีสขุ ภาพกายและจติ
ทดี่ ี เปนคนทมี่ ีคุณภาพตอไป
แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว
1. ศกึ ษาวเิ คราะหส ภาพปญหา ความตอ งการ ความสนใจ และธรรมชาตขิ องผูเรียน
2. วิเคราะหสมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค วิสยั ทัศนของสถานศึกษา และขอมลู
ของผูเรยี นรายบุคคล
3. กําหนดสัดสวนกจิ กรรมแนะแนวใหคลอบคลุม ดานการศึกษา ดานอาชีพ ดานสวนตัวและสงั คม
4. กาํ หนดวตั ถปุ ระสงคการจดั กิจกรรมแนะแนวของสถานศึกษา
5. ออกแบบการจดั กิจกรรมแนะแนว
6. จัดทําแผนการจัดกจิ กรรมแนะแนว
7. จดั กิจกรรมแนะแนวตามแผน และประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม
8. ประเมนิ เพือ่ ตดั สนิ ผล และสรปุ รายงาน
24
การจัดกิจกรรมแนะแนวตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551
กิจกรรมแนะแนวเปน กจิ กรรมท่ีสง เสริมและพฒั นาผูเรียนใหร จู ักตนเอง รรู กั ษสิง่ แวดลอม
สามารถคิด ตดั สนิ ใจ คดิ แกปญ หา กาํ หนดเปา หมาย วางแผนชวี ิตทง้ั ในดา นการศกึ ษาและอาชีพ สามารถ
ปรบั ตนไดอ ยางเหมาะสม นอกจากนีย้ งั ชว ยใหค รรู จู ักและเขา ใจนกั เรยี น ทัง้ ยังเปน กจิ กรรมท่ชี วยเหลอื และ
ใหค าํ ปรกึ ษาแกผปู กครองในการมีสว นรว มพัฒนาผูเรยี น
หลกั การ
เปน กจิ กรรมทจ่ี ดั ใหสอดคลองกับสภาพปญ หา ความตอ งการ ความสนใจธรรมชาตขิ องผูเรียนและ
วิสยั ทัศนของสถานศึกษาทีต่ อบสนองจุดมุงหมายหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
ใหค รอบคลมุ ท้งั ดานการศึกษา อาชีพ สวนตัวและสงั คม เนน ผูเรียนเปน สาํ คัญ ผูเรยี นมีสวนรวมในการ
ปฏิบตั กิ จิ กรรม จนเกิดการเรยี นรูและเกิดทักษะชีวติ โดยมีครผู ูร บั ผิดชอบจัดกิจกรรมและประสานความ
รวมมือกับครูหรอื ผูม ีสวนเก่ยี วขอ ง
วัตถปุ ระสงค
1. เพ่ือใหผเู รยี นรูจัก เขาใจ รกั และเหน็ คุณคา ในตนเองและผูอ่ืน
2. เพ่ือใหผูสามารถวางแผนการศึกษา อาชีพ รวมทั้งการดําเนนิ ชวี ติ และสงั คม
3. เพื่อใหผ เู รียนสามารถปรับตัวไดอ ยา งเหมาะสม และอยรู วมกบั ผอู ื่นไดอยา งมคี วามสุข
ขอบขาย
การจดั กจิ กรรมแนะแนว มีองคป ระกอบ 3 ดา น ดงั น้ี
1. ดานการศึกษา ใหผูเ รียนไดพฒั นาตนเองในดา นการเรยี นอยา งเต็มตามศักยภาพ รูจักแสวงหาและ
ใชขอ มลู ประกอบการวางแผนการเรยี นหรือการศึกษาตอไดอยา งมีประสิทธิภาพ มนี ิสยั ใฝร ใู ฝเ รียน มีวิธีการ
เรียนรูและสามารถวางแผนการเรียนหรอื การศึกษาตอไดอยางเหมาะสม
2. ดา นอาชีพ ใหผูเรยี นไดรูจักตนเองในทุกดา น รแู ละเขาใจโลกของงานอาชีพอยางหลากหลาย มี
เจตคตทิ ดี่ ีตออาชีพสุจริต มีการเตรยี มตวั สูอาชีพ สามารถวางแผนเพื่อประกอบอาชีพตามทต่ี นเองมีความถนัดและ
สนใจ
3. ดานสวนตัวและสังคม ใหผ ูเรียนรจู ักและเขาใจตนเอง รกั และเห็นคณุ คาของตนเองและผูอน่ื มี
วฒุ ิภาวะทางอารมณ มีเจตคตทิ ด่ี ีตอการมีชวี ติ ทีด่ ี มีคุณภาพ มีทกั ษะชวี ติ และสามารถปรับตวั ดาํ รงชวี ิต
อยูในสงั คมไดอยางมีความสุข
25
แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนวโรงเรยี นวัชรวทิ ยา
1. ศกึ ษาวิเคราะหส ภาพปญ หา ความตองการ ความสนใจ ธรรมชาตขิ องผูเ รยี น
2. วเิ คราะหส มรรถนะสาํ คญั ของผูเรยี น คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค วิสยั ทศั นข องสถานศึกษา และ
วิเคราะหข อมลู ของผเู รยี นเปนรายบคุ คล
3. กาํ หนดสดั สว นของกิจกรรมแนะแนวใหครอบคลุมดานการศึกษา ดานอาชีพ ดา นสว นตัวและ
สงั คมโดยยึดสภาพปญ หา ความตอ งการ ความสนใจ ตลอดจนธรรมชาตขิ องผเู รยี นและเปาหมายของ
สถานศกึ ษาโดยครูและผูเรียนมสี ว นรว ม
4. กาํ หนดวตั ถปุ ระสงคการจัดกจิ กรรมแนะแนวของสถานศกึ ษาเปนระดับการศึกษาและชนั้ ป
5. ออกแบบการจดั กจิ กรรมแนะแนว ประกอบดว ย ชอื่ กจิ กรรม วัตถุประสงค พฤติกรรมผูเ รยี น
หลักฐานการทํากจิ กรรม วธิ ีการจัดกจิ กรรม วธิ ีการประเมนิ ผล ภาคเรยี นและจํานวนเวลาท่ีจัดกจิ กรรมแนะแนว
6. จดั ทําแผนการจดั กิจรรมแนะแนวรายชว่ั โมง ประกอบดวย ชื่อกิจกรรม เวลา วตั ถุประสงค
สาระสาํ คัญ ช้นิ งาน/ภาระงาน วิธกี ารจัดกจิ กรรม ส่อื /อุปกรณ และการประเมินผล
7. จดั กจิ กรรมแนะแนวตามแผนการจัดกิจกรรมแนะแนวและประเมินผลการจดั กจิ การรม
8. ประเมินเพื่อตดั สินผล และสรุปรายงาน
การประเมนิ กจิ กรรรมแนะแนว
การประเมินกจิ กรรมแนะแนว มี 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะท่ี 1 การประเมนิ เพื่อพฒั นาผูเ รยี น อาจประเมินไดจ ากครู นักเรียน และผูปกครอง โดย
- ครูผจู ัดกิจกรรมรับผิดชอบในการวางแผนการประเมิน ดาํ เนินการประเมิน นาํ ผลการ
ประเมนิ ไปพฒั นาผเู รยี นอยางตอเนื่อง และรายงานผลการดําเนนิ งานใหผเู กี่ยวของทราบ
- ผเู รยี นอาจมสี ว นรวมในการวางแผนการประเมนิ ประเมนิ ตนเองและเพ่ือน
- ผปู กครองอาจมีสวนรวมในการเสนอความคดิ เหน็ ในการประเมิน ประเมนิ ผลการ
พฒั นาผเู รยี น โดยประสานรวมมือกับครผู ูจ ดั กิจกรรม
ลกั ษณะที่ 2 การประเมนิ เพ่ือตัดสินผลการเรยี น ครผู จู ัดกิจกรรมตรวจสอบเวลา การเขา รว ม
กจิ กรรมและประเมินผลการปฏิบตั ิกิจกรรม ดวยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย ตดั สินผลการประเมินเปน “ผา น“ และ
“ไมผ าน” ดงั น้ี
“ผา น” หมายถงึ ผูเ รยี นมเี วลาเขารว มกิจกรรม ปฏิบัติกจิ กรรม และมีผลงาน/ชนิ้ งาน/ คุณลักษณะ
ตามเกณฑท่สี ถานศึกษากาํ หนด
“ไมผ า น” หมายถงึ ผูเรียนมเี วลาเขารว มกจิ กรรมไมครบตามเกณฑ ไมผานการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม หรอื มี
ผลงาน /ช้ินงาน /คุณลักษณะไมเปน ไปตามเกณฑท ีส่ ถานศึกษากําหนด
26
คาํ อธบิ ายประกอบแผนภาพ “ขอบขายงานแนะแนว”
งานแนะแนวมีขอบขา ยงาน 3 ดาน คือ งานบริการแนะแนว งานจัดกจิ กรรมแนะแนว และงาน
ประสานระบบดูแลชว ยเหลือนกั เรียน ซง่ึ อธิบายเพม่ิ เติมในแตละดา นดงั ตอไปนี้
1. งานบรกิ ารแนะแนว เปนการจดั บริการตามศาสตรของงานแนะแนว ประกอบดวย งานบรกิ าร
5 บริการ คือ
ข้ันตอนการดาํ เนนิ งาน วธิ ีการดําเนนิ งาน
1.1 จัดบรกิ ารศกึ ษารวบรวมขอ มูล 1.1.1 วางแผนการเกบ็ ขอมลู นักเรียนในแตละป
1.1.2 จดั หา จดั สรางเคร่อื งมือในการเกบ็ ขอมูลนกั เรยี น
1.1.3 พฒั นาเทคโนโลยใี นการศกึ ษารวบรวมขอมูล
1.1.4 จดั เกบ็ รวบรวมขอ มูลนักเรยี นอยางเปนระบบ
1.1.5 ศึกษาและวิเคราะหขอ มูล
1.1.6 นําขอมูลไปใช
1.2 จัดบรกิ ารสนเทศ 1.2.1 จัดบริการสนเทศการศึกษา
1) ติดตามและรวบรวมขอมูลขา วสารดานการศึกษาที่เปน
ปจจบุ ัน
2) นาํ เสนอขอมลู ดวยวธิ กี ารตางๆ แกน ักเรียน ผูปกครอง
และผสู นใจ เชน
- จัดทําเอกสารแนะแนว
- จัดปายนเิ ทศ
- จดั เชิญวทิ ยากรบรรยาย
27
- จัดบริการคน ควา ขอ มูลดว ยระบบคอมพิวเตอร
- จัดฉายทางสื่อโสต ฯลฯ
3) จัดทําโครงการแนะแนวการศึกษาตอและ
ประชาสมั พันธหลกั สตู ร
4) ประสานบคุ คล องคกร และหนวยงานท่ีเกย่ี วของ
5) ประเมนิ ผลการจดั บรกิ าร และนําผลการประเมินไป
ปรับปรุงพัฒนา
1.2.2 จัดบริการสนเทศดา นอาชพี
1) ศกึ ษาแนวโนม ของตลาดแรงงานและอาชีพใหม ๆ
ท่ีนาสนใจ
2) นําเสนอขอมูลดว ยวิธกี ารตาง ๆ แกน ักเรยี น เชน
- จดั บริการคน ควา ขอมลู ดว ยระบบคอมพิวเตอร
- จดั เชิญวทิ ยากรบรรยาย
- จัดฉายทางส่อื โสต
3) จัดทําโครงการตางๆ เพ่ือเสริมบรกิ ารสนเทศดวยอาชพี
4) ประสานบคุ คล องคกร และหนวยงานทเี่ กย่ี วขอ ง
5) ประเมนิ ผลและนําผลไปปรบั ปรุงพัฒนางาน
1.2.3 จัดบรกิ ารสนเทศดา นสว นตวั และสังคม
1) ศึกษาและวิเคราะหส ถานการณปญหา เยาวชนใน
ปจ จุบนั
2) แสวงหาวธิ กี าร หรือสิง่ ที่จะชว ยใหนักเรยี นไดขอคิดใน
การดาํ รงชวี ิต
3) นําเสนอขอมูลดว ยวิธีการตาง ๆ แกนักเรยี น เชน
- เชิญวทิ ยากรบรรยาย
- กจิ กรรมกลมุ พัฒนาตน
- จดั บรกิ ารคน ควาดวยระบบคอมพวิ เตอร
4) จัดทาํ โครงการตาง ๆ เพื่อเสริมบริการสนเทศดวยสวนตัว
และสงั คม
5) ประสานบคุ คล องคกร และหนวยงานทเี่ ก่ียวของ
6) ประเมนิ ผลการจัดบริการ และนาํ ผลการประเมินไป
ปรับปรุงพฒั นางาน
ขั้นตอนการดาํ เนินงาน 28
1.3 จดั บริการจัดวางตัวบุคคล
วิธีการดําเนินงาน
1.4 จัดบรกิ ารการปรกึ ษาเชิง 1.3.1 จดั วางตวั ดา นการศึกษา
จิตวทิ ยา
- การเลือกวชิ าเรียน กิจกรรม ชุมนมุ ชมรม
- การวางแผนการศึกษา
- การเขาศกึ ษาตอสถาบนั ตา งๆ เปน กรณีพิเศษ(โควตา)
- ประสานบุคคล องคกร และหนว ยงานทเี่ กี่ยวขอ ง
1.3.2 จดั วางตัวดา นอาชีพ
- แนะแนวการศึกษาตอดา นอาชพี
- แนะแนวอาชพี
- ประสานบุคคล องคก ร และหนว ยงานท่เี กีย่ วขอ ง
1.3.3 จัดวางตวั ดา นสวนตัวและสังคม
- ทนุ การศึกษา
- ทุนกองทนุ เงนิ ใหกูยมื เพ่ือการศึกษา
- ประสานบคุ คล องคกร และหนว ยงานที่เกยี่ วขอ ง
1.4.1 ประชาสัมพันธการใหบ ริการและวธิ ีขอใชบริการแก
นกั เรียนทั่วไป
1.4.2 ดาํ เนินการใหการปรกึ ษาทงั้ รายบคุ คลและรายกลุม
1.4.3 สรา งเครอื ขายนกั เรยี นเพ่ือนท่ีปรกึ ษา (YC : Youth
Counselor) ในโรงเรยี น
1.4.4 จัดทํากิจกรรม อบรมพฒั นาขยายเครือขายนักเรียนเพ่ือน
ทปี่ รกึ ษา (YC : Youth Counselor)
1.4.5 ประสานเครือขา ยผูปกครอง ครู องคกร หรือผทู ่เี กย่ี วของ
1.4.6 บนั ทึกการใหก ารปรึกษา
1.4.7 ประเมินผลและติดตามผลนกั เรยี น
1.5 จัดบริการตดิ ตามประเมินผล 1.5.1 ติดตามและประเมนิ ผลการจดั บริการแนะแนว
- ประเมินผลความพึงพอใจของผทู ่ีไดรบั บรกิ ารแนะแนว
ตางๆ
- ประเมินผลการจัดกิจกรรมแนะแนว
- ประเมินผล / กิจกรรม / โครงการแนะแนว
- ติดตามผลการศึกษาตอและ อาชีพของผทู สี่ ําเรจ็ การศกึ ษา
ระดบั ช้นั ม. 3 และ ม.6
1.5.2 ติดตามผลการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพนักเรียน
29
- จัดทําเคร่ืองมือติดตามผล
- เก็บรวบรวมขอมูลจากครทู ี่ปรึกษา
- วเิ คราะหผล และรายงานผล
1.5.3 ติดตามผลการชวยเหลอื นกั เรียนกลุมเสยี่ ง / มปี ญหา
- จดั ทาํ เครื่องมือติดตามผล
- เก็บรวบรวมขอมูลจากครทู ่ีปรึกษา
- วิเคราะหผล และรายงานผล
1.5.4 จัดทําสารสนเทศและรายงานผล
- รวบรวมงานตา ง ๆ ท่ที ําในแตละขนั้ ตอนของการ
ดาํ เนินงานแนะแนว
- สรุปสถติ ิ และจัดทํา สารสนเทศของงานทุกขนั้ ตอนใน
แตล ะปก ารศึกษา
- รายงานผล
- นาํ สารสนเทศท่ไี ดไปใชในการปรบั ปรงุ และพัฒนางานใน
ขั้นตอนตาง ๆ
30
2. งานจัดกจิ กรรมแนะแนว เปนการจดั กจิ กรรมแนะแนวเพอื่ พัฒนานักเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีขอบขา ยการจัดกจิ กรรม 3 ดาน คอื แนะแนวการศึกษา
แนะแนวอาชีพและแนะแนวสว นตวั และสงั คม
ข้นั ตอนการดําเนินงาน วธิ ีการดําเนินงาน
2.1 ขนั้ กาํ หนดเปา หมาย 2.1.1 ศกึ ษาวเิ คราะหสภาพปญ หา ความตอ งการ ความสนใจ
2.2 ขั้นตอนทาํ แผน ธรรมชาตขิ องนกั เรียน
2.1.2 วิเคราะหส มรรถนะสําคัญของนักเรียน คุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคของหลักสตู รและของโรงเรียน
2.1.3 ศกึ ษาวิสยั ทัศนของสถานศึกษา และวิเคราะหขอ มูลของ
นักเรียนเปนรายบคุ คล
2.1.4 ศกึ ษาวตั ถุประสงคของกิจกรรมแนะแนวตามหลกั สูตร
2.1.5 สอบถามความตองการของผปู กครองเก่ยี วกบั เร่อื งท่ีควร
จดั การแนะแนว
2.2.1 กาํ หนดสดั สว นของกจิ กรรมแนะแนวใหค รอบคลมุ ดาน
การศกึ ษา ดานอาชีพ ดา นสว นตัวและสงั คม โดยยึดสภาพ
ปญหา ความตองการ ความสนใจ ตลอดจนธรรมชาติ
ของนักเรยี นและเปาหมายของสถานศกึ ษา โดยครู ผูปกครอง
และนกั เรียนมีสว นรว ม
2.2.2 กาํ หนดวัตถปุ ระสงคการจัดกิจกรรมแนะแนวของสถาน
ศึกษาเปนระดับการศึกษา และชนั้ ป
2.2.3 ออกแบบการจดั กิจกรรมแนะแนว ประกอบดวย
ซอ่ื กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค พฤติกรรมนกั เรียน หลักฐาน
การทาํ กิจกรรม (ภาระงาน/ชิ้นงาน) วธิ กี ารจดั กจิ กรรม
วธิ ีการประเมนิ ผล ภาคเรยี นและจาํ นวนเวลาท่จี ัดกจิ กรรม
แนะแนว
2.2.4 จดั ทําแผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวรายชัว่ โมง
ประกอบดว ย ชอ่ื กจิ กรรม เวลา จดุ ประสงคการเรยี นรู
สาระสําคัญ ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธีการจดั กิจกรรม สอ่ื /
อปุ กรณ และการประเมนิ ผล
ข้นั ตอนการดําเนินงาน 31
2.3 ขน้ั จัดกจิ กรรมแนะแนว
วธิ กี ารดาํ เนินงาน
2.4 ขัน้ ประเมินผล 2.3.1 ดําเนินการใชแ ผนจดั การเรยี นรู
1) เตรยี มการจดั กิจกรรมและเตรียมส่ือการสอน
2) จดั กิจกรรมตามแผนการเรยี นรทู วี่ างไว
3) บันทกึ หลังการสอน ในหวั ขอ ตอไปนี้
- บรรยากาศการเรยี นรู (ความสนใจ การมีสวน
รว ม)
- ผลการเรยี นรูของนักเรยี น
- ปญหา/อุปสรรค
- ขอ ควรปรับปรุงแกไข
2.4.1 ประเมนิ ผลการผา น / ไมผ า นจดุ ประสงคเปนรายบุคคลใน
แตล ะแผนการจัดการเรยี นรู
1) ในกรณนี ักเรยี นไมผ านจุดประสงค จดั กระบวนการ
แกไข/พัฒนาตามสภาพปญหา
2) นกั เรียนที่ผา นจุดประสงค สง เสรมิ ใหม ีพัฒนาการ
เพมิ่ ข้นึ ดว ยวธิ กี ารตา ง ๆ เชน
- ใหศึกษาเพมิ่ เติมจากแหลงเรยี นรูอน่ื ๆ
- ใหจ ดั ทําผลงาน และนําเสนอผลงาน
2.4.2 ประเมนิ ผลและตดั สินผลการเขา รวมกจิ กรรม
1) ประเมนิ ผลการเขารวมกิจกรรมแนะแนวของนักเรยี น
เปน รายบุคคล ตามเกณฑก ารวัดประเมนิ ผล
2) ดาํ เนินการใหน ักเรียนซอมกจิ กรรม กรณีไมผาน
เกณฑการประเมนิ ผล
3. งานประสานระบบดูแลชวยเหลอื นักเรียน เปน การทํางานประสาน เอือ้ อํานวยและชวยเหลือครูทปี่ รึกษา
ในการดําเนินงานในแตละขัน้ ตอนของระบบดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน สาํ หรับโรงเรียนวชั รวทิ ยามหี ัวหนาระบบ
ดแู ลชว ยเหลอื นักเรยี นเปนผูร บั ผิดชอบโดยตรง(นางศิรนิ าถ บญุ มี)สว นครแู นะแนวทําหนาทป่ี ระสานตามที่
หวั หนา ระบบดแู ลชวยเหลอื นกั เรียนรองขอ
32
2. กจิ กรรมนักเรยี น
2.1.1 กจิ กรรมลกู เสือ - เนตรนารี
หลกั สตู รกจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน
จดุ ประสงค
เพ่อื ใหผ ูเรียนมพี ัฒนาการทางกาย สตปิ ญ ญา จิตใจ และศลี ธรรม ใหเ ปน พลเมืองดี มคี วาม
รบั ผดิ ชอบ ชวยสรา งสรรคสังคมใหมีความเจริญกาวหนา ความสงบสุข และความม่ันคงของประเทศชาติ จึง
ตองปลูกฝงใหม ีคุณลักษณะดังน้ี
1. มีความรู ความเขา ใจ และสามารถปฏบิ ตั ิตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือ
สามญั รุนใหญ
2. มที ักษะการสังเกต จดจาํ การใชมอื เครื่องมือ การแกปญหา และทักษะในการทาํ งาน
รว มกับผูอ น่ื
3. มีความซ่ือสัตยส ุจริต มีความกลาหาญอดทน เช่อื ม่นั ในตนเอง มรี ะเบยี บวนิ ัย มีความ
สามคั คี เหน็ อกเห็นใจผูอ่นื มีความเสยี สละ บําเพ็ญตนเพ่ือสาธารณะประโยชน
4. มีการพฒั นาตนเองอยูเสมอ สรา งสรรคง านฝม ือ สนใจและพัฒนาเรื่องของธรรมชาติ
33
หลกั สูตรลกู เสือสามัญรนุ ใหญ ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 1
กจิ กรรม หัวขอเน้ือหา
1. แสดงวาเขา ใจเร่ืองราวตอ ไปน้ีพอสมควร
เครอ่ื งหมายลูกเสือโลก
(สอบไดภ ายใน6 เดือน) 1.1 กจิ การของคณะลกู เสือแหง ชาติ
1.2 กจิ การของคณะลูกเสอื โลกและความสัมพนั ธระหวางลูกเสือนานาชาติ
1.3 บทบาทของตนเองในฐานะทเี่ ปน ลกู เสือสามัญรุนใหญ
2. ยอมรบั และปฏบิ ตั ติ ามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสอื
3. เขาใจเรอ่ื งระเบียบแถวและปฏิบตั ิตามหนังสือ คูมือการฝกระเบียบแถว ลกู เสอื
ของสํานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง ชาติ
4. กางและรือ้ เตน็ ททีพ่ ักแรมในเวลากลางคนื กับลกู เสือสามัญรนุ ใหญ อีกคนหน่งึ
5. สาธติ การบรรจุเครอ่ื งหลังอยา งถูกตอง สาํ หรบั การเดินทางไกลไปพักแรมคาง
คืน
6. กอและจุดไฟกลางแจง แลว ปรุงอาหารอยา งเพียงพอสาํ หรบั 2 คน
7. สามารถอา นและใชแ ผนท่ี เข็มทิศและรูจักบริเวณที่ตนอยู โดยพิจารณาจากเข็ม
ทิศและสิง่ แวดลอมทม่ี องเหน็ ดวยตาเปลา
8. สามารถผูกและรูจ ักประโยชนเ งอื่ น 10 เงื่อนตอไปน้ี คือ เง่ือนพริ อด เง่ือน
ขดั สมาธิ เง่อื นผูกกระหวดั ไม เง่ือนบว งสายธนู เง่อื นตะกรุดเบด็ เงอื่ น
ประมง เงือ่ นผูกซงุ เงอื่ นผกู รั้ง เงอื่ นปมตาไก และการผูกแนน (ผกู ทแยง ผูก
กากบาท ผกู ประกบ)
9. รูวธิ ปี ฏบิ ัตเิ กยี่ วกับการปฐมพยาบาลในเร่ืองตอไปน้ี คอื บาดแผลธรรมดา ถูกไฟ
ไหม นํา้ รอนลวก เปน ลม งูกัด แมงมุมกดั แมลงกัดตอย ผวิ หนงั ถลอกและ
เทา แพลง
10. รูเ รอ่ื งทีพ่ ึงระมัดระวังเพื่อความปลอดภัยทัว่ ไปเกี่ยวกับกิจกรรมของลูกเสือ
สามญั รนุ ใหญ
เครอ่ื งหมายวิชาพเิ ศษ เรยี นนอกเวลาหรือเรยี นในเวลาในภาคเรียนที่ 2 หรือใชว ธิ บี รู ณาการเขากบั กลุมสาระ
(76 วิชา) การเรียนรู
34
หลกั สูตรลกู เสือสามัญรนุ ใหญ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2
กิจกรรม หวั ขอเนื้อหา
เครอ่ื งหมายลกู เสอื ชนั้ พิเศษ ผูที่เขาเกณฑไดร บั เครื่องหมายลกู เสือชน้ั พเิ ศษ จะตอ งมีคณุ สมบตั ิ
(สอบไดภายใน1 ป และเขา พิธปี ระจาํ กอง ดงั นี้
แลว หลังจากไดรับเครื่องหมายลกู เสือ
โลก) 1. ไดรับเครื่องหมายลูกเสือโลก
2. สอบวิชาพืน้ ฐานระดบั ลูกเสือชน้ั พิเศษได 5 วชิ า คอื วชิ าการ
เครื่องหมายวชิ าพิเศษ เดนิ ทาง สาํ รวจ วิชาการบริการ และวชิ าอ่ืนอีก 3 วชิ า ซ่งึ
(76 วชิ า) ลูกเสือเปน ผูเ ลอื ก
3. ผา นการฝกอบรมวิชาความคิดรเิ ร่มิ ( Initiative Course) ซึ่งตอ ง
ประกอบดว ย ไปอยูคา ยพักแรมเปน เวลา 1 คืน
การไปอยูคายพกั แรมตองเดินไปยังทอ งถ่ินที่ลกู เสอื ไม
คุน เคย จํานวนลูกเสอื สามัญรุนใหญทีจ่ ะไปอยูคา ยพกั แรม ควร
แบงเปน ชุด ๆละ 4 คน
การเดนิ ทางไกลตองมรี ะยะทางอยา งนอย 8 กโิ ลเมตรและ
ในระหวา งการเดินทางใหส มมติวา มเี หตฉุ กุ เฉินเกดิ ข้ึน
อยางนอย 5 อยา ง เชน ชวยเหลอื ผูประสบภยั หรือมผี ตู ดิ อยูใ นท่ี
สงู การใชเ ขม็ ทิศ การปฏบิ ัตงิ านในเวลากลางคนื การแปลรหสั และ
เหตุฉกุ เฉินทางน้าํ เปนตน เหตฉุ ุกเฉินเชน วา น้ี ใหเวนระยะหา งกัน
พอสมควรและลูกเสือจําเปน ตองม่ีความรูเรื่องแผนท่แี ละเข็มทิศ
จงึ จะสามารถเดินทางไปถึงจดุ หมายปลายทางได
การฝกอบรมวชิ าความคิดริเรมิ่ นตี้ องมีลักษณะเปนการ
ทดสอบอยางจริงจงั ในเรื่องของความต้งั ใจจรงิ ความคดิ ริเร่ิม และการ
พึง่ ตนเอง (Self-reliance)
4. คณะกรรมการดําเนินงานของกองและผูกํากบั เหน็ วาเปน ผทู ่ี
สมควรไดร บั เครื่องหมายลูกเสอื ชนั้ พเิ ศษ
5. ไดร บั อนมุ ัตจิ ากเลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหง ชาติ
หรือผอู าํ นวยการลูกเสอื จังหวัดแลวแตก รณี
เรียนนอกเวลาหรือเรยี นในเวลาในภาคเรยี นที่ 2 หรอื ใชว ธิ ี บรู ณาการ
เขากบั กลมุ สาระการเรยี นรู
35
หลกั สูตรลกู เสือสามัญรุนใหญ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3
กจิ กรรม หัวขอเนอ้ื หา
เครื่องหมายลูกเสอื หลวง (สอบได6 เดือน) ผทู เี่ ขา เกณฑไดร บั เครอ่ื งหมายลูกเสือหลวง จะตองมีคณุ สมบตั ดิ ังน้ี
1. ไดร ับเครอ่ื งหมายลกู เสือชน้ั พิเศษ
2. สอบไดว ิชาพื้นฐานในระดับลกู เสือชั้นพิเศษ 3 วชิ า ซึ่งไมอ ยูในวิชา
พื้นฐาน 5 วิชาทีส่ อบไดเ ม่อื ขอรับเครื่องหมายลูกเสือชัน้ พิเศษ
3. สอบไดว ชิ าบริการและวิชาพนื้ ฐานอีก 3 วิชา ในระดบั ลูกเสือหลวง
4. ผานการฝก อบรมวิชาการเปนผูนํา ตามหลกั สูตรทก่ี าํ หนดไว
5. คณะกรรมการดําเนินงานของกองและผกู ํากบั เหน็ วาเปนผูทปี่ ฏิบัติ
ตนเปนตวั อยา งที่ดีตามวธิ ีการของลูกเสอื และสมควรไดร บั เครือ่ งหมา
ลูกเสอื หลวง
6. เลขาธกิ ารคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหงชาตหิ รือผูอาํ นวยกา
ลูกเสอื จังหวดั แลวแตก รณี เปนผแู ตงตั้งบคุ คลท่ีมีวุฒเิ หมาะสมทาํ การ
สมั ภาษณ เมอ่ื เหน็ วา เปน ผูเ หมาะสมแลว ใหรายงานตอไปตามลาํ ดับ
จนถึงคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหงชาติพจิ ารณาอนุมัติ และให
ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาตเิ ปนผูลงนามใน
ประกาศนียบตั รแสดงวา เปนผูไดร ับเคร่ืองหมายลูกเสอื หลวง
เครอื่ งหมายวชิ าพิเศษ เรยี นนอกเวลาหรอื เรียนในเวลาในภาคเรียนที่ 2 หรอื ใชวิธบี รู ณาการ
(76 วิชา) เขากับกลมุ สาระการเรยี นรู
36
แนวการจดั กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารีของโรงเรียนวัชรวิทยา
การจดั กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารีโรงเรียนวชั รวิทยา ไดแ บงหนา ทร่ี ับผิดชอบการจดั กจิ กรรมดังน้ี
- ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 1 ไดแก ครทู ี่ปรึกษาระดับชนั้ ม.1/1 – ม.1/10
ครทู ป่ี รกึ ษาระดับชนั้ ม.4/1 – ม.4/5
- ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 2 ไดแก ครทู ี่ปรึกษาระดับชน้ั ม.2/1 – ม.2/10
ครทู ี่ปรึกษาระดบั ช้ัน ม.5/1 – ม.5/5
- ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 3 ไดแ ก ครทู ีป่ รึกษาระดับชัน้ ม.3/1 – ม.3/10
ครูท่ีปรกึ ษาระดับชน้ั ม.6/1 – ม.6/5
โดยการจดั กจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารขี องแตละระดับช้ันมีการเปด ประชมุ กองทุกครั้ง กอ นที่จะ
มกี ารปฏิบตั ิกิจกรรมเพ่ือเปนการฝก ความมรี ะเบียบวนิ ัยในตนเอง โดยปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนดงั น้ี
1. พิธีเปด (เชญิ ธงขึ้น สวดมนต สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
2. เกมหรือเพลง ทําใหเกิดความสนกุ สนาน เปนการอบอนุ รา งกายกอ นปฏบิ ัตกิ ิจกรรม อาจใชอ ยา งใด
อยา งหนงึ่ หรอื ทัง้ สองอยา ง ซ่ึงบางครัง้ ไมจ ําเปน จะตอ งสอดคลองหรอื สัมพนั ธกบั เนือ้ หาเสมอไป
3. การปฏบิ ัติกิจกรรม เนนการปฏบิ ตั ิเปนฐาน โดยใชระบบหมเู พื่อสะดวกตอการเรยี นการสอน
ตลอดจนการควบคุมดูแล ตรวจสอบและใหคาํ แนะนาํ แกไข
4. การเลาเร่ืองสนั้ ท่เี ปนประโยชน ควรเนนเรื่องงาย ๆและสรปุ ใหลกู เสือเขาใจวามีประโยชน
อยางไร สว นใหญจะเปน เร่ืองของคุณธรรมตาง ๆ เชน ความสามัคคี ความซ่ือสตั ยส ุจรติ ความเสียสละ ความกลา
หาญอดทน ฯลฯ
5. พิธีปด (นัดหมาย ตรวจ เชิญธงลง เลิก)
37
การวัดประเมนิ ผลกจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี
การวัดผลและประเมนิ ผลกจิ กรรมลกู เสือมี 2 กจิ กรรม คือ
1. กิจกรรมบงั คบั เปนการวัดผลและประเมินผลเพื่อใหลกู เสือ- เนตรนารีผานจบหลกั สตู ร โดยการ
เขา รวมกิจกรรมพฒั นาผูเ รยี นและผานการประเมินผลตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนดและมกี าร
วัดผลตลอดภาคเรียน โดยการ
1.1 สังเกต
1) ความสนใจ
2) การเขารวมกจิ กรรม
1.2 ซักถาม
1.3 การทดสอบทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติ
2. วิชาพเิ ศษ เปนการวัดผลและประเมนิ ผลในแตล ะวิชา โดยการทดสอบท้ังภาคทฤษฎแี ละ
ภาคปฏิบตั ิ และใชเกณฑด งั นี้
2.1 ผา น(ผ)
2.2 ไมผา น (มผ)
กิจกรรมการอยูคา ยพกั แรมของลูกเสือ-เนตรนารี
การอยูค ายพักแรม เปน หัวใจของลูกเสอื ลูกเสือทกุ คนตา งกม็ ีโอกาสทจี่ ะอยคู ายพัก
แรม เนอื่ งจากตามขอ บงั คบั ของคณะลกู เสือแหง ชาติ วา ดว ยการปกครองหลักสตู รและวชิ าพเิ ศษลูกเสือ
พ.ศ.2509 ขอ 273 -279 กําหนดไววา ใหผกู าํ กับกลมุ หรอื ผกู ํากับลูกเสือนําลูกเสือไปฝกเดินทางไกลและ
แรมคนื ในปหน่ึงไมน อยกวา 1 คร้งั ครง้ั หน่งึ ใหพกั แรมอยางนอย 1 คนื
การเดนิ ทางไกลและแรมคืน มวี ัตถุประสงคเ พื่อฝก ใหล กู เสือมีความอดทน อยูในระเบยี บวินัย รจู ัก
ชว ยตวั เอง รจู ักอยแู ละทาํ งานรว มกบั ผูอ ่นื ตลอดจนเรียนวชิ าลูกเสือเพม่ิ เติม ผบู ังคับบัญชาลกู เสอื
จาํ เปน ตองวางแผนนําลูกเสอื ไปเดินทางไกลและแรมคนื ไวใ หพ รอมกอนและเนิน่ ๆ ดังนน้ั บทบาท
ผูบังคบั บัญชาลกู เสือที่มีหนาท่ีรับผดิ ชอบตอลูกเสือ ตองานการอยูคายพักแรมและตามหนาท่ีของตนเอง จงึ
จาํ เปน ตอ งหาโอกาสใหล ูกเสือของตนไดมีโอกาสในการอยูคายพักแรมเสมอ
อนง่ึ ผูบงั คับบัญชาลกู เสอื ตองเขา ใจวา กจิ กรรมการอยูคา ยพกั แรมน้ี เปน กิจกรรมสาํ หรบั เดก็
มใิ ชกิจกรรมของผูใหญ ความสาํ เร็จคือกจิ กรรมที่ตอบสนองความตองการของเด็ก ไดแก การผจญภยั
การไดเ พ่ือน ไดเรียนรูส ง่ิ ใหม ไดความสนกุ และความสุข พรอ มทงั้ เกดิ ทศั นคติทีด่ ีตอ การไปอยูคาย
พกั แรมดวย ถอื วา สง่ิ น้ีเปนจุดหมายที่สําคัญ
38
วิชาพเิ ศษลกู เสือ
ลูกเสือทั้ง 4 ประเภท ที่เรยี นหลักสตู รกิจกรรมลูกเสือสํารอง ลกู เสือสามัญ ลกู เสือสามัญรนุ
ใหญ และลูกเสือวสิ ามัญ อาจสอบวิชาพเิ ศษไดตามหลักสตู รท่ีกาํ หนดไว วิชาเหลา นี้มงุ หมายใหล ูกเสอื ได
แสดงออก ซงึ่ ทักษะและความสนใจของตนเองกับเพ่ือใหไดมีสว นในการปฏบิ ัติกจิ กรรมรวมกับลูกเสืออ่ืนๆดว ย
โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี
เครื่องหมายวชิ าพเิ ศษลูกเสือ ประเภทสามัญรนุ ใหญ 76 วชิ า
1. นกั ผจญภัย 2. นักดาราศาสตร 3. นักอตุ ุนยิ มวทิ ยา 4. ผจู ดั การคายพักแรม
5. ผพู ิทักษปา 6. นักเดนิ 7. หวั หนาคนครวั 8. นกั บกุ เบิก
9. นกั สะกดรอย ทางไกล 12. นกั ดบั เพลงิ
13. นักสัญญาน 10. นักธรรมชาติวทิ ยา 11. การสื่อสารดว ย 16. นกั สะสม
ยานพาหนะ
14. นกั สารพัด 15. นกั
ชา ง โบราณคดี
17. นกั ดนตรี 18. นกั ถายภาพ 19. นักกฬี า 20. นกั กรฑี า
21. นกั พิมพด ีด 22. นกั แสดงการบันเทิง 23. นกั ยิงปน 24. ลา ม
25. หนา ที่ 26. มัคคุเทศก 27. บรรณารักษ 28. เลขานกุ าร
พลเมือง
29. พลาธกิ าร 30. ผชู วยการจราจร 31. ชา งเขียน 32. ชา งไฟฟา
33. ชา ง 34. ชา งแผนที่ 35. ชางเครื่องยนต 36. อเี ล็กทรอนิกส
วิทยุ 38. การฝม อื
39. การชว ยผูป ระสบภยั 40. การสาธารณสขุ
37. การหา
มติ ร
41. การพยาบาล 42. การพดู ในท่ี 43. การอนุรักษ 44. การประชา
45. การสงั คมสงเคราะห สาธารณะ ธรรมชาติ สัมพันธ
46. การพฒั นาชมุ ชน 47. ชาวประมง 48. ตน เดน
39
49. ผูนํารอ ง 50. นักเลน 51. นกั วาย 52. นักพายเรือ
เรอื ใบ
53. นกั กระเชยี ง 54. กลาสเี รือ นาํ้
เรือ
58. การดาํ รงชีพในทะเล 55. การควบคุมการจราจร 56. การปองกนั ความ
57. การเรือ
ทางนํา้ เสียหายและดบั เพลิง
ไหมบนเรอื
59. เครื่องหมายชาวเรอื 60. เคร่ืองหมายเชดิ ชู
เกยี รติลูกเสอื เหลา
สมทุ ร
61. นักเคร่อื งบินเลก็ 62. ชา งอากาศ 62. ชา งอากาศ 63. ยามอากาศ
64. การควบคมุ การจราจรทาง 65. การควบคุมการจราจรทาง 67. การฝกเปน
อากาศเบ้ืองตน อากาศ 66. การชวยเหลอื ผูนํา
ผูประสบภยั และดับเพลงิ
68. นักปฏิบตั ิการทางจิตวิทยา 69. การขนสง ทางอากาศ อากาศยาน 71. เสนา
(ปจว.) รกั ษ
70. แผนที่ทหารและเข็ม
ทิศ
72. การดาํ รงชพี ในถิน่ 73. นกั ไตผา 74. เครือ่ งหมายการบนิ 75. เครื่องหมายเชดิ ชู
ทรุ กนั ดาร เกยี รตลิ กู เสือเหลา
อากาศ
75. เครอื่ งหมายเชดิ ชูเกยี รติ 76. เครอื่ งหมายผฝู กสอน
ลกู เสือเหลาอากาศ
แนวปฏบิ ัติการสอบวชิ าลูกเสือพิเศษ
การสอบวิชาพิเศษลูกเสือ มีแนวปฏิบัติท่ีสาํ คัญ ดงั นี้
1. ทาํ การสอบวชิ าพิเศษโดยใชเวลานอกเหนือจากจากทลี่ ูกเสือเขา รวมกิจกรรมตามปกติหรือ
ในขณะอยูคา ยพักแรม นอกจากน้ี ลูกเสอื อาจใชเ วลาวา งของตนเองทําการฝกฝนทักษะตา ง ๆ ของวิชา
พเิ ศษ แลวทําการขอสอบหรือสง รายงานผลการปฏิบตั ิงานของรายวิชานัน้ แกผูกาํ กับลูกเสอื เพ่ือขอประดบั
เครอ่ื งหมาย การสอบจะจัดใหม ขี ้นึ ปละก่คี รั้งก็ได โดยเนนการปฏบิ ัตจิ รงิ เม่อื สอบผานแลว ใหผกู าํ กับลงนาม
รบั รองในสมดุ ประจาํ ตวั ลกู เสือ
2.วชิ าพิเศษลูกเสือวชิ าใดที่มเี น้อื หาสมั พันธกบั กิจกรรมที่ลูกเสอื เขารวมตามปกติ ก็ใหนาํ ไป
บรู ณาการ รวมทั้งทาํ การสอบภาคปฏบิ ตั ขิ องวชิ าพิเศษนั้นๆ และใหถือวาลูกเสือทผ่ี า นการสอบแลวมสี ิทธิ
40
ประดบั เครื่องหมายวิชาพเิ ศษนนั้ ดวย
3. ใหโ รงเรยี นเปนผดู ําเนินการขอซื้อเครื่องหมายวชิ าพิเศษลูกเสอื ตามจาํ นวนทีล่ ูกเสือไดรบั จา
รา นคา ขององคก ารคาของครุ ุสภา
4. สาํ หรับวิชาพเิ ศษลูกเสอื ใหใ ชขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติ วา ดวยการปกครองหลกั สูตรและ
วิชาพิเศษลกู เสือสามญั รนุ ใหญ( ฉบับท่ี 14) พ.ศ.2528
41
2.1.2 กิจกรรมนกั ศึกษาวิชาทหาร
แนวทางการจดั กจิ กรรมนักศึกษาวิชาทหารโรงเรียนวชั รวทิ ยา ดําเนนิ การโดยผูเรยี นสมคั รเขา
รวมกิจกรรมนักศกึ ษาวิชาทหารในลกั ษณะของกิจกรรมชุมนุม ชมรม โดยมคี ุณลักษณะและคุณสมบัติ ดงั น้ี
1.เปนชายหรอื หญิงที่มสี ญั ชาติไทย
2.ไมพ กิ าร ทุพพลภาพ หรอื มีโรคซ่ึงไมสามารถจะรบั ราชการทหารได ตามกฎหมายวาดวยการรบั
ราชการทหาร
3.มีขนาดรอบตวั น้าํ หนกั และความสูงตามสวนสมั พนั ธ ดงั นี้
ชาย หญงิ
อายุป ความขยายของอก นาํ้ หนกั ความสูง น้าํ หนกั ความสูง
หายใจเขา หายใจออก (กก.) (ซม.) (กก.) (ซม.)
ไมเ กนิ 15 75 72 42 155 41 148
16 76 73 44 156 42 149
17 77 74 46 158 43 150
18 78 75 48 160 44 151
19 ถงึ 22 79 76 49 161 45 152
4.มคี วามประพฤติเรียบรอย
5.กําลงั ศกึ ษาอยใู นสถานศึกษาท่ีหนวยบัญชาการกาํ ลังสํารองเปดทําการฝก วิชาทหาร
6.สาํ เร็จการศกึ ษาตงั้ แตช น้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 หรือเทยี บเทา ขึน้ ไป และมีผลการศกึ ษาของ
ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 หรอื เทียบเทา ต้งั แต 1.00 ข้ึนไป หรือนักเรียนท่เี คยเปน ลูกเสือสามัญรุนใหญ และ
สอบไดวิชาพิเศษไมน อยกวา 8 วชิ า จะตองมีผลการศึกษาของมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 หรือเทียบเทาไมตํ่ากวา 1.5
เวนแตผูซงึ่ สําเร็จการศึกษาต้ังแตม ธั ยมศึกษาปท่ี 3 หรือเทียบเทาขึน้ ไปและกาํ ลงั ศึกษาอยูในโรงเรียนชางฝม ือ
ทหารของกระทรวงกลาโหม หรือกาํ ลังศึกษาอยูในโรงเรยี นตาทกี่ ระทรวงกลาโหมกาํ หนด ไมต องมผี ล
การศึกษาของชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 หรือเทยี บเทา ตามที่กองทพั บกกาํ หนด
42
7.นักศึกษาวิชาทหารจะตองผานการทดสอบสมรรถภาพรางกายตามท่กี าํ หนด ดังนี้
7.1.1 ลุก-นง่ั 34 ครัง้ ภายในเวลา 2 นาที
7.1.2 ดนั พน้ื ที่ 22 คร้ัง ไมจ ํากัดเวลา
7.1.3 ว่ิงระยะทาง 800 เมตร ใชเวลาไมเ กนิ 3 นาที 15 วินาที
8.นักศึกษาหญิง จะตองผา นการทดสอบสมรรถภาพทางรางกายตามที่กาํ หนด ดงั นี้
8.1.1 ลุก-น่งั 25 ครั้ง ภายในเวลา 2 นาที
8.1.4 ดันพน้ื ที่ 15 ครั้ง ภายในเวลา 2 นาที (เดิมไมจ าํ กดั เวลา)
8.1.6 วงิ่ ระยะทาง 800 เมตร ใชเ วลาไมเ กิน 4 นาที (เดิม 5 นาท)ี
เง่อื นไข
1.เปน ผเู รียนท่ศี ึกษาอยใู นระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
2.สถานศกึ ษาท่เี ปดรบั นักศึกษาวิชาทหาร ตองไดร ับอนุมัติจากหนวยบญั ชาการกําลังสํารอง
กองทัพบก กระทรวงกลาโหม
3.การจัดกจิ กรรมนักศึกษาวชิ าทหารในสถานศึกษากอนจะมีการปฏิบัตกิ จิ กรรมควร มีการปฏิบตั ิดังน้ี
พิธเี ปด รวมพลเขาแถวตอน ชกั ธงชาตขิ ึ้นสวดมนต ปฏญิ านตน และแยกแถวทาํ กจิ กรรม
พิธปี ด รวมพลเขาแถวตอน นดั หมาย ชักธงชาติลง และเลิก
4.เวลาในการเขารว มกจิ กรรม สถานศึกษาอาจจดั เวลาไดตามความเหมาะสม สาํ หรบั การฝก
ภาคสนามสถานศึกษาควรสง เสรมิ ใหม ีการฝกโดยใชเวลาเรียนปกตหิ รือนอกเวลาเรยี นไดตามความเหมาะสม
5.ผกู าํ กับนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร ตอ งผา นการฝกอบรมหลกั สตู รของกองบัญชาการสาํ รองกองทัพบก
กระทรวงกลาโหม
6.การขอเปด สถานศึกษาวิชาทหาร การฝก การสอบ และการปกครองใหเปน ไปตามระเบียบของ
หนวยบัญชาการกาํ ลงั สาํ รอง กองทพั บก กระทรวงกลาโหม
43
การประเมนิ ผลกิจกรรม
การประเมินผลกิจกรรม เปน กระบวนการทดสอบความสามารถและพฒั นาการดานตางๆ ของ
นกั ศกึ ษาวิชาทหาร ซ่งึ นอกจากพิจารณาความรูตามทฤษฎแี ลว ยงั ตอ งพิจารณาดานความประพฤติ พฤตกิ รรม
เขารวมกิจกรรมท่ีเนน ทักษะและการปฏบิ ตั ติ า งๆ ดว ยวิธีการประเมนิ ทห่ี ลากหลายและการประเมินตามสภาพ
จรงิ โดยกําหนดเกณฑก ารประเมนิ เปน “ผา น” และ “ไมผ าน”
ผาน หมายถงึ ผเู รียนมเี วลาเขารวมกจิ กรรมครบตามเกณฑป ฏิบัตกิ จิ กรรม
และมผี ลงาน/ช้ินงาน/คุณลักษณะตามเกณฑ ทส่ี ถานศึกษากําหนด
ไมผ า น หมายถงึ ผูเรยี นมเี วลาเขา รว มกิจกรรมไมครบตามเกณฑ ไมผา น การปฏบิ ัติกิจกรรม
หรือมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะไมเปนไปตามเกณฑทส่ี ถานศึกษากําหนด
44
2.2 กจิ กรรมชุมนมุ /ชมรม
กจิ กรรมชุมนุม / ชมรม
การจดั กจิ กรรมชุมนุม ชมรม
วตั ถุประสงค์ของกจิ กรรมชุมนุม ชมรม
สมรรถนะสําคญั คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
5 ประการ 8 ประการ
กิจกรรมที่จดั ตาม กิจกรรม กิจกรรมท่ีจดั เสริม
ความสนใจของ ชุมนมุ หลกั สูตร
ชมรม
ผเู้ รียน สถานศึกษาในดา้ น
ความรู้และทกั ษะ
กิจกรรมที่จดั ได้ ปฏิบตั ิของผเู้ รียน
ท้งั ในและนอก
สถานศึกษา กิจกรรมท่ีจดั ได้
ท้งั ในและนอก
เวลาเรียน
กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม เปนกจิ กรรมท่ผี เู รียนรวมกลมุ กันจัดขน้ึ ตามความสมคั รใจ ความถนัด และความ
สนใจของผเู รยี น เพอ่ื เติมเตม็ ความรู ความชํานาญ ประสบการณ ทักษะ เจตคตเิ พือ่ พฒั นาตนเองตามศักยภาพ
45
หลกั การ
กิจกรรมชุมชุม ชมรม มหี ลักการทีส่ ําคัญดังน้ี
1.เปน กิจกรรมที่เกิดจากการสรา งสรรคแ ละออกแบบกจิ กรรมของผูเรยี นตามความสมคั รใจ
2.เปน กิจกรรมที่ผเู รยี นรวมกันทํางานเปนทีม ชวยกนั คิด ชว ยกนั ทํา แกป ญ หา
3.เปนกจิ กรรมทีส่ ง เสริมและพฒั นาศักยภาพของผเู รียน
4.เปนกิจกรรมท่เี หมาะสมกบั วัยและวุฒิภาวะของผูเรยี น รวมทั้งบรบิ ทของสถานศึกษาและทองถ่นิ
วตั ถุประสงค
1.เพอื่ ใหผเู รียนไดปฏิบัติกจิ กรรมตามความสนใจ ความถนัด และความตองการของตน
2.เพ่อื ใหผ เู รียนไดพัฒนาความรู ความสามารถดา นการคิดวิเคราะห สงั เคราะหใหเ กิดประสบการณ
ทางดา นวิชาการและวชิ าชีพตามศกั ยภาพ
3.เพอื่ สง เสริมใหผ เู รียนใชเวลาใหเ กิดประโยชนตอตนเองและสว นรวม
4.เพ่อื ใหผ ูเ รียนทํางานรวมกับผูอื่นไดต ามวถิ ปี ระชาธิปไตย
ขอบขา ย
กจิ กรรมชุมชมุ ชมรม มีขอบขายดงั น้ี
1.เปนกจิ กรรมจดั ตามสมคั รใจ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน
2.เปน กิจกรรมทจ่ี ัดเสริมหลกั สูตรสถานศกึ ษาในดานความรแู ละทกั ษะปฏบิ ตั ิ ของผูเรียน
3.สามารถจดั ไดทง้ั ในและนอกสถานศึกษา ทง้ั ในเวลาและนอกเวลาเรียน
แนวการจดั กจิ กรรมชุมนุม ชมรม
การจัดกจิ กรรมชุมนมุ ชมรมของโรงเรยี นวชั รวิทยา ไดด ําเนินการ ดงั น้ี
1.ใหผ เู รยี นสามารถเลอื กปฏิบตั กิ จิ กรรมไดหลากหลายทั้งรูปแบบภายในหรอื ภายนอกหองเรยี น และ
ระยะเวลาการจัดกิจกรรม เชน กจิ กรรมระยะเวลา 1 ภาคเรียน กจิ กรรมระยะเวลา 1 ปการศกึ ษา และ
กจิ กรรมระยะเวลามากวา 1 ปการศึกษา
2. สาํ รวจความสนใจของผเู รียนในการสมัครเปน สมาชกิ ชุมนมุ /ชมรม
3. ครจู ัดต้งั ชุมนมุ เพ่อื ใหน ักเรียนเลอื กสมคั รเขา เปนสมาชกิ ตามความถนัด และความสนใจ
4. ใหผ ูเรยี นรวมกลมุ กันจัดต้งั ชมรม และเชญิ ครรู วมเปน ที่ปรกึ ษา โดยรวมกันดําเนนิ กิจกรรม ชมรม
ตามระเบยี บปฏบิ ัติทีส่ ถานศึกษากาํ หนด
5.ถอดประสบการณแลกเปล่ียนเรยี นรูและเผยแพรกิจกรรม
6.ครูท่ีปรกึ ษากจิ กรรมประเมินตามหลกั เกณฑการประเมินผล
46
เง่ือนไข
1.การจัดต้งั กิจกรรมชมุ นมุ ชมรม ในแตละระดับชั้น สถานศกึ ษาจดั ใหเ ปน ไปตามโครงสรา งของ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช.2551
2.สมาชกิ ของชมุ นมุ ชมรม ตองเขารว มกจิ กรรม และมผี ลงาน/ช้นิ งาน/คณุ ลักษณะตามทสี่ ถานศึกษา
กําหนด
3.สถานศกึ ษามีระบบการกํากับติดตาม และประเมินผลการดําเนนิ งานของชุมนุม ชมรมอยา งตอ เนื่อง
การประเมนิ ผล
การประเมนิ ผลกิจกรรม เปน กระบวนการทดสอบความสามารถและพัฒนาการดา นตางๆ
ซ่ึงนอกจากพิจารณาความรตู ามทฤษฎแี ละยังตองพิจารณาดานความประพฤติ พฤติกรรมการเขา รว มกิจกรรม
ทเ่ี นนทักษะและการปฏิบัตติ างๆ ดวยวิธกี ารประเมินท่หี ลากหลายและการประเมินตามสภาพจรงิ โดยกาํ หนด
เกณฑการประเมิน “ผา น” และ “ไมผา น”
ผาน หมายถึง ผเู รียนมเี วลาเขารวมกิจกรรมครบตามเกณฑ ปฏิบตั กิ จิ กรรม และมี
ผลงาน/ชน้ิ งาน/คุณลกั ษณะตามเกณฑท ส่ี ถานศกึ ษากําหนด
ไมผ า น หมายถึง ผูเ รียนมเี วลาเขา รว มกจิ กรรมไมครบตามเกณฑ ไมผ าน การปฏบิ ัติกิจกรรม
หรือมีผลงาน/ชนิ้ งาน/คณุ ลักษณะ เปน ไปตามเกณฑท ี่สถานศกึ ษากําหนด
47
ในปก ารศึกษา 2562 งานกิจกรรมพฒั นาผูเรยี นโรงเรยี นวัชรวิทยา มีจํานวนกจิ กรรมชมุ นุม ชมรมตาม
ความสมัครใจ ความถนัด และความสนใจของผเู รยี น รวมท้ังสน้ิ จาํ นวน 69 ชุมนุม/ชมรม โดยมีรายชือ่ ชุมนุม
ชมรม และรายช่ือครูท่ปี รกึ ษา ดังน้ี
รายชือ่ ชุมนมุ /ชมรมสงเสริมวชิ าการ ปการศกึ ษา 2562
ที่ รายช่ือชุมนุม/ชมรม รายช่ือครูท่ปี รกึ ษาชุมนุม/ชมรม
กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย
1 ความถนัดทางภาษาไทย (ม.6) นายปฏญิ ญากร กําเนดิ
2 หองสมดุ (ม.3/6)
3 เฮฮาภาษาไทย (ม.ตน) นางธนิษฐา อนิ ทะสี, นางนฤมล ใจกลา
4 เกมคําคม น.ส.ศศธิ ร ตระกลู พานชิ ย, น.ส.นนั ทดิ า ฉัตรทอง
นางสาวบรรณรกั ษ ทอ นทอง
5 ความถนดั ทางสงั คมศกึ ษา (ม.6)
6 โลกสังคม (ม.ปลาย) กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษาฯ
7 สภานักเรยี น นางนสิ รา วงษบญุ มาก, นายศภุ จิต จนั ทรี
8 มารยาทไทย (ม.ตน ) นางเกษณี สทุ ธศิ าล
9 นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร ชน้ั ป 1 นายภีมพล เหมภูมิ
10 ธนาคารโรงเรียน นางสาวพณิ ญารัตน ทองเหลือง
นายพรชัย โพธ์ิมาก
11 คาํ ศัพทน า รู นางนงนชุ นอยเกิด
12 ความถนดั ทางภาษาอังกฤษ (ม.6)
13 Thai Cooking Club (ม.ตน ) กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ
14 การพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ นางสาวนันทวญั ใยยวง
15 English Trip นางชลธิชา ตรงสกลุ
16 อ.ย.นอ ย (ม.ปลาย) นางสมทรง พันธศ รี
17 Speak English นางชนิศา จริ ะเดชประไพ
18 ความถนดั วชิ าชีพครู (ม.6) นางสาวอษุ ณี สรอ ยเพช็ ร
19 Crossword and Activities นางสาวญาดา สงฆวฒั นะ
นางปานจันทร ภูวิชิต
20 คณติ พชิ ติ มหาลัย (ม.ปลาย) นายมน่ั ชยั ไมห อม
21 โครงงานคณติ ศาสตร นายพงศธร เชียงสีทอง
22 GSP
กลุมสาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร
นายชวลติ เรือนจรัสศรี
นางตองจิตต ทัศนแจมสขุ
นางนนั ชลี ทรัพยป ระเสรฐิ ,นางศลิ าพร รามันพงษ
ท่ี รายชอื่ ชุมนุม/ชมรม 48
23 อัจฉริยภาพทางคณติ ศาสตร รายช่ือครูท่ปี รึกษาชุมนมุ /ชมรม
กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร
24 สนุกคดิ กับคณติ นายชเู กียรติ สุยะลังกา
25 นักศึกษาวชิ าทหาร ชัน้ ปท ี่ 3 นางภคั จิรา กิตติสิรบิ ัณฑิต
26 ปรับพ้นื ฐานคณิตศาสตร (ม.1)
27 ความถนดั ทางคณติ ศาสตร (ม.6) นายแสงทอง นอยเกิด
28 A-math นางสุรชา บุรษุ ศร,ี นางสาวอษุ า บัวบาน
นางสาวภัทราวดี เพม่ิ ประยรู
29 วิทยาศาสตร (ม.1, ม.2) นายเจริญ พลิ ึก
30 สนุกกบั วทิ ยาศาสตร
31 สนกุ กับวิทยาศาสตร (ม.ปลาย) กลุม สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร
32 นักบนิ นอย นางสุวรรณา ปอ มใย
33 นกั ประดิษฐนอย นางอรษา อภริ มยว ิไลชยั
34 ของเลน วิทยศาสตร นางศรวี ิไล บญุ ญอนันตศริ ิ,นางวัลลภา อินหลวง
35 ตอบปญ หาวิทย (ม.ตน) นายสุระศักดิ์ ยอดหงษ
36 วทิ ยค ิดสนุก นายชาตรี ศรมี ว งวงค
37 ดาราศาสตร นางตวงรัตน อนอนิ
38 Chemistry for fun นางเกศินี พงษพนั ธุ
39 ความถนัดทางเคมี (ม.ปลาย) นางนภิ าวดี นว มอินทร
40 คนประดิษฐ นางดวงดาว บดีรัฐ
41 ชีววิทยาพาเพลิน (ม.ปลาย) นางนิรดา ราชบุรี
นางสาวมาลยั ฟองน้วิ ,นางสาวกนกเรขา รกั ษชนม
42 ชางกลึงไม นางสุวิมล กาแกว
43 นักศึกษาวิชาทหาร ชน้ั ปที่ 2 นายธรี วทิ ย เนยี มโภคะ
44 IT กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศึกษาฯ
45 ไฟฟา พาสนุก นายพิศาล คชฤทธ์ิ
46 เลา เรอื่ งจากภาพ นายภูวดล ยิม้ ประดิษฐ
47 เกษตรไทย
48 Elretric กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพฯ
49 สมุนไพรพอเพยี ง ม.ตน นายสุรศกั ด์ิ โพธบิ์ ัลลงั ก
นายสัญญา อนุ พานิชย
นางจิราพร ชยั แสงแกว , นางศรสี กลุ วิบูลยว งศรี
นายศักดิ์ศริ ิ ธรรมบตุ ร
นายประยรู จิระเดชประไพ
นางเรณู โพธจิ์ นั ทร
49
รายชื่อชุมนมุ /ชมรมสงเสริมนันทนาการ ปการศกึ ษา 2562
ท่ี รายชือ่ ชุมนุม/ชมรม รายช่อื ครทู ่ีปรกึ ษาชุมนมุ /ชมรม
กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย
1 ประดดิ ประดอย นางปย ภัทร พวงกลิน่ , นางพรทิพย มัน่ ทรพั ย
2 รกั สุขภาพ
3 บําเพ็ญประโยชน นางสุวารี ยอดศรี
4 งานดอกไม นางพรทิพย นลิ าภรณ
นายพลวฒั น, น.ส.วิภารตั น, นางกานตรวี
5 ศิลปะการถายภาพดวยโทรศัพท
6 มัคคเุ ทศกนอย กลุมสาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศ
นายชชู าติ โดรณ
7 กฬี ามหาสนุก นางสาวกาญจนา สายทอง
8 ขยับกายสบายชวี ี
กลุมสาระการเรียนรูสขุ ศกึ ษาฯ
9 เดนิ เพอ่ื ชวี ิต นายสรุ เดช อนิ จันทร
10 ดนตรไี ทย นางเพลินพิศ ศริ ฤิ ทยั วัฒนา
11 จิตรกรรม
12 โจงแดง กลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปศึกษา
นายสุดใจ จารุจิตร
13 งานประดิษฐ นายไพโรจน ยงิ่ คดิ
14 กศุ ลจิต นางสาวณฎั ธยาน ภุมมา
15 ชางคิดชางทาํ น.ส.พรพสั นันท พมุ เจรญิ , นายสรุ พงษ กลํ่าบตุ ร
16 Photoshop
17 เด็กสรา งงาน กลมุ สาระการเรยี นรูการงานอาชีพฯ
นางสาวสมติ านนั ต สขุ มาก
18 Y.C. (ม.ตน, ม.ปลาย) นางสาวนิตยา อดิเรก
19 หารายไดระหวางเรียน นางอมั พรภัสร สุพชรวงศ
นางอัมพรภัสร สพุ ชรวงศ
20 เชิดสงิ โต นายปรญิ ญา วิชัย
กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น(งานแนะแนว)
นางเพลินใจ ประสารศรี
นางมาลนิ ี อนิ จันทร
ครจู างสอน
นางสาวสตุ าภัทร กระสานติ์คีรี