The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ ฉบับปรับปรุง 2562 (สำหรับส่งพิมพ์)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sherlockholmes.dt38, 2021-09-13 08:26:10

คู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ ฉบับปรับปรุง 2562 (สำหรับส่งพิมพ์)

คู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ ฉบับปรับปรุง 2562 (สำหรับส่งพิมพ์)

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ข้นั ตอนกำรเชื่อมสำย (กรณมี ีสำยลดี ประกอบไวแ้ ล้ว)
1. ต้องตรวจเช็ค Dropout Fuse Cutout ทุกคร้ัง และปลด Fuse Holder ให้อยู่ในตาแหน่ง Open

ทง้ั 2 เฟส
2. ไลน์แมน 1,2 ใช้ Clamp Stick หรือ Universal Pole วัดระยะห่างของสายลีด โดยวัดจากหัว

Drop Out ถึงสาย Main ทีละเฟส เพ่ือหาความยาวของสายลีด และตัดสายลีดส่วนที่เกินด้วย Conductor
Cutter นา Hotline Clamp ใส่ท่ปี ลายสายลีด ขนั ใหแ้ นน่ และดัดสายลดี ให้ห่างจากหว่ ง Hotline Clamp ทั้ง
2 เฟส

ข้นั ตอนกำรเชอ่ื มสำย (กรณีไมม่ สี ำยลีดประกอบไว้)
1. ต้องตรวจเช็ค Dropout Fuse Cutout ทุกคร้ัง และปลด Fuse Holder ให้อยู่ในตาแหน่ง Open

ทัง้ 2 เฟส
2. ไลน์แมน 1,2 ใช้ Clamp Stick หรือ Universal Pole วัดระยะห่างของสายลีด โดยวัดจากหัว

Drop Out ถงึ สาย Main ทลี ะเฟส เพอ่ื หาระยะความยาวของสายลดี
3. กราวด์แมนตัดสายไฟเพ่ือทาสายลีดให้เท่ากับความยาวที่ไลน์แมนวัดได้ ประกอบ PG Clamp ท่ี

กลางสายลีด Hotline Clamp ที่ปลายสายลีด ขันให้แน่น และดัดสายลีดให้ห่างจากห่วง Hotline Clamp
พอประมาณ มว้ นสายลดี ใหเ้ รยี บรอ้ ยทัง้ 2 เสน้ แล้วสง่ ใหไ้ ลน์แมน

4. ไลน์แมน นาสายลีดประกอบเข้ากับ Clamp ท่ีหัว Drop Out และหัวล่อฟ้าของแต่ละเฟส แล้วขัน
ให้แนน่ โดยไลน์แมนทง้ั 2 คนต้องช่วยกันปฏบิ ัตงิ านทีละเฟส

5. ไลน์แมน 1, 2 ตรวจสอบความเรียบร้อย แล้วลดตัวลงมายืนอยู่ในตาแหน่งที่ปฏิบัติงานได้สะดวก
และปลอดภยั รือ้ ถอนอุปกรณ์ปอ้ งกนั โดยรื้อถอนเฟสทอี่ ยูไ่ กลตวั ก่อน

5. ทาความสะอาดสาย Main ตรงบริเวณที่จะติดต้งั Bail Clamp ดว้ ย Conductor Cleaning Brush
6. ใช้ Clamp Stick ติดต้ัง Bail Clamp กับสาย Main แต่ละเฟส โดยให้ตรงกับตาแหน่งสายลีดทีจ่ ะ
เชือ่ ม และมรี ะยะหา่ งท่ปี ลอดภัย แล้วขันห่วง Bail Clamp ใหแ้ น่น
7. ตดิ ตงั้ Insulated Hanger 1 ชดุ เฟสทีอ่ ยู่ใกล้ แลว้ นาสายลีดขนึ้ ไปจับพักไว้ท่ี Bar ของ Insulated
Hanger
8. กอ่ นทาการเช่ือมสาย ใหย้ า้ ย Handline นามาพักไว้ทหี่ ว่ ง D-Ring ของ Safety Belt
9. ทาการเช่ือมสาย โดยไลน์แมน 2 ใช้ C - Clamp คล้องสายลดี ช่วยประคอง พร้อมกันนนั้ ไลน์แมน 1
ใช้ Clamp Stick จบั ทห่ี ว่ ง Hotline Clamp นาขึ้นไปจับทกี่ ลาง Bar ของ Bail Clamp แล้วขนั ใหแ้ นน่
10. การเชือ่ มสายเฟสที่เหลือ โดยไลน์แมน 2 ใช้ C-Clamp คลอ้ งสายลดี ดา้ นเดียวกบั เสาช่วยประคอง
ป้องกันไม่ให้สายลีด ดีดเข้าหากราวด์หรือเฟสอ่ืนที่อยู่ใกล้เคียง ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick ปลด Hotline
Clamp ออกจาก Bar ของ Insulated Hanger จากนั้นนาขนึ้ ไปเชื่อมทกี่ ลาง Bar ของ Bail Clamp แล้วขนั ให้
แนน่
11. เมอ่ื ปฏบิ ตั ิงานเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ใหร้ ื้อถอนเคร่อื งมือ พรอ้ มนา Handline ลง

- 97 -

คู่มอื การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
8.2 กำรเชอ่ื มสำยเข้ำหม้อแปลง 3 เฟส

อุปกรณป์ ้องกัน จานวน 3 ชดุ
Conductor Cover

เคร่ืองมอื และอุปกรณ์

1. Clamp Stick Grip All Type ขนาด 1¼" x 12' จานวน 1 ชุด
จานวน 1 ชุด
2. Universal Pole ขนาด 1¼" x 12' จานวน 1 ชุด
จานวน 2 ชุด
3. Conductor Cutter with Insulated Handle จานวน 1 ชดุ
จานวน 1 ชดุ
4. Insulated Hanger จานวน 3 ชดุ
จานวน 3 ชุด
5. Handline (Handline Hook, Snatch Block, เชอื ก)

6. Conductor Cleaning Brush

7. Hotline Clamp

8. Bail Clamp

- 98 -

คู่มอื การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
กำรตดิ ตั้งอปุ กรณ์ปอ้ งกัน

ไลน์แมน 1,2 นา Handline ข้ึนไปติดตงั้ และครอบ Conductor Cover เฟสละ 1 ตวั โดยครอบเฟส
ท่ีอยใู่ กลต้ วั ก่อน

ข้นั ตอนกำรเช่อื มสำย
1. ต้องตรวจเช็ค Dropout Fuse Cutout ทุกคร้ัง และปลด Fuse Holder ให้อยู่ในตาแหน่ง Open

ท้งั 3 เฟส
2. ไลน์แมน 1, 2 ใช้ Clamp Stick หรือ Universal Pole วัดระยะห่างของสายลีด โดยวัดจากหัวลูก

ถ้วยถึงสาย Main ทีละเฟส เพ่ือหาความยาวของสายลีด ตัดสายลีดให้เท่ากับความยาวท่ีวัดได้ ทั้ง 3 เฟส
ประกอบ Hotline Clamp ที่ปลายสายลีด ขันให้แน่น และดัดสายลีดให้ห่างจากห่วง Hotline Clamp
พอประมาณ พรอ้ มจัดวางให้เรยี บรอ้ ย

3. ไลน์แมน 1, 2 ตรวจสอบความเรียบร้อย แล้วลดตัวลงมายืนอยู่ในตาแหน่งท่ีปฏิบัติงานได้สะดวก
และปลอดภยั ร้อื ถอนอุปกรณ์ป้องกนั โดยร้อื เฟสท่ีอยไู่ กลตัวก่อน

5. ทาความสะอาดสาย Main ตรงบริเวณที่จะตดิ ต้ัง Bail Clamp ด้วย Conductor Cleaning Brush
6. ใช้ Clamp Stick ตดิ ตั้ง Bail Clamp กบั สาย Main แตล่ ะเฟส โดยให้ตรงกบั ตาแหนง่ ลูกถ้วย และ
มีระยะห่างทปี่ ลอดภยั แลว้ ขนั หว่ ง Bail Clamp ให้แนน่
7. ไลน์แมน 1, 2 สลับกันติดต้ัง Insulated Hanger ท่ีเฟส A, C เฟสละ 1 ตัว โดยใช้ Clamp Stick
จับที่หว่ ง Hotline Clamp นาสายลดี ไปจับพกั ไวท้ ี่ Bar ของ Insulated Hanger
8. กอ่ นทาการเช่ือมสาย ใหย้ ้าย Handline นามาพักไวท้ ่หี ่วง D-Ring ของ Safety Belt
9. ทาการเชื่อมสาย เฟสท่ีอยู่ไกลตัวก่อน (เฟส B) โดยไลน์แมน 2 ใช้ C - Clamp คล้องสายลีดช่วย
ประคอง พร้อมกันนั้นไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick จับที่ห่วง Hotline Clamp นาข้ึนไปจับที่กลาง Bar ของ
Bail Clamp แล้วขันใหแ้ น่น
10. การเชื่อมสาย เฟส A และ C โดยไลน์แมน 2 ใช้ C-Clamp คล้องสายลีดด้านเดียวกับเสาช่วย
ประคอง ป้องกันไม่ให้สายลีด ดีดเข้าหากราวด์หรือเฟสอื่นท่ีอยู่ใกล้เคียง ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick ปลด
Hotline Clamp ออกจาก Bar ของ Insulated Hanger จากนั้นนาข้ึนไปเช่ือมที่กลาง Bar ของ Bail Clamp
แลว้ ขันใหแ้ น่น
11. เมอื่ ปฏบิ ัติงานเสรจ็ เรียบร้อยแลว้ ใหร้ อื้ ถอนเครอื่ งมอื พรอ้ ม Handline ลง

- 99 -

คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
8.3 กำรเชอ่ื มสำยตน้ ทำงแยกแบบไมม่ ี Dropout Fuse Cutout

อุปกรณ์ปอ้ งกัน จานวน 6 ชดุ
1. Conductor Cover จานวน 3 ชุด
2. Insulator Cover
จานวน 1 ชดุ
เครือ่ งมือและอุปกรณ์ท่ีใช้ จานวน 1 ชดุ
จานวน 1 ชดุ
1. Clamp Stick Grip All Type ขนาด 1¼" x 8' or 12' จานวน 1 ชุด
จานวน 1 ชุด
2. Tie Stick (Rotary Prong Head) ขนาด 1¼ "x 8' or 12' จานวน 3 ชุด
จานวน 3 ชดุ
3. Conductor Cutter with Insulated Handle จานวน 2 ชดุ
จานวน 1 ชุด
4. Handline (Handline Hook, Snatch Block, เชือก)

5. Conductor Cleaning Brush

6. Hotline Clamp

7. Bail Clamp

5. Insulated Hanger

6. ไม้ชกั ฟิวส์

- 100 -

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

กำรติดตัง้ อปุ กรณป์ อ้ งกัน
ไลน์แมน 1,2 นา Handline ขึ้นไปติดตั้งและครอบ Conductor Cover เฟสละ 2 ตัว โดยให้ด้านหัว

ใหญช่ ิดกับลูกถว้ ย และครอบ Insulator Cover คลมุ ทับ Conductor Cover ที่หัวลกู ถ้วยทกุ เฟส

ขัน้ ตอนกำรเช่ือมสำย
1. ไลนแ์ มน 1,2 ตดิ ต้ังลูกถ้วยรองรับสายลดี ท่ีปลายคอนสายดา้ น เฟส A หรอื C และพนั Tie Wire รัด

สายลดี กบั ลูกถว้ ยให้แน่น
2. ไลน์แมน 1,2 ใช้ Clamp Stick หรือ Universal Pole วัดระยะห่างของ

สายลีด โดยวัดจากหัวลูกถ้วยถึงสาย Main เพื่อหาความยาวของสายลีด และตัดสาย
ลีดส่วนท่ีเกินด้วย Conductor Cutter แล้วนา Hotline Clamp ใส่ท่ีปลายสายลีด
ขนั ใหแ้ น่น และดดั สายลีดให้หา่ งจากห่วง Hotline Clamp (ตามรปู ) และไลน์แมนท้งั
2 คน ตอ้ งชว่ ยกนั ปฏิบัตงิ านทีละเฟส

3. สว่ นอีก 2 เฟส ให้วดั ระยะห่างจาก Deadend Clamp ถึงสาย Main แลว้
ตัดตามความยาวท่ีวัดได้ท้ัง 2 เฟส จากนั้นนา Hotline Clamp ใส่ท่ีปลายสายลีด
แล้วขนั ให้แน่น

4. ไลน์แมน 1, 2 ตรวจสอบความเรียบร้อยแล้วลดตัวลงมาอยู่ในตาแหน่งท่ี
ปฏบิ ตั งิ านได้สะดวก และปลอดภัย รื้อถอนอปุ กรณ์ปอ้ งกัน โดยให้รอ้ื เฟสท่ีอยไู่ กลตัว
ก่อน

5. ทาความสะอาดสาย Main ตรงบริเวณทจ่ี ะติดต้ัง Bail Clamp ด้วย Conductor Cleaning Brush
6. ใช้ Clamp Stick ติดต้ัง Bail Clamp กับสาย Main แต่ละเฟส โดยให้ตรงกับตาแหน่งสายลีดที่จะ
เชื่อม และมีระยะหา่ งทีป่ ลอดภัย แล้วขันห่วง Bail Clamp ใหแ้ น่น
7. ติดตั้ง Insulated Hanger ที่เฟส A และ B เฟสละ 1 ตัว แล้วนาสายลีดขึ้นไปจับพักไว้ท่ี Bar ของ
Insulated Hanger
8. ก่อนทาการเช่ือมสาย ใหย้ า้ ย Handline นามาพกั ไวท้ ่ีห่วง D-Ring ของ Safety Belt
9. ทาการเชื่อมสาย เฟส C ก่อน ไลน์แมน 2 ใช้ C - Clamp คล้องสายลีดช่วยประคอง พร้อมกันนั้น
ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick จบั ที่ห่วง Hotline Clamp นาข้นึ ไปจบั ทีก่ ลาง Bar ของ Bail Clamp แลว้ ขนั ให้
แน่น
10. การเช่ือมสาย เฟส A และ B โดยไลน์แมน 2 ใช้ C-Clamp คล้องสายลีดด้านเดียวกับเสาช่วย
ประคอง ป้องกันไม่ให้สายลีด ดีดเข้าหากราวด์หรือเฟสอ่ืนท่ีอยู่ใกล้เคียง ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick ปลด
Hotline Clamp ออกจาก Bar ของ Insulated Hanger จากน้ันนาข้ึนไปเชื่อมท่ีกลาง Bar ของ Bail Clamp
แล้วขนั ให้แนน่
11. เม่อื ปฏิบัติงานเสร็จเรยี บร้อยแล้ว ใหร้ อื้ ถอนเคร่อื งมือ พร้อมนา Handline ลง
หมำยเหตุ กอ่ นปฏิบัติงานจะตอ้ งดาเนนิ การปลด Load ในไลน์ ออกใหห้ มด เพอ่ื ป้องกนั กระแสไฟฟ้า
ไหลยอ้ นผา่ นขดลวดหมอ้ แปลงกลับมายงั สายไฟท่ียังไมไ่ ดเ้ ชือ่ มอีกสองเส้น

- 101 -

ค่มู ือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
8.4 กำรเชอ่ื มสำยต้นทำงแยกแบบมี Dropout Fuse Cutout

อุปกรณ์ปอ้ งกนั จานวน 6 ชดุ
1. Conductor Cover จานวน 3 ชุด
2. Insulator Cover
จานวน 1 ชดุ
เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ จานวน 1 ชุด
จานวน 1 ชดุ
1. Clamp Stick Grip All Type ขนาด 1¼" x 8' or 12' จานวน 1 ชดุ
จานวน 1 ชดุ
2. Tie Stick (Rotary Prong Head) ขนาด 1¼" x 8' or 12' จานวน 3 ชุด
จานวน 3 ชดุ
3. Conductor Cutter with Insulated Handle จานวน 2 ชดุ
จานวน 1 ชุด
4. Handline (Handline Hook, Snatch Block, เชือก)

5. Conductor Cleaning Brush

6. Hotline Clamp

7. Bail Clamp

5. Insulated Hanger

6. ไม้ชักฟิวส์

- 102 -

คูม่ ือการปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

กำรตดิ ตงั้ อปุ กรณป์ อ้ งกนั
ปฏบิ ตั เิ ช่นเดยี วกันกบั การเช่อื มสายตน้ ทางแยกแบบไม่มี Dropout Fuse Cutout

ขั้นตอนกำรเชอื่ มสำย
1. ต้องตรวจสอบดูวา่ Dropout Fuse Cutout อยใู่ นตาแหนง่ Open ทั้ง 3 เฟส
2. ไลน์แมน 1,2 ติดตั้งลูกถ้วยแรงสูงรองรับสายลีดที่คอนสายด้านเฟส A หรือ C แล้วพันรัดสายลีด

ด้วย Tie Wire กับลกู ถว้ ยให้แนน่
3. ไลน์แมน 1,2 ใช้ Clamp Stick หรือ Universal Pole วดั ระยะหา่ งของสายลีด จากหัว Drop Out

หรือจากหวั ลูกถ้วยถึงสาย Main ทีละเฟส เพือ่ หาความยาวของสายลีด
4. กราวด์แมนตัดสายไฟเพื่อทาสายลีดท่ีจะเชื่อมให้เท่ากับความยาวท่ีไลน์แมนวัดได้ ใส่ Hotline

Clamp ที่ปลายสายลีด ขันให้แน่น และดัดสายลีดให้ห่างจากห่วง Hotline Clamp พอประมาณ ม้วนสายลีด
ใหเ้ รยี บรอ้ ย แล้วสง่ ใหไ้ ลน์แมนทลี ะเฟส

5. ไลน์แมน 1,2 นาสายลีดประกอบเข้ากบั Clamp ที่หัว Drop Out จนครบทั้ง 3 เฟส โดยไลน์แมน
ทัง้ 2 คน ต้องชว่ ยกนั ปฏบิ ัตงิ านทีละเฟส

6. ไลน์แมน 1, 2 ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยแล้วลดตัวลงมาอยู่ในตาแหน่งท่ีปฏบิ ัติงานได้สะดวก และ
ปลอดภยั ร้อื ถอนอปุ กรณป์ อ้ งกัน โดยใหร้ ้อื เฟสที่อยู่ไกลตัวก่อน

7. ทาความสะอาดสาย Main ตรงบรเิ วณทีจ่ ะตดิ ตง้ั Bail Clamp ดว้ ย Conductor Cleaning Brush
8. ใช้ Clamp Stick ติดต้ัง Bail Clamp กับสาย Main แต่ละเฟส โดยให้ตรงกับตาแหน่งหัว Drop
Out ท่จี ะเชอ่ื ม และมีระยะห่างท่ปี ลอดภัย แลว้ ขนั ห่วง Bail Clamp ใหแ้ น่น
9. ติดตั้ง Insulated Hanger ที่เฟส A และ B เฟสละ 1 ตัว แล้วนาสายลีดข้ึนไปจับพักไว้ที่ Bar ของ
Insulated Hanger
10. ก่อนทาการเชือ่ มสาย ใหย้ า้ ย Handline นามาพักไว้ท่ีห่วง D-Ring ของ Safety Belt
11. ทาการเช่อื มสาย เฟส C กอ่ น ไลนแ์ มน 2 ใช้ C - Clamp คลอ้ งสายลีดช่วยประคอง พรอ้ มกนั นั้น
ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick จับท่ีห่วง Hotline Clamp นาขนึ้ ไปจับทกี่ ลาง Bar ของ Bail Clamp แลว้ ขนั ให้
แน่น
12. การเช่ือมสาย เฟส A และ B โดยไลน์แมน 2 ใช้ C-Clamp คล้องสายลีดด้านเดียวกับเสาช่วย
ประคอง ป้องกันไม่ให้สายลีด ดีดเข้าหากราวด์หรือเฟสอ่ืนที่อยู่ใกล้เคียง ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick ปลด
Hotline Clamp ออกจาก Bar ของ Insulated Hanger จากน้ันนาขึ้นไปเช่ือมที่กลาง Bar ของ Bail Clamp
แลว้ ขนั ให้แนน่
13. เมือ่ ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว ใหร้ ื้อถอนเครือ่ งมือ พรอ้ มนา Handline ลง
หมำยเหตุ กอ่ นปฏิบัตงิ านจะตอ้ งดาเนนิ การปลด Load ในไลน์ ออกให้หมด เพื่อป้องกนั กระแสไฟฟา้
ไหลยอ้ นผ่านขดลวดหม้อแปลงกลบั มายังสายไฟทย่ี ังไม่ได้เช่ือมอกี สองเสน้

- 103 -

คู่มอื การปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
8.5 กำรเชอื่ มสำยเข้ำอุปกรณ์ไฟฟำ้ แรงสูง (กำรเชือ่ มสำยเข้ำ Capacitor)

อุปกรณป์ อ้ งกนั จานวน 6 ชดุ
1. Conductor Cover จานวน 3 ชุด
2. Insulator Cover

เคร่ืองมือและอปุ กรณ์

1. Clamp Stick ขนาด 1¼” x 12’ จานวน 1 ชุด
จานวน 1 ชุด
2. Universal Pole ขนาด 1¼” x 12’ จานวน 1 ชุด
จานวน 2 ชุด
3. Conductor Cutter with Insulated Handle จานวน 1 ชดุ
จานวน 1 ชุด
4. Insulated Hanger จานวน 3 ชุด
จานวน 3 ชุด
5. Handline (Handline Hook, Snatch Block, เชือก)

6. Conductor Cleaning Brush

7. Hotline Clamp

8. Bail Clamp

- 104 -

คูม่ ือการปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

กำรติดต้ังอปุ กรณ์ป้องกนั
ไลนแ์ มน 1, 2 นา Handline ขึ้นไปตดิ ตั้งและครอบ Conductor Cover เฟสละ 2 ตวั โดยให้ด้านหัว

ใหญเ่ ขา้ หาคอน และครอบ Insulator Cover คลมุ ทับ Conductor Cover ทีห่ ัวลูกถ้วยทกุ เฟส

ขน้ั ตอนกำรเชือ่ มสำย
1. ตอ้ งตรวจสอบดวู ่า Dropout Fuse Cutout อยู่ในตาแหน่ง Open ทง้ั 3 เฟส
2. ไลนแ์ มน 1, 2 ใช้ Clamp Stick หรือ Universal Pole วัดระยะห่างของสายลีด จากหวั Drop Out

ถงึ สาย Main ทลี ะเฟส เพือ่ หาความยาวของสายลดี
3. กราวด์แมนตัดสายไฟเพื่อทาสายลีดท่ีจะเช่ือม ให้เท่ากับความยาวท่ีไลน์แมนวัดได้ ใส่ Hotline

Clamp ท่ีปลายสายลีด ขันให้แน่น และดัดสายลีดให้ห่างจากห่วง Hotline Clamp พอประมาณ ม้วนสายลีด
ใหเ้ รยี บรอ้ ย แลว้ ส่งให้ไลน์แมนทีละเฟส

4. ไลนแ์ มน 1, 2 นาสายลดี ประกอบเข้ากบั Clamp ท่ีหวั Drop Out จนครบท้งั 3 เฟส โดยไลนแ์ มน
ท้ัง 2 คน ตอ้ งชว่ ยกนั ปฏบิ ตั ิงานทลี ะเฟส

6. ไลน์แมน 1, 2 ตรวจสอบความเรียบร้อยแล้วลดตัวลงมาอยู่ในตาแหน่งที่ปฏิบัติงานได้สะดวก และ
ปลอดภัย ร้อื ถอนอปุ กรณ์ป้องกัน โดยให้ร้ือเฟสที่อย่ไู กลตัวก่อน

7. ทาความสะอาดสาย Main ตรงบริเวณทจี่ ะตดิ ต้ัง Bail Clamp ด้วย Conductor Cleaning Brush
8. ใช้ Clamp Stick ติดต้ัง Bail Clamp กับสาย Main แต่ละเฟส โดยให้ตรงกับตาแหน่งหัว Drop
Out ท่ีจะเชื่อม และมรี ะยะหา่ งที่ปลอดภัย แลว้ ขันห่วง Bail Clamp ใหแ้ นน่
9. ติดต้ัง Insulated Hanger ที่เฟส A และ B เฟสละ 1 ตัว แล้วนาสายลีดข้ึนไปจับพักไว้ท่ี Bar ของ
Insulated Hanger
10. กอ่ นทาการเชอื่ มสาย ให้ย้าย Handline นามาพักไว้ท่ีห่วง D-Ring ของ Safety Belt
11. ทาการเชื่อมสาย เฟส C กอ่ น ไลน์แมน 2 ใช้ C - Clamp คลอ้ งสายลดี ชว่ ยประคอง พร้อมกันน้นั
ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick จบั ที่หว่ ง Hotline Clamp นาข้ึนไปจบั ท่ีกลาง Bar ของ Bail Clamp แลว้ ขันให้
แนน่
12. การเชื่อมสาย เฟส A และ B โดยไลน์แมน 2 ใช้ C-Clamp คล้องสายลีดด้านเดียวกับเสาช่วย
ประคอง ป้องกันไม่ให้สายลีด ดีดเข้าหากราวด์หรือเฟสอื่นท่ีอยู่ใกล้เคียง ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick ปลด
Hotline Clamp ออกจาก Bar ของ Insulated Hanger จากนั้นนาขึ้นไปเช่ือมท่ีกลาง Bar ของ Bail Clamp
แลว้ ขันใหแ้ นน่
13. เมื่อปฏิบตั งิ านเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว ใหร้ ้ือถอนเคร่ืองมือ พร้อมนา Handline ลง
หมำยเหตุ เน่ืองจากคุณสมบัตขิ องคาปาซิเตอรม์ ีระยะเวลาในการเกบ็ และคายประจุ ผู้ปฏบิ ตั ิงานควร
ศึกษาทฤษฎี หลักปฏิบตั ิงานทปี่ ลอดภัย และตอ้ งระมัดระวงั เป็นพิเศษ

- 105 -

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
8.6 กำรเปลีย่ น Dropout Fuse Cutout

อุปกรณ์ป้องกนั จานวน 6 ชดุ
1. Conductor Cover จานวน 3 ชุด
2. Insulator Cover

เคร่อื งมือและอุปกรณ์

1. Clamp Stick Grip All Type ขนาด 1¼" x 8' or 12' จานวน 1 ชดุ

2. Universal Pole ขนาด 1¼" x 8' or 12' จานวน 1 ชุด

3. Handline (Handline Hook, Snatch Block, เชอื ก) จานวน 1 ชุด

4. Conductor Cutter with Insulated Handle จานวน 1 ชดุ

5. Conductor Cleaning Brush จานวน 1 ชุด

6. Insulated Hanger จานวน 2 ชดุ

7. ไม้ชักฟิวส์ จานวน 1 ชุด

- 106 -

คมู่ อื การปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
ข้ันตอนกำรปฏิบัตงิ ำน

1. ปลด Fuse Holder ของ Dropout Fuse Cutout ด้วยไม้ชักฟิวส์ลง ทั้ง 3 เฟส พร้อมนา Fuse
Holder ออกจาก Dropout Fuse Cutout

2. ไลน์แมน 1,2 นา Handline ขึ้นไปติดต้ัง ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick ปลด Hotline Clamp
ออกจาก Bail Clamp โดยไลน์แมน 2 ใช้ C-Clamp คลอ้ งช่วยประคองไม่ให้สายลดี ดดี ไปด้านใดด้านหน่ึงแล้ว
นามาจับพกั ไวใ้ ห้มนั่ คงและปลอดภยั ทง้ั 3 เฟส โดยให้ปลดเฟสท่ีใกล้ตัวก่อน

3. ไลนแ์ มน 1,2 รื้อถอน Bail Clamp ทกุ เฟส แลว้ ครอบ Conductor Cover และ Insulator Cover
คลมุ ให้มดิ ชิด

4. ไลน์แมน 1,2 เปลี่ยน Dropout Fuse Cutout เฟสที่ชารุดลงแล้วนาชุดใหม่ขึ้นไปติดต้ัง พร้อมกับ
ประกอบสายลีดเข้าที่ Clamp ของหัว Dropout Fuse Cutout ให้เรยี บร้อย

5. ไลน์แมน 1, 2 ตรวจสอบความเรียบร้อยแล้วลดตัวลงมาอยู่ในตาแหน่งท่ีปฏิบัติงานได้สะดวก และ
ปลอดภัย ร้อื ถอนอปุ กรณป์ อ้ งกัน โดยใหร้ ื้อเฟสที่อยู่ไกลตวั ก่อน

6. ทาความสะอาดสาย Main ตรงบรเิ วณทจี่ ะติดตั้ง Bail Clamp ดว้ ย Conductor Cleaning Brush
7. ใช้ Clamp Stick ติดตั้ง Bail Clamp กับสาย Main แต่ละเฟส โดยให้ตรงกับตาแหน่งสายลีดทจี่ ะ
เช่อื ม และมรี ะยะห่างทปี่ ลอดภยั แลว้ ขนั ห่วง Bail Clamp ใหแ้ น่น
8. ติดต้ัง Insulated Hanger ท่ีเฟส A และ B เฟสละ 1 ตัว แล้วนาสายลีดขึ้นไปจับพักไว้ท่ี Bar ของ
Insulated Hanger
9. ก่อนทาการเชอื่ มสาย ใหย้ ้าย Handline นามาพกั ไว้ทห่ี ่วง D-Ring ของ Safety Belt
10. ทาการเชอื่ มสาย เฟส C ก่อน ไลน์แมน 2 ใช้ C - Clamp คลอ้ งสายลดี ช่วยประคอง พร้อมกนั นั้น
ไลนแ์ มน 1 ใช้ Clamp Stick จบั ที่หว่ ง Hotline Clamp นาขนึ้ ไปจบั ทกี่ ลาง Bar ของ Bail Clamp แลว้ ขนั ให้
แนน่
11. การเช่ือมสาย เฟส A และ B โดยไลน์แมน 2 ใช้ C-Clamp คล้องสายลีดด้านเดียวกับเสาช่วย
ประคอง ป้องกันไม่ให้สายลีด ดีดเข้าหากราวด์หรือเฟสอื่นท่ีอยู่ใกล้เคียง ไลน์แมน 1 ใช้ Clamp Stick ปลด
Hotline Clamp ออกจาก Bar ของ Insulated Hanger จากนั้นนาข้ึนไปเช่ือมท่ีกลาง Bar ของ Bail Clamp
แล้วขนั ใหแ้ น่น
12. เมอื่ ปฏิบตั งิ านเสร็จเรียบร้อยแล้ว ใหร้ ้อื ถอนเครอ่ื งมอื พร้อมนา Handline ลง
หมำยเหตุ กอ่ นปฏิบัติงานจะต้องดาเนินการปลด Load ในไลน์ ออกใหห้ มด เพ่ือป้องกันกระแสไฟฟ้า
ไหลยอ้ นผา่ นขดลวดหม้อแปลงกลบั มายังสายไฟทยี่ งั ไมไ่ ด้เช่อื มอีกสองเสน้

- 107 -

ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
8.7 กำรตดั สำยเขำ้ หมอ้ แปลงน่งั รำ้ น 3 เฟส

อปุ กรณ์ปอ้ งกัน จานวน 3 ชดุ
1. Conductor Cover

เคร่ืองมือทใ่ี ช้

1. Clamp Stick Grip All Type ขนาด 1¼" x 12' จานวน 1 ชุด
จานวน 1 ชุด
2. Universal Pole ขนาด 1¼" x 12' จานวน 1 ชุด
จานวน 1 ชุด
3. Wire Cutter (Ratchet Type) ขนาด 1½" x 6' or 8' จานวน 2 ชดุ
จานวน 1 ชุด
4. Wire Holding Stick ขนาด 1¼" x 6' or 8' จานวน 3 ชุด
จานวน 3 ชดุ
5. Insulated Hanger จานวน 1 ชุด

6. Handline (Handline Hook, Snatch Block, เชอื ก)

7. Hotline Clamp

8. Bail Clamp

9. ไมช้ กั ฟวิ ส์

- 108 -

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
ขน้ั ตอนกำรปฏิบตั ิงำน

1. ปลด Fuse Holder ของ Dropout Fuse Cutout ด้วยไม้ชกั ฟิวสล์ ง ทง้ั 3 เฟส
2. ไลน์แมน 1,2 นา Handline ขึ้นบนเสา พร้อมกับยืนอยู่ในตาแหน่งท่ีห่างจากส่วนที่มีไฟสามารถ
ปฏิบัติงานได้สะดวก และปลอดภัย (การข้ึนเสาและการยืนปฏิบัติงานจะต้องระมัดระวังสายไฟท่ีหัว Dropout
Fuse Cutout และหัวล่อฟ้า เพราะยงั มีกระแสไฟฟา้ ไหลอยู่)
3. ไลน์แมน 1 ใช้ Wire Holding Stick จับสายลีด เฟส C ห่างจาก PG Connector ประมาณ 1 คืบ
ไลน์แมน 2 ยืนในตาแหน่งที่ห่างจากส่วนท่ีมีไฟสามารถปฏิบัติงานได้สะดวก และปลอดภัย จากนั้นใช้ Wire
Cutter (Ratchet Type) ตัดสายลีด โดยให้ชิดกับ PG Connector มากท่ีสุด ไลน์แมน 1 ใช้ Wire Holding
Stick บังคับสายลีดให้ห่างจากสายเมน เฟส B และเก็บปลายสายลีด นามาพักไว้ในที่ที่ปลอดภัยอย่าง
ระมัดระวงั
4. ไลน์แมน 1,2 สลับเคร่ืองมือกัน ไลน์แมน 2 ใช้ Wire Holding Stick จับสายลีดเฟส A ห่างจาก
PG Connector ประมาณ 1 คบื ไลนแ์ มน 1 ยืนในตาแหนง่ ท่หี ่างจากสว่ นท่ีมีไฟสามารถปฏิบัติงานไดส้ ะดวก
และปลอดภัย จากนั้นใช้ Wire Cutter (Ratchet Type) ตัดสายลีด โดยให้ชิดกับ PG Connector มากท่ีสุด
ไลนแ์ มน 1 ใช้ Wire Holding Stick บังคบั สายลดี ใหห้ ่างจากสายเมน เฟส B และเกบ็ ปลายสายลดี นามาพักไว้
ในที่ทปี่ ลอดภยั อยา่ งระมดั ระวงั จากน้นั ตัดสายลดี เฟส B โดยปฏิบตั ิเช่นเดยี วกนั กับสายเฟส A
5. ไลนแ์ มน 1,2 นา Conductor Cover ครอบสายไฟทัง้ 3 เฟส
6. ขั้นตอนการเชอ่ื มสายปฏบิ ัตเิ ชน่ เดียวกนั กับการเชอ่ื มสายเข้าหมอ้ แปลง 3 เฟส
7. เมอ่ื ปฏบิ ัติงานเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ให้ร้อื ถอนเครอื่ งมอื พร้อมนา Handline ลง

- 109 -

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
8.8 กำรตดั สำยแรงสงู ตน้ ทำงแยก

อปุ กรณ์ปอ้ งกัน จานวน 6 ชุด
1. Conductor Cover จานวน 3 ชุด
2. Insulator Cover

เครื่องมือและอปุ กรณ์

1. Clamp Stick ขนาด 1¼"x8' or 12' จานวน 1 ชดุ
จานวน 1 ชดุ
2. Universal Pole ขนาด 1¼"x8' or 12' จานวน 1 ชดุ
จานวน 1 ชดุ
3. Wire Cutter (Ratchet Type) จานวน 2 ชดุ
จานวน 1 ชดุ
4. Wire Holding Stick จานวน 3 ชุด
จานวน 3 ชุด
5. Insulated Hanger

6. Handline (Handline Hook, Snatch Block, เชอื ก)

7. Hotline Clamp

8. Bail Clamp

- 110 -

คูม่ ือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick
ขน้ั ตอนกำรปฏบิ ัตงิ ำน

1. ปลด Load แรงสงู ในไลนท์ างแยกท่ีจะปฏบิ ตั งิ าน ตน้ หมอ้ แปลงทกุ เครือ่ ง ไลนแ์ ยกยอ่ ยอ่ืน ๆ อีก
ออกทั้งหมด และปลด Fuse Holder ต้นถดั จากตน้ ทีป่ ฏิบัตงิ านออกทง้ั 3 เฟส

2. ไลน์แมน 1,2 นา Handline ขึ้นบนเสา พร้อมกับยืนอยู่ในตาแหน่งที่ห่างจากส่วนที่มีไฟสามารถ
ปฏิบัตงิ านไดส้ ะดวก และปลอดภยั

3. ไลน์แมน 1 ใช้ Wire Holding Stick จับสายลีด เฟส C ห่างจาก PG Connector ประมาณ 1 คืบ
ไลน์แมน 2 ยืนในตาแหน่งท่ีห่างจากส่วนท่ีมีไฟสามารถปฏิบัติงานได้สะดวก และปลอดภัย จากนั้นใช้ Wire
Cutter (Ratchet Type) ตัดสายลีด โดยให้ชิดกับ PG Connector มากที่สุด ไลน์แมน 1 ใช้ Wire Holding
Stick บังคบั สายลดี ให้หา่ งจากสายเมน และเก็บปลายสายลดี นามาพกั ไวใ้ นทท่ี ป่ี ลอดภยั อย่างระมัดระวัง

4. ไลน์แมน 2 ใช้ Wire Holding Stick จับสายลีดเฟส A ห่างจาก PG Connector ประมาณ 1 คืบ
ไลน์แมน 1 ยืนในตาแหน่งท่ีห่างจากส่วนที่มีไฟสามารถปฏิบัติงานได้สะดวก และปลอดภัย จากน้ันใช้ Wire
Cutter (Ratchet Type) ตัดสายลีด โดยให้ชิดกับ PG Connector มากท่ีสุด ไลน์แมน 1 ใช้ Wire Holding
Stick บังคับสายลีดให้ห่างจากสายเมน เฟส B และเก็บปลายสายลีด นามาพักไว้ในท่ีที่ปลอดภัยอย่าง
ระมดั ระวัง จากน้นั ตดั สายลดี เฟส B โดยปฏบิ ตั เิ ช่นเดียวกนั กบั สายเฟส A

5. ไลนแ์ มน 1,2 ครอบ Conductor Cover และ Insulator Cover คลุมใหม้ ดิ ชดิ ท้งั 3 เฟส
6. ข้ันตอนการเช่อื มสายปฏิบัตเิ ชน่ เดียวกนั กบั การเชื่อมสายต้นทางแยกแบบไม่มี Dropout
7. เม่อื ปฏบิ ตั ิงานเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว ใหร้ ือ้ ถอนเคร่ืองมอื พร้อมนา Handline ลง

- 111 -

คู่มือการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
8.9 กำรพำดสำย Over Head เชอื่ มไลนท์ ำงแยก

อุปกรณป์ ้องกัน จานวน 6 ชดุ
1. Conductor Cover จานวน 3 ชุด
2. Insulator Cover

เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์

1. Clamp Stick Grip All Type ขนาด 1¼" x 8' or 12' จานวน 1 ชดุ

2. Universal Pole ขนาด 1¼" x 8' or 12'จานวน 1 ชดุ

2. Handline (Handline Hook, Snatch Block, เชอื ก) จานวน 1 ชุด

3. เชอื ก จานวน 1 เสน้

4. Hotline Wire Grip จานวน 1 ชดุ

ขน้ั ตอนกำรปฏบิ ัตงิ ำน
1. ไลน์แมนปฏิบัติงาน 3 คน โดยขึ้นปฏิบัติงานเสาต้นไลน์เมน 2 คน และเสาต้นไลน์ทางแยก 1 คน

ไลน์แมน 1, 2 นา Handline ขึ้นไปติดตั้งที่คอนสายเสาต้นไลนเ์ มน และติดต้ังอุปกรณ์ป้องกัน โดยใช้ Clamp
Stick ครอบ Conductor Cover จานวน 6 ชุด และ Insulator Cover จานวน 3 ชุด

2. ไลน์แมนท้ังสองต้น ขึ้นไปปฏิบัติงานด้านบนพร้อมกับนา Handline และเชอื กขนึ้ ไปยนื ในตาแหน่ง
ทจ่ี ะพาดสายไฟ Over Head ไดส้ ะดวกและปลอดภัย

3. กราวด์แมนจัดเตรียมปลายสาย Over Head โดยทาห่วงเข้าปลายสายไฟให้เรียบร้อย และส่งสาย
Over Head ท่ีจะพาดข้ึนทางด้านเสาต้นไลน์ทางแยก ให้ไลน์แมนท่ีข้ึนปฏิบัติงานเสาต้นไลน์เมนแยกชุด
Handline ออกเป็น 2 ส่วน พร้อมสง่ ปลาย Handline ด้านท่ีมี Hook ผ่าน Snatch Block โยนข้ามสายไฟเฟส
C ให้กราวด์แมนส่งต่อให้ไลน์แมนเสาต้นไลน์ทางแยก และไลน์แมนเสาต้นไลน์ทางแยกใช้ Hook ที่ Hotline
Wire Grip พร้อมกับส่ังกราวด์แมนดงึ Handline ให้ตึงอย่างระมัดระวงั มายังเสาต้นไลนเ์ มน ไลน์แมนนาสาย

- 112 -

คมู่ อื การปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
Over Head ประกอบเข้ากบั Clamp และเชื่อมสาย Over Head เขา้ กับไลน์เมน พรอ้ มขนั อัดใหแ้ น่น สาหรบั
เสาต้นทางแยก กราวด์แมนดึงสาย Over Head ให้ตึง จากน้ันไลน์แมนนาสาย Over Head ประกอบเข้ากบั
Clamp พร้อมขนั อดั ใหแ้ น่นและเชื่อมสายเขา้ กบั Over Head ไลนท์ างแยก เม่ือปฏิบัตงิ านเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ไลนแ์ มนทงั้ สองต้นร้อื ถอนเครอ่ื งมอื และอปุ กรณป์ อ้ งกนั ลง

หมำยเหตุ ห้ามไม่ให้ส่ิงใดสง่ิ หนง่ึ สมั ผสั กับ Cover ทีค่ รอบปอ้ งกันอยู่

- 113 -

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

บทท่ี 9
กำรปฐมพยำบำล

- 114 -

ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

อนั ตรายจากไฟดูดไฟช๊อตในประเทศไทย สว่ นใหญ่มักเกิดในบา้ นพกั อาศยั ซึง่ ไม่กอ่ ใหเ้ กิดการบาดเจ็บ
ทร่ี ุนแรงมากนัก เพราะไฟบ้านในประเทศไทยเป็นไฟฟา้ แรงต่าซึ่งมีขนาดแรงดนั 220 โวลต์เท่านนั้ ในรายที่ถูก
ไฟดูดไฟช๊อตและเสียชีวติ นนั้ ส่วนใหญ่จะเกดิ จากการท่ีถูกไฟฟา้ แรงสูงดูด ซึ่งผู้ป่วยมกั จะเสียชีวติ ในท่ีเกิดเหตุ
เน่อื งจากกระแสไฟฟา้ แรงสงู ที่ไหลผา่ นหัวใจทาให้คลืน่ หัวใจเปล่ียนแปลงและเกดิ หวั ใจหยุดทางาน รวมท้งั เกิด
อนั ตรายต่ออวยั วะอื่น ๆ ทีเ่ ปน็ ทางไหลผ่านของกระแสไฟฟ้า เชน่ กล้ามเนอื้ กระดกู อวัยวะในช่องทอ้ ง ระบบ
ประสาท เป็นต้น ในบางครั้งกล้ามเนื้อจะหดตัวและกระตุกอย่างรุนแรง อาจทาให้ส่วนของร่างกายท่ีสัมผัสกับ
สายไฟหลดุ ออกมาโดยอัตโนมัติ แตบ่ าดแผลทเ่ี กิดขึน้ จะรนุ แรงและมีลกั ษณะไหมเ้ กรยี ม

ผู้ป่วยที่รอดชีวิตมาได้จากที่เกิดเหตุนั้น ถ้านาส่งถึงโรงพยาบาลได้ทันและได้รับการรักษาพยาบาลท่ี
เหมาะสมดพี อ อาจไม่เสียชีวติ แตอ่ าจพบความพกิ ารได้ ข้นึ กบั บริเวณท่ไี ด้รบั บาดเจ็บจากกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
โดยไฟฟ้าแรงสูงจะมีผลทาให้เนื้อเย่ือมีการถูกทาลายอย่างรุนแรง และมีเน้ือเยื่อตายค่อนข้างมาก อาจทาให้
แขนขาบวมตึงขาดเลือดรุนแรงไปจนต้องสญู เสยี อวัยวะสว่ นของแขนขาที่ถูกไฟช๊อตนั้น ถ้าไหลผ่านหัวใจอาจทา
ให้คล่ืนหัวใจเตน้ ผดิ ปกติ หรือถ้าไหลผ่านชอ่ งทอ้ งอาจทาใหอ้ วยั วะภายในชอ่ งทอ้ งบาดเจบ็ ไดเ้ ชน่ กัน

9.1 ปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อควำมรุนแรง

1) ปรมิ ำณกระแสไฟฟ้ำ หากกระแสไฟฟ้าทีไ่ หลผ่านร่างกายมีปริมาณมาก โอกาสทีจ่ ะเสียชวี ิตย่อมมี
มากดว้ ย แม้แต่กระแสไฟฟ้าขนาด 100 มลิ ลแิ อมป์ (0.1 แอมป)์ กอ็ าจทาใหเ้ สยี ชีวิตได้ในบางกรณี

ปริมำณกระแสไฟฟ้ำทม่ี ผี ลตอ่ ร่ำงกำย อำกำร
(มลิ ลแิ อมป)์
ต่ากว่า 0.5 ยงั ไมม่ ผี ลหรอื ไม่รสู้ ึก
0.5 - 2 รูส้ กึ จ๊ักจ้ีหรอื กระตุกเล็กนอ้ ย
2-8 กระทบกระเทือนต่อระบบประสาท กล้ามเน้ือหดตัว เกิดอาการ
8 - 20 กระตุกปานกลาง หรือรุนแรงไม่ถึงข้ันอันตราย
กระทบกระเทือนต่อระบบประสาท เจ็บปวด กล้ามเนื้อเกร็งหด
20 - 50 ตวั อย่างรนุ แรง บางคนไม่สามารถปลอ่ ยมอื หลุดออกได้
กระทบกระเทือนต่อระบบประสาท กล้ามเนื้อหดตัวอย่างรุนแรง
50 - 100 ทาให้ปอดทางานผิดปกติ ไม่สามารถปล่อยมือออกได้ มีผลทาให้
เกดิ การเปลี่ยนแปลงในสมอง
สงู กว่า 100 กระทบกระเทือนต่อระบบประสาท หวั ใจเตน้ อ่อน หรอื เต้นถ่รี ัว มี
ผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสมอง ไม่สามารถปล่อยมือหลุด
ออกได้ มีโอกาสเสียชวี ิตในเวลา 2 - 3 นาที
หัวใจหยุดเตน้ ผวิ หนังไหม้ หรอื เนือ้ เยือ่ ไหมอ้ ย่างรุนแรง กล้ามเนื้อ
ไมท่ างาน

2) ระยะเวลำทกี่ ระแสไฟฟำ้ ไหลผำ่ นร่ำงกำย ถา้ ร่างกายสัมผัสกบั กระแสไฟฟา้ เป็นเวลานาน เนอื้ เยอื่
ของร่างกายจะถกู ทาลายมากขึ้น

- 115 -

ค่มู ือการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
3) เส้นทำงหรืออวัยวะท่ีกระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำน ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านส่วนสาคัญของร่างกาย เช่น

หัวใจ สมอง มนุษย์มโี อกาสทจี่ ะเสียชวี ิตไดง้ า่ ยกว่าสว่ นอนื่ ๆ นอกจากนแ้ี ล้วความแขง็ แรงของร่างกาย และเพศ
กม็ ีส่วนประกอบด้วย โดยปกตแิ ล้วเพศหญิงจะเสียชวี ิตได้งา่ ยกว่าเพศชาย

4) แรงดันไฟฟ้ำ และควำมตำ้ นทำนของร่ำงกำย ขอ้ มูลความต้านทานของร่างกายท่วี ัดไดจ้ ากแต่ละ
งานวจิ ยั จะมีคา่ แตกตา่ งกันไปเน่ืองจากปัจจยั หลายประการ แต่โดยเฉลีย่ แล้วผวิ หนังแหง้ ของร่างกายมนุษย์มี
คา่ ความต้านทานประมาณ 100,000 โอห์ม สว่ นผิวท่ีเปียกมคี า่ ความตา้ นทานประมาณ 1,000 โอหม์

อำกำรของผ้ถู กู กระแสไฟฟ้ำแรงสูงดดู
1) ช็อกและหมดสติ
2) มบี าดแผลไหมเ้ กรยี ม โดยเฉพาะอวัยวะท่ีกระแสไฟฟา้ ไหลเข้าและออก จะมีลักษณะรนุ แรง
3) เนื่องจากการหดตัวของกล้ามเน้ือจะส่งผลทาให้ระบบหายใจหยุดชะงักหรือขัดข้อง ซ่ึงในกรณีน้ี

จะต้องรีบช่วยเหลือผู้ป่วยโดยเร็ว หากทิ้งไว้เกนิ 4-6 นาทีแล้วผู้ป่วยจะเกิดอาการสมองพิการหรือ
เสยี ชีวิตได้
9.2 ข้นั ตอนกำรชว่ ยเหลอื เมอื่ เกดิ อุบตั เิ หตพุ นกั งำนถูกกระแสไฟฟ้ำแรงสูงดูด
1) ตรวจเชค็ ระบบจาหน่ายวงจรท่ีปฏิบตั ิงานว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่หรือไม่ หากยงั มีกระแสไฟฟ้าอยู่
ต้องแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องตัดวงจรน้ันออกทันที เนื่องจากบ่อยครั้งที่พบว่าผู้เข้าไปช่วยเหลือท่ีไม่ได้ระวังตรงจุดน้ี
กลบั ถกู กระแสไฟฟา้ ดูดเสียชวี ติ ไปด้วย หรือหากมีสายไฟพาดผ่านตวั ผู้ป่วยอยู่ เราต้องหาวสั ดุที่เป็นฉนวน เช่น
เครื่องมอื Hot stick, ไม้แห้ง เข่ยี เอาสายไฟออกจากตวั ผปู้ ่วยก่อนทจ่ี ะเขา้ ไปช่วยเหลือ
2) ใหผ้ ู้ช่วยเหลือรีบปนี ขนึ้ เสาไฟฟา้ เพอ่ื ช่วยเหลือผบู้ าดเจ็บ และนาลงจากเสาไฟฟ้าโดยใช้ Hand line
เคล่อื นยา้ ยผบู้ าดเจ็บจากทเ่ี กดิ เหตไุ ปยังท่ีปลอดภัยอย่างถกู ต้อง รวดเร็ว และระมดั ระวัง เนื่องจากเม่ือถูกไฟฟา้
ดูดหมดสติ ร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งอาจได้รับความกระทบกระเทือน เช่น ศีรษะ กระดูกคอ กระดูกสันหลัง
กระดูกแขนขาหกั เป็นตน้ เพราะถ้าปฏิบัติไมถ่ กู ต้องอาจเปน็ สาเหตใุ หเ้ กิดความพกิ ารหรอื อมั พาตตามมาได้
3) ตรวจสอบอาการผู้ปว่ ย ตามขัน้ ตอนการช่วยชวี ิตขนั้ พืน้ ฐาน และทา CPR หากจาเป็น
4) เรียกรถพยาบาลฉกุ เฉินนาผปู้ ่วยส่งโรงพยาบาลทีใ่ กล้ท่ีสดุ และเรว็ ท่สี ุด

- 116 -

คมู่ อื การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

9.3 กำรชว่ ยชีวติ ขั้นพน้ื ฐำนสำหรับภำวะหวั ใจหยุดทำงำน
ผทู้ ีไ่ ด้รบั อุบตั ิเหตุ เช่น ถกู กระแสไฟฟา้ ดดู จมนา้ และหมดสติ เปน็ ตน้ จะต้องได้รบั การชว่ ยเหลือโดย

ทนั ท่วงที เน่ืองจากเซลล์สมองเปน็ สว่ นท่มี คี วามออ่ นไหวตอ่ การขาดออกซเิ จนมากท่ีสดุ ในกรณีท่ีหวั ใจหยุดเต้น
เป็นเวลามากกว่า 4-6 นาที สมองอาจพิการโดยส้ินเชิง แม้ว่าต่อมาจะปฐมพยาบาลจนหายใจได้เองและหัวใจ
เตน้ อีกครั้ง ผู้ปว่ ยอาจหมดสติอย่ตู ลอดไป โดยอาการทีส่ งั เกตเหน็ ได้งา่ ยของผูป้ ่วยหวั ใจหยดุ เตน้ ไดแ้ ก่

1) ลิ้น รมิ ฝปี าก และโคนล้ินจะมีสีน้าเงินคล้า
2) หมดความรู้สกึ
3) มา่ นตาขยายกว้าง
ข้นั ตอนกำรช่วยชวี ติ ข้นั พนื้ ฐำนสำหรบั ภำวะหัวใจหยุดทำงำนในผู้ใหญ่
CPR (Cardiopulmonary Resuscitation) หรือการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ คือการปฐมพยาบาล
เพ่ือช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น ให้กลับมาหายใจ และมีการไหลเวียนออกซิเจนรวมทั้งเลือด
กลบั สูส่ ภาพเดิม ซ่ึงมีรายละเอยี ดค่อนข้างมากและมีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ตามรายงานจากผลการวิจัยที่
มุ่งค้นหาวิธกี ารท่ีได้ผลดีที่สุดในการช่วยชีวิตผู้ประสบอุบัติเหตุ ก่อให้เกิดการปรับปรุงรูปแบบของการทา CPR
ในหลาย ๆ ด้าน ทั้งนี้เพื่อเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยให้ได้มากที่สุด ดังนั้นเน้ือหาในคู่มือฉบับนี้จะมีการ
ปรับปรุงเพิ่มเติม โดยอ้างอิงข้อมูลจาก American Heart Association Guidelines 2015 CPR & ECC ฉบับ
แปลไทย พ.ศ. 2558
สาหรับขัน้ ตอนการช่วยชวี ิตขั้นพื้นฐานสาหรับภาวะหัวใจหยุดทางาน (BLS: Basic Life Support) จะ
ครอบคลุมถึงภาวะหัวใจหยุดทางานจากหลายสาเหตุ และมีการกล่าวถึงข้ันตอนการใช้งานเคร่ือง AED:
Automated External Defibrillator (เครื่องกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าจากภายนอกร่างกายแบบอัตโนมัติ)
ด้วย แต่เนื้อหาในคู่มือฉบับน้ีจะเน้นไปที่การให้ข้อมูลท่ีจาเป็นและสามารถกระทาได้ด้วยตนเอง ในการใช้
ช่วยเหลือผปู้ ระสบอุบัติเหตุจากกระแสไฟฟา้ เป็นหลกั โดยมีขนั้ ตอนดังต่อไปนี้

1) ตรวจสอบดูความปลอดภัยของสถานท่ีเกดิ เหตุ พร้อมท้ังเรียกผ้อู ยู่ใกล้เคียงมาช่วยเหลอื
2) ประเมินการรู้สึกตัวของผู้ป่วย โดยการร้องเรียกเสียงดังหรือการเขย่าตัวผู้ป่วย แต่ทั้งน้ี ต้องระวัง
อาการบาดเจ็บทางรา่ งกายทีเ่ กิดขึ้นดว้ ย หากผปู้ ่วยไมต่ อบสนองใหโ้ ทรแจง้ หนว่ ยกู้ชพี หรือมอบให้ผู้อนื่ แจง้ แทน
3) ทาการตรวจสอบการหายใจ ด้วยการเอียงแก้มและหูเข้าใกล้ปากและจมูกของผู้ป่วยเพื่อฟังเสียง
หรือสัมผสั กับลมหายใจที่ออกมาจากผู้ปว่ ย พร้อมกบั ดกู ารเคล่ือนไหวของทรวงอก ใหใ้ ช้เวลาตรวจสอบไม่เกิน
5 วนิ าที ในขณะเดยี วกันให้ตรวจสอบชพี จรของผู้ป่วย ดว้ ยการคลาหาหลอดเลือดบรเิ วณลาคอตรงรอ่ งดา้ นหน้า
จดุ ต่อกล้ามเนื้อคอ หรือตรงขอ้ มือบรเิ วณโคนนว้ิ หวั แมม่ ือ หรือการใชห้ ูแนบฟังเสียงหัวใจ ใหใ้ ชเ้ วลาตรวจสอบ
อยา่ งนอ้ ย 5 วินาที แต่ไมค่ วรเกิน 10 วนิ าที

- 117 -

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

3.1) หากพบว่าผปู้ ่วยมีการหายใจและยังมชี ีพจร ไมจ่ าเปน็ ต้องทา CPR แตใ่ ห้เฝา้ ระวงั ผู้ป่วยจนกว่า
หนว่ ยกู้ชพี จะมาถึง และตอ้ งพรอ้ มทา CPR ทันทเี มอ่ื จาเปน็

3.2) หากพบว่าผปู้ ว่ ยไมห่ ายใจหรือมภี าวะหายใจเฮอื กแตม่ ชี ีพจร ให้ทาการผายปอดตามวธิ ีการทา
CPR แต่ไมต่ ้องนวดหัวใจ โดยผายปอด 1 ครง้ั ทุก 5 – 6 วนิ าที และตรวจสอบชีพจรซ้าทุก 2 นาที
หากไม่พบชพี จรให้เปลีย่ นไปทา CPR เตม็ รปู แบบ

3.3) หากพบวา่ ผ้ปู ่วยไม่หายใจและไม่มีชีพจร ให้ทา CPR โดยกดหน้าอก 30 ครั้ง สลับกบั การผาย
ปอด 2 ครง้ั อย่างตอ่ เน่อื ง จนกวา่ ผู้ปว่ ยจะมชี ีพจรและหายใจได้ หรือจนกว่าหน่วยก้ชู ีพมาถงึ

4) กรณผี ู้ปว่ ยมชี ีพจรและหายใจไดด้ ว้ ยตนเองแลว้ แต่ยังคง
หมดสติอยู่ ในระหว่างที่กาลังรอหน่วยกู้ชีพ หากประเมินแล้วว่า
ผู้ป่วยไม่มีอาการบาดเจ็บที่เป็นอุปสรรค ให้จัดผู้ป่วยอยู่ในท่าพัก
(Recovery Position) ตามรูป เนื่องจากเป็นท่าที่ช่วยให้ทางเดิน
หายใจเปิดโล่ง ในขณะท่ีลิ้นหรอื ของเหลวทีอ่ าจเกิดขน้ึ จะไม่ขดั ขวาง
การหายใจ อีกทั้งยังสามารถพลิกตัวผู้ป่วยข้ึนมาทา CPR ได้อย่าง
รวดเร็วหากผู้ป่วยอาการทรดุ ลง

สาหรบั การทา CPR น้ัน สามารถสรปุ ขัน้ ตอนออกมาได้งา่ ยๆ ว่า CAB

C: Circulation คือ กำรหมนุ เวยี นโลหติ หรือกำรนวดหัวใจ (บางเอกสารใช้ Chest Compression)
หากประเมินแล้วพบว่าผู้ป่วยหัวใจหยุดทางานหรือคลาไม่พบ
ชีพจร ต้องรีบทาการนวดหัวใจทันที โดยการกดลงบนกระดูกหน้าอก
ส่วนล่าง เพ่ือบีบหัวใจและเพมิ่ ความดันภายในทรวงอก บังคับให้เลือด
ไหลออกจากหัวใจไปตามเส้นเลือดแดง และเมื่อเราปล่อยจากการกด
ทรวงอกและหัวใจจะขยายตัวกลับตามเดิม ทาให้เลือดไหลกลับมาใน
หวั ใจเพอ่ื เตรยี มพร้อมทีจ่ ะถกู กดคร้งั ต่อไป โดยปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนดงั น้ี

1) วางผู้ปว่ ยนอนราบกบั พนื้ เรยี บและแข็งเพื่อให้การกดไดผ้ ลเต็มที่ ถ้าถอดเส้ือไดง้ า่ ยให้ถอดเสือ้ ออก
2) คุกเข่าลงทางด้านข้างลาตัว แนวเดียวกับราวนมของผู้ป่วย ให้ระดับเอวของผู้ช่วยเหลืออยู่เหนือ
ผปู้ ว่ ย เพ่อื จะไดท้ าการชว่ ยเหลอื ได้สะดวก
3) วางสันมือข้างหนงึ่ (ควรเปน็ ข้างทไ่ี มถ่ นดั ) ลงบนกระดูกสันอก
ใหอ้ ยู่แนวกึง่ กลางหน้าอกและแนวเดียวกับราวนม แลว้ ใช้สันมืออีกข้างหน่ึง
(ควรเป็นข้างที่ถนัด) วางซ้อนทับในลักษณะประสานกัน งอน้ิวมือบนล็อก
ระหว่างน้ิวมอื ล่าง และกางน้ิวมอื ล่างออกเพื่อป้องกันเล็บจิกผูป้ ว่ ย
4) โน้มตัวข้ึนมาเหนอื ลาตัวผู้ป่วย แขนสองข้างเหยียดตึง โดยมือ
ศอก และไหล่ให้อยู่ในแนวดงิ่
5) ใช้สะโพกเป็นจุดหมุน และใช้น้าหนักตัวกดกระดูกหน้าอกให้
ยุบลงไปประมาณ 2–2.4 น้ิว (5–6 ซ.ม.) โดยแขนเหยียดตึง ไม่กระแทก
เพือ่ ปอ้ งกันกระดูกซี่โครงหัก แล้วคลายน้าหนกั ให้หนา้ อกคืนตวั อย่างเต็มท่ี
ก่อนกดกลบั ลงไปใหม่ โดยวางมอื สมั ผสั อยู่ที่ตาแหน่งเดมิ ตลอดเวลา กดใหไ้ ดจ้ ังหวะประมาณ 100 – 120 ครัง้ /
นาที โดยการนับให้จงั หวะในใจวา่ “1 และ 2 และ 3 ...”

- 118 -

คมู่ อื การปฏิบัติงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

A: Airway คือ กำรเปดิ ทำงเดินหำยใจ
คอื การเปิดทางเดนิ หายใจให้โลง่ เพอ่ื เตรยี มพร้อมสาหรับการเป่าปาก เนื่องจากผปู้ ่วยหมดสตจิ ะมีภาวะ
โคนลนิ้ และกลอ่ งเสยี งตกลงไปอุดทางเดินหายใจสว่ นบน จงึ ต้องเปดิ ทางเดนิ หายใจโดยมีวธิ ีการดังนี้

1) วางผู้ป่วยนอนราบกับพ้ืนปลดกระดุมเส้ือออกคลายเสื้อให้
หลวม แล้วล้วงส่ิงของท่ีอยู่ในช่องปากออกให้หมด เพ่ือเคลียร์ช่องลมให้
ลมเขา้ ปอดไดส้ ะดวก

2) หากส่ิงกีดขวางในปากอยู่ลึก และผู้ป่วยไม่มีอาการบาดเจ็บ
อ่ืน อาจใช้การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยแล้วตบตรงกระดูกสะบัก เพ่ือใช้
แรงลมในปอดผปู้ ว่ ยดนั สงิ่ กดี ขวางออกมา จากน้นั ลว้ งช่องปากอกี คร้ัง

3) ใช้วิธีการ แหงนหนา้ และเชยคาง (Head tilt – Chin lift) โดยใช้ฝ่ามือกดหน้าผาก ยกหัวผู้ป่วยไป
ทางด้านหลังให้แหงนขึ้น แล้วใช้น้ิวมือยกขากรรไกรล่างขึ้นเล็กน้อย เพราะผู้ป่วยท่ีหมดความรู้สึก ลิ้นอาจจะ
กระดกปดิ กัน้ ทางลมไว้ทาให้ลมเขา้ ปากไม่สะดวก การจบั ให้ผูป้ ่วยอยู่ในลักษณะนีจ้ ะชว่ ยให้ลนิ้ ไมป่ ิดกน้ั ทางลม
และช่วยให้ชอ่ งลมกวา้ งขึน้

4) กรณีที่สงสัยว่าผู้ป่วยอาจมีการบาดเจ็บท่ีกระดูกสันหลังบรเิ วณคอร่วมด้วย ให้ใช้วิธี ยกขากรรไกร
(Jaw thrust) คอื ดึงขากรรไกรทงั้ สองขา้ งขึน้ ไปดา้ นบน โดยผชู้ ว่ ยเหลอื อย่เู หนือศรี ษะของผูป้ ว่ ย

B: Breathing คอื กำรผำยปอด

คือการช่วยหายใจ โดยรักษาระดับออกซิเจนให้เพียงพอและขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เน่ืองจากลม
หายใจออกของผู้ช่วยเหลือ ยงั คงมีออกซิเจนอยู่ประมาณ 16 – 17 เปอรเ์ ซ็นต์ ซงึ่ เพียงพอสาหรับใชใ้ นร่างกาย
ผู้ป่วย โดยปฏบิ ัติตามขั้นตอนดังน้ี

1) ผ้ชู ่วยเหลือสูดลมหายใจเข้าปอดตามปริมาณทีใ่ ช้ในการหายใจปกติ แลว้ ประกบปากใหส้ นิทกบั ปาก
ผู้ป่วย ใช้น้ิวมือข้างที่กดหน้าผากบีบจมูกผู้ป่วยด้วยเพื่อป้องกันลมออกทางจมูกแทนท่ีจะเข้าปอด แล้วเป่าลม
เข้าช้า ๆ ให้นานกว่า 1 วินาที ระหวา่ งการเป่า ให้ชาเลืองมองหน้าอกผู้ป่วยดว้ ย หากไม่พบการพองตวั อาจเกิด
จากลมร่วั หรอื เปิดทางเดินหายใจไมถ่ กู ตอ้ ง

2) เมื่อเปา่ แล้วถอนปากออกเพ่ือให้ปอดของผู้ปว่ ยพองตวั กลับคืนเตม็ ท่ี แล้วสดู ลมเข้าไปและเป่าใหม่
ทาเช่นน้ีโดยไม่ตอ้ งรีบร้อน ใหไ้ ด้จงั หวะประมาณ 1 คร้ังทกุ 6 วินาที (10 ครง้ั ตอ่ นาท)ี ซ่งึ ใกล้เคียงกบั อัตราการ
หายใจปกติ แตอ่ ยา่ สดู ลมหายใจลกึ จนเตม็ ปอด เพื่อป้องกันผู้ชว่ ยเหลอื หน้า
มืดหรอื เกิดภาวะเป่าลมเข้าสู่ผ้ปู ่วยมากเกนิ ไป จนลมร่วั เข้าสู่ระบบทางเดิน
อาหาร อาจทาใหผ้ ้ปู ว่ ยอาเจยี ร

3) ในกรณีท่ีผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูดตัวเกร็งขากรรไกรค้างซึ่งมักพบ
บ่อย หรือในกรณีผู้ป่วยบาดเจ็บที่ปาก ให้เป่าทางจมูกแทน โดยยก
ขากรรไกรข้ึนปิดปากให้สนิทและแหงนหน้าข้ึนสุด แล้วทาการเป่าจมูก
เหมือนจงั หวะการเปา่ ปาก

ในการช่วยเหลือผู้ป่วย จะต้องทา CPR ตามขั้นตอน C-A-B โดยใช้อัตรา 30:2 คือ นวดหัวใจ 30 คร้ัง
สลบั เปา่ ปาก 2 ครัง้ นบั เปน็ 1 ชุด ในกรณีมผี ชู้ ่วยเหลือคนเดียว แต่ถ้ามีผู้ช่วยเหลือ 2 คน ใหค้ นหน่งึ ทาหน้าท่ี
นวดหวั ใจและอกี คนหนึง่ ทาหน้าท่ีผายปอด เม่อื ทาครบ 5 ชุดใหป้ ระเมนิ ผ้ปู ว่ ยอีกคร้ัง หากยังไมม่ ชี พี จรให้สลับ
หน้าที่กนั ทา CPR ตอ่ เนอื่ งไปจนกวา่ ผปู้ ว่ ยจะมกี ารตอบสนองหรือจนกว่าหนว่ ยกูช้ พี จะมาถงึ

- 119 -

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

กำรทำ CPR อย่ำงมีประสทิ ธิภำพ
1) การชว่ ยเหลือผูป้ ่วยในสถานการณ์จริง สมควรอยา่ งยง่ิ ที่จะมผี ู้ชว่ ยเหลอื อยา่ งน้อย 2 คน เนอื่ งจาก
ผชู้ ่วยเหลือคนแรก ต้องทาการนวดหัวใจอยา่ งต่อเน่อื ง เพื่อไม่ให้สมองผู้ปว่ ยขาดออกซิเจนนานเกินไป ในขณะ
ที่ผชู้ ่วยเหลอื คนท่ี 2 ตอ้ งทาหน้าท่ปี ระสานกบั หน่วยกูช้ ีพฉกุ เฉนิ (โทร 1669) จดั หาเครือ่ ง AED หากทาได้ และ
ผลัดเปลยี่ นกับผู้ช่วยเหลอื คนแรกในการทา CPR
2) ในบางคร้ังผู้ป่วยหัวใจหยุดทางาน อาจแสดงอาการคล้ายกบั การชักหรอื อาการหายใจเฮอื กซึ่งอาจ
ทาให้ผู้ช่วยเหลือสับสน การประสานงานกับหนว่ ยกู้ชีพตลอดเวลาที่ช่วยเหลือ จะทาให้ได้รับคาแนะนาในการ
แยกแยะผ้ปู ่วยที่มีอาการดังกล่าว รวมถึงได้รบั คาแนะนาในการทา CPR อยา่ งถกู ตอ้ งด้วย
3) ในอุบัติเหตุท่ีเกิดจากไฟฟ้าแรงสูง ใบหน้าผู้ป่วยอาจมีแผลฉกรรจ์ท่ีทาให้เป็นอุปสรรคต่อการช่วย
ผายปอด หรือผู้ชว่ ยเหลืออาจไม่มีประสบการณ์ทาให้การผายปอดไมไ่ ด้ผล กรณนี อี้ าจใชก้ ารช่วยเหลอื โดยการ
นวดหัวใจอย่างเดียว เนื่องจากในระยะแรกหลังจากประสบอบุ ัตเิ หตุระดบั ออกซิเจนในเลือดยงั มีเพยี งพอ อีกทงั้
การนวดหวั ใจยังสง่ ผลให้ทรวงอกขยายและหดตัวจนเกิดการแลกเปลีย่ นก๊าซในทางอ้อม แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม หาก
ผู้ช่วยเหลือมีความรู้และผ่านการฝึกอบรมเก่ยี วกับการทา CPR มาก่อน ก็ยังคงแนะนาให้ช่วยเหลือท้ังการเป่า
ปากและนวดหวั ใจ
4) อัตราเร็วในการกดหน้าอกที่แนะนาสาหรับผู้ใหญ่คือ 100 – 120 ครั้งต่อนาที ซึ่งเป็นอัตราเร็วท่ี
เหมาะสมที่สุดตามผลการวิจัยในปัจจุบัน หากช้ากว่าน้ีปริมาณเลือดจะไม่เพียงพอในการช่วยชีวิต แต่หากเร็ว
กว่านจี้ ะทาให้กระดูกซีโ่ ครงรับภาระหนัก รวมถงึ ส่งผลโดยออ้ มให้ความลกึ ในการกดหนา้ อกลดลง
5) ความลึกในการกดหน้าอกที่แนะนาสาหรับผู้ใหญ่คือ 2 – 2.4 นิ้ว (5 – 6 ซ.ม.) ซง่ึ หากตืน้ กว่านี้จะ
ทาให้การนวดหัวใจไม่ได้ผลเตม็ ที่ แต่หากกดลกึ กว่าน้อี าจทาใหผ้ ู้ปว่ ยบาดเจ็บได้ เป็นการยากทจี่ ะระบุความลึก
ที่ถกู ต้องในการกดหนา้ อกโดยไมใ่ ช้เคร่ืองมือวดั หรอื การฝกึ จากหุ่นจาลอง แตจ่ ากผลการวิจยั พบวา่ ผชู้ ว่ ยเหลือ
มกั จะกดหน้าอกตน้ื เกนิ ไป บอ่ ยกว่ากดหนา้ อกลึกเกินไป
6) ทั้งการนวดหัวใจและการผายปอด จะต้องปล่อยให้หน้าอกคืนตัวกลับจนสุดก่อนท่ีจะเร่ิมการกด
หรอื เป่าคร้ังตอ่ ไป
7) การกดหน้าอกเป็นกญุ แจสาคัญในการช่วยชีวิตผู้ป่วย ดังนั้นควรเริม่ กระบวนการกดหน้าอกให้เร็ว
ทส่ี ดุ เทา่ ที่จะเป็นไปได้ อีกท้งั ไม่ควรหยดุ กดหน้าอกนานเกนิ 10 วนิ าทแี ละหยดุ เมือ่ จาเปน็ เทา่ น้ัน เช่นหยุดเพ่ือ
ผายปอด เพ่อื ประเมนิ ผปู้ ่วย หรอื เพื่อตดิ ตัง้ เครอื่ ง AED เปน็ ต้น โดยระยะเวลาการกดหน้าอกตอ่ ระยะเวลาการ
ช่วยเหลอื ทงั้ กระบวนการ ควรมไี ม่ต่ากว่า 60 เปอร์เซน็ ต์
8) ในกระบวนการทา CPR ข้ันสูง เอกสารบางฉบับอาจระบุข้ันตอนเพ่มิ เติมคอื
CAB-D ซ่ึง D หมายถึง Defibrillation คือการใช้เคร่ือง AED (เอกสารบางฉบับเรียกว่า
PAD: Public Access Defibrillator เพ่ือสื่อให้เห็นว่าเป็นเคร่ืองมือที่สามารถพบได้ในที่
สาธารณะและใช้ได้ง่าย) เพื่อประเมิน และกระตุ้นหัวใจผู้ป่วยด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ
โดยเครื่อง AED จะแสดงผลการประเมินผู้ป่วยและวิธีใช้งานอย่างง่ายให้ผู้ใช้ปฏิบัติตาม
ซึ่งในต่างประเทศมีข้อแนะนาให้ติดตั้งในชุมชนหรือแหล่งซึ่งมีผู้ท่ีเสี่ยงต่อภาวะหัวใจหยุดเต้น เช่น สนามบิน,
กาสิโน, สถานทอี่ อกกาลงั กาย เปน็ ตน้
9) ข้อมูลข้างต้นเป็นคาแนะนาในการทา CPR สาหรับผู้ใหญ่ ส่วนการทา CPR ในเด็กเล็กหรือเด็ก
ทารก จะมรี ายละเอยี ดแตกตา่ งไปเล็กน้อย เช่นความลกึ และวิธีการกดหน้าอก เปน็ ต้น

- 120 -

คูม่ ือการปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

9.4 อนั ตรำยจำกไฟฟำ้

พลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลังงานทส่ี าคญั และมปี ระโยชน์ แต่สามารถก่อให้เกิดอันตรายแก่ชวี ิตและทรพั ย์สินได้
สาเหตใุ หญ่ คือ ไฟฟ้าช๊อต และไฟฟา้ ดดู มสี าเหตกุ ารเกดิ ที่ต่างกันและอันตรายท่ีไดร้ บั กแ็ ตกตา่ งกนั

9.4.1 ไฟฟ้ำช๊อต (Short Circuit) เมื่อมีเหตุเกิดเพลิงไหม้เรามักจะได้ยินข้อสันนิฐานเบื้องต้นว่ามี
เหตุมาจากกระแสไฟฟ้าลัดวงจร ภาวะหรือสาเหตุของการลัดวงจรคือ กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจรโดยไม่ผ่าน
เคร่ืองใช้ไฟฟ้า (Load) การลัดวงจรของไฟฟ้ามีมากมายหลายสาเหตุ สาเหตุหลักเกิดจากการใช้ไฟฟ้าท่ีไม่
ถกู ต้อง

(1) ฉนวนไฟฟา้ ชารดุ และเสื่อมสภาพ อาจเกดิ จากอายุการใช้งานนาน สภาพแวดล้อมมคี วามร้อนสูง
ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าเกนิ พกิ ดั ทาใหเ้ กดิ ความรอ้ นภายในสายไฟหรอื อปุ กรณไ์ ฟฟา้

(2) มีส่ิงก่อสร้าง ต้นไม้ หรือสิ่งอื่น ๆ พาดทับ หรือสัมผัสสายไฟ เกิดการขัดสีจนกระทั่งฉนวนชารุด
ลวดตัวนาภายในสายไฟสมั ผสั กนั จนเกดิ การลกุ ไหม้

(3) สายไฟหลุด หรือขาดลงสัมผัสกับพ้ืน ทาให้มีกระแสไฟฟ้ากระจายอยู่รอบบริเวณน้ัน หากพื้นผิว
บริเวณน้นั เปยี กชื้น เปน็ อนั ตรายอยา่ งย่งิ ตอ่ คน สัตว์ ที่เขา้ มาใกล้

ลกั ษณะกำรลดั วงจร
ไฟฟ้าลัดวงจรเกิดข้ึนได้ทั้งในระบบไฟฟ้าแรงสูงและระบบไฟฟา้ แรงดันต่า ลักษณะการเกิดและความ
เสยี หายกจ็ ะมคี วามแตกต่างกันคอื
(1) กระแสไฟฟ้าไหลระหว่างสายไฟ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก ฉนวนของสายไฟชารุด หรือ จากการ
สมั ผสั กันโดยบงั เอิญ ผลจากการลัดวงจรจะทาให้มีกระแสไฟฟ้าไหลเปน็ จานวนมาก ทาให้เกดิ ความรอ้ นสูงจน
เกดิ การลุกไหมร้ ะหว่างลัดวงจรจะก่อใหเ้ กดิ ประกายไฟขน้ึ ดว้ ย
(2) กระแสไฟฟ้าไหลลงดิน หรือเรียกว่ากระแสไฟฟ้าลัดวงจรลงดิน อาจเกิดจากการท่ีสายไฟขาด
หรือหลุดจากจุดต่อสายไฟสัมผัสกับพื้นดินหรือโลหะท่ีต่อฝังอยู่บนพ้ืนดิน ลักษณะดังกล่าวน้ีจะทาให้
กระแสไฟฟา้ ไหลลงดิน

ผลของไฟฟ้ำช๊อต
ในกรณีท่ีกระแสไฟฟ้าไหลในสายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟา้ สูง จะทาให้ความร้อนเกิดข้ึนในสายตัวนาและ
เกิดการหลอมละลายของฉนวนไฟฟ้า สง่ ผลให้สายไฟตัวนาไฟฟ้าสมั ผัสกันเกิดเปน็ ประกายไฟจนฉนวนลุกไหม้
และหากมีวัสดุติดไฟอยู่ในบริเวณนั้นก็เสริมความรุนแรงมากย่ิงข้ึน ถ้าหากเกิดขึ้นในบริเวณที่ใกล้กับวัตถไุ วไฟ
หรือเปน็ กา๊ ซทต่ี ดิ ไฟงา่ ย อาจจะทาให้เกดิ การระเบิดขึ้นได้ แนวทางการปอ้ งกัน คือ จะตอ้ งปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กดิ การ
ลดั วงจร ระหวา่ งเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า อปุ กรณไ์ ฟฟ้า และสายไฟนัน้ โดยการตรวจสอบอยา่ งสม่าเสมอ ถ้าไฟฟา้ แรงสงู
ขาดลงสพู่ ื้นดนิ และไม่มีระบบป้องกันตดั วงจร อาจกอ่ ให้เกดิ อนั ตรายกับผทู้ สี่ ัญจรไปมาได้

แนวทำงปอ้ งกนั ไฟฟ้ำลดั วงจร
(1) จดั การทางานของอุปกรณป์ ้องกนั ตา่ ง ๆ ในระบบใหส้ อดคล้องกัน (Coordination) เมอ่ื ฟวิ ส์ขาด
ใหใ้ ชฟ้ ิวสข์ นาดเทา่ เดมิ เปลี่ยนแทน ไมค่ วรใชข้ นาดใหญ่กว่าเดมิ หรอื ดัดแปลงใช้วสั ดุตวั นาอื่นมาทดแทน
(2) ตรวจสอบระบบจาหน่าย สายไฟ อุปกรณ์ และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเป็นประจา ถ้าพบว่าชารุดควรรีบ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและซอ่ มแซมบารงุ รกั ษา

- 121 -

คมู่ อื การปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick
(3) ดูแลรักษา และทาความสะอาดเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเป็นประจา เช่น แผงเมนสวิตช์ ปลั๊กไฟจุดต่อแยก

ตา่ ง ๆ เพราะอาจมีตวั แมลง จง้ิ จก เข้าไปทารัง หรอื มฝี นุ่ ละอองเกาะ
(4) เลือกใช้อุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีมีคุณภาพ และมีมาตรฐานรับรอง หรือเคร่ืองหมาย รับประกัน

คณุ ภาพของสานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (ม.อ.ก.)
(5) ใชเ้ ครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ อย่างถกู วธิ ี ตามคาแนะนาที่บริษัทผผู้ ลิตแนะนา
9.4.2 ไฟฟ้ำดูด (Electric Shock) เป็นภาวะที่เกิดจากการท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายลงดิน

สามารถแยกตามลักษณะของการสมั ผัสไดเ้ ปน็ 2 แบบ คือ
(1) การสัมผัสโดยตรง (Direct Contact) คือ การท่ีส่วนของร่างกายสัมผัสกับส่วนท่ีมีไฟฟ้าโดยตรง

เชน่ สายไฟ อุปกรณ์ และเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า เปน็ ตน้
(2) การสัมผัสโดยอ้อม (Indirect Contact) คือ การที่ส่วนของร่างกายไม่ได้สัมผัสส่วนท่ีมีไฟฟ้า

โดยตรง แตเ่ กิดจากการท่ีบุคคลไปสัมผัสกับสว่ นท่ีมีการลัดวงจรลงดนิ เชน่ เครื่องใชไ้ ฟฟ้าร่ัว แรงดันเหนีย่ วนา
จากระบบจาหน่ายหรอื วงจรอื่น ๆ เปน็ ต้น

- 122 -

ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

บทท่ี 10
หลกั ควำมปลอดภัยในกำร

ปฏบิ ตั ิงำนฮอทไลน์

- 123 -

คู่มือการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

คูม่ อื การปฏิบตั งิ านเล่มน้ีแนะนาวิธีปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้า โดยใช้เครอ่ื งมอื ไม้ฉนวนกับระบบจาหน่าย
22- 33 kV ซ่ึงมหี ลักปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี

(1) เคล่ือนย้ายสายไฟหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลออกห่างจากผู้ปฏิบัติงานให้มีระยะที่
ปลอดภัยเพียงพอ และแม้ว่าจะเคลื่อนย้ายสายไฟออกไปแล้วหากพิจารณาแล้วเห็นว่าส่วนหน่ึงส่วนใดของ
ร่างกายอาจเขา้ ไปใกล้ส่วนทมี่ ีไฟฟา้ ได้ ใหค้ รอบฉนวนป้องกันคลุมให้มิดชดิ

(2) ในกรณีที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายสายไฟหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีกระแสไฟฟ้าไหลออกไปได้ ให้ใช้
ฉนวนป้องกันครอบอุปกรณ์น้ัน ๆ ให้มีจานวนมากพอและคลุมให้มิดชิด ให้ผู้ปฏิบัติงานหลีกเลี่ยงสัมผัสกับ
ฉนวนครอบสายไฟโดยตรง

10.1 ขอ้ ปฏิบัตกิ อ่ นปฏบิ ัติงำนฮอทไลน์
1. ต้องพิจารณาอัตรากาลังที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับปริมาณงานท่ีจะปฏิบัติ ห้ามปฏิบัติงานเกินขีด

ความสามารถ เช่น อตั รากาลังไมเ่ พยี งพอ เครอ่ื งมือไมเ่ พียงพอ ความย่งุ ยากซบั ซ้อนของระบบจาหนา่ ย ฯลฯ
2. ศกึ ษาทาความเข้าใจเกยี่ วกับงานที่จะปฏบิ ตั ขิ องตนเองและผ้รู ่วมงานอย่างละเอียดถี่ถ้วน
3. ตรวจดสู ภาพโครงสร้างระบบจาหนา่ ยวา่ มีความแข็งแรงเพยี งพอหรอื มีขอ้ บกพรอ่ งอ่นื ๆ หรือไม่
4. ตรวจดูสภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ เชน่
(1) เสาไฟ สายไฟ อุปกรณ์ต่าง ๆ บริเวณเสาไฟต้นท่ีอยู่ใกล้เคียงว่ามีสภาพชารุดหรือพบ

ข้อบกพร่องอ่ืน ๆ หรอื ไม่
(2) ถ้าบริเวณจุดที่ปฏิบัติงานมีหลอดต่อสายไฟ หรือ PG Clamp ให้ตรวจสอบก่อนว่าสายไฟ

บรเิ วณดังกลา่ วนนั้ ชารดุ เสยี หายหรือไม่
(3) ให้ตรวจสอบสิ่งปลูกสร้าง ป้าย อาคาร ต้นไม้ ท่ีอยู่บริเวณใกล้เคียงว่าเม่ือย้ายสายไฟออกไป

แลว้ มรี ะยะหา่ งปลอดภยั เพยี งพอหรือไม่
(4) พจิ ารณาสภาพดนิ ฟา้ อากาศกอ่ นขึ้นปฏบิ ัติงานบนเสา (หา้ มปฏบิ ตั ิงานฮอทไลนใ์ นขณะท่ีฝนตก

โดยเดด็ ขาด)
(5) เมื่อพิจารณาทุกอย่างแล้วเห็นว่าสามารถท่ีจะปฏิบัติงานฮอทไลนไ์ ด้ ให้ติดต่อประสานงานกับ

ศูนยค์ วบคมุ การจา่ ยไฟเพื่อปรับต้ังอุปกรณ์ป้องกันระบบจาหน่าย เช่น Breaker หรือ Recloser ไปยังตาแหน่ง
Manual กอ่ นทีจ่ ะปฏบิ ตั งิ านทกุ คร้งั

10.2 ข้อพึงระวังขณะปฏบิ ัติงำนฮอทไลน์
1.ใช้เครอื่ งมือและอุปกรณ์ป้องกนั ให้ครบถ้วนตามขัน้ ตอนและวิธกี ารปฏิบัติทีไ่ ด้รับการฝึกอบรมอย่าง

เคร่งครัด
2. ห้ามหยอกล้อหรอื เลน่ กันขณะปฏิบัติงาน
3. ขณะปฏิบัติงานใหร้ ะลกึ ถงึ ความปลอดภยั เสมอ
4.ระมัดระวังตนเองและเพ่ือนร่วมงานไม่ให้เข้าใกล้ส่วนท่ีมีกระแสไฟฟ้า รวมทั้งคานึงถึงระยะห่างที่

ปลอดภยั จากสายไฟหรอื อุปกรณ์อนื่ ๆ ที่มกี ระแสไฟฟ้าไหลอยู่
5. ผู้ปฏิบัติงานท่ีอยู่ด้านล่าง (Ground Man) ต้องดูแลความปลอดภัยเพื่อนร่วมงานที่ปฏิบัติงาน

ด้านบนเสมอและอาจกลา่ วตกั เตือนในกรณที ีเ่ ห็นวา่ การกระทานนั้ อาจเกดิ อนั ตรายได้

- 124 -

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

6. การปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้าต้องยืนให้ม่ันคง และสามารถปฏิบัติงานได้สะดวก ควรเปลี่ยนเม่ือมี
ความจาเป็นหรือย้ายปฏบิ ัติงานดา้ นตรงขา้ ม

7. ก่อนเคล่ือนย้ายสายไฟออกจากลูกถ้วยต้องมั่นใจว่าเคร่อื งมืออุปกรณ์ที่ติดต้ังใช้งาน เช่น Saddle
อยู่ในสภาพทีม่ ่ันคงแขง็ แรง

8. เมื่อปฏิบัติงานกับสายไฟท่ีมีขนาดเล็ก ให้ระวังระวังมากขึ้น เน่ืองจากสายไฟมีน้าหนักเบา ขณะ
เคล่ือนย้ายเข้าออกทาให้สายไฟช่วงกลาง Span แกว่งเป็นบริเวณกว้างมากกว่าสายไฟขนาดใหญ่ และ Wire
Tong อาจจบั สายไฟไมส่ นทิ ทาใหป้ าก Wire Tong รดู ไปมาขณะเคล่อื นย้ายสายไฟได้

9. หลงั จากปฏบิ ัติงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว กอ่ นออกเดินทางทกุ ครง้ั ให้ตรวจเช็คเคร่ืองมืออุปกรณ์ ทใี่ ช้
ปฏบิ ตั ิงานวา่ ครบถว้ นหรอื ไม่

10. ติดต่อประสานงานกับศูนย์ควบคุมการจ่ายไฟ เพ่ือปรับต้ังอุปกรณ์ป้องกันระบบจาหน่าย เช่น
Breaker หรือ Recloser ไปยังตาแหน่ง Auto ตามเดิม

10.3 กำรกำหนดพืน้ ท่ีปฏบิ ัติงำน
ในการปฏิบัติงานบนที่สูง ทั้งในภาคของการฝึกอบรมและภาคการฝึกเพิ่มประสบการณ์ เพ่ือให้เกิด

ความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานภาคพ้ืนดินและผู้ทอ่ี าจเดินเข้ามาในพื้นที่ เราจะกาหนดพื้นที่ปฏิบัตงิ านเป็นโซน
รูปวงกลมโดยมเี สาไฟฟ้าต้นท่ีกาลังปฏิบัตงิ านเป็นจดุ ศนู ยก์ ลาง ดังนี้

1. โซนสแี ดง มเี ส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 3 เมตร เปน็ พ้นื ท่ที อ่ี าจมีเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ตกใสศ่ รี ษะของผู้ท่ีอยู่
บนพื้นดนิ ไดโ้ ดยตรง โดยปกติจะตอ้ งไมม่ ีบุคคลใดอยู่ในโซนดงั กล่าว ผูท้ มี่ คี วามจาเป็นจะต้องเข้าไปภายใน เช่น
เขา้ ไปผูกเชือกรอก ตอ้ งสวมอปุ กรณ์ปอ้ งกันภัยส่วนบุคคลท่ีเหมาะสม และตอ้ งแจง้ ผูป้ ฏบิ ัติงานบนเสาให้ทราบ
ด้วยทกุ ครงั้ เพื่อใหเ้ พ่ิมความระมัดระวัง และเมือ่ ปฏบิ ตั ิงานดงั กลา่ วเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้วตอ้ งออกจากโซนทนั ที

2. โซนสีเหลือง มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 เมตร หรือรัศมีประมาณ 6 ก้าวจากโคนเสา เป็นพ้ืนที่ท่ีอาจมี
เคร่ืองมือขนาดยาว เช่น Wire Tong 16’ ล้มใส่ ผู้ที่เข้ามาในโซนสีเหลืองจะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันภัยที่
เหมาะสม หันหน้าเข้าหาเสาตลอดเวลาและห้ามนั่งปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถหลบหลีกอันตรายได้อย่าง
ทนั ทว่ งที

3. โซนสเี ขยี ว คอื พ้ืนท่ีท่อี ยนู่ อกโซนสีเหลืองออกมา เป็นบริเวณสาหรบั ผู้ควบคุมงานหรือบุคคลที่ไม่ได้
เกีย่ วขอ้ งกบั การปฏิบัตงิ าน

10.4 ขอ้ เตือนใจขณะปฏบิ ตั ิงำนฮอทไลน์
1. ขณะข้ึนเสาปฏิบัติงานให้ตรวจสอบระบบจาหน่ายแรงต่า โดยเฉพาะจุดต่อสายไฟ สภาพสายไฟ

คอนเนคเตอร์เข้าปลายสายไฟ หรือบริเวณที่ปฏิบัติงานว่ามีการพันเทปพันสายไฟปิดมิดชิดหรือไม่ และถ้ามี
ควรหลีกเล่ยี งการสมั ผสั โดยตรงบริเวณจุดน้นั

2. หา้ มยนื ใต้ไลน์ระบบจาหน่ายขณะท่กี าลงั เคลอื่ นย้ายสายไฟ
3. เมื่อจอดรถปฏิบัติงานควรตั้งแผ่นป้ายเตือนอันตรายต่าง ๆ หรือกรวยยาง ให้ผู้ใช้รถใช้ถนนที่ขับขี่
ยานพาหนะตา่ ง ๆ สญั จรไปมามองเห็นไดช้ ัดเจน

***** อบุ ัติเหตุเกิดขึ้นไดท้ ุกครง้ั ทีป่ ระมาท *****

- 125 -

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

แบบฟอรม์ ขออนญุ ำตปฏบิ ตั งิ ำน ( WORK PERMIT)

(สำหรบั พนกั งำนชำ่ งฮอทไลน)์

ชื่องำน วนั ท่ีตรวจสอบ
ขอ้ มูลพืน้ ฐำน
รหัสอุปกรณป์ ้องกัน
งำนทป่ี ฏบิ ัติ
วงจรและสถำนทีป่ ฏบิ ตั ิงำน  33 kV  69 kV  115 kV
ระบบแรงดันไฟฟำ้  22 kV

แผนผงั กำรจำ่ ยกระแสไฟฟ้ำเลขที่ อนุมตั ิวันท่ี ตำมเอกสำรแนบ  มี  ไม่มี
ตำมเอกสำรแนบ  มี  ไม่มี
แบบมำตรฐำนหรอื ภำพรำ่ งแสดงลกั ษณะกำรปฏบิ ัติงำน

ควำมเห็นของผคู้ วบคุมงำน/หัวหนำ้ ชดุ ฮอทไลน์

 สำมำรถดำเนินกำรได้ โดยวธิ ีฮอทไลน์  Hot stick  Rubber Gloves  Bare hand

 ไม่สำมำรถดำเนินกำรได้โดยวธิ ฮี อทไลน์ เหน็ ควรให้ดำเนนิ กำรโดยวิธีดับกระแสไฟฟำ้ ปฏิบตั งิ ำน

มีข้นั ตอนกำรปฏบิ ตั งิ ำนดงั น้ี

ขน้ั ตอนกำรปฏบิ ตั ิงำน อันตรำยทพี่ บเห็น วธิ ีกำรปอ้ งกัน ควบคมุ อนั ตรำยทพ่ี บเห็น

กำรประเมนิ ระดับควำมเส่ียงในกำรปฏบิ ตั ิงำน

 สงู มาก  สูง  ปานกลาง  เล็กน้อย

ควำมเหน็ ผู้อนุญำตให้ปฏบิ ัตงิ ำน

เรยี น อก. - / ผจก. ผำ่ น  อนญุ ำต  ไมอ่ นญุ ำต เพรำะ
หผ. .

เพอื่ โปรดพิจำรณำ

ลงช่ือ ลงชอ่ื )
แผน่ ที่ 1/3
( )(
ตำแหน่ง ตำแหน่ง

/ / //

แบบฟอร์มเลขที่ กมภ.- อฮ - 5601

- 126 -

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวธิ ี Hot stick

วันทปี่ ฏิบัตงิ ำน

กำรประเมนิ สภำพแวดลอ้ มในกำรปฏิบตั ิงำน

คน

จานวนผู้เขา้ ร่วมปฏบิ ัติงาน คน

 ปฏิบัติงานร่วมกบั กลมุ่ งานอื่น เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์
 ใช้อปุ กรณ์ป้องกนั สว่ นบคุ คล ใช้อุปกรณ์ป้องกนั ทางไฟฟ้า
ระยะหา่ วงธิปีกลำอรดภัยเพียงพอ

 ตรวจสอบระบบจาหน่าย/สายสง่ ก่อน  ใช้เครือ่ งมือฮอทไลน์
 ครอบอปุ กรณ์ปอ้ งกันทางไฟฟา้  ใช้อุปกรณ์ประจาตัวช่างสาย
 มีขัน้ ตอนมาตรฐานกาหนด (ค่มู อื )  ใชอ้ ปุ กรณท์ ดสอบแรงดนั
 ดับกระแสไฟฟ้าปฏบิ ัติงาน  ใชช้ ุดตอ่ สายลงดิน



สภำพกำรจรำจร สภำพอำกำศ สภำพพื้นท่ี สภำพเสำไฟฟำ้

 โครงสร้ำงมำตรฐำนเลขที่   ต้องมีผปู้ ฏบิ ัตงิ ำนบนเสำไฟฟ้ำ คน

ตัง้ กำรทำงำนของอปุ กรณป์ อ้ งกนั Recloser หรือ Breaker เวลำกำรทำงำน สิน้ สุดเวลำ

ผูป้ ฏิบตั งิ ำนบนเสำไฟฟ้ำหรืออยใู่ นกระเชำ้ ฮอทไลน์ (LINE MAN) และผู้ปฏบิ ตั งิ ำนภำคพ้ืนดนิ (GROUND MAN)

1. ชอ่ื ตาแหนง่ หน้าท่ี ลงช่อื

2. ชอ่ื ตาแหน่ง หนา้ ท่ี ลงชื่อ

3. ชือ่ ตาแหน่ง หน้าท่ี ลงชื่อ

4. ชือ่ ตาแหน่ง หนา้ ท่ี ลงช่อื

5. ชื่อ ตาแหน่ง หน้าท่ี ลงชอ่ื

6. ชื่อ ตาแหนง่ หน้าที่ ลงชอ่ื

7. ชอ่ื ตาแหน่ง หนา้ ท่ี ลงชือ่

8. ชอ่ื ตาแหนง่ หน้าที่ ลงชื่อ

9. ชอ่ื ตาแหนง่ หนา้ ท่ี ลงชื่อ

10. ชื่อ ตาแหนง่ หนา้ ที่ ลงชอ่ื

11. ชื่อ ตาแหนง่ หนา้ ท่ี ลงชื่อ

12. ชอ่ื ตาแหน่ง หน้าท่ี ลงชื่อ

13. ชอ่ื ตาแหนง่ หนา้ ที่ ลงชื่อ

14. ชอ่ื ตาแหน่ง หนา้ ท่ี ลงชอื่

15. ชอื่ ตาแหนง่ หนา้ ที่ ลงชื่อ

16. ชือ่ ตาแหนง่ หนา้ ท่ี ลงชื่อ

17. ช่ือ ตาแหนง่ หน้าที่ ลงชอ่ื

ผคู้ วบคุมงำนฮอทไลนแ์ ละดูแลควำมปลอดภัย เรียน อก. - / ผจก. ผำ่ น หผ. .

เพอื่ โปรดทรำบ

ลงช่ือ ลงช่ือ
(
) ()
ตำแหนง่ /
หัวหนำ้ ชดุ

/ //

แบบฟอร์มเลขท่ี กมภ.- อฮ - 5601 แผน่ ที่ 2/3

- 127 -

คมู่ อื การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22 – 33 kV โดยวิธี Hot stick

ขัน้ ตอนกำรปฏบิ ตั งิ ำน(ตอ่ )

ขน้ั ตอนกำรปฏบิ ตั ิงำน อันตรำยทพ่ี บเหน็ วธิ กี ำรปอ้ งกนั ควบคุมอนั ตรำยทพ่ี บเหน็

แบบฟอรม์ เลขที่ กมภ.- อฮ - 5601 แผ่นท่ี 3/3

- 128 -


Click to View FlipBook Version