The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ ฉบับปรับปรุง 2562 (สำหรับส่งพิมพ์)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sherlockholmes.dt38, 2021-09-13 08:26:10

คู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ ฉบับปรับปรุง 2562 (สำหรับส่งพิมพ์)

คู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ ฉบับปรับปรุง 2562 (สำหรับส่งพิมพ์)

กองฝึกอบรมช่างและฮอทไลน์

คู่มือ
การปฏิบัติงาน
ฮอทไลน์

22-33 kV
โดยวิธี HOTSTICK

ปี พ.ศ. 2562

คำนำ

หนังสือคู่มือการปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ฉบบั นี้ ได้มีการปรบั ปรงุ เนือ้ หาภายในให้มีความทันสมัย สอดคลอ้ ง
กับโครงสรา้ งขององค์กรท่ีได้มีการเปลี่ยนแปลง เพิม่ เนอ้ื หาเก่ียวกบั ความปลอดภยั ให้มากขนึ้ เพ่อื รองรับการเข้า
สู่มาตรฐาน มอก.18001-2554 ของกระบวนการฝึกอบรม รวมท้ังปรับปรุงข้ันตอนในการปฏิบัติงานฮอทไลน์
ใหมจ่ ากเล่มเดมิ ให้มคี วามสมบูรณม์ ากย่ิงข้นึ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือศกึ ษาใหเ้ กดิ ความรอบรู้ เขา้ ใจขัน้ ตอนการ
ปฏิบัตงิ าน ใชป้ ระกอบการฝึกอบรมหลกั สูตร “การปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22-33 kV โดยวิธี Hot stick” และเป็น
คู่มอื ใหพ้ นกั งานฮอทไลนร์ วมท้ังผ้ทู ม่ี ีหน้าท่ีเก่ยี วข้องได้ทราบถงึ วธิ ีปฏบิ ัตงิ านทถี่ กู ตอ้ ง

กองฝึกอบรมช่างและฮอทไลน์หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์เล่มนี้จะเป็นประโยชน์
ในการฝึกอบรม และเป็นคู่มือการปฏิบัติงานของพนักงานฮอทไลนใ์ ช้ยึดถือเป็นหลกั ในการปฏิบตั ิงานใหม้ ีความ
ปลอดภัยโดยปราศจากอุบัติเหตุ ถ้าหากมีข้อบกพร่องหรือผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทายินดีน้อมรับ
คาแนะนาเพ่อื นามาปรับปรุงแกไ้ ขให้มคี วามสมบูรณ์มากยง่ิ ขึน้ ต่อไป

คณะผู้จดั ทา

แผนกฝึกอบรมช่าง (ผอช.) โทร. 0-2009-6234

แผนกฝึกอบรมงานฮอทไลน์ (ผอฮ.) โทร. 0-2009-6235

แผนกพฒั นามาตรฐานงานฮอทไลน์ (ผมฮ.) โทร. 0-2009-6236

แผนกพฒั นาอุปกรณ์เครือ่ งมืองานฮอทไลน์ (ผคฮ.) โทร. 0-2009-6237

กองฝึกอบรมชา่ งและฮอทไลน์ (กฝช.) โทร. 0-2009-6239 โทรสาร 0-2009-6238

ฝา่ ยพัฒนาทรัพยากรบคุ คล การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค

คมู่ ือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

สำรบัญ หน้ำ
1
เร่อื ง
บทท่ี 1 ควำมหมำยและวิธีปฏิบตั ิ 2
2
1.1 ความหมายและวธิ ปี ฏบิ ตั ิ 2
1.2 การปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 5
6
1.2.1 การปฏิบตั งิ านโดยวิธีฮอทสตกิ (Hot stick Technique)
1.2.2 การปฏิบตั ิงานกบั รถกระเชา้ โดยใช้ถุงมอื ยาง (Rubber Glove Technique) 8
1.2.3 การปฏบิ ัติงานกบั รถกระเช้าโดยใช้มือเปล่า (Bare hand Technique) 9
บทที่ 2 เคร่อื งมือฮอทไลน์ 9
2.1 เคร่อื งมือฮอทไลน์ 10
2.2 ประเภทเคร่ืองมอื ฮอทไลน์ 11
2.3 ระยะหา่ งในการปฏบิ ตั ิงาน 13
2.4 ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการใชเ้ คร่อื งมือฮอทไลน์ 15
2.5 การทาความสะอาดเคร่ืองมอื Hot stick 16
2.6 การซอ่ มแซมเคร่อื งมือ Hot stick 17
2.7 การเคลือบเคร่อื งมือ Hot stick 17
2.8 การขดั ผิวมนั 20
2.9 การวดั คา่ ความเปน็ ฉนวนด้วย Hot stick Tester 39
2.10ช่ือเครอ่ื งมือและหน้าท่กี ารใช้งาน 40
บทท่ี 3 เชอื ก และเง่ือน 44
3.1 ชนดิ ของเชือก 49
3.2 เง่อื นเชอื กและการผูกใชง้ าน 52
3.3 การถกั เชอื กแบบต่าง ๆ 53
3.4 คา่ แรงดงึ ของเชอื ก และการใช้เชือกกบั รอก 54
บทที่ 4 กำรผกู ลูกถ้วย 55
4.1 ชนิดของลูกถ้วย 56
4.2 การผูกลูกถว้ ยแบบฮอทไลน์ 58
4.3 ความยาวของลวดอลูมิเนยี มท่ีใช้ในการผกู ลูกถ้วยแบบต่าง ๆ 59
4.4 มาตรฐานการตัด Tie Wire พนั แบบ Hotline 60
บทที่ 5 กำรเปลยี่ นลกู ถว้ ย 63
5.1 การเปลย่ี นลูกถ้วยทางตรงเฟส A 65
5.2 การเปลี่ยนลกู ถ้วยทางตรงเฟส B 66
5.3 การเปลย่ี นลูกถ้วยทางตรงเฟส C 69
5.4 การเปลย่ี นลกู ถว้ ยทางโค้งเฟส A 71
5.5 การเปล่ียนลูกถ้วยทางโคง้ เฟส B
5.6 การเปลยี่ นลูกถ้วยทางโคง้ เฟส C



คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

บทที่ 6 กำรเปลย่ี นคอนสำย 72

6.1 การเปล่ียนคอนสายทางตรง โดยใช้ชุด Side Arm 73

6.2 การเปลี่ยนคอนสายทางตรง โดยใช้ชดุ Lifting Arm 80

6.3 การเปล่ยี นคอนสายทางโค้ง โดยใช้ชุด Side Arm กบั Roller Link Stick 85

บทท่ี 7 กำรปกั เสำโดยวิธีฮอทไลน์ 88

7.1 การปักเสาแซมไลน์ โดยใช้ Roller Link Stick & Pole Cover

(ระยะหา่ งระหว่างเสา 80-100 เมตร) 89

7.2 การปักเสาแซมไลน์ โดยใช้ Roller Link Stick & Pole Cover & Conductor Cover

(ระยะหา่ งระหวา่ งเสา 40-50 เมตร) 92

บทที่ 8 กำรเช่อื มสำยแรงสูง 95

8.1 การเชอ่ื มสายเขา้ หม้อแปลง 1 เฟส 96

8.2 การเช่ือมสายเข้าหม้อแปลง 3 เฟส 98

8.3 การเชอ่ื มสายตน้ ทางแยกแบบไม่มี Drop out Fuse Cutout 100

8.4 การเชอ่ื มสายต้นทางแยกแบบมี Drop out Fuse Cutout 102

8.5 การเชื่อมสายเข้าอปุ กรณไ์ ฟฟา้ แรงสงู (การเชื่อมสายเขา้ Capacitor) 104

8.6 การเปล่ยี น Dropout Fuse Cutout 106

8.7 การตัดสายเข้าหมอ้ แปลงนั่งรา้ น 3 เฟส 108

8.8 การตดั สายแรงสูงต้นทางแยก 110

8.9 การพาดสาย Over Head เชื่อมไลน์ทางแยก 112

บทที่ 9 กำรปฐมพยำบำล 114

9.1 ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ ความรุนแรง 115

9.2 ขนั้ ตอนการชว่ ยเหลือเมอื่ เกดิ อบุ ัตเิ หตุพนกั งานถกู กระแสไฟฟ้าแรงสงู ดูด 116

9.3 การชว่ ยชีวิตขนั้ พื้นฐานสาหรับภาวะหวั ใจหยุดทางาน 117

9.4 อันตรายจากไฟฟา้ 121

บทที่ 10 ควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำนฮอทไลน์ 123

10.1 ขอ้ ปฏบิ ัติกอ่ นปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 124

10.2 ข้อพงึ ระวงั ขณะปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 124

10.3 การกาหนดพน้ื ทีป่ ฏิบตั งิ าน 125

10.4 ขอ้ เตอื นใจขณะปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 125

แบบฟอร์มขออนุญาตปฏบิ ตั งิ าน (Work Permit) 126



ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

บทที่ 1
ควำมหมำย และวธิ ีปฏิบตั ิ

-1-

คูม่ อื การปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

1.1 ควำมหมำย และวิธีปฏบิ ตั ิ
งำนฮอทไลน์ หมายถึง การปฏิบัติงานกับสายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีแรงดันสูงกว่า 5,000 โวลต์

แบบไม่ดับกระแสไฟฟ้า โดยใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ช่วยในการทางาน และเคร่ืองมือเหล่านี้เรียกว่า
เครื่องมือฮอทไลน์ สาหรับผู้ท่ีจะปฏิบัติงานฮอทไลน์ได้น้ัน จะต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการปฏิบัติงาน
ฮอทไลนแ์ ต่ละวธิ จี นมคี วามรู้ ความชานาญเป็นอยา่ งดี และสิง่ สาคญั ตอ้ งเปน็ ผทู้ ีม่ คี วามรบั ผดิ ชอบ ระเบียบวินัย
และสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง

1.2 กำรปฏิบัติงำนฮอทไลน์
การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ แบ่งออกเป็น 3 วิธี ไดแ้ ก่

1.2.1 กำรปฏบิ ตั งิ ำนโดยวิธฮี อทสติก (Hot stick Technique) คอื การปฏบิ ัตงิ านบนเสาไฟฟ้าโดยใช้
เคร่ืองมือไม้ฉนวน (Hot stick) กับระบบจาหน่าย และสายส่งท่ีมีแรงดันไฟฟ้าตั้งแต่ 22-115 kV โดยแบ่งตาม
ระดับแรงดนั ไฟฟา้ และมาตรฐานโครงสร้างดังน้ี

(1) ฮอทสติก 22 - 33 kV (ขีดความสามารถในการปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22- 33 kV โดยวิธี
Hot stick ตามอนุมัติ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ขอ้ 1.1)

การปฏิบัติงานบารุงรักษาระบบจาหน่ายโดยวิธี Hot stick ท่ีสามารถดาเนินการได้ มีลักษณะงาน
ดังตอ่ ไปน้ี

1. งานเชอื่ มสายแรงสูง
(1) เชอ่ื มสายหมอ้ แปลง 1 เฟส และ 3 เฟส
(2) เชอื่ มสายทางแยก 1 เฟส และ 3 เฟส
(3) เช่ือมสายเขา้ อปุ กรณแ์ รงสงู ตา่ งๆ เช่น ลอ่ ฟ้าแรงสงู คาปาซิเตอร์

2. งานเปล่ยี นอุปกรณแ์ รงสูงชารดุ
(1) เปลยี่ นลกู ถว้ ยแรงสงู ชารุด
(2) เปลีย่ น Dropout fuse cutout ชารดุ
(3) เปลย่ี นลอ่ ฟ้าแรงสงู ชารดุ
(4) เปลี่ยนคอนสาย Over Head เปน็ เหลก็ ฉาก

3. งานปกั เสาแรงสงู
(1) เปลยี่ นเสาท่ีชารดุ
(2) ปกั เสาแซมไลน์

4. งานพาดสาย Over Head Ground Wire (OHGW) ตน้ ทางแยก Buck arm
5. งานเปลยี่ น ตดิ ต้งั รือ้ ถอน คอนสายรบั สายไฟฟ้า เปน็ คอนกรีตอดั แรง หรือ คอนสายเหลก็ ทางตรง
และทางโค้ง
6. งานเปลยี่ น ติดตัง้ รือ้ ถอน หม้อแปลง คานนัง่ รา้ นหม้อแปลง (ร่วมกบั ชดุ กอ่ สร้าง)
7. งานติดตัง้ รื้อถอน Conductor Cover และ Insulator Cover
ท้ังน้ี งาน 7 ข้อ ข้างตน้ ปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ในระบบจาหน่ายไดไ้ ม่เกิน 2 ฟีดเดอร์ (สายเปลือย)

-2-

คู่มือการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

รปู ที่ 1.1 การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22- 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
(2) ฮอทสตกิ 115 kV เสำคอนกรตี (ขีดความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ในระบบสายส่ง

115 kV เสาคอนกรตี ตามอนุมตั ิ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ข้อ 1.2)
การปฏิบัติงานบารุงรกั ษาระบบจาหนา่ ยโดยวิธี Hot stick 115 kV เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงานของหนว่ ยฮอทไลน์ Hot stick 22-33 kV รวมกนั 2 หน่วย มีอตั รากาลัง 14 คน ให้สามารถซอ่ มแซม
บารงุ รักษาระบบสายส่ง 115 kV เสาคอนกรตี ได้ ลักษณะงานทีส่ ามารถดาเนนิ การได้มดี ังตอ่ ไปน้ี
1. งานเปลยี่ นลูกถว้ ยแขวน โครงสร้างทางตรง วงจรเดี่ยว สายไฟฟา้ เด่ียว และสายไฟฟ้าคู่
2. งานเปลี่ยนลูกถว้ ยแขวน โครงสรา้ งทางโค้ง วงจรเดีย่ ว สายไฟฟา้ เดีย่ ว และสายไฟฟา้ คู่
3. งานเปลย่ี นคอนสายแบบเหล็ก โครงสร้างทางตรง วงจรเด่ยี ว สายไฟฟา้ เดี่ยว และสายไฟฟา้ คู่
4. งานเปล่ียนคอนสายแบบเหล็ก โครงสร้างทางตรง วงจรคู่ สายไฟฟา้ เด่ยี ว และสายไฟฟา้ คู่
5. งานเปลย่ี นคอนสายแบบเหล็ก โครงสร้างทางโคง้ วงจรเดย่ี ว สายไฟฟ้าเดีย่ ว และสายไฟฟ้าคู่

-3-

คมู่ ือการปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
6. ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั หน่วยฮอทไลนก์ ระเชา้ 115 kV (Bare hand) และหน่วยก่อสร้างระบบสายส่ง 115 kV
(1) งานปักเสาคอนกรตี ขนาด 22 เมตร
(2) งานยา้ ยเสาคอนกรีต ขนาด 22 เมตร
(3) งานเปลยี่ นเสาชารดุ ขนาด 22 เมตร
(4) งานเปลี่ยนเหล็กรองรับสาย Over Head Ground Wire (OHGW)

ทงั้ น้ี หนว่ ยฮอทไลน์ Hot stick 22-115 kV สามารถปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22-33 kV โดยวิธี Hot stick ไดด้ ว้ ย

รูปท่ี 1.2 การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ระบบสายสง่ 115 kV เสาคอนกรตี โดยวธิ ี Hot stick
(3) ฮอทสติก 115 kV เสำโครงสร้ำงเหลก็ (ขดี ความสามารถในการปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ระบบ
สายส่ง 115 kV เสาโครงสรา้ งเหลก็ ตามอนมุ ัติ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ขอ้ 1.3)

การปฏิบัติงานบารงุ รักษาระบบจาหน่าย 115 kV โดยวิธี Hots tick เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงานของหนว่ ยฮอทไลน์ Hot stick 22-33 kV รวมกัน 2 หน่วย มีอัตรากาลังจานวน 14 คน ให้สามารถ
ซ่อมแซมบารุงรักษาระบบสายส่ง 115 kV บนเสาโครงสร้างเหล็ก (Steel Tower) ซึ่งมีการปฏิบัติงานในบาง
จังหวัด ท่สี ามารถดาเนินการได้ มีลักษณะงานดังต่อไปน้ี

-4-

ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
1. งานเปล่ียนลกู ถว้ ยแขวน ชนดิ แถวเด่ียว
2. งานเปลี่ยนลูกถว้ ยแขวน ชนดิ แถวคู่
3. งานเปลย่ี นลูกถ้วยรบั แรงดงึ ชนดิ แถวเดยี่ ว
4. งานเปล่ยี นลูกถว้ ยรับแรงดึง ชนดิ แถวคู่

ทง้ั น้ี หน่วยฮอทไลน์ Hot stick 22-115 kV สามารถปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22-33 kV โดยวิธี Hot stick ได้ดว้ ย

รูปท่ี 1.3 การปฏบิ ัติงานฮอทไลนร์ ะบบสายสง่ 115 kV เสาโครงสร้างเหล็ก โดยวธิ ี Hot stick

1.2.2 กำรปฏิบัติงำนกับรถกระเช้ำโดยใช้ถุงมือยำง (Rubber Glove Technique) คือการ
ปฏิบัตงิ านโดยใชร้ ถยนตก์ ระเช้า โดยผู้ปฏิบตั งิ านอยู่ในกระเช้าและสวมใส่ถงุ มือยางแรงสูง ปฏบิ ัติงานกับระบบ
จาหน่าย 22- 33 kV เท่านั้น (ขีดความสามารถในการปฏิบตั ิงานกับรถกระเช้าโดยใชถ้ ุงมือยางแรงสงู (Rubber
Glove Technique) ตามอนุมตั ิ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ข้อ 1.4)

การปฏิบัติงานบารุงรักษาระบบจาหน่าย 22-33 kV โดยวิธี Rubber Gloves เป็นการเพ่ิม
ประสทิ ธิภาพในการปฏิบัติงาน ให้กบั ผทู้ ่ีผ่านการฝกึ อบรมหลักสตู ร “การปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22-33 kV โดยวิธี
Hot stick” มาแล้ว โดยใชร้ ถกระเช้าฉีดนา้ 22-33 kV ปฏิบตั ิงาน ท่ีสามารถดาเนินการไดม้ ลี กั ษณะดงั น้ี

1. งานฉดี นา้ ล้างลูกถ้วยและอปุ กรณ์ไฟฟา้ แรงสงู ระบบ 22-115 kV
2. งานแก้ไขแคล้มป์รอ้ น แคล้มปช์ ารุด เปลีย่ นแคลม้ ป์เป็นหลอดต่อสายและขันแคล้มปต์ า่ งๆ
3. งานซอ่ มแซมสายชารดุ ใน Span ที่ชารดุ ไมเ่ กนิ 25 % ของพน้ื ท่หี นา้ ตดั สาย
4. งานเปลี่ยน และ ติดต้ัง ลูกถว้ ยกา้ นตรง และ ลกู ถว้ ยแขวน
5. งานดงึ สายไฟฟา้ ที่หย่อนให้ตึงขึน้
6. งานเปลยี่ น ติดตัง้ ร้ือถอน Drop out fuse cutout และ Disconnecting Switch
7. งานปรบั แต่ง ซอ่ มแซม Disconnecting Switch และเปลย่ี นชดุ ดบั อารค์
8. งานปลดและเชอื่ มสายไฟฟ้า
9. งานเปลีย่ น ตดิ ตง้ั Spacer และพนั เทปเคเบ้ิลแรงสูง
10. งานเปล่ยี น ตดิ ตัง้ รอื้ ถอน อปุ กรณไ์ ฟฟา้ อื่นๆ เชน่ ลอ่ ฟา้ คาปาซเิ ตอร์ ฯลฯ

-5-

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

รปู ที่ 1.4 การปฏบิ ัติงานฮอทไลน์กบั ระบบจาหนา่ ย 22-33 kV โดยวธิ ี Rubber Gloves
1.2.3 วิธีปฏิบัติงำนกับรถกระเช้ำโดยใช้มือเปล่ำ (Bare hand Technique) คือ การปฏิบัติงาน
โดยใชร้ ถยนต์กระเช้า ซง่ึ ผปู้ ฏบิ ัติงานอยู่ในกระเช้าและสวมชุดตัวนา (Conductive Suit) เพอ่ื ให้ผปู้ ฏิบตั ิงานมี
ศักดาไฟฟ้าเท่ากับสายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า โดยใชห้ ลกั การกรงสนามไฟฟ้า (Faraday’s Cage) ซงึ่ วิธกี ารน้จี ะ
สามารถปฏิบัติงานไดก้ บั ระบบไฟฟา้ ท่ีมีแรงดนั สงู ถึง 765 kV ทัง้ น้รี ะยะหา่ งของสายไฟแต่ละเสน้ และระยะห่าง
ของสายไฟกบั กราวด์ ต้องมรี ะยะหา่ งเพียงพอตามมาตรฐานกาหนด (ขดี ความสามารถในการปฏิบัตงิ านกับรถ
กระเช้าโดยใช้มือเปล่า (Bare hand Technique) ตามอนมุ ัติ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ข้อ 1.5)
สามารถปฏิบัติงานได้เช่นเดียวกับหน่วยฮอทไลน์กระเช้า 22-33 kV และปฏิบัติงานในระบบสายส่ง
115 kV โดยสวมชุด Conductive Suit ขณะปฏิบัติงาน ท่สี ามารถดาเนนิ การได้ มลี กั ษณะงานดังต่อไปนี้
1. งานปลดสายและเชือ่ มสายแรงสงู ระยะทางไม่เกิน 2 กโิ ลเมตร
2. งานเปลี่ยนลกู ถว้ ยรบั แรงดึงชนดิ แถวเดย่ี ว
3. งานแกไ้ ขแคลม้ ปร์ อ้ น แคลม้ ปช์ ารดุ เปล่ียนแคลม้ ปเ์ ปน็ หลอดต่อสายและขันแคล้มป์ต่างๆ
4. งานซอ่ มแซมสายชารุดใน Span ท่ชี ารุดไมเ่ กิน 25% ของพ้นื ท่ีหนา้ ตดั สาย
5. งานปรบั ปรงุ และซอ่ มแซมระบบสายสง่ อนื่ ๆ
6. การปฏบิ ัติงานรว่ มกับหนว่ ยฮอทไลน์ Hot stick 115 kV และหนว่ ยกอ่ สรา้ งระบบสายสง่ 115 kV

(1) งานปกั เสาคอนกรีต ขนาด 22 เมตร
(2) งานย้ายเสาคอนกรีต ขนาด 22 เมตร

-6-

ค่มู ือการปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
(3) งานเปลี่ยนเสาชารุด ขนาด 22 เมตร
(4) งานเปลีย่ นเหลก็ รองรับสาย Over Head Ground Wire (OHGW)

รูปที่ 1.5 การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์กับระบบสายส่ง 115 kV โดยวธิ ี Bare hand

-7-

ค่มู ือการปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

บทท่ี 2
เครอื่ งมือฮอทไลน์

-8-

คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
2.1 เคร่ืองมือฮอทไลน์

เป็นหน้าท่ีของพนักงานช่างฮอทไลน์ทุกคนที่ต้องศึกษาเรียนรู้ และทาความรู้จักเคร่ืองมือฮอทไลน์
แต่ละประเภท เพ่อื ทจี่ ะสามารถซอ่ มแซมและบารงุ รกั ษาเครื่องมอื ฮอทไลน์ได้ด้วยตนเอง ตลอดจนนาเครือ่ งมือ
ฮอทไลน์ไปใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีความปลอดภัย พนักงานฮอทไลน์ทุกคนต้องได้รับการฝึกอบรมการ
ติดต้ังใช้งานเครื่องมือรวมทั้งข้ันตอนการปฏิบัติงานฮอทไลน์ จนกระท่ังมีทักษะ ความรู้ และความชานาญ
ก่อนที่จะลงมอื ปฏิบัตงิ านกบั ระบบจาหนา่ ยทีม่ ีกระแสไฟฟา้ จริง โดยทั่วไปเครื่องมือฮอทไลน์ที่ชารดุ มกั มีสาเหตุ
มาจากการใชง้ านผิดประเภท ใช้งานเกินพิกัดความสามารถที่บริษัทผู้ผลิตกาหนด เพราะฉะน้นั ทุกคนตอ้ งระลึก
เสมอว่าเคร่อื งมอื ฮอทไลนแ์ ต่ละชิ้นมรี าคาสูงและตอ้ งสั่งซ้ือจากตา่ งประเทศ ซง่ึ การจัดซ้ือแต่ละครงั้ ใชเ้ วลานาน

2.2 ประเภทเครื่องมือฮอทไลน์
เคร่ืองมอื ฮอทไลนแ์ บ่งตามลักษณะได้เป็น 5 ประเภท คอื
(1) ประเภทไม้ฉนวน (Hot stick) โดยมากมักทามาจากวัสดุประเภท Fiberglass-Reinforced

Plastic (FRP) หรือ Epoxy resin-impregnated glass fiber ท่ีพันรอบทบกลับไป-มาตลอดความยาวจนมี
ลกั ษณะเปน็ ท่อ โดยมคี วามหนาและมีเสน้ ผ่าศูนย์กลางหลายขนาดตามลักษณะการใช้งานและมีแกนกลางเป็น
พลาสติกโฟมเพอื่ ป้องกันความชื้นแทรกเข้าภายใน เครื่องมือ Hot stick จะมีสีของเนอ้ื วัสดุแตกต่างกันไปตาม
ผ้ผู ลติ แตล่ ะราย ซึ่งมักเป็นสที ่ฉี ูดฉาดท่แี ตกตา่ งอย่างชัดเจนจากสิ่งแวดล้อม โดยตามมาตรฐาน OSHA/ASTM
F711 กาหนดให้เครือ่ งมอื Hot stick ตอ้ งสามารถทนแรงดนั ไฟฟา้ ได้ 100 kV/ฟตุ ในระยะเวลา 5 นาที

(2) ประเภทฉนวนครอบป้องกัน (Cover-up Equipment) ส่วนมากผลิตจากพลาสติกประเภท
Polyethylene เนอื่ งจากมคี ุณสมบัติเปน็ ฉนวนไฟฟ้าที่ดี มีความเหนียว และทนทานต่อแรงดึงปานกลาง ใช้ใน
การครอบเพ่ือป้องกันไม่ให้ผู้ปฏิบัติงานเผลอสัมผัสอุปกรณ์ไฟฟ้าสว่ นทมี่ ไี ฟโดยไมไ่ ด้ต้งั ใจ หรอื เพื่อป้องกันส่วน
ที่มีไฟไม่ให้สัมผัสโครงสร้างส่วนท่ีเป็นกราวด์ในขณะปฏิบตั ิงาน แต่ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้สัมผัสทั้งส่วนทม่ี ไี ฟ
และสว่ นทต่ี อ่ กับกราวดใ์ นเวลาเดียวกันเป็นเวลานาน ๆ

-9-

คมู่ อื การปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
(3) ประเภทโลหะ (Hard Ware) ส่วนใหญ่มีวัสดุที่ผลิตจากโลหะประเภทอลูมิเนียมอัลลอย อบชุบ

ด้วยความร้อน (Heat-treated aluminum-alloy) เพื่อให้มีน้าหนักเบาและแข็งแรง เคร่ืองมือประเภทน้ี
ถงึ แมว้ ่าจะเกดิ การชารดุ ได้ยาก แต่มกั จะมชี นิ้ ส่วนหลายชิน้ ท่ีประกอบเขา้ ดว้ ยกันโดยใช้หมุด สลักเกลียว สปริง
จึงควรตรวจเชค็ สภาพก่อนนาไปใช้งานทกุ ครั้ง เชน่ สนมิ รอยแตกรา้ ว สลกั เกลยี วยึดแกนกลาง เป็นตน้

(4) ประเภทบำรงุ รักษำและซอ่ มแซมเครอ่ื งมอื ฮอทไลน์ เช่น Gloss Restorer, Wiping Cloths ฯลฯ
ใช้สาหรับซ่อมแซมบารุงรักษาเครื่องมือฮอทไลน์ให้อยู่ในสภาพที่ดี พร้อมท่ีจะใช้งานอยู่เสมอ เพื่อให้มี
ระยะเวลาการใช้งานทีย่ าวนาน และปลอดภยั ต่อผปู้ ฏิบัติงาน

(5) ประเภทเครื่องมือท่ัวไป ได้แก่เครื่องมืออน่ื ๆ ทีไ่ มไ่ ด้จดั อยู่ใน 4 ประเภทขา้ งตน้ เชน่ เชือก รอก
อุปกรณป์ อ้ งกันภัยสว่ นบุคคล (PPE) ฯลฯ

2.3 ระยะห่ำงในกำรปฏบิ ัติงำน
ระยะห่างน้อยท่ีสุดในการปฏิบัติงานโดยใช้เครื่องมือ Hot stick (ตามตารางที่แสดง) กาหนดโดย

OSHA (Occupational Safety and Health Administration) ซึ่งเป็นหน่วยงานเกี่ยวกับมาตรฐานความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยของสหรัฐอเมริกา มีจุดประสงค์เพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในกรณี
ปฏบิ ัติงานใกล้กับสว่ นทีม่ ีแรงดนั ไฟฟ้าระดบั ต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมือ Hot stick และอนุญาตให้มีระยะห่างน้อย
ทส่ี ดุ ไมต่ า่ กวา่ ค่าในตาราง

- 10 -

ค่มู อื การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

ตำรำงแสดงค่ำระยะหำ่ งน้อยท่ีสดุ ในกำรใช้ Hot stick

ระดบั แรงดนั (kV) แรงดัน เฟส – กรำวด์ แรงดัน เฟส – เฟส

ฟตุ ’ นวิ้ ” เมตร ฟตุ ’ น้วิ ” เมตร

0.05 – 1 * * * *

1.1 – 15 2' 1" 0.64 2' 2" 0.66

15.1 – 36 2' 4" 0.72 2' 7" 0.77

36.1 – 46 2' 7" 0.77 2' 10" 0.85

46.1 – 72.5 3' 0.90 3' 6" 1.05

72.6 – 121 3' 2" 0.95 4' 3" 1.29

138 – 145 3' 7" 1.09 4' 11" 1.50

161 – 169 4' 1.22 5' 8" 1.71

230 – 242 5' 3" 1.59 7' 6" 2.27

345 – 362 8' 6" 2.59 12' 6" 3.80

500 – 550 11' 3" 3.42 18' 1" 5.50

765 – 800 14' 11" 4.53 26' 7.91

* Avoid Contact OSHA guidelines in Table R-6 of the Federal Register, Published 1/31/94

สาหรบั แรงดัน 345 kV, 500 kV และ 700 kV ผปู้ ฏบิ ัตงิ านจะต้องอยู่หา่ งจากสายไฟไม่น้อยกวา่ ระยะ
น้อยท่ีสุดในการใช้ Hot stick อาจจะให้ลดลงได้อีกเล็กน้อย แต่จะต้องไม่ต่ากว่าระยะระหว่างส่วนท่ีมีไฟและ
พ้นื ผิวท่ตี อ่ ลงดนิ

2.4 ข้อปฏบิ ตั ใิ นกำรใชเ้ คร่อื งมือฮอทไลน์

(1) การเก็บรกั ษาเครือ่ งมอื ณ ท่ีต้งั ควรเกบ็ ในหอ้ งทีจ่ ัดสรา้ งขนึ้ มาโดยเฉพาะ มีการรักษาความสะอาด
มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่อับช้ืน ไม่ร้อนเกินไป และไม่มีแสงแดดส่องเข้าไปภายใน เนื่องจากเคร่ืองมืออาจ
เสือ่ มสภาพจากการถูกแสงอลุ ตราไวโอเลตนาน ๆ

- เคร่ืองมอื ประเภทไมฉ้ นวนควรจดั สร้างเป็นช้ันวางเคร่ืองมอื (Tool Rack) ท่ีมีวสั ดรุ องกันกระแทก
- เครื่องมือประเภทฉนวนครอบ ควรจัดวางเป็นแนวตั้ง หรือวางบนชั้นวาง แต่ไม่ควรวางซ้อนทับกนั
มากเกนิ ไป เน่ืองจากอาจทาใหว้ ัสดุบดิ เบีย้ วผดิ รูปหรอื ฉกี ขาดได้
- เครื่องมือประเภทโลหะ ห้ามวางกับพื้นหรือในที่ท่ีอาจสัมผัสความช้ืน ควรสร้างเป็นช้ันวางของท่ีมี
ความแขง็ แรง และทาจากวสั ดุทีจ่ ะไมเ่ ส่ือมสภาพเมื่อสมั ผัสกับน้ามัน
- เคร่ืองมือที่มีเชือก Polypropylene เป็นส่วนประกอบ เช่น รอก, Handline ควรสร้างเป็นราว
สาหรบั แขวน ทอี่ ากาศสามารถพัดผา่ นไดส้ ะดวก เพือ่ ป้องกันความอับชน้ื
- การจดั เกบ็ อปุ กรณ์ประเภทบารงุ รกั ษาเคร่ืองมือ ควรแยกเก็บใหไ้ กลจากเครอ่ื งมอื ชนิดอนื่ เน่ืองจาก
มีส่วนประกอบเป็นสารระเหย มีฤทธ์ิกัดกร่อน หรือไวไฟ ซึ่งอาจทาความเสียหายกับเครื่องมอื อื่น ๆ
และกาหนดมาตรการควบคุมท่ีเหมาะสม เชน่ แยกน้ายาต่างชนิดออกห่างจากกันเพ่ือปอ้ งกันการทา
ปฏกิ ิริยา, วางบนกระบะทรายเพ่ือดูดซับสารเคมีที่อาจร่วั ซึม, ติดตง้ั ถงั ดับเพลิงเพม่ิ เติม เป็นต้น
- เครื่องมอื ประเภทอ่นื ๆ ควรจัดทาราวแขวน ชั้นวาง หรอื จดั หาต้เู ก็บเปน็ สดั สว่ น

- 11 -

คมู่ อื การปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

(2) การจดั เกบ็ เครอ่ื งมือบนรถที่ใชป้ ฏิบตั งิ าน ควรวางบน Tool Rack ทีต่ ดิ ตงั้ อย่างม่นั คง และทาการ
ผูกรัดเคร่ืองมือให้แน่น หรือจัดทาเป็นท่อ PVC ทม่ี ีฝาปิดสาหรบั ใช้เก็บเครอ่ื งมอื ส่วนเครอ่ื งมอื ที่อยใู่ นซองหรือ
ถุงต้องนาไปทั้งถุง และนาออกจากถุงเม่ือจะใช้งาน สว่ นเครือ่ งมืออ่นื ๆ อาจจัดเกบ็ ในกล่อง ตู้ ลนิ้ ชัก หรือวาง
บนชั้นวางก็ได้ แต่ตอ้ งมกี ารผูกรัดหรอื ปดิ ล็อกเพื่อปอ้ งกนั การบาดเจ็บหรือเครอื่ งมอื ตกเสยี หาย

(3) เม่ือนาเครื่องมือออกมาใช้ ต้องตรวจสอบด้วยสายตาเพื่อหารอยแตกรา้ ว รอยสึก หรือรอยถลอก
บนผวิ เครอ่ื งมอื ความผิดปกตขิ องเน้ือวัสดุ รูปทรงของเครือ่ งมอื ตลอดจนหมุดย้า ข้อตอ่ ปลอกโลหะ และหม่นั
ตรวจสอบทั้งในขณะปฏิบัติงาน รวมถึงก่อนเก็บเครื่องมือเข้าบนรถด้วย หากพบการผิดปกติใด ๆ ให้พิจารณา
เปล่ยี นเครือ่ งมือใช้งานแทนทนั ที

(4) เนื่องจากการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าแรงสูง โดยมากเกิดขึ้นบริเวณผิวฉนวนของเคร่ืองมือที่มี
ความชื้นและสกปรก ดังน้ันจึงต้องหมั่นดูแลรักษาผิวฉนวนของเครื่องมือให้สะอาด แห้งสนิทและมันวาวอยู่
เสมอ โดยใช้ผ้าสะอาดเช็ดผิวให้แห้ง และใช้ Wiping Cloth เช็ดเครื่องมือ Hot stick ก่อนใช้งาน และเช็ดอีก
ครง้ั กอ่ นเก็บเคร่ืองมือคืนในถงุ หรอื เกบ็ บนรถ

(5) ห้ามวางเครื่องมือราบบนพ้ืนดิน พ้ืนถนน ควรวางบน Tool Rack แบบพกพา หรือปูผ้าใบรองรับ
กรณีจาเป็นอาจวางพิงกับรั้ว กาแพง หรืออาคารได้ แต่ต้องระวังส่ิงสกปรก ความชื้น และระวังเคร่ืองมือล้ม
หลกี เลย่ี งการพิงกับเสาไฟฟ้า เนอ่ื งจากกดี ขวางการขึน้ ลงเสาและการปฏบิ ตั ิงาน

(6) การส่งเครื่องมืออุปกรณ์ขึ้น-ลงเสาไฟฟ้า ต้องใช้เชือกรอก Hand line ในการส่งเท่านั้น ห้ามโยน
ขน้ึ -ลงเด็ดขาด

(7) การแขวนเครื่องมือ Hot stick ระหว่างปฏิบัตงิ าน ควรเลือกแขวนที่สายไฟฟา้ หรือจุดที่กาหนดให้
เป็นที่แขวนเครื่องมือ โดยต้องระวังระยะห่างระหว่างจุดท่ีมือจับกบั จุดท่ีเคร่ืองมือสัมผัสสายไฟฟ้า ต้องไม่น้อย
กว่าระยะห่างที่กาหนดตามหลักความปลอดภัย ควรเลือกจุดแขวนท่ีอยู่ในระยะมือเอื้อมถึง แต่ต้องไม่ใกล้ตัว
มากเกนิ ไป ระมดั ระวงั การแขวนเครอ่ื งมือกับสายไฟท่ีไมม่ ่ันคงหรือกาลังเคล่อื นยา้ ย

(8) ขณะฝนตกหรือมีความเส่ียงว่าฝนอาจตกก่อนปฏิบัติงานเสร็จ ห้ามข้ึนปฏิบัติงานเด็ดขาด กรณีที่
ฝนกาลังจะตกในขณะที่ยังปฏิบัติงานไม่แล้วเสร็จ ให้เร่งมือทางานต่อจนจบขั้นตอนหรือจนเห็นว่าปลอดภัย
เพียงพอแล้วลงจากเสา หากจาเป็นจริง ๆ ต้องใช้ถุงมือยางแรงสูงด้วยทุกครั้ง เพ่ิมความระมัดระวังเป็นพิเศษ
และหมั่นเชด็ เครอื่ งมือด้วยผา้ แห้งทุกครง้ั ที่มโี อกาส

(9) ใช้งานเครื่องมืออย่างถูกวิธี และไม่เกินพิกัดท่ีผู้ผลิตกาหนด โดยสามารถศึกษารายละเอียดเร่ือง
พกิ ดั ตา่ ง ๆ ของเครือ่ งมือฮอทไลนจ์ าก Catalog ของแต่ละบรษิ ทั หรือเอกสารท่ี กฝช. จัดสรรให้

(10) เครื่องมือท่ีชารุดใหร้ ีบดาเนินการจัดซ่อม โดยอาจจะซ่อมเอง หรือจัดส่งให้หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง
ดาเนินการจัดซ่อม และหากไม่สามารถซ่อมแซมได้หรือมีสภาพท่ไี ม่เหมาะตอ่ การใช้งาน ใหท้ าบันทึกขออนุมัติ
จาหน่ายออกจากบญั ชีทรพั ยส์ นิ ตามระเบียบ พรอ้ มจัดซือ้ เครอ่ื งมือใหม่ทดแทนตอ่ ไป

- 12 -

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
2.5 กำรทำควำมสะอำดเครื่องมือ Hot stick

เคร่ืองมือ Hot stick ทุกชิ้น หลังจากผ่านการใช้งานมาแล้วน้ัน ผิวฉนวนด้านนอกจะมีคราบสกปรก
คราบฝุ่น นา้ มนั รอยขดี ขว่ น รอยถลอก คราบดาที่เกิดจากการเสียดสกี ับสายอลมู ิเนียมหรอื Tie wire เป็นต้น
สิ่งเหล่าน้ีจาเป็นจะต้องขจัดออกให้หมดไป และจะต้องสะอาดอยู่เสมอ มิฉะน้ันแล้วสภาพการเป็นฉนวนของ
เครอ่ื งมือจะลดน้อยลงไป เคร่ืองมือ Hot stick ทีใ่ ชง้ านนอ้ ยหรอื สกปรกไมม่ าก อาจนาไปล้างนา้ ผสมผงซกั ฟอก
หรอื นา้ สบู่ แล้วลา้ งด้วยน้าสะอาดให้หมดคราบ เชด็ ดว้ ยผา้ ตากแดดหรือผ่งึ ลมให้แห้ง จากนนั้ ขัดผิวให้มันด้วย
ผ้า Wiping Cloth โดยไม่ตอ้ งเคลอื บผิวใหม่ สว่ นในกรณีเครื่องมือ Hot stick ทใี่ ช้งานเปน็ ประจาและผ่านการ
เช็ดลา้ งบอ่ ย ๆ อาจทาใหน้ า้ ยาทีเ่ คลือบผิวเสยี ไป จงึ จาเป็นตอ้ งทาการเคลือบใหม่ตามวาระ

เครอ่ื งมอื Hot Stick ในสภาพท่ีผิวมีคราบสกปรกไมม่ ากนกั มกี ารบารงุ รกั ษาบ้าง

เครื่องมอื Hot Stick ในสภาพที่ผวิ มคี ราบสกปรกมาก ขาดการบารงุ รักษา

เครอื่ งมอื Hot Stick ในสภาพที่ผิวดี มกี ารบารุงรกั ษาเป็นประจา
แต่สาหรับการลา้ งเคร่ืองมือ Hot stick โดยมีจดุ ประสงค์เพ่ือท่ีจะทาการเคลอื บผวิ ใหมน่ ั้น จะตอ้ งล้าง
และขัดคราบสกปรกออกให้มากที่สุด โดยใช้น้าผสมผงซักฟอกหรือสูบ่แล้วขัดด้วยแผ่นใยขัดสังเคราะห์หรือ
กระดาษทรายน้าชนดิ ละเอียดปานกลางเบอร์ 180 – 220 ขัดคราบอลูมิเนียมและสิ่งสกปรกออก โดยใช้วิธีกา
แผ่นใยขัดหรือกระดาษทรายรอบด้ามแล้วบิดข้อมือหรือหมุนด้ามเคร่ืองมือเพ่ือขัดเป็นแนวขวาง การทาเช่นน้ี
จะเปน็ การขดั ตามแนวใยเสน้ แก้วทาให้เสน้ ใยแกว้ ฟงุ้ กระจายนอ้ ยลง และไม่เกิดรอยถลอกเป็นแนวยาว อันจะ
เปน็ จุดทค่ี ราบสกปรกฝงั ตวั ในภายหลังจนเป็นทางผา่ นของกระแสไฟฟา้ หากยังไม่ออกให้ใช้ใบมดี คัตเตอร์ขูดได้
แต่ต้องระวงั อย่าขดู ลึกเข้าไปในผิวของฉนวน

- 13 -

ค่มู อื การปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ข้อควรระวังอย่างยิ่งในกระบวนการน้ีก็คือจะต้องขัดล้ำงกับน้ำเท่ำนั้น มิฉะน้ันเส้นใยแก้วและฝุ่นผง
ละเอยี ดทอ่ี อกมาจากเครอ่ื งมอื จะฟุ้งกระจายและก่อให้เกิดการระคายเคอื งกับระบบทางเดนิ หายใจ หากสัมผัส
กบั รา่ งกายในสว่ นท่ีเป็นผวิ หนงั ออ่ นจะเกดิ อาการคัน ถา้ เขา้ ตาแล้วเอาออกยากและจะเกิดอาการอกั เสบ ดังนัน้
ผ้ปู ฏิบัติต้องมีอปุ กรณ์ป้องกันอันตรายท่ีเหมาะสม เชน่ ถุงมือยางแบบบาง หนา้ กากทสี่ ามารถกรองฝุ่นละเอียด
เปน็ ต้น และควรดาเนนิ การในทีท่ ่ีมีอากาศถ่ายเทสะดวก ส่วนถุงมือท่ีใช้ในการนี้ เมือ่ ใช้เสร็จไม่ควรเกบ็ ไว้ใช้อีก
เนอื่ งจากเต็มไปดว้ ยใยแก้วทม่ี องไม่เห็น อาจเผลอสมั ผสั ผวิ หนังกอ่ ให้เกดิ อาการคนั ได้

การทาความสะอาดผิวฉนวนเพอื่ เตรียมทาการเคลือบผิวนัน้ บางครั้งรวมถึงการกาจัดผิวเคลือบเดมิ ท่ี
เคลือบไว้ไม่ดีออกด้วย ซ่ึงอาจเกิดจากการผสมนา้ ยาเคลอื บผิดสัดส่วน เคลือบไมถ่ กู วธิ ี การเคลือบทบั ความชื้น
หรอื เคลอื บทับส่ิงสกปรก ทาใหน้ ้ายาไม่ตดิ ผิวและผวิ เคลือบก็จะหลุดลอก เรยี กว่ารอยขกี้ ลาก ซง่ึ สามารถกาจัด
ไดโ้ ดยใช้ใบมีดคัตเตอร์ขดู ทผี่ ิวเคลอื บส่วนนัน้ ออก และตอ้ งขูดโดยใชน้ ้าช่วยเชน่ กัน

ภายหลังจากการลา้ งน้าสะอาดแล้วให้หลีกเล่ียงการสัมผัสกับผิวฉนวนอกี เพราะคราบไขมันจากนิ้วมือ
ก็เป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทาให้เคลือบไม่ติดเช่นกัน การนาไปตากหรือผ่ึงลมให้จับท่ีปลอกโลหะหรือส่วนท่ีเป็นโลหะ
แลว้ นาไปแขวนหรือพงิ ไว้จนแห้งสนทิ

อย่างไรก็ตาม นอกจากการทาความสะอาดผิวของ
เคร่ืองมือ Hot stick ตามวิธีการข้างต้นแล้วน้ัน ผู้ผลิตยังมี
ผลติ ภณั ฑท์ ี่สามารถทาความสะอาดเครื่องมือ Hot stick ไดอ้ ยา่ ง
รวดเร็วและง่ายดายกว่า ได้แก่น้ายา Moisture Eater ซึ่งเป็น
น้ายาที่สามารถทาความสะอาดสิ่งสกปรกบนเคร่ืองมอื Hot stick
เช่น ฝุ่น, น้ามัน, ยางไม้, คราบอลูมิเนียม ความชื้นต่าง ๆ หรือ
แม้แต่ผิวเคลือบเก่า ก็สามารถกาจัดออกได้โดยไม่ทาอันตรายต่อ
เนื้อวัสดุของเครื่องมอื ซึ่งมีการผลิตออกมาในหลายรูปแบบ เช่น
น้ายาสาหรบั ชุบด้วยผ้า นา้ ยาในรปู แบบสเปรย์ หรอื ในแบบสาเร็จรูปคล้ายทิชชูเ่ ปียก เมือ่ ทาการเช็ดเครื่องมือ
แล้ว น้ายาจะระเหยออกไปจากเคร่ืองมืออย่างรวดเร็ว ภายในเวลา 10 – 20 นาที จึงเหมาะในการใช้เช็ดเป็น
ครงั้ สุดท้ายกอ่ นเคลือบผวิ เครื่องมอื เพอื่ กาจัดความชื้นหรอื รอยนว้ิ มอื ทีอ่ าจหลงเหลืออยบู่ นผวิ Hot stick

ส่วนการล้างทาความสะอาดเครื่องมือประเภทฉนวนครอบ ซ่ึงโดยมากอุปกรณ์ประเภทน้ีจะมีฝุ่น
เกาะติดเม่ือไม่มีการใช้งานหรือจากการจัดเก็บไว้เป็นเวลานาน และจะมีฝุ่นหรือคราบปูนเกาะติดเม่ือใช้ติดต้งั
ป้องกันบริเวณที่มีการก่อสร้างใกล้แนวสายไฟ การทาความสะอาดให้ใช้น้ายาล้างเครื่องสุขภัณฑ์ที่มีฤทธ์ิเป็น
กรดล้างทาความสะอาดจนกว่ากรดจะกัดคราบปูนออกหมด และเมื่อล้างคราบปูนออกหมดแล้วใหล้ ้างด้วยนา้
อีกคร้งั จนสะอาด

- 14 -

คมู่ ือการปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
2.6 กำรซอ่ มแซมเครอ่ื งมอื Hot stick

รอยชารุดบนเครอื่ งมือ Hot stick ที่ไมไ่ ด้มผี ล
ต่อการรับแรงนัก เช่นรอยถลอก รอยเจาะ รอยแตก
สามารถซ่อมแซมได้ โดยใช้กาว Epoxiglas® Bond
Patching Kit ปะรอยชารุด ภายในกล่องบรรจุภัณฑ์
จะประกอบด้วยสว่ นผสม 2 หลอด คือเนอ้ื กาวเรซ่นิ ซงึ่
จะมสี ีเหลอื งหรือสม้ ตามแต่ผลิตภัณฑ์ และตัวเร่งทาให้
แข็งซึ่งจะมีสีเทา ผสมกันในอัตราส่วนตามท่ีแต่ละ
ผลิตภัณฑ์กาหนด เช่น ผลิตภัณฑ์ A.B. CHANCE จะ
ผสมกันในอตั ราสว่ น 2 : 1 (Resin : Hardener)

ก่อนทาการซ่อม ให้ตกแตง่ รอยชารุดด้วยกระดาษทรายนา้ เบอร์ 00 ขัดบริเวณที่ฉีกขาดใหเ้ รยี บ กรณี
ท่ีฉีกขาดเป็นเสี้ยนยาวให้ใช้มีดตัดส่วนที่เป็นเส้ียนน้ันออกก่อนแล้วจึงใช้กระดาษทรายขัด สุดท้ายให้ทาความ
สะอาดบริเวณนี้อีกครั้งเพื่อกาจัดฝุ่นผงจากการขัด และต้องแน่ใจว่าบริเวณรอยชารุดแห้งสนิท เพ่ือป้องกัน
ความช้ืนฝงั อยภู่ ายใต้รอยซอ่ ม

การผสมกาวทาโดยบีบเนอื้ กาวและตัวเร่งแข็งบนกระดาษแข็ง แผน่ พลาสติก หรือกระเบอ้ื ง ในลกั ษณะ
เป็นแนวยาวขนานกัน ไม่ควรบีบเป็นกองเพราะอาจทาให้การกะปริมาณและส่วนผสมผิดได้ กะปริมาณให้
เพียงพอในการซอ่ มรอยชารุด ใช้ไม้กวนสว่ นผสมใหเ้ ข้ากันจนเป็นเน้อื เดยี ว แล้วทาการอดุ รอยชารดุ ให้เต็ม ควร
เติมเน้ือกาวลงในรอยชารุดทีละน้อยอย่างช้า ๆ ให้แน่ใจว่าไม่มีโพรงอากาศซ่อนอยู่ภายใน กะให้เนื้อกาวนูน
ขึ้นมาเล็กน้อยแล้วใช้เทปใสปิดทับรอยแผลให้เรยี บเนยี น โดยปกติกาวจะแห้งภายใน 1 – 2 ช่ัวโมง แต่จะแหง้
สนทิ ภายในเวลา 24 ช่วั โมง จงึ ทาการลอกเทปใสออกแล้วตกแต่งผิวใหเ้ รียบด้วยกระดาษทราย ตะไบ หรอื หิน
เจยี รก์ ็ได้

นอกจากจะใช้เติมเน้ือวัสดุแล้ว Epoxiglas® Bond Patching Kit ยังใช้เป็นกาวประสานในการเข้า
ปลอกโลหะและการประกอบชิน้ ส่วนเคร่ืองมอื Hot stick อกี ด้วย

หลังจากตกแตง่ รอยซอ่ มจนเรยี บเนียนแลว้ จะต้องทาการล้างและตากใหแ้ หง้ สนิท ตามกระบวนการที่
กล่าวมาแล้วอกี คร้ัง เพื่อเตรยี มพรอ้ มในการเคลือบผิวต่อไป

- 15 -

คู่มือการปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

2.7 กำรเคลอื บเครื่องมือ Hot stick

น้ายาเคลือบผิวฉนวน “Gloss Restorer”
ประกอบด้วยน้ายา 2 ส่วน คือน้ายาเคลือบผิว และ
น้ายาตัวทาให้แห้ง (COMPONENT A & B) บรรจุอยู่
ภายในกล่องที่อัดด้วยวัสดุคล้ายดินท่ีใช้กันกระแทก
และซับน้ายาท่ีอาจหกออกมาจากภาชนะบรรจุ น้ายา
ในกระป๋องเป็นสารระเหยและไวไฟ การใช้งานจึงตอ้ ง
ใช้ความระมัดระวัง และต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันท่ี
เหมาะสม ไดแ้ กถ่ ุงมือยางแบบบาง หนา้ กากที่สามารถ
กรองสารระเหยได้ และควรทาการเคลือบเคร่ืองมือ
กลางแจง้ ในทีท่ ี่อากาศถ่ายเทสะดวก

การผสมนา้ ยา ต้องผสมในอัตราสว่ น 1 : 1 ดว้ ยช้อนตวง 2 คัน เพอื่ ปอ้ งกันนา้ ยาติดชอ้ นไปผสมกันจน
น้ายาในกระป๋องเสียหาย ตวงน้ายาออกไปผสมกันในถ้วยตวงแล้วคนน้ายาให้เข้ากัน กะปริมาณน้ายาให้พอดี
กับเคร่อื งมือทจ่ี ะเคลอื บ โดยปรมิ าณนา้ ยา 150 cc. จะเคลือบเครื่องมือได้ประมาณ 20 ชิ้น หากใช้ไม่หมดอาจ
เก็บไว้ใช้ต่อได้อีกไม่เกิน 24 ชม. ในภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด เม่ือตวงน้ายาเสร็จแล้วปิดฝากระป๋องให้สนิทแลว้
เกบ็ ในกล่องพร้อมอดั ดินตามเดมิ

การเคลือบเครือ่ งมือจะใช้ลกู ประคบ ทีท่ าจากก้อนสาลีห่อดว้ ยผ้าสะอาดเนื้อบางไม่เป็นขยุ มดั ให้แน่น
เป็นลกู กลมขนาดประมาณ 2 น้ิว ควรทาไวห้ ลายๆ ลูก เน่ืองจากพอเคลอื บเครอื่ งมือไปหลาย ๆ ช้นิ ใยแกว้ ของ
เครอ่ื งมอื จะขดู ผ้าใหเ้ ป็นขุยและติดไปกับผวิ ทเี่ คลอื บ ให้ท้งิ แลว้ เปลย่ี นลูกใหม่

วิธีเคลือบ ให้ผู้ทาหน้าท่ีเคลือบยืนหันหลังให้แสงสว่าง ใช้ลูก
ประคบจุ่มน้ายาในถว้ ยผสม ให้น้ายาซึมเข้าไปในลกู ประคบพอสมควร
อยา่ ให้ชุ่มจนเย้มิ ปาดกับขอบถว้ ยผสมให้หมาดแล้วนาไปทาเคลือบผิว
ควรมผี ูช้ ว่ ยอีก 1 – 2 คน จับสว่ นหัวและทา้ ยของเครอ่ื งมอื Hot stick
ส่วนท่ีเป็นโลหะเพอ่ื หมนุ เคร่ืองมือให้กับผู้เคลือบ การทาเคลือบให้กด
ลูกประคบเบา ๆ จนนา้ ยาซึมออกมา แล้วลากเปน็ แนวตรงไปทางเดียวกัน ประมาณ 50 ซ.ม. อย่าทายอ้ นทาง
กลับไปกลับมาหรือลากยาวเกินไป ผู้ช่วยทาการหมุนเคร่ืองมือให้ผู้เคลือบจนครบรอบ ตรวจสอบคุณภาพการ
เคลือบ เก็บจุดท่ีไม่ถูกน้ายาและจุด
ท่ีน้ายาเย้ิมโดยอาศัยการสังเกตแสง
สะท้อน แล้วจึงขยับไปจุดถัดไป
จนกว่าจะเคลือบครบตลอดความ
ยาวของเคร่ืองมือ ไม่ควรทาซ้าหรือ
ทาทับรอยเคลือบเดิมอีก เพราะจะ
ทาให้รอยเคลือบไม่สม่าเสมอ และ
เมื่อแห้งอาจเกิดรอยล่อนท่ีเรียกว่า
รอยขี้กลาก จะต้องขัดออกและ
เคลอื บใหม่

- 16 -

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
จากนัน้ นาเครือ่ งมือ Hot stick ทเ่ี คลอื บแลว้ ไปตากแดด ซงึ่ จะแห้งภายใน 2 ชม. หากต้องการเคลือบ

อีกชั้น ต้องรอให้น้ายาชั้นแรกแห้งสนิทเสียก่อน ถ้าไม่แน่ใจควรปล่อยทิ้งไว้ 24 ชม. จึงนามาเคลือบผิว ถ้าเลย
เวลาทีก่ าหนดแล้วปรากฎวา่ ผวิ ท่เี คลือบไม่แห้งสนทิ โดยการสัมผสั ดจู ะรูส้ ึกว่าน้ายาท่เี คลือบยังเหนยี ว จับไมล่ ื่น
แสดงวา่ นา้ ยาเสือ่ มสภาพหรอื ผสมไม่ถกู ต้อง ต้องนาเครือ่ งมือไปขัดล้างเอานา้ ยาเก่าออกแล้วเคลอื บใหม่

คุณสมบัติของน้ายา Gloss Restorer เป็นน้ายาสาหรับเคลือบผิวเครื่องมือ Hot stick เพื่อให้ผิวเป็น
มันเท่าน้ัน การเคลือบทับหลาย ๆ ช้ันเพ่ือให้หนาไม่เกิดประโยชน์อันใด ไม้ฉนวนท่ีคุณสมบัติความเป็นฉนวน
ไม่ได้มาตรฐานหรอื เส่ือมสภาพแล้ว การเคลอื บ Gloss Restorer ไมส่ ามารถทาใหค้ ่าความเปน็ ฉนวนดขี น้ึ ได้

2.8 กำรขัดผวิ มัน
หลังจากเครอื่ งมอื ทเ่ี คลอื บมผี วิ ทแี่ ห้งสนทิ ดีแลว้ เมอื่ จับ

ผิวดูจะรู้สึกสากมือ ผิวจะยังไม่มนั และลื่น ต้องขัดเครื่องมือด้วย
ผ้าขัดเครื่องมือ Wiping Cloth ซึ่งเป็นผ้าที่ชุบด้วยน้ายา
Silicone เมอ่ื นามาขัดกับผิวของเครอ่ื งมอื Hot stick แลว้ จะทา
ให้ผิวเป็นมันและลื่น นอกจากนี้ Silicone ท่ีเคลือบอยู่ที่ผิวจะ
ทาให้น้าไม่สามารถเกาะจับเป็นทางตามผิว แต่จะ
แยกออกเป็นหยด ซึ่งเป็นประโยชน์ในกรณีฝนตก
ขณะทางาน ช่วยให้กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหล
ยอ้ นกลบั มาตามรอยนา้ นไี้ ด้

2.9 กำรวัดคำ่ ควำมเป็นฉนวนด้วย Hot stick Tester
เครื่องมือ Hot stick ที่ผ่านการบารุงรกั ษาแล้ว ต้องนามา

ทาการทดสอบค่าความชื้นที่ผิวของเคร่ืองมือก่อนท่ีจะนาไปใช้งาน
ด้วยเครื่องมอื ท่ีเรยี กวา่ เคร่ือง Hot stick Tester ซ่ึงมีอยู่ประจาที่
หน่วยฮอทไลน์ทั่วไป หากตรวจสอบแล้วไม่ผ่าน ต้องนาเคร่ืองมือ
ชิ้นน้ันไปทาการล้างและเคลือบผิวใหม่ และเม่ือตรวจสอบอีกคร้ัง
แล้วยังไม่ผ่าน ห้ามนาเคร่ืองมือช้ินนั้นไปใช้งาน ขอให้นาส่ง กฝช.
หรือแผนกทดสอบ เพอื่ ทาการทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้าตอ่ ไป

- 17 -

คูม่ อื การปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
เครื่อง Hot stick Tester ที่มีใช้งานอยู่ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ A.B. Chance, RITZ และ HASTING ซ่ึงมี

วธิ ีการใชง้ านไมแ่ ตกต่างกัน การวัดดว้ ยเครอื่ ง Hot stick Tester เปน็ การตรวจสอบในภาคสนาม หากไมแ่ น่ใจ
ในความปลอดภัย สามารถนาเครื่องมือ Hot stick สง่ เพ่ือทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟา้ ท่ี กวท. ได้

2.9.1 กำรตรวจเช็คเคร่ืองมือวดั ก่อนใชง้ ำน
การ SET เครื่องมือก่อนทาการทดสอบให้ตรวจเช็คสภาพทวั่ ไปว่าเคร่ืองมือนนั้ อยูใ่ นสภาพปกตหิ รือไม่

ซ่ึงวธิ กี ารตรวจเช็คมขี ้ันตอนดงั น้ี (ผลติ ภัณฑ์ A.B. Chance)
(1) วางเคร่ืองมือบนพนื้ ฉนวน ห้ามวางบนดนิ หรอื สว่ นท่เี ป็นโลหะ เพราะมีผลตอ่ การ SET เครือ่ งมอื
(2) เสียบปล๊กั เข้ากับแหลง่ จ่ายไฟฟ้า 220 โวลต์ แล้วปรบั สวติ ช์ของเคร่ืองมือไปที่ตาแหน่ง ON
(3) ปรับสวิตช์ Range ไปท่ีตาแหนง่ HI
(4) กดปุ่ม Push to calibrate แล้วหมุนปุ่ม Adjust จนกระทงั่ เข็มของเครื่องมือวัดอยทู่ ่เี สน้ กึง่ กลาง
(5) ทาความสะอาดแท่ง Check Bar อย่างถ่ีถ้วน ห้ามจับบริเวณผิวแท่ง Check Bar ด้วยมือเปล่า
เพราะความช้ืนของมือจะมีผลทาให้เครือ่ งมอื แสดงผลการทดสอบผิดพลาด
(6) สอดแทง่ Check Bar เขา้ ไปในชอ่ งระหว่างข้ัวไฟฟ้า (Electrode Plates) ภายในเครื่องมอื โดยให้
ด้านที่มีแถบสีดาที่ติดอยู่บนแท่ง Check Bar หันไปทางหน้าปัดของเคร่ืองมือ ถ้าเคร่ืองมือเป็น
ปกติ เข็มจะช้ีอยู่ระหว่างจุดก่ึงกลางของหน้าปัด ถ้าเข็มไม่อยู่ในตาแหน่งกึ่งกลาง ให้ทาความ
สะอาดขวั้ ของแท่ง Check Bar แลว้ ปฏิบตั ิตามข้นั ตอนเดิมอีกครัง้ หน่ึง
หมำยเหตุ ถ้าเข็มยังไม่อยู่กึ่งกลาง (แกว่งไปมาเป็นบริเวณกว้าง หรือตีสุดสเกล) แสดงว่าเครื่องมือ

ชารดุ ใหจ้ ดั สง่ เครอื่ งมือน้ันเขา้ ตรวจสอบเพื่อหาสาเหตใุ ห้กับสว่ นที่เกยี่ วข้องดาเนินการต่อไป

การปรบั ป่มุ Adjust

ตาแหน่งสวติ ช์ต่าง ๆ และหน้าปัด

สอดแทง่ Check Bar และตาแหน่งแถบสีดา
การปรับปมุ่ Adjust

- 18 -

คู่มือการปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
2.9.2 กำรทดสอบคำ่ ควำมเป็นฉนวน

การทดสอบคา่ ความเปน็ ฉนวน (Insulation Test) เครอ่ื งมือ Hot stick หลังจากตรวจสอบสภาพปกติ
ท่ัวไปของเครอ่ื งมือ Hot stick Tester แลว้ มวี ธิ ีปฏบิ ัติดังน้ี

(1) เสยี บปลกั๊ เขา้ กับแหลง่ จ่ายไฟฟ้า 220 โวลต์ ปรับสวติ ชข์ องเคร่ืองมือไปท่ตี าแหน่ง ON (Power)
(2) ปรับสวิตช์ Range ไปท่ีตาแหน่ง LO เมื่อต้องการทดสอบเคร่ืองมือฮอทไลน์ ที่ใช้งานในระบบ

ไม่เกิน 33 kV และปรับสวิตช์ Range ไปทต่ี าแหน่ง HI เม่ือตอ้ งการทดสอบเครอื่ งมือฮอทไลน์ที่ใช้งาน
ในระบบต้ังแต่ 69 kV ขนึ้ ไป
(3) กดปมุ่ Push to calibrate จากนนั้ หมุนปุ่ม Adjust จนกระทงั่ เข็มอยรู่ ะหว่างกง่ึ กลาง
(4) นาเครื่องมือ Hot stick ที่จะทาการทดสอบวางบนขาต้ังหรือที่รองรับ (ให้ขนานกับพ้ืนดิน) แล้ว
นาเครื่องมือทดสอบวางคร่อมบนไม้ Hot stick ในตาแหน่งที่ต้องการทดสอบ ห้ามให้ข้ัวไฟฟ้า
(Electrode Plates) ของเครื่องมอื ทดสอบทอี่ ย่ดู ้านในสมั ผสั กบั ส่วนท่ีเป็นโลหะของเครอื่ งมอื
(5) สังเกตเข็มของเครื่องมอื ทดสอบจะต้องอยู่ในบรเิ วณแถบสีเขียว จากนั้นนาเครื่องมอื ทดสอบวาง
ครอ่ มบนไม้ Hot stick ในตาแหน่งท่ีต้องการทดสอบ อยา่ ใชว้ ธิ เี ล่ือนไป-มาบนไม้ Hot stick
(6) ถ้าเขม็ ของเครือ่ งมือทดสอบชี้ในบริเวณแถบสแี ดงใหใ้ ช้ผ้า Wiping Cloths เชด็ ให้แห้ง แล้วนามา
ทดสอบอกี ครง้ั ถ้าหากเขม็ ของเครือ่ งมือทดสอบยังคงชี้ในบริเวณแถบสีแดงอีก ห้ามนาเคร่ืองมือ
Hot stick นัน้ ออกมาใชง้ านและควรจัดส่งให้กับส่วนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งหรือบรษิ ทั ผู้ผลติ ตรวจสอบตอ่ ไป
หมำยเหตุ เครอ่ื งมอื ทดสอบทเี่ ปน็ ผลติ ภณั ฑอ์ ืน่ ควรศกึ ษาคมู่ อื แนะนาการใชง้ านก่อนทาการทดสอบ

กำรอ่ำนค่ำ เครื่อง Hot stick Tester ที่ใช้ตรวจเช็คค่ากระแสรัว่ ไหลท่ีผิวของเคร่ืองมือประเภท Hot
stick ขอแนะนาใหต้ ัง้ คา่ การวดั ที่ตาแหน่ง WET TEST ซึง่ จะมีอัตราสว่ นเทยี บเทา่ การวดั ทีแ่ รงดันขนาด 75 kV
แล้วเลือกอ่านค่าที่ได้สเกลบน ซึ่งเหมาะกับการเช็คตรวจสอบ Hot stick ที่ได้เข้ารับการซ่อมแซมบารุงรักษา
ดังที่กลา่ วมาแล้ว แต่หากเลอื กต้ังค่าที่ตาแหนง่ DRY TEST จะมอี ตั ราสว่ นเทียบเท่าการวัดที่แรงดนั ขนาด 100 kV
ให้เลอื กอ่านค่าที่ได้สเกลลา่ ง เหมาะกับการใชต้ รวจสอบกบั เครอื่ งมอื Hot stick ใหม่ท่ยี ังไม่ได้ใช้งาน

ขอ้ มลู อำ้ งอิง
- คมู่ ือการปฏบิ ัติงานชา่ งเชอ่ื มสายแรงสูง (ฉบบั แกไ้ ข 2553 โดยนายอทุ ยั มีทพิ ยก์ จิ )
- Hubbell Chance Tools Catalog ฉบับ December 1999

- 19 -

คู่มอื การปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
2.10 ช่อื เคร่ืองมือและหนำ้ ทกี่ ำรใชง้ ำน

กอ่ นปฏิบตั งิ านทกุ ครง้ั ผ้ปู ฏิบัติงานต้องตรวจสอบเครื่องมือที่จะใช้ และปฏบิ ัตใิ หเ้ ปน็ นสิ ัย เพราะแมจ้ ะ
มีการบารุงรักษาที่ดีเพียงใดก็ตาม แต่การชารุดเสียหายของเคร่ืองมืออาจเกิดขึ้นได้โดยท่ีเราไม่รู้ หากพบสิ่ง
ผิดปกติในเครื่องมือช้ินใด ให้ทาป้ายหรือสัญลักษณ์ติดที่เคร่ืองมือให้เห็นเด่นชัด เพื่อป้องกันการนาเคร่ืองมือ
ชารดุ ออกไปใชง้ าน แล้วแยกเกบ็ ตา่ งหากเพื่อรอการซอ่ มแซมหรือรอการดาเนนิ การตอ่ ไป

1. ประเภทไม้ฉนวน (Hot stick)
ถือไดว้ ่าเป็นเคร่ืองมือท่ีมคี วามสาคัญมาก เน่อื งจากตอ้ งรบั ภาระทัง้ ทางกลและทางไฟฟา้ ผู้ปฏบิ ัติงาน
ต้องตรวจสอบใหแ้ นใ่ จว่า คุณสมบตั ิความเปน็ ฉนวนและความแข็งแรงของเครื่องมอื อยใู่ นสภาพท่พี รอ้ มใชง้ าน

รปู ทรง, กลไก ตรวจสอบว่าส่วนประกอบทุกช้ินของเครื่องมือมีรูปทรงปกติ ไม่บิดเบ้ียว ไม่โก่งหรือ
แอ่น ไม่แตกร้าวหรือหัก รูปทรงท่ีผิดปกติอาจหมายถึงเครืองมือเคยรับแรงเกินพิกัด
หรือชารุดเสียหาย รวมถงึ ทดสอบกลไกต่าง ๆ ของเครื่องมือว่าทางานเปน็ ปกติ

จุดตอ่ , ขอ้ ตอ่ ปลอกเหล็กและชน้ิ ส่วนต่าง ๆ ทีป่ ระกอบโดยใชก้ าว Epoxy ต้องไม่หลุดหลวมหรือปริ
แตก แนวรอยพอกต้องไม่กะเทาะจนเห็นช่องวา่ ง ส่วนจุดต่อที่เช่ือมต่อด้วยหมุด สลัก
นอต ตอ้ งแน่น และตรวจสอบนอต สกรู พินลอ็ ก ว่าไมม่ ชี ้ินใดหลุดหลวมหรือสูญหาย

ผิว, เนื้อวัสดุ ผิวฉนวนของเครื่องมือต้องเปน็ มันวาวและเรียบลนื่ เนือ้ วสั ดไุ ม่เปลี่ยนสไี ปจากปกติ ไม่มี
รอยถลอก คราบสกปรกหรอื รอยไหมท้ ส่ี ่งผลกระทบร้ายแรงตอ่ คุณสมบัติความเปน็ ฉนวน
ช้ินสว่ นท่เี ปน็ โลหะตอ้ งไม่เปน็ สนมิ หรือการผุกรอ่ น ไม่มีร่องรอยการหลอมละลาย
- 20 -

คู่มอื การปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

ชอื่ เครอ่ื งมอื : Grip-All Clamp Stick
กำรใชง้ ำน : เป็นไม้ Hot Stick ประเภทหนง่ึ ท่ีด้านหัวจะเป็นตะขอที่สามารถบังคับใหเ้ ปิดหรือปิด
ได้ สาหรับใช้ในการติดตั้งฉนวนครอบต่าง ๆ เช่น Conductor Cover, Insulator
ขนำด : Cover, Crossarm Cover ฯลฯ รวมท้ังใช้ในการติดต้งั Hotline Clamp, Bail Clamp
1 ¼” x 8’ และ 1 ¼” x 12’

ชอ่ื เคร่อื งมอื : Wire Tong
กำรใชง้ ำน : เปน็ อุปกรณ์ Hot Stick ท่ีมหี น้าทค่ี ้ายันสายไฟฟา้ และใช้ประกอบกบั Dual Auxiliary
Arm เป็นชุดคอนสายช่ัวคราว สาหรับ Wire Tong ท่ีใช้ในงานด้านฮอทไลน์ มีความ
พกิ ัด : ยาว 8’, 10’, 12’ และ 16’(มลี กั ษณะเป็น 2 ทอ่ น)
1. ขนาด 2” รบั นา้ หนกั ได้ 900 ฟตุ -ปอนด์ รบั แรงดึงได้ 2,000 ปอนด์
2. ขนาด 2 ½” รบั นา้ หนักได้ 1,500 ฟุต-ปอนด์ รับแรงดึงได้ 2,500 ปอนด์
3. ขนาด 3” รบั นา้ หนักได้ 2,500 ฟุต-ปอนด์ รบั แรงดงึ ได้ 3,000 ปอนด์

ช่ือเคร่อื งมือ : Dual Auxiliary Arm
กำรใช้งำน : เปน็ อปุ กรณ์ Hot Stick สาหรับประกอบเปน็ คอนสายชัว่ คราว เพ่อื ใชร้ องรบั สายไฟฟ้า
ในระหว่างการเปลีย่ นคอน โดยสามารถประกอบได้ 2 รปู แบบ
ขนำด :
1. Side Arm Assembly เพ่ือย้ายสายเฟส A, B ออกไปด้านข้าง ในงานเปลย่ี น
ลูกถ้วยหรือคอนแบบทางโค้ง

2. Lifting Arm Assembly เพื่อย้ายสายไฟทั้ง 3 เฟสข้ึนด้านบน ในงานเปล่ยี น
ลูกถ้วยและคอนแบบทางตรง

2 ½” x 9’ และ 2 ½” x 10’

- 21 -

ค่มู ือการปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ชือ่ เคร่อื งมอื : Fixed Prong Rotary Prong Rotary Blade
กำรใช้งำน : Tie Stick
เป็นไม้ฉนวน ใช้สาหรับการแก้/พัน ลวดอลูมิเนียมกลม,ลวดอลูมิเนียมแบน โดยท่ีหัว
ขนำด : ด้านหนึ่งอาจเป็น Fixed Prong, Rotary Prong หรือ Rotary Blade ซ่ึงจะเป็นแบบ
ยึดติดแนน่ สว่ นอกี ดา้ นหน่ึงจะเปน็ หวั เอนกประสงค์ (Universal)
1 ¼” x 8’ และ 1 ¼” x 12’

ชื่อเคร่ืองมอื : Universal Pole
กำรใชง้ ำน : เป็นไม้ Hot stick ประเภทหนง่ึ ซง่ึ ปลายทงั้ สองดา้ นจะมีลกั ษณะเป็นหวั เอนกประสงค์
สามารถนาเครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ มาตดิ ตั้งใชง้ านได้
ขนำด : 1 ¼” x 8’ และ 1 ¼” x 12’

เคร่ืองมอื สำหรับตดิ ต้งั กบั หวั เอนกประสงคท์ ีใ่ ชง้ ำนบอ่ ย V – Shape Conductor
Fixed Prong Tie Stick Cleaning Brush
Head ใช้สาหรับทาความสะอาดสาย
ใ ช้ ส า ห รั บ พั น ล ว ด อ ลู มิ เ นี ย ม ก่อนทาการเช่อื มสาย
กลม Semi – Tubular Shape
Rotary Prong Tie Stick Conductor Cleaning Brush
Head ใช้สาหรับทาความสะอาดสาย
ใช้สาหรับ พันลวดอลูมิเนียม ก่อนทาการเช่ือมสาย
กลมและใชใ้ นการปอกสาย Ratchet Wrench
Rotary Blade Tie Stick Head จะใช้ร่วมกับชุด Hex Socket
ใช้สาหรับ แก้ลวดอลูมิเนียม Set เพือ่ ขนั น็อตชนิด 6 เหลยี่ ม
กลม และลวดอลมู เิ นียมแบน Hack Saw
Skinning Knife เป็นเล่ือยสาหรับตดั สายไฟฟ้า
ใช้สาหรบั ปอกสาย PVC
Pruning Saw
Point Disconnected Head ใช้สาหรับ ตัดกิ่งไม้ที่อยู่ใกล้
ใช้สาหรบั ปลด/สบั สวติ ช์ตา่ ง ๆ สายไฟฟา้

- 22 -

คูม่ ือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ช่ือเคร่ืองมอื : Wire Cutter
กำรใช้งำน : เป็นอุปกรณ์ประเภท Hot Stick ใช้สาหรับตัดสายไฟฟ้าขนาดเล็ก หรือใช้ตัดลวด
อลมู เิ นยี มกลม (Tie Wire)
พกิ ัด : 1 ½” x 6’ หนกั 8 ½ ปอนด์ (3.8 กก.)

for ACSR for Al. or Cu.

ชื่อเคร่ืองมอื : Ratchet Cable Cutter
กำรใช้งำน :
ใช้สาหรับตัดสายไฟฟ้า ทางานด้วยกลไกแบบเฟืองขบ ช่วยให้สามารถตัดสายขนาด
ขนำด :
ใหญไ่ ดโ้ ดยไมเ่ ปลอื งแรง ในการตัดต้องเลือกหวั ตดั ให้เหมาะกับชนดิ ของสาย

1 ½” x 6’ และ 1 ½” x 8’

ชอ่ื เครื่องมอื : Conductor Cutter with Insulated Handle
กำรใช้งำน : ใช้สาหรับตัดสายไฟฟ้าขณะไม่มีไฟ โดยส่วนหัว

สามารถสับเปล่ียนกับหัวของ Ratchet Cutter
ได้ เพอื่ ใหเ้ หมาะกับชนดิ ของสายที่จะตัด

ช่อื เคร่ืองมอื : Wire Holding Stick
กำรใช้งำน : เป็นไม้ฉนวนสาหรับจับล็อกสายไฟฟ้า เพ่ือป้องกันการแกว่งหรือดีดตัวของสายไฟฟ้า
ในขณะเชื่อมสายหรือตัดสาย หัวของ Wire Holding Stick สามารถปรับเป็นมุมต่าง ๆ
ขนำด : ตามมมุ ของสายไฟฟ้าได้ และท่ีด้ามมลี ูกบิดเพ่อื ปรบั ขนาดปากให้พอดกี บั สายไฟฟ้า
1 ¼” x 6’ และ 1 ¼” x 8’

- 23 -

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

ชอื่ เคร่อื งมอื : Insulated Hanger
กำรใช้งำน : เปน็ เครอื่ งมือที่เปน็ ฉนวนใชต้ ิดต้ังกับสายไฟฟ้า เพอื่
ไว้พกั สายลีดในงานเชอ่ื มสายต่าง ๆ
พกิ ดั : ความยาวประมาณ 1 ฟุต ทนแรงดันได้ 34.5 kV

ชอ่ื เคร่อื งมือ : Strain Link Stick
กำรใชง้ ำน : เปน็ เครอื่ งมอื Hot Stick ที่ใชส้ าหรับดงึ ร้ังสายไฟฟ้า โดยปลายข้างหน่ึงจะมีปากใช้ยึด
จับกับสายไฟและปลายอีกด้านหนึง่ จะมีห่วงสาหรับผูกเชือก ลักษณะปากของ Strain
พิกดั : Link Stick จะยึดติดแนน่ กับสายไฟฟา้
1 ¼” x 4’, 1 ¼” x 6’ รบั แรงดงึ ได้ 3,500 ปอนด์ (1,590 กก.)

ช่ือเครื่องมือ : Roller Link Stick
กำรใชง้ ำน : เป็นเคร่ืองมือ Hot Stick ที่ใช้สาหรับดึงร้ังสายไฟฟ้า มีคุณสมบัติคือ สามารถลาก
เคล่อื นยา้ ยไปมาบนสายไฟฟ้าได้ แตจ่ ะรบั น้าหนกั ได้น้อยกว่า Link Stick ประเภทอืน่
พิกดั : 1 ¼” x 4’, 1 ¼” x 6’ รับแรงดึงได้ 1,000 ปอนด์ (454 กก.)

ชอื่ เครือ่ งมือ : Spiral Link Stick
กำรใชง้ ำน : เป็นเครื่องมือ Hot Stick ที่ใช้สาหรับดึงร้ังสายไฟฟ้า ลักษณะปากใช้วธิ ีคล้องเก่ียวกับ
สายไฟฟ้า
พกิ ัด : 1 ½” x 1’, 1 ½” x 3.5’ รับแรงดึงได้ 3,500 ปอนด์ (1,590 กก.)

ช่ือเครื่องมือ : Spliced Disconnect Stick
กำรใช้งำน : ใช้สาหรับปลด/สบั Dropout Fuse Cut Out หรอื Disconnecting Switch
ขนำด : 1 ½” x 8’ (3 ท่อน) หรอื 1 ¼” x 12’ (2 ท่อน)

- 24 -

คู่มือการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ชอ่ื เครื่องมือ : Tree Trimmer
กำรใช้งำน : ใช้ตัดกิ่งไม้ที่อยู่ใกล้แนวสายไฟฟ้า โดยมีส่วนประกอบแยกออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนที่เปน็
Epoxiglas® Tree Trimmer และ Extension ชนดิ 1 และ 2 Splice
ขนำด : เมื่อต่อกนั ท้งั หมดแล้วมีความยาวต้งั แต่ 10’ – 16’

ช่ือเครอ่ื งมือ : Hook Ladder
กำรใชง้ ำน : เป็นบนั ไดที่ทาดว้ ย Epoxiglas® ใช้สาหรับคลอ้ งเกย่ี วกบั โครงสรา้ งเพื่อยนื ปฏิบตั งิ าน
พิกดั : รบั น้าหนักได้ 750 – 1,250 ปอนด์

ชื่อเคร่อื งมอื : Insulated Sliding Ladder
กำรใชง้ ำน : เป็นบันไดทท่ี าด้วย Fiber Glass ใชส้ าหรับอานวยความสะดวกในการขึน้ เสา
ขนำด : สามารถยืดไดส้ งู สดุ 7.5 เมตร

ชือ่ เคร่ืองมือ : Adjustable Platform
กำรใชง้ ำน : เปน็ แผ่นฉนวนทาจาก Epoxiglas® สาหรบั ติดต้ัง

กับเสาเพ่ือยืนปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานได้
ทั้งแบบ Hot stick และ Rubber Glove
ขนำด : 4’ และ 6’
พกิ ดั : รับน้าหนกั ไดส้ งู สดุ 800 ปอนด์ (363 กก.)

ชอ่ื เครอื่ งมือ : Extension Arm
กำรใช้งำน : เป็นชดุ คอนสายชวั่ คราว แบบติดตั้งกบั ปลายคอน

ของวงจรล่าง เพ่ือใช้พักสายไฟฟ้าของวงจรล่าง
เมื่อต้องข้ึนไปปฏบิ ัติงานกบั วงจรบน
ขนำด : 2 ½" x 5' และ 2 ½" x 6'

- 25 -

คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
2. ประเภทฉนวนครอบปอ้ งกัน (Cover-up Equipment)
เปน็ อุปกรณท์ ่ใี ชป้ ้องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้า ในกรณที ผ่ี ูป้ ฏบิ ัติงานมีโอกาสท่ีจะเข้าใกลจ้ ุดที่มีไฟเกินกว่า

ระยะความปลอดภยั โดยมิได้ต้งั ใจ ถือวา่ เป็นปราการด่านสุดทา้ ย อปุ กรณป์ ้องกันในการปฏบิ ัติงานจงึ ควรกันไว้
ใช้เพือ่ ปฏิบตั ิงานโดยเฉพาะ ไม่ควรใชป้ ะปนกบั ฉนวนครอบที่ครอบใหผ้ ู้ใช้ไฟ เน่ืองจากการครอบทง้ิ ไวก้ ลางแจ้ง
และสัมผสั กับความชืน้ ฝุน่ ควนั ปนู ซีเมนตจ์ ากการก่อสรา้ ง ฯลฯ จะทาให้ผิวฉนวนเสือ่ มสภาพเรว็ กวา่ ปกติ

รปู ทรง, กลไก ตรวจสอบทัง้ ภายนอกและภายในวา่ ส่วนประกอบทกุ ชิน้ มรี ูปทรงปกติ ไม่บดิ เบี้ยวหรือ
ย้วย ทดลองบิดและขยับชิ้นส่วนต่าง ๆ เพื่อค้นหารอยปริแตกหรือรอยฉีกขาดที่อาจ
ซ่อนอยู่ ฉนวนครอบที่ผิดรปู ทรงอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพในการป้องกันผู้ปฏิบัติงาน
รวมถึงทดสอบกลไกตา่ ง ๆ ว่าทางานเป็นปกติ

จดุ ต่อ, ขอ้ ตอ่ ทดลองขยับช้ินส่วนต่าง ๆ ที่ต่อเช่ือมกัน ท้ังส่วนที่เช่ือมต่อกันด้วยความร้อน ด้วยกาว
หรือด้วยน็อตและสกรู รอยต่อเหล่านี้ทุกรอยจะต้องสนิทแนบและไม่มีรอยฉีกขาด
โดยเฉพาะเน้ือพลาสติกตรงจุดที่ติดต้ังหูเหล็ก เพราะเป็นจุดท่ีต้องรับแรงในระหว่าง
การใชง้ าน และตรวจสอบนอต สกรู พนิ ล็อกวา่ ไม่มชี น้ิ ใดหลุดหลวมหรือสูญหาย

ผวิ , เนื้อวสั ดุ ผิวของฉนวนครอบต้องสะอาดและคงสภาพเดิม ไม่มีรอยไหม้และรอยทะลุ เน้ือวัสดุไม่
เปลี่ยนสีไปจากปกติ ไม่กระด้าง แห้งกรอบหรือแตกลายงา โดยทดลองดัดและบิดผิว
ฉนวนเล็กน้อยเพื่อสังเกตการคืนตัวของเน้ือวัสดุ ช้ินส่วนที่เป็นโลหะต้องไม่เป็นสนิม
หรือผุกรอ่ น ไมม่ ีร่องรอยการแตกร้าวหรือหลอมละลาย
- 26 -

คู่มือการปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ชอ่ื เครื่องมือ : Conductor Cover
กำรใช้งำน : เป็นฉนวนสาหรับครอบสายไฟฟ้าทอ่ี ยู่ใกล้กบั ผ้ปู ฏิบตั งิ านหรือใกล้ส่ิงก่อสร้าง ภายในมี
บ่าสาหรับรองรับสาย ช่วยเพ่ิมระยะห่างทางอากาศระหว่างสายตัวนาที่อยู่ภายในกับ
พกิ ัด : ผิวฉนวนภายนอก และมีล็อกสาหรับป้องกันอปุ กรณ์ตกจากสาย สามารถใช้งานไดท้ ง้ั
ระบบ 22 kV และ 33 kV
ยาว 5 ฟุต หนัก 9 ¼ ปอนด์ (4.2 kg.), ตามสเปคของ กฟภ. ต้องทนแรงดัน  - 
ได้ไมน่ อ้ ยกวา่ 36.6 kV

ชื่อเครอื่ งมือ : Conductor Cover
กำรใช้งำน : เป็นฉนวนครอบสายไฟฟ้า สาหรับให้ผู้ใช้ไฟเช่าเพื่อครอบในบริเวณท่ีก่อสร้างเท่านน้ั
ใช้งานได้ในระบบ 22 kV
พกิ ดั : ยาว 5 ฟุต หนัก 4 ปอนด์ (1.8 kg.) ทนแรงดัน  -  ได้ 25 kV (ผลิตภัณฑ์ A.B.
Chance)

ช่อื เครื่องมอื : Insulator Cover
กำรใชง้ ำน : เป็นฉนวนครอบลูกถ้วยไฟฟ้า สามารถปรับความยาวได้

ตั้งแต่ 22” – 34” เพื่อความสะดวกในการใช้งานกับเสา
ไฟฟ้าท้ังต้นทางตรงคอนเดีย่ ว และตน้ ทางโคง้ คอนคู่
พกิ ดั : หนัก 11 ปอนด์ (5 กก.), ตามสเปค กฟภ. ต้องทนแรงดนั
 -  ได้ไมน่ ้อยกวา่ 36.6 kV

ชือ่ เครือ่ งมือ : Crossarm Cover
กำรใชง้ ำน : เป็นฉนวนสาหรับครอบคอน เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัยในการแก้
และพันลวดอลูมิเนียมกลม ท่ีใช้งานในปัจจุบันจะมี 2 แบบ คือ
พกิ ดั : สาหรบั ลกู ถว้ ย Pin Type และสาหรบั ลูกถ้วย Line Post – Pin
Post Type
หนัก 3¼ ปอนด์ (1.5 กก.), ตามสเปคของ กฟภ. ต้องทนแรงดัน
 -  ได้ไมน่ อ้ ยกว่า 34.5 kV

- 27 -

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

ขนำด 1’ ช่ือเครอ่ื งมือ : Pole Cover
ขนำด 6’ กำรใชง้ ำน : เป็นฉนวนสาหรับครอบเสาในงานฮอทไลน์

โดยใช้งานใน 3 ลักษณะ คือ
- ขนาด 1’ หรือ 2’ ใช้สาหรับครอบหัวเสา

ในการแก้/พนั ลวดอลูมเิ นียมกลม
- ขนาด 3’ หรือ 4’ ใช้สาหรับครอบหัวเสา

ทีม่ กี ารติดตั้ง Over Head Ground Wire
ในการแก้/พันลวดอลูมิเนียมกลม หรือใน
กรณีระบบจาหนา่ ยวงจรลา่ ง
- ขนาด 6’ ใช้ในการครอบเสาเพื่อทาการ
ปกั /ถอนเสา โดยจะต้องผูกเชือกร้อยรูเสา
เพอ่ื ปอ้ งกนั Pole Cover รูดลงมาด้วย
พกิ ดั : ตามสเปคของ กฟภ. ต้องทนแรงดัน  - 
ได้ไม่นอ้ ยกวา่ 36.6 kV

ช่อื เครื่องมอื : Multi-Ranging Voltage Detector
กำรใช้งำน : ใช้สาหรับตรวจจับแรงดันในสายไฟฟ้า โดยไม่ต้องสัมผัสกับ

สายตัวนาโดยตรง มี Selector Switch สาหรบั ปรบั ย่านการวัด
ให้เหมาะสมกบั ระดบั แรงดนั ตา่ ง ๆ

- 28 -

คู่มือการปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
3. ประเภทโลหะ (Hard Ware)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ติดต้ังเพ่ือรับน้าหนักสายไฟฟ้าหรืออุปกรณ์อ่ืน ๆ โดยมากมักทามาจากโลหะผสม

ประเภท Heat-treated aluminum-alloy ซงึ่ มจี ดุ เด่นคือมีความแขง็ และมนี ้าหนกั เบา แต่จะชารุดไดง้ า่ ยจาก
การรว่ งหล่น กระแทก ใชง้ านเกินพิกดั หรือใช้งานผิดลกั ษณะท่ีผู้ผลติ กาหนด รวมถงึ การเกบ็ รกั ษาทไ่ี ม่ถูกต้อง

รูปทรง, กลไก ตรวจสอบดว้ ยสายตาวา่ ส่วนประกอบทุกชนิ้ มรี ปู ทรงปกติ ไม่บ่นิ หรือบิดเบีย้ ว ไม่คดงอ
ไม่หักหรือแตกร้าว โดยเฉพาะจุดท่ีมีการรับแรงต้องตรวจสอบอย่างถี่ถ้วน รูปทรงท่ี
ผิดปกติอาจเพียงทาใหก้ ารประกอบใช้งานไม่สะดวก หรืออาจส่งผลกระทบร้ายแรงถงึ
ประสิทธิภาพการรับน้าหนัก รวมถึงทดสอบกลไกในจุดต่าง ๆ เช่น สปริง ล้ินล็อก
ฟันเฟอื ง ฯลฯ วา่ ทางานเปน็ ปกติ

จดุ ตอ่ , ขอ้ ต่อ เครอื่ งมอื ประเภทโลหะมักมีช้ินสว่ นตา่ ง ๆ หลายชิ้นนามาสวมประกอบกนั แลว้ ยึดด้วย
นอ็ ต สกรู สลกั หมุดตา่ ง ๆ ก่อนใชง้ านตอ้ งตรวจสอบว่าไมม่ ีการสกึ หรอท่ีผิดปกติ หรอื
คลายตัวหลุดหลวม สลักเกลียวต้องไม่รูดหรือล้ม ซึ่งอาจเกิดจากการรับแรงเกินพิกัด
หรอื การถูกใช้งานมานาน สว่ นขอ้ ตอ่ ท่ีเป็นจดุ หมุนตอ้ งหมนุ ได้อย่างราบลนื่ ไม่ติดขัด

ผิว, เนื้อวสั ดุ ปญั หาใหญ่ของเครอื่ งมอื ที่เป็นโลหะคอื สนิม ซ่งึ อาจเกดิ จากลักษณะการใชง้ านหรือการ
เก็บรกั ษาทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง รองลงมาคอื ร่องรอยการหลอมละลายเพราะไดร้ ับความร้อนจาก
เปลวอาร์กหรือการลัดวงจร แต่ที่พบไม่บ่อยคือการผุกร่อน ซึ่งอาจมีสาเหตุจากความ
บกพรอ่ งในกระบวนการผลิต เครื่องมือทีม่ ีสภาพดังกล่าวไมค่ วรนาออกไปใช้งาน
- 29 -

ค่มู อื การปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ชอื่ เครอ่ื งมอื : Wire Tong Saddle Wheel Binder
กำรใช้งำน : ใช้ติดต้ังกับเสาเพ่ือรองรับ Wire Tong ในการเคล่ือนย้าย

สายไฟฟ้า หรอื รองรับเครือ่ งมอื ฮอทไลนอ์ ่นื ๆ
พิกัด : หนัก 8 ปอนด์ (3.6 กก.), รับน้าหนักได้ 360 กก. กรณีต่อ

Extension, รับน้าหนักได้ 450 กก. กรณไี ม่ได้ต่อ Extension

อุปกรณป์ ระกอบสำหรบั ตดิ ต้งั กบั Wire Tong Saddle
ชอ่ื เคร่อื งมือ : Extension
กำรใชง้ ำน : ใช้ประกอบกับ Wire Tong Saddle เพ่ือใช้ใน
การเพ่ิมระยะห่างของ Wire Tong กับเสา เช่น
ใช้กบั Wire Tong 12’, 16’ หรือต้นคอนคู่
ขนำด : ยาว 4” หนกั 1 ปอนด์ (0.45 กก.)

ชื่อเครอ่ื งมอื : Pole Clamp
กำรใชง้ ำน : ใช้ประกอบกับ Wire Tong Saddle เพื่อใช้ยึด

จับกับ Wire Tong ขนาดต่าง ๆ โดยจะมีช่ือ
เรียกแตกต่างกันไป เช่น Saddle ท่ีประกอบ
Pole Clamp เ รี ย ก ว่ า Wire Tong Saddle
With Pole Clamp, ห า ก มี ก า ร ป ร ะ ก อ บ
Extension ไ ปด้ว ยจะ เรียก ว่ า Wire Tong
Saddle Extension With Pole Clamp เป็นตน้
ขนำด : 2” ,2 ½” หนักประมาณ 2 ปอนด์ (0.9 กก.)

ชื่อเครอื่ งมอื : Wire Tong Saddle with Clevis
กำรใช้งำน : ใช้ติดต้ังกับเสา สาหรับประกอบกับ
Wire Tong 8’ ท่ใี ชค้ า้ ชุด Side Arm
ขนำด : 2 ½” หนัก 2 ½ ปอนด์ (1.1 kg.)

ช่ือเครือ่ งมอื : Dual Auxiliary Arm Saddle
กำรใชง้ ำน : ใช้ติดต้ังกับเสาเพ่ือประกอบกับ Dual

Auxiliary Arm

ชื่อเครือ่ งมือ : Rope Snubbing Bracket
กำรใช้งำน : ใช้ติดต้ังกับเสาไฟฟ้า สาหรับผูกเชือกรอกต่าง ๆ ท่ีดึงร้ัง
สายไฟฟ้า เพื่อปอ้ งกนั การล่ืนไถลของ Wire Tong ในกรณี
ท่ี Pole Clamp จับ Wire Tong ไมแ่ นน่ พอ

- 30 -

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

อุปกรณ์สำหรบั ตดิ ตง้ั กับ Wire Tong

ชอ่ื เคร่ืองมือ : Wire Tong Pole Clevis
กำรใช้งำน : ใช้ประกอบกับ Wire Tong 16’ เพื่อใช้ยึดจับกับ Wire
Tong 8’ ท่ใี ช้ค้าชดุ T-Phase ในงานเปล่ียนไมค้ อนโดยใช้
ขนำด : ชดุ Lifting Arm
2 ½” หนัก 2 ½ ปอนด์ (1.1 kg.)

ชื่อเครือ่ งมือ : Off Set Pulling Eye
กำรใชง้ ำน : เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ประกอบกับห่วงของ Wire Tong 12’
เพื่อใช้สาหรับให้รอก 3-2 เกี่ยว ในการรับน้าหนักและ
ชื่อเคร่ืองมอื : เคล่ือนย้ายสายไฟฟา้
กำรใช้งำน : Wire Tong Band
เป็นเครื่องมือท่ีใช้ประกอบกับตัวของ Wire Tong 12’
ขนำด : เพื่อใช้สาหรับให้รอก 2-1 เกี่ยวในการเคล่ือนย้าย
สายไฟฟ้า
2” และ 2 ½”

ชื่อเครื่องมือ : Wire Tong Stirrup
กำรใชง้ ำน : ใช้สาหรับนา Wire Tong 8’ มาจับเพ่ือประกอบเป็นชุด Side

Arm Assembly และ Lifting Arm Assembly

Fork Type Roller Type ช่ือเครือ่ งมอื : Wire Holder
กำรใชง้ ำน : เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกับชุด Side Arm และ

Lifting Arm เพื่อใชใ้ นการรองรบั สายไฟฟา้ ปจั จุบัน
มีใช้งานอยู่ 2 แบบ คือ Fork Type และ Roller
Type โดยท่ัวไปมักจะมีการประกอบกับ Wire
Holder Insulator เพือ่ เพ่ิมความปลอดภัย

ช่อื เครื่องมือ : T-Pole Clamp
กำรใช้งำน : ใช้ติดต้ังกับ Dual Auxiliary Arm เพื่อประกอบเป็นชุด Lifting
Arm Assembly โดยเป็นจุดที่จะใช้สาหรับนา Wire Tong 2
½” x 16’ มาประกอบใช้งาน

- 31 -

ค่มู อื การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick Wire Holder Insulator
ใชป้ ระกอบกับ Wire Holder (ตามรูป) เพ่ือ
ชอ่ื เครอื่ งมอื : เพิ่มความปลอดภัยในการทางานกับระบบ
กำรใชง้ ำน : จาหนา่ ยสงู กว่า 15 kV

ชื่อเครอ่ื งมอื : Transformer Gin
กำรใชง้ ำน : เป็นเครื่องมือที่ใช้ติดต้ังกับเสา เพ่ือแขวนรอกสาหรับดึง
หม้อแปลงในการติดตงั้ และรอื้ ถอนหม้อแปลง
พกิ ดั : รบั น้าหนักได้ 2,000 ปอนด์ (909 กก.)

ช่อื เคร่อื งมอื : Hoist

กำรใช้งำน : เปน็ เคร่อื งมอื ดงึ สายไฟ แบง่ เป็น 2 แบบ คอื

1. Ratchet Chain Hoist เป็นแบบโซ่ ใช้ใน

งานดับไฟหรอื งานกอ่ สร้างระบบจาหนา่ ย

2. Nylon- Strap Ratchet Hoist เ ป็ น แ บบ

ผา้ ใบ ใช้ในงานฮอทไลน์กระเชา้

Ratchet Chain Nylon-Strap พิกัด : 1. แบบ Chain มขี นาดตัง้ แต่ ¾ – 3 ตนั
Hoist
Ratchet Hoist 2. แบบ Nylon-Strap มีขนาดตั้งแต่ ¾– 2 ตัน

ชื่อเคร่ืองมือ : Wire Grip (Cum-a-long)
กำรใชง้ ำน : เป็นท่ียึดจับสายไฟฟ้า มักใช้ร่วมกับ Hoist เพื่อใช้ในการดึง
สาย สาหรับ Wire Grip ที่ใช้ในงานฮอทไลน์น้ีจะมีลักษณะ
ขนำด : พเิ ศษ คือสามารถใช้ไม้ฉนวนประเภท Rotary Prong เก่ียว
ไปติดต้งั และจะมปี ากปิดสาหรบั ป้องกัน Wire Grip ตกจาก
สายไฟ
25–50 ตมม., 70–95 ตมม., 120–185 ตมม. และ 240 ตมม.

ช่ือเคร่ืองมือ : Hex Socket Set
กำรใชง้ ำน : เป็นชุดบล็อก 6 เหล่ียม ใช้ประกอบกับ Ratchet

Wrench สาหรับขัน Nut, Bolt ต่าง ๆ

- 32 -

ค่มู ือการปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
ชอ่ื เครือ่ งมอื : Snatch Block
กำรใชง้ ำน : เป็นรอกเด่ียวที่ใช้ประกอบกับเชือก และ Hand Line Hook รวม
เรียกว่า Hand Line สาหรับส่งเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ข้ึนลง
เสาไฟฟา้
พกิ ัด : หนัก 2 ปอนด์ (0.9 กก.) รบั น้าหนกั ได้ 1,000 ปอนด์ (420 กก.)

ชือ่ เครื่องมอื : Hand Line Hook
กำรใชง้ ำน : เป็นตะขอท่ีใช้ประกอบกับเชือก และ Snatch Block รวมเรียกว่า

Hand Line สาหรบั สง่ ของหรอื อุปกรณ์ต่าง ๆ ขึ้นลงเสาไฟฟ้า
พิกัด : รบั นา้ หนักได้ 500 ปอนด์ (227 กก.)

ชื่อเคร่ืองมอื : Tool Rack
กำรใช้งำน : เป็นท่ีวางเคร่ืองมือฮอทไลน์ที่เป็น Hot

Stick ในระหว่างการปฏิบตั งิ าน

ชือ่ เครอ่ื งมอื : Grounding Equipment
กำรใช้งำน : ใชส้ าหรบั เชอ่ื มต่อสายไฟฟ้าแรงสงู ลงดนิ ใน

การปฏิบัติงานแบบดับไฟ

ชอ่ื เครอ่ื งมอื : Cable Stripper
กำรใชง้ ำน : ใช้สาหรับปอกสายหุ้มฉนวนในงานฮอทไลน์

แบบ Rubber Gloves หรือในงานดับไฟ โดย
มีใบมีดและมีปากที่ปรับได้ เพ่ือใช้กับสาย
ขนาดตา่ ง ๆ

ช่ือเครื่องมอื : Hotline Cable Stripper for PIC
กำรใช้งำน : ใช้สาหรับปอกฉนวนของสาย PIC โดยไม่ดับ

ไฟ มปี ากแบบ Fixed Type

- 33 -

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

4. อปุ กรณ์สำหรบั บำรงุ รกั ษำเคร่ืองมือ

ชอื่ เครอ่ื งมอื : Moisture Eater
กำรใชง้ ำน : เป็นน้ายาสาหรับทาความสะอาดผิวฉนวนของ

เครื่องมือ Hot stick มีทั้งแบบเป็นขวดน้ายา เป็น
สเปรย์ หรือเป็นแบบแผ่นชุบน้ายาคล้ายผ้าเย็นหรือ
ทชิ ช่เู ปียก สามารถขจดั คราบฝนุ่ น้ามัน ไขมนั คราบ
อลูมิเนียม และระเหยได้อยา่ งรวดเร็ว

ชื่อเครอ่ื งมอื : Bond Patching Kit
กำรใช้งำน : เปน็ อุปกรณส์ าหรับบารุงรักษาเคร่อื งมือ Hot Stick
มีลักษณะเป็นกาว Epoxy ใช้ซ่อมรอยชารุดเล็ก ๆ
น้อย ๆ บนเคร่ืองมือฮอทไลน์ และใช้เป็นกาว
ประสานในการประกอบช้ินส่วนต่าง ๆ ของ
เคร่ืองมอื Hot stick

ชอ่ื เครื่องมอื : Gloss Restorer
กำรใช้งำน : เป็นน้ายาเคลอื บเงาไมฉ้ นวน ทีม่ ีใชง้ านนน้ั เป็นชนิด
น้ายา 2 ส่วน (ส่วนแรกเป็นน้ายาเคลือบเงา ส่วนท่ี
สองเป็นน้ายาทาให้แหง้ ซึ่งไดแ้ กพ่ วกทินเนอร์) การ
ผสมใช้อัตรา 1 : 1 ส่วนการเคลือบน้ันควรใช้วิธีทา
ด้วยลูกประคบ ไม่ควรทาด้วยแปรง เพราะจะทาให้
นา้ ยาไหลเยมิ้

ชอื่ เครื่องมือ : Wiping Cloth
กำรใชง้ ำน : เป็นผ้าที่ชุบด้วยน้ายา Silicone ใช้ขัดผิวเครื่องมือ

ฮอทไลนท์ ท่ี าดว้ ย Epoxiglas ใหเ้ ปน็ มนั

ช่ือเครอ่ื งมอื : Hot Stick Tester
กำรใช้งำน : ใช้สาหรับตรวจสอบค่าความเป็นฉนวน ของ
เคร่ืองมือ Hot Stick สามารถปรับรูปแบบการ
ตรวจสอบได้ทั้งแบบ Dry Test และ Wet Test

- 34 -

ค่มู อื การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

5. ประเภทเครอ่ื งมอื ท่ัวไป

ชอ่ื เครอื่ งมือ : Polypropylene Rope
กำรใชง้ ำน : เป็นเชือกท่ีสามารถทนแรงดันไฟฟ้าแรงสูงได้ นามาทาเป็นเชือก

Hand Line, เชอื กรอก ฯลฯ
พิกดั : * ตามตารางในบทท่ี 3

ชอ่ื เครื่องมือ : Rope Block Set
กำรใช้งำน : เป็นรอกทดแรงท่ใี ชส้ าหรับดงึ รับนา้ หนักสาย หรอื อุปกรณ์ตา่ ง ๆ Rope Block Set ที่
ใช้กบั งานด้านฮอทไลน์ มี 3 ขนาด คอื รอก 2–1, 2–2, 3–2
พิกัด : 1. รอก 2–1 รับน้าหนกั ได้ 2,000 ปอนด์ (900 กก.)
2. รอก 2–2 รบั น้าหนักได้ 3,500 ปอนด์ (1,590 กก.)
3. รอก 3–2 รบั น้าหนักได้ 3,500 ปอนด์ (1,590 กก.)

ชอื่ เคร่อื งมือ : Tool Belt & Safety Strap
กำรใช้งำน : เป็นอุปกรณ์สาหรับให้บุคคลใช้ในการยืนปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้า โดยการคาด Tool
Belt บรเิ วณสะโพกดงั รปู และใช้รว่ มกับ Safety Strap ในการคาดกับเสาเพ่ือกนั ตก
ขนำด : ระยะ D to D : S 18”(46 cm), M 22”(56 cm), L 24”(61 cm), XL 27”(69 cm)

ชอื่ เครือ่ งมอื : Concrete Pole Climber
กำรใชง้ ำน : เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับรองเท้าหนังหรือรองเท้านิรภัย
พกิ ัด : สาหรับใช้ปีนเสาคอนกรีต ทาด้วยเหล็กผสมคาร์บอน และมี
เชอื กไนลอ่ นสาหรบั ผกู กบั รองเทา้

- 35 -

คู่มือการปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ชอ่ื เครื่องมอื : Safety Cap
กำรใชง้ ำน : สวมใสเ่ พ่ือปอ้ งกนั เคร่อื งมือและอุปกรณ์ตกใสศ่ รี ษะ
พกิ ัด : ชั้นคุณภาพ E ทนไฟฟ้ากระแสสลบั 50 Hz แรงดนั 20 kV ได้
นาน 3 นาที

ชอื่ เครือ่ งมอื : Pair of Iron Worker’s Gloves
กำรใชง้ ำน : สาหรับสวมใส่ในขณะปฏิบัติงาน ด้านฝ่ามือเป็นหนัง
ด้านหลังมือเป็นผ้า เพ่ือลดการบาดเจ็บของอวัยวะส่วนมือ
และนิ้วของผู้ปฏิบัติงาน ซ่ึงอาจได้รับจากของมีคม เหล่ียม
เสา ชิ้นส่วนโลหะ เป็นต้น แต่ไม่สามารถป้องกันกระแส
ไฟฟ้าได้

ชือ่ เคร่ืองมือ : Rubber Gloves
กำรใช้งำน : ใช้สวมเพ่ือป้องกันกระแสไฟฟา้ ผ่านเข้าร่างกายตั้งแต่มอื ถงึ
ข้อมือ มีให้เลือกใช้ตามระดับแรงดันทั้งแรงสูงและแรงต่า
พกิ ัด : ต้งั แต่ 500 V – 40 kV ควรใช้ประกอบกบั ถงุ มือหนังเพื่อกัน
ถุงมือยางชารุด
Class 00 ทดสอบที่ 2.5 kV ใชง้ านกับแรงดนั ไม่เกนิ 500 V
Class 0 ทดสอบที่ 5 kV ใช้งานกับแรงดนั ไม่เกิน 1 kV
Class 1 ทดสอบที่ 10 kV ใช้งานกับแรงดันไมเ่ กิน 7.5 kV
Class 2 ทดสอบที่ 20 kV ใช้งานกบั แรงดนั ไมเ่ กิน 17 kV
Class 3 ทดสอบท่ี 30 kV ใชง้ านกับแรงดนั ไมเ่ กิน 26.5 kV
Class 4 ทดสอบท่ี 40 kV ใช้งานกบั แรงดันไมเ่ กนิ 36 kV
ทีใ่ ช้งานมีขนาดเบอร์ 9”, 9 ½”, 10”

อน่ึง เครื่องมือฮอทไลน์ท่ีใช้งานประจายังมีอีกมาก พนักงานฮอทไลน์ทุกคนควรศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก
Tool Catalog เช่น เครื่องมือสาหรับการปฏิบัติงานกับรถกระเช้าฉีดน้า เคร่ืองมือท่ีใช้สาหรับปฏิบัติงานกับ
ระบบ 69 - 115 kV ทัง้ Hot stick และ Barehand เป็นตน้

แรงและนำ้ หนกั ตำ่ ง ๆ ท่ีควรทรำบ
1. นา้ หนกั ของคอนสาย คอร.
(1) ขนาด 120 x 120 x 2,000 มม. หนัก 70 Kg. (ใชง้ านตน้ Double Deadend 22 kV)
(2) ขนาด 100 x 100 x 2,500 มม. หนัก 60 Kg. (ใชง้ านทั่วไป ทางตรง ทางโคง้ 22 kV)
(3) ขนาด 120 x 120 x 2,500 มม. หนัก 85 Kg. (ใชง้ านตน้ Double Deadend 33 kV)
(4) ขนาด 120 x 120 x 3,000 มม. หนัก 95 Kg. (ใช้งานทั่วไป ทางตรง ทางโคง้ 33 kV)
ข้อ 1.1 และ 1.2 ใชใ้ นระบบจาหน่าย 22 kV และ ขอ้ 1.3 และ 1.4 ใช้ในระบบจาหนา่ ย 33 kV

- 36 -

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

2. นา้ หนกั ลกู ถ้วยก้านตรง
(1) ลูกถว้ ยกา้ นตรงระบบ 22 kV หนกั ประมาณ 4 – 5 Kg. (ขน้ึ อยกู่ ับผลติ ภณั ฑแ์ ตล่ ะบริษัท)
(2) ลูกถว้ ยก้านตรงระบบ 33 kV หนักประมาณ 5 – 6 Kg. (ขึ้นอย่กู ับผลิตภณั ฑแ์ ตล่ ะบริษทั )

รำยละเอียดของสำยอลมู เิ นียมเปลอื ย

ตำรำงแสดงรำยละเอียดของสำยอลูมเิ นียมเปลอื ย

ขนาดของ จานวน แรงดึงของสาย กระแส นน. ทก่ี ดลงบนคอนสาย/สาย 1 เส้น (Kg)
สาย เสน้ ลวด อลูมเิ นยี มเปลอื ย ใชง้ าน
(ต.มม.) (เส้น) (Kg) (Amp) Span 40 ม. Span 80 ม.
35
50 7 585 180 4 – 6 8 – 10
70
95 7 805 225 5 – 7 11 – 14
120
150 19 1205 270 7–9 15 – 17
185
240 19 1585 340 10 – 12 20 – 24

19 1980 390 13 – 16 26 – 30

37 2570 455 16 – 19 32 – 36

37 3085 550 20 – 24 41 – 45

61 4015 625 26 -28 54 - 58

**สาหรับค่าน้าหนักท่ีแสดงบนตารางน้ีเป็นน้าหนักของสายไฟที่กดลงบนคอนสาย ซ่ึงข้ึนอยู่กับ
องค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ความตึงของสายไฟ, ระยะหย่อนยานของสายไฟ (Sag), ความสูง-ต่าของพื้นที่
เป็นต้น

ค่านา้ หนักของสายไฟทีก่ ดลงบนคอนสายนีม้ สี ว่ นสาคัญอยา่ งยง่ิ เพราะตอ้ งนามาพจิ ารณาถงึ ขนาดของ
เส้นผ่าศูนย์กลางของ Wire Tong ที่จะใช้ค้ายันสายไฟ จากภาพเราจะพบว่าน้าหนกั ของสายไฟมีผลทาให้เกิด
โมเมนตร์ อบจดุ หมนุ คือ จุดตรงที่ Saddle จับกบั Wire Tong

- 37 -

คมู่ ือการปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
ตัวอยำ่ ง การคิดค่าโมเมนตก์ ารใช้งานของ Wire Tong
สมมุติว่า Wire Tong จับสายขนาด 185 ต.มม. Span ยาว 80 ม. จับสายไฟที่เฟส A ออกไปเป็น

ระยะทาง 6 ฟตุ จะมีคา่ โมเมนตเ์ ทา่ ไร?
วธิ ที ำ โมเมนต์ = แรง x ระยะทาง
นน. สายไฟ Span 80 ม. = 45 Kg. หรอื 99.208 Lbs.
ระยะทาง = 6 ฟุต
คา่ โมเมนต์ = 99.208 x 6
= 595.248 ft.-lbs.
จากค่าโมเมนต์ข้างบนเราสามารถเลือกใช้ขนาดของ Wire Tong ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2" (ดูจากค่า

พิกัดการรับน้าหนักการใช้งาน The Maximum Working Load (Wire Tong) ขนาด 1½" พิกัดรับน้าหนัก
375 ft.-lbs. ขนาด 2" พิกดั รบั น้าหนกั 900 ft.-lbs. ขนาด 2½" พกิ ดั รับน้าหนัก 1500 ft.-lbs. ขนาด 3" พิกดั
รับน้าหนัก 2500 ft.-lbs.) และถ้าเห็นอาการผิดปกติในขณะใช้งาน เช่น โก่งงอ แอ่น ซ่ึงนั่นแสดงให้เห็นว่า
Wire Tong ถกู ใช้งานจนเกนิ พิกดั จงึ ควรเปลย่ี นใช้ Wire Tong ใหม้ ีขนาดใหญ่ขึ้น

ถึงแม้ว่า Wire Tong จะไม่หักในทันทีทันใด แต่เม่ือพบว่า Wire Tong มีลักษณะโก่งงอจะเป็นผลทา
ใหเ้ กิดอนั ตรายขณะใช้งานได้

- 38 -

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

บทท่ี 3
เชือก และเง่อื น

- 39 -

คู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

3.1 ชนิดของเชอื ก

ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการ
การใช้เชือก ลวดสลิง และรอก พ.ศ. 2553 ได้ใหค้ านยิ ามของเชอื กไว้วา่ “สิง่ ทีม่ ีลักษณะ
เป็นเสน้ ทาด้วยวัสดุท่ีมีคุณสมบตั ิเหนยี วท่ีไม่ใช่เส้นลวดหรือโซ่ เช่น ดา้ ย ป่าน หรอื ปอ
ทนี่ ามาสาน ถัก มดั ฟัน่ หรอื มัดตเี กลียว และให้หมายความรวมถึงสลงิ ใยสงั เคราะห์ เชน่
สลิงอ่อน สลิงผ้าใบ หรือสลงิ ในล่อน”

เชือกทามาจากวัตถุดิบที่เป็นเส้นใยนามาฟ่ันรวมกันให้แน่นจนเป็นเกลียวยาว
การฟ่ันเกลียวเชือกส่วนใหญ่จะพันเกลียววนข้ึนไปทางขวา เชือกท่ี กฟภ. มีใช้งาน
สามารถแยกไดเ้ ป็น

- เชือกสาหรับใช้ส่งของ (Handline Rope) มีขนาดต้ังแต่ 1/2 – 5/8 น้ิว
- เชือกสาหรับใชก้ บั รอกทดแรง (Block Rope) มขี นาด ½ นว้ิ เส้นเชอื กมีนา้ หนกั เบาและออ่ นนมุ่
- เชือกสาหรบั พาดสายไฟ (Striking Rope) มขี นาดตง้ั แต่ 1/2 – 5/8 น้วิ ตอ้ งสามารถรบั แรงดึงไดด้ ี
- เชอื กสาหรับใช้ทัว่ ไป (Utility Rope) ทนี่ ิยมใชง้ านจะมีขนาดตง้ั แต่ 1/8 – 1 นว้ิ
เชือกส่วนใหญ่ที่ใช้งานจะเป็นเชือกชนิดฟ่ันเกลียว 3 - 4 เส้น (3 - 4 Strand Twists) เชือกเหล่าน้ีมี
คุณสมบตั ิต่างกนั ผูใ้ ช้งานจงึ ตอ้ งมีความรแู้ ละเลือกใชไ้ ด้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมกับงานแต่ละประเภท

เชือกท่ี กฟภ. มีใชง้ านแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ
(1) เชือกที่ทามาจากใยธรรมชาติ เช่น เชือกมะนิลา เป็นเชือกที่ทา
จากเส้นใยของป่านศรนารายณ์ สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ จึงไม่
ก่อให้เกิดมลพิษหรือสารเคมีตกค้าง มีความเหนียวทนทานพอสมควร เม่ือใช้
งานนาน ๆ แลว้ เสน้ ใยจะขาดทาให้เชือกแตกตัวออกเป็นเส้ียน มีความทนทาน
ต่อการใช้งานท้ังในน้าจืดและน้าทะเล แต่จะเส่ือมคุณภาพได้ง่ายถ้าถูกกรด
หรอื ด่างเข้มข้น และหากมีความชน้ื เข้ามาผสมด้วยแล้วจะทาใหอ้ ายุการใช้งาน
สัน้ ลงกว่าเดิม

(2) เชือกทผี่ ลติ มาจากเสน้ ใยสงั เคราะห์ เชน่ เชือกไนลอ่ น
เชอื กโพลีเอสเตอร์ เชือกโพลีพรอพพีลนี หรอื เชอื กใยยักษ์ เปน็ ต้น
เชือกชนดิ น้ีเป็นเชือกที่มคี ุณสมบตั ิเหนือกวา่ เชือกมะนลิ า นา้ หนกั
เบากว่า ดูดซับน้าน้อย ทนแรงดึงได้มากกว่า สามารถผูกต่อ
ประสานกันได้ง่าย เหนียว ทนต่อการกัดกร่อนของเชื้อราและ
สารเคมี ตลอดจนมีความยืดหยุ่นสูงกว่าเชือกมะนิลา จงึ เหมาะใน
การใชง้ านท่ีมีการกระตกุ หรือกระชากได้ดี
คุณสมบัติอีกข้อหนึ่งของเชือกใยสังเคราะห์ก็คือจะหลอมละลายเม่ือได้รับความร้อน ซึ่งสามารถ
นามาใช้ให้เปน็ ประโยชน์ ได้แก่การลนปลายเชือกใหล้ ะลายตดิ เป็นเนอ้ื เดียวกันเพอื่ เก็บปลาย
เชือกประเภทใยสังเคราะห์จะมีเส้นใยหลากหลายเกรด และมีกรรมวิธีผลิตที่แตกต่างกัน ทาให้เชือก
ประเภทเดียวกันแต่เส้นใยที่ใช้มีเกรดต่างกันหรือวิธีผลิตต่างกัน จะมีคุณสมบัติต่างกันไปด้วย การพิจารณา
คุณสมบัติต่าง ๆ ของเชอื กท่ีมาจากผผู้ ลติ แต่ละราย จึงตอ้ งศกึ ษาจากเอกสารของผูผ้ ลิตเป็นสาคัญ

- 40 -

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

คณุ สมบตั ิของเชอื กเสน้ ใยสังเครำะห์ชนดิ ตำ่ ง ๆ

1. เชือกไนล่อน (Nylon Rope) เป็นเส้นใยสังเคราะห์ชนิดแรกของโลก
ทถี่ ูกคดิ คน้ ขึน้ โดยบริษัท ดูปองท์ (Dupont) ในปี พ.ศ. 2481 เน่ืองจากขาดแคลน
เส้นใยธรรมชาติ ในช่วงสงครามโลกคร้ังที่ 2 มีข้อดีคือทนทานต่อการขูดขีดข่วน
ได้ดี ผิวล่ืน เป็นฉนวนไฟฟา้ ทนต่อดา่ ง ทนต่อสารเคมีได้ดกี วา่ เชอื ก
มะนิลา แต่มีข้อเสียคือจะไม่ทนต่อกรด เม่ือเปียกน้าความสามารถ
ในการรับน้าหนักจะลดลง 10 – 15 % แต่เน่ืองจากเชือกชนิดน้ีมี
ความยืดหย่นุ สงู กวา่ เชอื กมะนิลา 4 - 5 เทา่ ขณะที่ถกู ดงึ ใหย้ ดื ออก
จะมีการสะสมพลังงานไว้ในตัวคล้าย ๆ กับสปริง ดังน้ันเมื่อเชือกขาดจะปลดปล่อยพลังงานท่ีสะสมเอาไว้
ออกมาในรปู การเหว่ยี งตวดั ปลายเชอื กทีข่ าด จงึ ควรระมดั ระวังเป็นพเิ ศษในการใชย้ กของหนกั

2. เชือกโพลีเอสเตอร์ (Polyester Rope : PE) มีคุณสมบัติ
ทนทานต่อการสึกหรอได้ดีเยี่ยม ความแข็งแรงใกล้เคียงกับเชือกไนล่อน
แต่มีการดูดซับน้าน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปียกน้าจะสูญเสียความ
ทนทานไปเพียง 2 เปอร์เซ็นต์ ทนต่อแสงแดดหรือรังสีอุลตราไวโอเลต
ไดด้ ี ทนทานต่อกรด แตไ่ ม่ทนตอ่ ด่าง เชอื ก
โพลีเอสเตอร์จะหดและยืดตัวได้น้อยมาก
จึงไม่สามารถดูดซับแรงกระตุกกระชาก
(Shock Loads) อย่างกระทันหนั ได้

3. เชือกโพลีพรอพพีลีน (Polypropylene Rope : PP) มีคุณสมบตั ทิ ั่วไปคล้ายกับเชอื กโพลีเอสเตอร์
แต่ไม่ทนทานต่อรังสีอลุ ตราไวโอเลต เม่ือโดนแสงแดดจะเสื่อมสภาพไดเ้ ร็วกว่าเส้นใยประเภทอื่น ๆ แต่ถ้าเก็บ

รักษาโดยไม่ให้โดนแสงแดดคุณสมบตั ิก็คงเดมิ ไมท่ นต่อการขูดขีดข่วน เสน้ เชอื ก
มนี ้าหนกั เบาและอ่อนนุ่ม มีความหนาแน่นต่าจึงลอยนา้ ได้ดี ทนทานต่อสารเคมี

แม้จะมีคุณสมบัติการรับแรงดึงท่ีน้อยกว่าเชือกไนล่อนหรือ
เชอื กโพลเี อสเตอร์ แต่ดว้ ยคณุ สมบัติการเป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดีมาก
ทาให้เชือกโพลีพรอพพีลีนถูกใช้ในงานเกี่ยวกับไฟฟ้าแรงสูง
และงานฮอทไลน์ของ กฟภ. เป็นหลัก อีกจุดหนงึ่ ท่ีจะต้องระวัง
คือ เชือกโพลีพรอพพีลีนมีจุดหลอมเหลวที่ต่ากว่าเชือกไนลอ่ น
และเชือกโพลีเอสเตอร์ ทาใหไ้ มเ่ หมาะกบั การใชง้ านใกลจ้ ุดท่มี ีความรอ้ นสูงหรือมีการเสยี ดสี จงึ ห้ามใช้กับกว้าน
(Capstan) และหลกี เลีย่ งการดงึ เชอื กในลักษณะเสยี ดสกี บั วัตถุ

กำรใช้เชือกให้ปลอดภัย ผู้ใช้งานต้องมีความรู้และเลือกเชือกที่ใช้งานให้ตรงกับวัตถุประสงค์ความ
ต้องการ และสามารถคานวณการรบั น้าหนักของเชอื กได้ ซึ่งสามารถแบง่ เปน็ หัวขอ้ ได้ ดงั น้ี

1. ควำมทนทำน (Strength) ความแข็งแรงทนทานของเชอื ก จะผนั แปรตามขนาดและน้าหนักของ
เชือก การเลือกเชือกให้เหมาะสมกับงานเป็นส่ิงสาคัญ สาหรับพิกัดน้าหนักการใช้งานของเชือกแต่ละชนิด จะ
เป็นไปตามท่ีบริษัทผู้ผลิตระบุไว้ (แต่ละแห่งไม่เท่ากัน) ค่าที่เลือกใช้ต้องไม่น้อยกว่าค่ามาตรฐานที่กาหนดให้
การใช้งานอยา่ งถูกวธิ ี จะชว่ ยยดื อายุใช้งานของเชอื กใหน้ านขน้ึ แต่ไม่ควรจะมากกวา่ อายขุ องเชือกท่ีกาหนดไว้

- 41 -

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ตัวอยา่ งค่าแรงดงึ ประลยั และนา้ หนกั ของเชอื กจากบริษทั ผ้ขู าย
2. กำรบำรุงรักษำเชือกใหม่ (New Rope Care) เชือกใหม่ท่ีถูกตัดออกมาจากม้วน ก่อนใช้งานเปน็
คร้ังแรกต้องได้รบั การตรวจสอบตลอดท่ัวทั้งเส้น เพื่อรับประกันว่าไมม่ ีส่วนใดเสียหาย หลังการตรวจเช็ค ควร
ทาเครื่องหมายระบุความยาว, วันเร่ิมใช้งาน และข้อมูลสาคัญอื่น ๆ เขียนลงบนเชือกโดยตรง หรือจด
รายละเอียดการใชง้ าน ลงในสมดุ บันทกึ การใช้งาน (Log Book) เพ่อื เก็บเปน็ ขอ้ มลู สาคญั ของเชือกไว้ เชอื กใหม่
จะค่อนข้างล่ืน อันเน่ืองมาจากสารที่เคลือบไว้ในกระบวนการผลิต ซึ่งจะช่วยป้องกันเชือกและทาให้อ่อนนุ่ม
หากสารท่ีเคลือบหลุดออก เชือกจะเร่ิมแห้งและอายุการใช้งานจะค่อย ๆ ลดลง เชือกไนล่อนจะมีการหดตัว
ประมาณ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ จนถงึ จุดคงตัวในการใช้งาน ส่วนเชือกใยสงั เคราะห์ประเภทอน่ื จะหดตัวไดน้ อ้ ย
3. กำรตรวจสภำพเชือก (Inspection) เราไม่สามารถบอกได้ 100 เปอร์เซ็นตว์ ่าสภาพของเชือกจะ
เป็นอย่างไร การตัดสินใจเปลย่ี นเชือกจะตอ้ งขึน้ อย่กู ับประสบการณ์ของผู้ใช้ โดยการตรวจสอบสภาพเสน้ เชือก
โดยละเอียด ผู้ใช้งานต้องปฏิบัติให้เป็นประจาทั้งก่อนและหลังใช้งาน ซึ่งสามารถทาได้โดยใช้สายตาและการ
สัมผัส เพื่อตรวจดูความเสียหายของเส้นเชือกโดยตลอดทั่วท้ังเส้น เช่นรอยฉีก รอยบาด เส้นใยเสียหาย เชือก
บางจุดอ่อนนิ่มหรือแขง็ กระด้างกว่าจุดอ่ืน เชือกเปล่ียนสี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเปล่ียนแปลงผิดปกติ เป็นต้น
เชือกที่ใช้งานเป็นประจาควรตรวจทุก ๆ 30 วัน ส่วนเชือกท่ีสัมผัสกับสารเคมีควรตรวจสอบเป็นประจาทกุ วัน
หากพบเหน็ สง่ิ ผิดปกติแสดงว่าถงึ เวลาทต่ี ้องเปล่ียนเชือกเสน้ ใหม่แล้ว
เราสามารถยืดอายุการใชง้ านของเชือกได้ โดยการใช้งานเชอื กอย่างถูกวธิ ี ระวงั เชอื กไมใ่ หถ้ ูกบาดจาก
ของมีคมหรือเหลี่ยมมุมของวสั ดุที่ผูก ไม่ปล่อยให้เชือกสัมผัสพ้ืนดินและเหยียบเชือก การเหยียบเชือกเป็นการ
ผลักดันส่ิงแปลกปลอมเข้าไปถึงแกนเชือก ก่อให้เกิดการสึกหรอจากภายในและตรวจสอบได้ยาก ถ้าเป็นไปได้
ควรปูผา้ ใบรองรับกองเชือกทุกเสน้ และสลบั ปลายเชือกใช้งานเปน็ ระยะ เพือ่ ยืดอายแุ ละกระจายการใชง้ าน

- 42 -

คมู่ อื การปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

4. วำระกำรใช้งำน อายุการใช้งานของเชือกมีผลต่อความแข็งแรง เชือกที่ใช้งานหนักจะเสียความ
แข็งแรงไป 3 - 5 เปอร์เซ็นต์ในแต่ละปี เชือกท่ีถูกกระชากหรือถูกกระตุกอยา่ งแรงหลายคร้ัง จากน้าหนักท่ีรับ
อย่างกะทันหัน ควรเปลี่ยนเชอื กใหม่โดยทันที เชือกทีม่ ีการรับแรงดงึ มากกว่า 75 % ของพิกัดไมค่ วรใชง้ านอีก
ต่อไป ควรจะมีการเปล่ียนเส้นใหม่ทุก ๆ 5 ปี แม้จะถูกใช้งานเป็นครั้งคราวก็ตาม และเปลี่ยนทุก ๆ 1 – 2 ปี
หากมีการใช้งานเป็นประจา อายุสูงสุดของเชือกประเภทเส้นใยสังเคราะห์ คือ 10 ปี แต่หากไม่แน่ใจในสภาพ
ของเชือกควรเปลยี่ นใหม่ทนั ที เชอื กเก่าควรจะถกู ทาลายเพ่อื ปอ้ งกนั การนากลับมาใชง้ านอกี โดยบงั เอิญ

ด้วยคุณสมบตั คิ วามเป็นฉนวนทด่ี มี ากของเชือก
โพลีพรอพพีลีน จึงถูกเลือกให้ใช้ในงานฮอทไลน์เป็น
หลัก แต่ด้วยข้อจากัดของเชือกโพลีพรอพพีลีนท่ี
เสื่อมสภาพได้จากการถูกรังสีอุลตราไวโอเล็ตและความ
ร้อน ทาให้เชือกที่ใช้จะเส่ือมสภาพเร็วกว่ากาหนด
เน่ืองจากลักษณะงานฮอทไลน์ท่ีต้องอยู่กลางแจ้งมี
แสงแดดจัด และเชือกอาจได้รับความร้อนกว่าปกติ เช่น
การผกู เชอื ก Roller Link Stick กบั ตวั ถงั รถ รวมทัง้ อาจ
เกิดการรับแรงกระตุกกระชาก (Shock load) ระหว่างการปฏิบัติงาน ดังน้ันพนักงานช่างฮอทไลน์จึงยึดถือ
หลักการว่า “หลังจากผ่านการใช้งานไปประมาณ 6 เดือน พิกัดการรับแรงดึงของเชือกจะเหลือเพียง 50 %”
(ตามอนมุ ตั ิ ผวก. ลว. 22 ม.ค. 2523) เพือ่ ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน

5. อย่ำใช้เชือกรบั น้ำหนักเกนิ พิกัด (Over Loading) เชือกที่ใช้งานจะมีพกิ ัดความแขง็ แรงทนทาน
ตามขนาดและน้าหนักของเชอื ก การเลือกเชอื กให้เหมาะสมกบั การใช้งานเป็นสิ่งสาคญั สาหรบั พิกัดนา้ หนกั การ
ใช้งานของเชือกในเกณฑ์ที่ปลอดภัย ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องหลักเกณฑ์และ
วิธีการ การใช้เชือก ลวดสลิง และรอก พ.ศ. 2553 ได้กาหนดให้ใช้เชือกท่ีมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 5
ในขณะใช้งาน ซ่ึงหมายความว่า “ค่าแรงดึงประลัย (Tensile Strength : แรงดึงที่ทาให้เชือกขาด) ของเชือก
จะต้องมีคา่ มากกว่าคา่ แรงดงึ ใช้งาน (Working Load) ไม่น้อยกว่า 5 เท่า”

ส่วนในการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์นน้ั จะกาหนดแรงดงึ ใชง้ านโดยยดึ ตามเอกสารของผู้ผลิตเชอื ก ซง่ึ ผู้ผลิต
เชือกส่วนใหญ่จะเผื่อค่าความปลอดภัยสูงกว่ากฎหมายกาหนดอยู่แล้ว เช่น เชือกโพลีพรอพพีลีน ขนาด 5/8 นิ้ว
ผลิตภัณฑ์ A.B. Chance จะมีค่าแรงดึงประลัย 2,485 กก. และกาหนดให้ใช้รับน้าหนักไม่เกิน 310 กก.
(คานวณแล้วมีค่าความปลอดภัยเท่ากับ 8) โดยการปฏิบัติงานฮอทไลน์จะใช้เชือกขนาด 5/8 น้ิว ในการทาเป็น
เชือก Handline สง่ ของ ซ่ึงปกติแลว้ ใชส้ ่งเครอื่ งมอื และอุปกรณ์ทมี่ ีนา้ หนักไมเ่ กิน 100 กก. ข้นึ ลงเสา

6. กำรล้ำงทำควำมสะอำด (Washing) เชอื ก ควรต้องล้างอยา่ งสมา่ เสมอ โดยเฉพาะ
เมือ่ ใชง้ านในพ้นื ที่สกปรก คราบสกปรกหรือสารเคมีคือตัวการกัดกร่อนและสร้างความเสียหาย
ใหก้ บั เชือก ตอ้ งล้างทาความสะอาดขจัดให้หมดไป ซึง่ สามารถทาไดโ้ ดยการใช้น้าเปล่าหรือน้า
สบู่แล้วขดั ล้างคราบสกปรกออก แตไ่ มค่ วรใช้ผงซกั ฟอกหรือน้ายาซกั ผ้าขาวเพราะจะทาอันตราย
กับเชือกบางชนิดได้ ในน้าสุดท้ายของการล้างเชือกอาจแช่เชือกในน้าผสมน้ายาปรับผ้านุ่ม
เจือจาง ซึ่งจะช่วยหล่อลื่นและยืดอายุการใช้งานของเชือก วิธีการทาให้เชือกแห้งที่ถูกต้องคอื
การแขวนผึ่งลมให้แห้งในที่ร่ม ไม่ควรตากเชือกให้แห้งกลางแดด เพราะรังสีอุลตราไวโอเลต
ในแสงแดดสามารถทาลายเชือกได้

- 43 -

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

7. กำรเก็บรักษำ (Storage) หลังเสร็จส้ินการใช้งานต้องม้วนเกบ็ เชือกให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อ
ความสะดวกในการหยิบใช้งานในครั้งต่อไป รูปแบบการม้วนเก็บเชือกท่ีใช้อยู่เรียกว่าแบบ Mountaineering
Style แล้วแขวนไว้กับเสาหรือราว ซึ่งวิธีนี้ลมจะพัดผ่านรอบ ๆ เชือก เป็นการป้องกันความอับชื้นและเชื้อรา
อากาศสามารถถ่ายเทได้สะดวก ไม่ให้ถูกความร้อนหรือแสงแดดโดยตรง และปราศจากน้ามัน, ไอกรด,
แบตเตอร่ี หรือสารเคมีอ่ืน ๆ และแม้ว่าเชือกจะไม่ได้สัมผัสโดยตรงต่อสารเคมีเหล่านี้ แต่ไอหรือควันก็ยัง
สามารถกัดกร่อนเชอื กไดเ้ ชน่ กนั ไมค่ วรวางสมั ผัสกบั พ้นื โดยตรง จะทาให้เชือกสกปรกและเสอ่ื มสภาพ ใหร้ ะวัง
สัตว์เช่นหนู มด ปลวก กัดกินเส้นเชือกด้วย เชือกเส้นใยสังเคราะห์จะไม่ดูดซับความชื้น แต่เมื่อเชือกเปียกน้า
ตอ้ งผ่ึงใหแ้ หง้ ก่อนนามาเกบ็ หากสกปรกหรือโดนสารเคมีต้องล้างทาความสะอาด ผึง่ ลมใหแ้ ห้งกอ่ นเกบ็ เช่นกัน
การเก็บรกั ษาเชือกท่ีถูกต้องจะทาให้อายุการใชง้ านคงทนและปลอดภยั มากขนึ้

8. อุณหภมู คิ วำมรอ้ น (Temperature) ความร้อนมีผลตอ่ คา่ แรงดึงเชอื ก การทาใหเ้ ชือกเสียดสีกับ
วัตถอุ นื่ ๆ จะเกิดความร้อน และหากเกดิ ต่อเนอื่ งไปจนถงึ จุดวกิ ฤติ (Critical) ซึง่ เปน็ จุดท่ีเชอื กเร่มิ หลอมละลาย
เชอื กอาจจะขาดไดท้ ันที โดยที่ไมต่ อ้ งให้ถึงจุดหลอมละลาย (Melting) โดยปจั จยั จากน้าหนกั ท่เี ชือกรับอยู่เป็น
ตวั เร่งให้ขาด ค่าอณุ หภูมิท่เี ป็นจดุ วกิ ฤตแิ ละจุดหลอมละลาย ของเชอื กชนดิ ตา่ ง ๆ เป็นตามตาราง

The critical and melting temperatures for synthetic

fibers are listed below:

Temperatures Critical Melting

Manila 82.2° C 176.6° C

Polypropylene 121.1° C 165.5° C

Nylon 176.6° C 237.7° C

Polyester 176.6° C 248.8° C

By: www.samsonrope.com : Rope Inspection & Retirement

3.2 เงื่อนเชอื กและกำรผกู ใชง้ ำน

การนาเชอื กไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงานน้นั ผ้ปู ฏิบตั ิจะตอ้ งเรยี นรู้ถึงประโยชน์ ขอ้ จากดั และวธิ ีการผูกเงือ่ น
แต่ละแบบให้ถูกต้อง เพ่ือให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้ตรงกับความต้องการ ผู้ปฏิบัติจาเป็นท่ีจะต้องฝึกให้
ชานาญและสามารถจดจาได้ขึ้นใจ สามารถผูกได้ทนั ทโี ดยไม่ต้องนึก ไมต่ ้องทบทวนหรอื ลองผิดลองถกู หากผูก
ผิดพลาด เชือกหลุดหรือขาดก็จะทาให้ทรัพย์สินเสียหายหรือเป็นอันตรายต่อชีวิต ซึ่งเงื่อนท่ีมักใช้ในการ
ปฏบิ ัตงิ านฮอทไลนม์ ดี งั ตอ่ ไปน้ี

- 44 -

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
3.2.1 เงอ่ื นขัดสมำธิชัน้ เดยี วและขัดสมำธิ 2 ชัน้ (Sheet Bend และ Double Sheet Bend) ใช้

ในการผูกตอ่ เชอื กทมี่ ีขนาดตา่ งกนั โดยให้เชือกเส้นใหญ่เป็นหลัก และเสน้ เล็กสอดผูกตามรูป

กรณีท่ีต้องการความแนน่ และม่นั ใจยิ่งขึน้ ในการตอ่ ดว้ ยเง่ือนนใี้ หท้ า 2 ช้นั หรอื 3 ชนั้

ขอ้ ควรระวัง ถ้าหากเชอื กมีผิวลนื่ เชน่ เชอื กไนล่อน ในกรณที ร่ี บั แรงดึงมาก ๆ อาจเกดิ การรูดหลุดได้
3.2.2 เง่อื นพริ อด (Reef Knot หรอื Square Knot) ใช้สาหรบั ต่อเชอื กที่มีขนาดเดียวกัน เป็นเงอ่ื น
ท่ผี กู คอ่ นข้างง่าย โดยผูกปลายทั้งสองเขา้ ดว้ ยกนั สองครั้ง ในลกั ษณะ “ขวาทบั ซ้าย – ซ้ายทับขวา”

- 45 -

ค่มู ือการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
สาหรบั การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ จะใช้ “เชอื กผูกคอน” ผูกด้วยเงือ่ นพิรอดเพ่อื รดั เชือก Handline ด้าน

หัวคอน ในข้ันตอนการส่งคอนขน้ึ ลงเสา

ขอ้ ควรระวงั เมื่อรบั แรงดงึ มาก ๆ ปมของเงือ่ นกจ็ ะยิง่ รัดตัวใหแ้ นน่ ขน้ึ ดังนัน้ หากนาไปผูกตอ่ เชอื กที่มี
เส้นผ่าศูนย์กลางเล็ก ๆ หรือเชือกที่มีเนื้อนิ่ม ควรระวังปัญหาในการแกป้ มเชือก ส่วนการใช้เง่อื นชนดิ น้ีในงาน
ฮอทไลน์น้ัน จะต้องผูกให้แนบกระชับกับคอนมากท่ีสุด หากผูกหลวมอาจทาให้เชือกท่ีใช้ผูกคอน รูดลงไป
ด้านล่าง คอนจะพลิกและกระชากจนเกิดอนั ตรายตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน

3.2.3 เงื่อนตะกรุดเบ็ด (Clove Hitch) เหมาะสาหรับผูกใช้งานในลักษณะที่ต้องออกแรงดึงที่ปลาย
ทงั้ 2 ขา้ ง เช่นการผกู เสาเพ่ือดงึ ร้งั ในการปักเสา หรือยดึ โยงเสาชวั่ คราว การผกู เบ็ดตกปลา เปน็ ต้น

สาหรบั ในการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ จะใช้เชอื ก Handline ผกู เงอ่ื นนดี้ ้านท้ายคอน เพื่อดงึ คอนขน้ึ ลงเสา

- 46 -


Click to View FlipBook Version