The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนศิลปะ ป.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือเรียนศิลปะ ป.3

หนังสือเรียนศิลปะ ป.3

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾¹é× °Ò¹
¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃȌ٠ÅÔ »Ð

ªéѹ»ÃжÁÈ¡Ö ÉÒ»‚·èÕ ó

µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢éѹ¾×¹é °Ò¹ ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ŒÙàÃÕºàÃÂÕ § ñðð.-

¨ÃÕ ¾Ñ¹¸ ÊÁ»ÃÐʧ¤

หนงั สอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน

ศิลปะ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ผู้เรียบเรยี ง

จีรพันธ์ สมประสงค์

ผตู้ รวจ

ผศ.รสริน สทุ องหล่อ
จิรวัฒน์ โคตรสมบตั ิ
ผศ. ดร.ชัยฤทธ์ิ ศลิ าเดช

บรรณาธกิ าร

ผศ. ดร.ผดงุ พรมมลู

หนังสอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน

ศิลปะ

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓

ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของส�ำนกั หอสมดุ แห่งชาติ
จรี พันธ์ สมประสงค์.
หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ศิลปะ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3.
--กรงุ เทพฯ : แมค็ เอด็ ดเู คชน่ั , 2560.
196 หน้า.
1. ศิลปะ--การศึกษาและการสอน (ประถมศกึ ษา). I. ชื่อเรอื่ ง.
372.5
ISBN 978-616-274-806-6

สงวนลิขสทิ ธ์ิ : มกราคม ๒๕๖๐
สงวนลขิ สทิ ธติ์ ามกฎหมาย หา้ มลอกเลียน ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดของหนงั สอื เลม่ น้ี นอกจากจะได้รับอนญุ าต
เป็นลายลกั ษณอ์ ักษร

จัดพมิ พแ์ ละจัดจำ� หนา่ ยโดย

ส่งธนาณัตสิ งั่ จา่ ย ไปรษณียล์ าดพร้าว
ในนาม บริษัท แมค็ เอ็ดดูเคชัน่ จ�ำกัด
เลขท่ี ๙/๙๙ อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว ๓๘ ถนนลาดพรา้ ว
แขวงจนั ทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐
% ๐-๒๙๓๘-๒๐๒๒-๗ โทรสาร ๐-๒๙๓๘-๒๐๒๘

www.MACeducation.com

พิมพท์ ี่ : บรษิ ัท พิมพด์ ี จำ� กัด

คำ� นำ�

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็น
หนังสือเรียนที่ได้ผ่านการปรับปรุงพัฒนาด้วยวิสัยทัศน์ของผู้เรียบเรียง โดยมุ่งให้หนังสือศิลปะน้ี
ทันยุคสมัยและทันเหตุการณ์ในการด�ำเนินการปรับปรุงเปล่ียนแปลงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
ทงั้ นส้ี บื เนอื่ งมาจากการใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ ไดด้ ำ� เนนิ การใช้
มาจนครบรอบ ๖ ปแี ลว้ และผลจากไดม้ กี ารศกึ ษาวจิ ยั และตดิ ตามประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สตู รเปน็ ระยะๆ
มาอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ เช่น ในการจัดประชุมโต๊ะกลมของผู้เชี่ยวชาญเพ่ือวิเคราะห์หลักสูตร
การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ และการจดั ประชุมประชาพิจารณ์แบบ Focus Group อกี ๕ จดุ
ทัว่ ประเทศ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๗ และการจดั สัมมนาแบบ Online ผา่ นทางเว็บไซต์ของกระทรวง
ศึกษาธิการ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ตลอดจนการนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตรจากโรงเรียนน�ำร่องต่างๆ
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๗ พบวา่ หลกั สตู ร/มาตรฐานและสาระการเรียนรูท้ ีผ่ ่านมายงั มปี ระเด็นปญั หา
ซึ่งเป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาระการเรียนรู้
ขาดความชัดเจน ซ้�ำซ้อน จึงน�ำไปสู่การปฏิบัติจริงได้ยาก ดังนั้นคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒ ิ
ในการพฒั นาหลกั สตู รจงึ ไดม้ ารว่ มกนั ดำ� เนนิ การปรบั มาตรฐานและผลการเรยี นรรู้ ายปี รายภาค ใหเ้ ปน็
มาตรฐานการเรยี นรู้ช้ันปแี ละสาระการเรยี นรูช้ ้ันปี
ผลจากการปรับหลักสูตรแกนกลางใหม่ไปเป็นมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้คร้ังนี้
ทางบรษิ ัท แมค็ เอ็ดดูเคช่ัน จำ� กัด เขา้ ใจสถานการณด์ ี จึงได้มกี ารดำ� เนนิ การปรับปรุงหนงั สือเรยี นของ
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะใหมท่ ้ังหมด ใหต้ รงและสอดรับกบั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละสาระการเรยี นรู้
ทก่ี ำ� หนดใหม ่ ไดแ้ ก ่ การทบทวนปรบั ปรงุ หนว่ ยการเรยี นรใู้ หม ่ การปรบั สาระการเรยี นรปู้ ระจำ� หนว่ ยใหม่
ให้ตรงกับสาระการเรียนรู้ช้ันปีท่ีก�ำหนด การเพ่ิมเติมเนื้อหาสาระท่ีขาดและตรวจสอบเน้นผลให้
สะทอ้ นถงึ มาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานของกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะให้ตรงประเดน็ และให้เห็นถงึ
ความแตกตา่ งในเนอ้ื หาสาระระหวา่ งชว่ งชนั้ และชนั้ ปี ไมใ่ หม้ กี ารเรยี นซำ้� ซอ้ นกนั และดถู งึ ความยากงา่ ย
ใหเ้ หมาะสมกับวยั และระดับชนั้ ของผู้เรียน ทั้งนโี้ ดยยึดถือตามมาตรฐานชัน้ ปีทกี่ ำ� หนดไว้ทุกประการ

จีรพนั ธ์ สมประสงค์

หนงั สือเรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน ศิลปะ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓
ตรงตามสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ดงั น้ี

สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์ ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์คณุ คา่ งานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิด
ต่องานศิลปะอย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจ�ำวนั
ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทศั นศลิ ป์ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม
เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปญั ญาไทยและสากล

สาระท่ี ๒ ดนตรี ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วจิ ารณค์ ณุ คา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ ตอ่ ดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม
และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำ� วนั
ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
เห็นคุณค่าของดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภมู ิปัญญาไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ ศ ๓.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์
วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั
ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรม
เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

ค�าชแ้ี จง

หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จ�ากัด ได้จัดท�าและพัฒนาขึ้นใหม่ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยในการจัดท�าและพัฒนาหนังสือเรียนแม็คเล่มนี้ นอกจากจัดเน้ือหาให้ตรงกับ
สาระแกนกลางและตัวช้ีวัดชั้นปีท่ีกระทรวงศึกษาธิการก�าหนดแล้ว ยังได้น�าผลการวิจัยประเมินผล
การใช้สอ่ื การเรยี นรู้ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ ซงึ่ บริษทั แมค็ เอด็ ดเู คชั่น
จ�ากดั ได้ดา� เนนิ การศกึ ษาวิจัยมาด�าเนนิ การพฒั นาหนงั สอื เรยี นเล่มนี้ ดังนี้
๑. จัดท�าสาระการเรียนรู้ให้ตรงตามตัวชี้วัดชั้นปีและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ของ
หลกั สตู รทุกมาตรฐานทห่ี ลักสตู รแกนกลางกา� หนดให้เรยี นในแตล่ ะปี
๒. จัดให้มีกิจกรรมเพื่อฝกกระบวนการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จนบรรลุตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวดั ชัน้ ปีของหลักสตู ร ซ่งึ สามารถศกึ ษารายละเอยี ดไดจ้ ากแผนการจัดการ
เรียนรู้ท่บี ริษทั ได้จัดท�าข้นึ ตามแนวทางการวางแผนแบบมองย้อนกลับ (Backward Design) ทงั้ นีผ้ ้สู อน
ควรช้แี จงและให้ค�าแนะนา� เพ่ิมเติม เพื่อใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนปฏิบตั ิได้จรงิ
๓. เพื่อสนองนโยบายในการพัฒนาประเทศ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและนโยบาย
ใหม้ กี ารขบั เคลอื่ นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถานศกึ ษาทกุ ระดบั ไดม้ กี ารเพมิ่ เตมิ เนอ้ื หาและกจิ กรรม
การเรียนรู้ในรูปแบบภาระงานท่ีมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและน�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ไปประยุกต์ใช้ โดยแทรกไว้ในกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจบางหน่วยท่ีมีเนื้อหาสอดคล้อง โดยใช้
ตราสัญลักษณ์โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

ก�ากับไว้ เพ่ือเป็นจุดสังเกตส�าหรับครูผู้สอนจะได้แนะน�าผู้เรียน และควรเพิ่มเติมรายละเอียด
เกย่ี วกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใหแ้ กผ่ เู้ รยี นตามความเหมาะสม ทงั้ นค้ี วรเชอ่ื มโยงไปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ
ในชีวติ ประจา� วัน
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จ�ากัด ขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีให้ความไว้วางใจเลือกใช้ส่ือการเรียนรู้
ของบรษิ ทั และขอตงั้ ปณธิ านวา่ จะสรา้ งสรรคส์ อื่ การเรยี นรทู้ มี่ คี ณุ คา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ วงการ
ศกึ ษาตลอดไป

บรษิ ทั แมค็ เอด็ ดูเคช่ัน จา� กัด

สารบญั หนา้

ทศั นศลิ ป์ ๒

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ รบั ร้ทู หี่ ลากหลาย ๓

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตัวชว้ี ดั ขอ้ ๑, ๓, ๔, ๖, ๗, ๙, ๑๐ ๑๑
๑๑
๑.๑ การสังเกตทศั นธาตุในธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๑๓
- หลักการเขยี นภาพธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ๑๔
๑.๒ การรบั รคู้ วามงามของศิลปะในธรรมชาตแิ วดล้อม
- ความงามของธรรมชาตแิ วดลอ้ ม ๑๘
๑.๓ การถ่ายทอดงานศลิ ปะ
- วิธกี ารถา่ ยทอดงานศลิ ปะ ๑๙
๒๐
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เทคนคิ การสรา้ งสรรค์งานศิลปะ ๒๑
๒๒
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตัวชว้ี ัดขอ้ ๒,​๓, ๕, ๖, ๗, ๙, ๑๐ ๒๓
๒๔
๒.๑ เทคนิคการวาดภาพด้วยส ี ๒๖
- การเขยี นภาพดว้ ยน้ิวมอื ๒๘
- การลบู ส ี ๒๙
- การหยดสี ๓๐
- การเทส ี
- การเป่าส ี
๒.๒ เทคนิคการปนั้
- วัสดุทีใ่ ชใ้ นการปน้ั
- อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นงานปั้น
- การปนั้ แบบตา่ งๆ

๒.๓ เทคนิคการแกะสลัก หน้า
๒.๔ เทคนิคการพมิ พ์ภาพ
- การพิมพภ์ าพด้วยมอื ๓๖
- การพิมพ์ภาพดว้ ยสว่ นต่างๆ ของพชื ๔๑
- การพมิ พ์ภาพด้วยวัสดตุ ่างๆ ๔๑
๒.๕ เทคนิคการสร้างสรรคง์ านด้วยวสั ด ุ ๔๓
- การปะติดภาพจากเศษวสั ดตุ ่างๆ ๔๖
- การสรา้ งภาพแขวน ๔๙
๕๐
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ ศิลปวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินไทย ๕๒

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตวั ช้วี ัดข้อ ๘ และ ศ ๑.๒ ตัวช้ีวัดขอ้ ๑, ๒ ๕๗

๓.๑ งานทศั นศลิ ปใ์ นทอ้ งถ่ิน ๕๘
- ท่มี าของงานทศั นศลิ ป์ในทอ้ งถิ่น ๕๘
๓.๒ การแสดงความคดิ เห็นในงานทศั นศลิ ป ์ ๖๓

ดนตรี ๖๖
๖๗
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ กิจกรรมทางดนตร ี
๖๘
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตัวชว้ี ดั ขอ้ ๑, ๕ และ ศ ๒.๒ ตัวช้ีวัดข้อ ๑, ๒ ๗๓
๗๓
๔.๑ การรวมวงเล่นเครื่องเคาะจงั หวะ ๗๔
๔.๒ การเคลื่อนไหวร่างกายตามอารมณ์ของบทเพลง ๗๘
- ประเภทของการเคล่อื นไหวรา่ งกาย ๗๘
- เพลงกราวเงาะ ๗๙
๔.๓ เพลงพน้ื เมือง ๘๐
- เพลงซอ ๘๑
- ล�ำตัด
- หมอล�ำกลอน
- เพลงบอก

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ ประสบการณ์ทางดนตรแี ละเพลงสำ� คญั หน้า
๘๓
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตัวช้ีวัดขอ้ ๒,​๓, ๔, ๖, ๗ และ ศ ๒.๒ ตวั ชว้ี ดั ขอ้ ๒
๘๔
๕.๑ เรียนรโู้ น้ตเพลง ๘๔
- โน้ตไทย ๘๕
- โน้ตสากล ๙๑
๕.๒ การขบั รอ้ งเพลง ๙๑
- การขับรอ้ งเดี่ยว ๙๓
- การขบั รอ้ งหมู ่ ๙๖
๕.๓ เรยี นร้เู พลงไทย ๙๖
- ประเภทของเพลงไทย ๙๖
- ชอ่ื ของเพลงไทย ๙๗
- การร้องเพลงไทย ๑๐๑
๕.๔ เรยี นร้บู ทเพลงสำ� คญั ๑๐๑
- เพลงชาต ิ ๑๐๓
- เพลงสรรเสริญพระบารมี ๑๐๔
- เพลงประจ�ำโรงเรยี น
๑๐๖
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๖ สุนทรยี ะทางดนตรี
๑๐๗
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตัวช้วี ดั ขอ้ ๗ และ ศ ๒.๒ ตัวชี้วัดข้อ ๒

๖.๑ ดนตรีกบั ชวี ิตประจำ� วัน

นาฏศลิ ป ์ หนา้

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๗ นาฏศลิ ป์และการแสดง ๑๑๐

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๓.๑ ตวั ชว้ี ดั ขอ้ ๒, ๓, ๔ ๑๑๑

๗.๑ นาฏยศัพทแ์ ละภาษาทา่ เบอ้ื งตน้ ๑๑๒
- นาฏยศัพท ์ ๑๑๒
- ภาษาท่าแสดงท่าทางสอ่ื อารมณ์ ๑๒๑
๗.๒ หลักในการชมการแสดง ๑๒๕
- บทบาทหนา้ ท่ีของผู้แสดง ๑๒๕
- บทบาทหน้าทีข่ องผ้ชู มการแสดง ๑๒๖

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๘ สร้างสรรค์ภาษาทา่ สือ่ ความหมาย ๑๒๙

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๓.๑ ตวั ช้ีวดั ข้อ ๑, ๒ ๑๓๐
๑๓๐
๘.๑ ท่าร�ำประกอบเพลง ๑๓๕
- ท่าร�ำประกอบเพลงลาวตอ่ นก ๑๔๐
- ทา่ ร�ำประกอบเพลงเดิน ๑๔๘
- ทา่ ร�ำประกอบเพลงนกเขามะราป ี
๘.๒ ร�ำวงมาตรฐาน

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๙ สุนทรียะทางนาฏศลิ ป ์ หนา้
๑๕๔
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๓.๑ ตวั ชว้ี ัดข้อ ๕ และ ศ ๓.๒ ตัวชวี้ ดั ขอ้ ๑, ๒, ๓
๑๕๕
๙.๑ การแสดงนาฏศลิ ปพ์ ื้นบ้าน ๑๕๕
- ลกั ษณะเฉพาะเอกลักษณท์ อ้ งถน่ิ ไทย ๑๖๓
๙.๒ ความงดงามของนาฏศิลป์ไทย ๑๖๗
๙.๓ พิธไี หวค้ รแู ละสิ่งเคารพในการแสดงนาฏศิลป ์ ๑๗๒
๙.๔ การบรู ณาการนาฏศิลปก์ ับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
๑๗๕
บรรณานกุ รม ๑๗๖
ภาคผนวก ๑๘๖
ดชั นี

กล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ

ทศั นศิลป์

๑ หลราับกรหทู ลี่าย

๑.๑ การสังเกตทัศนธาตุในธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
(มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชี้วดั ข้อ ๑, ๓, ๔, ๖, ๙, ๑๐)

รับรู้ที่ ๑.๒ การรบั รคู้ วามงามของศลิ ปะในธรรมชาตแิ วดลอ้ ม
หลากหลาย (มฐ. ศ ๑.๑ ตัวชี้วัดข้อ ๑)

๑.๓ การถา่ ยทอดงานศลิ ปะ (มฐ. ศ ๑.๑ ตัวช้วี ัดข้อ ๖, ๗)

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ปู ระจำาหน่วย
๑. อธบิ ายลกั ษณะของทศั นธาตใุ นรปู แบบของเสน้ รปู รา่ ง รปู ทรง นาำ้ หนกั พน้ื ผวิ บรเิ วณวา่ งในธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอ้ มได ้ (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชีว้ ัดข้อ ๑, ๓, ๔, ๖, ๙, ๑๐)
๒. อธบิ ายความงามของศิลปะทีป่ รากฏในธรรมชาตแิ วดล้อมไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชี้วัดข้อ ๑)
๓. บอกวิธีการถ่ายทอดงานศิลปะแขนงต่างๆ ตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง (มฐ. ศ ๑.๑ ตัวช้ีวัด

ขอ้ ๖, ๗)

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ รบั รู้ทห่ี ลากหลาย 3

๑.๑ การสงั เกตทศั นธาตุในธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ ม

ทศั นธาตุ หมายถงึ สว่ นประกอบตา่ งๆ ของงานศลิ ปะ ได้แก่ จดุ เสน้
สี แสงเงา รูปร่าง รปู ทรง น้ำ�หนัก พนื้ ผิว จังหวะ และบรเิ วณวา่ ง เมื่อน�ำ
สิ่งเหล่าน้ีมาจัดวางตามหลักการการจัดภาพแล้ว จะเกิดเป็นผลงานศิลปะ
ตามทต่ี อ้ งการได้ ซงึ่ ในธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มรอบๆ ตวั กเ็ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้
เกยี่ วกบั ทศั นธาตไุ ด้ เชน่ เสน้ ของใบไม้ ใบไม้ หรอื ธรรมชาตทิ ป่ี รากฏรปู รา่ ง
รปู ทรง น้�ำ หนัก พื้นผิว จังหวะ และบรเิ วณวา่ งตา่ งๆ

ภาพเส้นของตน้ ไม้ ใบไม้ ภาพรูปทรงของก้อนหนิ
ทม่ี ีอย่ใู นธรรมชาติ
ทีม่ อี ยู่ในธรรมชาติ

การสังเกตธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่รอบๆ ตัวเรา นอกจากจะ
ทำ�ให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินแล้ว ยังทำ�ให้เกิดความชื่นชมและ
การรบั รใู้ นความงามของสงิ่ เหลา่ นน้ั อกี ดว้ ย นอกจากนยี้ งั เปน็ แรงบนั ดาลใจ
ให้เราคิดสร้างสรรค์ผลงานศิลปะต่างๆ ต่อไป โดยเฉพาะในการเขียนภาพ
ระบายสี

4 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ รับรทู้ ่หี ลากหลาย

การวาดภาพจากการสังเกตธรรมชาติ
ผลงานของ เดก็ หญงิ มานติ า นามวงษ์ โรงเรยี นอนบุ าลปทมุ ธานี

สงิ่ ที่เรามองเห็นในธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม สามารถแบง่ รปู ลักษณะ
ออกเปน็ ๒ ชนดิ คอื
๑. รูปร่าง มีลักษณะเป็น ๒ มิติ คือ มีความกว้างและความยาว
งานศลิ ปะทมี่ องเหน็ เปน็ รปู รา่ ง ไดแ้ ก่ ภาพเขยี นและภาพพมิ พผ์ วิ วตั ถทุ เ่ี รยี บ

ภาพ “ธรรมชาตแิ ละดอกไม้” แสดงรูปร่างลกั ษณะ ๒ มติ ิ
ผลงานของ เด็กหญงิ บัวลอย ดอนไพรปาน โรงเรยี นประถมนนทรี

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๑ รับรทู้ ่หี ลากหลาย 5

๒. รูปทรง มีลักษณะเป็น ๓ มิติ คือมีความกว้าง ความยาว และ
ความหนาหรอื ความลกึ ซง่ึ จะพบในธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มมากกวา่ รปู รา่ ง
งานศลิ ปะทมี่ องเหน็ รปู ทรง ไดแ้ ก่ งานแกะสลกั งานปนั้ และงานประดษิ ฐอ์ นื่ ๆ

ภาพรูปทรงลักษณะ ๓ มิติ

หลกั การเขยี นภาพธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

การเขียนภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีหลักการในการเขียนภาพ
ที่ส�ำ คญั ดงั นี้

๑. จุดสนใจ หมายถึง
บรเิ วณหรอื สว่ นส�ำ คญั ของภาพ
ท่ีเม่ือสัมผัสด้วยสายตาแล้ว
มีความชัดเจน เด่นสะดุดตา
เป็นแห่งแรก เป็นจุดที่มีพลัง
มอี �ำ นาจดงึ ดดู สายตามากกวา่
ส่วนอื่นๆ ในภาพจะต้องมี

ภาพแสดงจุดสนใจ ผลงานของ
เดก็ หญงิ รตั ตกิ าญจน์ พรมทอง โรงเรยี นพนู สิน

6 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ รับรู้ทห่ี ลากหลาย

จุดสนใจเพียงจุดเดียว ส่วนอื่นๆ จัดเป็นส่วนประกอบ จุดสนใจของภาพ
ควรจัดวางไว้บริเวณก่ึงกลางเย้ืองไปทางด้านซ้ายหรือทางด้านขวาเล็กน้อย
เพ่อื ใหจ้ ุดสนใจในภาพเดน่ ชัดขน้ึ

๒. เอกภาพ หมายถงึ ลกั ษณะความ
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ประสานกลมกลืน
กัน ด้วยวิธีการจัดภาพให้มีความสัมพันธ์
เก่ียวข้องกัน มีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน
ไมก่ ระจดั กระจาย ซงึ่ จะชว่ ยใหง้ านจติ รกรรม
มคี วามงาม และสอื่ ความหมายเข้าใจได้

ภาพแสดงการมีเอกภาพ
ผลงานของ เดก็ หญงิ กลุ กาญต์ ครุ รุ ตั น์

๓. ความสมดลุ หมายถงึ ความเทา่ กนั เสมอกนั มนี �้ำ หนกั หรอื ความ
กลมกลืนพอเหมาะพอดีของส่วนต่างๆ ในภาพ การจัดวางภาพให้ซ้ายขวา
บนลา่ งเทา่ กนั การเทา่ กนั อาจไมเ่ ทา่ กนั จรงิ ๆ กไ็ ด้ แตจ่ ะเทา่ กนั ในความรสู้ กึ
ตามทต่ี ามองเห็น แตต่ อ้ งคำ�นึงถึงหลักในข้อ ๑ และข้อ ๒ ดว้ ย

จติ รกรรมสชี อล์ก แสดงความสมดุลของภาพ
ผลงานของ เดก็ หญิงอ้อ พรมวาส โรงเรียนสุเหรา่ บึงหนองบอน

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ รบั รู้ทหี่ ลากหลาย 7

๔. องค์ประกอบที่นำ�สายตา ให้มองไปที่จุดสนใจของภาพ เช่น
เสน้ ทางเดนิ นำ�สายตาไปสบู่ ้าน

ภาพแสดงองค์ประกอบทีน่ �ำ สายตา ผลงานของ เดก็ ชายสันธ์ิชัย แตงสะอาด
โรงเรียนวัดปรุ ณาวาส

๕. ระยะและตำ�แหน่ง สิ่งท่ีอยูใ่ นภาพต้องมขี นาดและตำ�แหนง่ ที่ตงั้
ของแต่ละสง่ิ แสดงใหเ้ ห็นระยะใกล้-ไกล และมุมมองท่ีถูกตอ้ ง

ภาพแสดงให้เห็นระยะใกล-้ ไกล

8 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ รับรทู้ ห่ี ลากหลาย

ในการเขียนภาพระบายสีส่วนใหญจ่ ะตอ้ งเขยี นท้งั รูปกับพื้นหลัง
รูป หมายถึง ส่งิ ตา่ งๆ ทีเ่ ราเขยี น เช่น ผลไม้ สัตว์ คน เป็นตน้
พ้นื หมายถึง พ้นื ทร่ี องรบั สว่ นทเ่ี ปน็ รปู
ดังน้ัน รูปกับพื้นจะต้องมีความสัมพันธ์กัน โดยช่วยเสริมจุดเด่นของ
ภาพใหเ้ ดน่ ยิง่ ข้นึ และสรา้ งบรรยากาศของภาพให้ดูสมจริง
การระบายสีนักเรียนควรระบายส่วนที่อยู่ไกลก่อน แล้วจึงระบายใน
ระยะใกลต้ ามลำ�ดับ เชน่ ภาพทิวทัศน์ก็ควรเร่ิมต้ังแต่ทอ้ งฟ้า ภูเขา ตน้ ไม้
เป็นตน้

ภาพรปู กับพนื้ ทีส่ มั พนั ธก์ ัน ผลงานของ เด็กหญิงณพชรมนต์ ถ้ิมกอ้ ง

ขนั้ ตอนการเขียนภาพ มีดงั น้ี
๑. สังเกตสงิ่ ที่จะวาดใหล้ ะเอยี ด แลว้ จินตนาการเป็นภาพเขยี น
๒. ร่างภาพด้วยดินสอบนกระดาษวาดเขียน และปรับภาพให้ถูกต้อง
ตามหลักการเขียนภาพ
๓. ระบายสีโดยค�ำ นงึ ถงึ ความถกู ต้องของภาพท่ีวาด

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ รับรูท้ ่หี ลากหลาย 9

หนูท�ำ ได้

๑. นกั เรยี นฝกึ สงั เกตธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มรอบๆ ตวั แลว้ บนั ทกึ ขอ้ มลู
ลงในตัวอยา่ งตารางบนั ทึกตอ่ ไปนี้

ตัวอยา่ งตารางบนั ทึกส่งิ ท่สี งั เกตเหน็
ในธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

ส่ิงท่มี ีชวี ิต สิ่งท่ไี ม่มีชวี ิต

๑. ........................................... ๑. ...........................................
๒. ........................................... ๒. ...........................................
๓. ........................................... ๓. ...........................................
๔. ........................................... ๔. ...........................................
๕. ........................................... ๕. ...........................................

๒. นกั เรยี นฝกึ ระบายสผี ลไมต้ ามข้นั ตอน
๑) จดั วางหุ่นผลไม้
๒) ครูแนะน�ำ และสาธิตประกอบการระบายสี
๓) นักเรยี นฝึกรา่ งภาพ ลงสี ตดั เส้น และเกบ็ รายละเอียด

10 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ รับรูท้ ี่หลากหลาย

ข้ันตอนการวาดและระบายสี

๑. รา่ งภาพ ๒. ลงสใี ห้สวยงาม

แนวการวัดผลและประเมินผล

วิธีวดั ผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านในชน้ั เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื
วดั ผลหมายเลข ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๗
เครื่องมือวดั ผล
เลือกใช้เคร่ืองมือวัดผลจากการทำ�กิจกรรม “หนูทำ�ได้” โดยใช้
เครอื่ งมอื วดั ผลหมายเลข ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๗
เกณฑก์ ารผา่ น
ผ่านเกณฑป์ านกลางในทกุ กิจกรรม

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ รบั รู้ท่ีหลากหลาย 11

๑.๒ การรบั รคู้ วามงามของ
ศลิ ปะในธรรมชาติแวดล้อม

การรบั รศู้ ลิ ปะ คอื การทม่ี นษุ ยย์ นิ ดี ชนื่ ชอบ เมอื่ ไดเ้ หน็ งานศลิ ปะนน้ั ๆ
การที่จะเกิดการรับรู้ดังกล่าวเราต้องอาศัยประสาทสัมผัสด้วยการจับต้อง
การมองเห็น การดมกลิ่น หรือการฟังเสยี ง

ความงามของธรรมชาติแวดล้อม

ธรรมชาติ คือ สิ่งที่เกิดข้ึนเอง เช่น ท้องฟ้า ป่าเขา ทะเล น้ำ�ตก
เป็นต้น ซ่ึงธรรมชาติเหล่านี้มีความงามในตัวเอง มองดูแล้วสวยงาม แต่
ความงามตา่ งๆ ทเ่ี รารบั รเู้ ปน็ เพยี งสง่ิ ทปี่ รากฏขน้ึ ในความรสู้ กึ เทา่ นนั้ ซงึ่ จะมี
ความแตกตา่ งกนั ไปตามความคดิ และประสบการณข์ องแตล่ ะคน สง่ิ ทคี่ นหนงึ่
เหน็ วา่ งามอกี คนอาจดไู มง่ ามกไ็ ด ้ ดงั นนั้ การรบั รคู้ วามงามจงึ เปน็ ความรสู้ กึ
ทแ่ี สดงออกในลกั ษณะอาการทเ่ี หน็ งานศลิ ปะแลว้ ชน่ื ชอบ ยนิ ดี และพงึ พอใจ

ภาพทะเล ภูเขา และทอ้ งฟ้า

12 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ รบั รู้ที่หลากหลาย

ภาพธรรมชาตปิ ่าเขาและน้ำ�ตก ​​​ภาพต้นไม้และทอ้ งฟ้า

หนทู �ำ ได้

นักเรียนหาภาพความงามของธรรมชาติ แล้วช่วยกันตอบคำ�ถามว่า
นักเรยี นชอบหรือไม่ชอบ โดยบอกเหตุผลท่ีชอบและไมช่ อบ เพราะอะไร

แนวการวัดผลและประเมนิ ผล

วิธวี ดั ผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านในชน้ั เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื
วดั ผลหมายเลข ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๗
เครือ่ งมอื วัดผล
เลือกใช้เครื่องมือวัดผลจากการทำ�กิจกรรม “หนูทำ�ได้” โดยใช้
เครื่องมอื วดั ผลหมายเลข ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๗
เกณฑก์ ารผา่ น
ผา่ นเกณฑป์ านกลางในทกุ กจิ กรรม

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑ รับรู้ท่ีหลากหลาย 13

๑.๓ การถา่ ยทอดงานศลิ ปะ

การถา่ ยทอดงานศิลปะ คอื การส่อื แสดงผลงานศลิ ปะจากความคดิ
เปน็ การกระท�ำ ทผี่ า่ นวสั ดอุ ปุ กรณต์ า่ งๆ ดว้ ยการกลน่ั กรองจากประสบการณ์
การรบั รู้ และทกั ษะ เป็นผลงานศิลปะตามทีต่ นต้องการได้
ลักษณะการถ่ายทอดงานศลิ ปะ มีดังนี้
๑. ถา่ ยทอดออกมาจากความนึกคดิ และจินตนาการ

ภาพการถ่ายทอดจากความนกึ คดิ และจนิ ตนาการ
ผลงานของ เดก็ หญงิ หนง่ึ ฤทัย พละคร โรงเรยี นศาลเจ้า

๒. ถ่ายทอดออกมาจากความประทบั ใจในส่ิงนน้ั ๆ

ภาพการถ่ายทอดจากความประทับใจในการไปเที่ยวกบั ครอบครวั
ผลงานของ เดก็ หญิงศศธิ ร แซจ่ งึ โรงเรยี นสามแยกคลองหลอแหล

14 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ รับรู้ทห่ี ลากหลาย

วิธีการถา่ ยทอดงานศลิ ปะ

วิธีการถ่ายทอดงานศิลปะออกมาให้ผู้อื่นได้รับรู้น้ันมีหลายวิธี ท้ังนี้
ข้ึนอยกู่ ับความต้องการ ความถนัด หรอื ความสนใจของผทู้ จี่ ะถ่ายทอด
วธิ ีการถ่ายทอดงานศลิ ปะสามารถทำ�ได้ ดงั นี้
๑. วธิ กี ารเขยี นภาพ สามารถเขยี นเปน็ ภาพลายเสน้ หรอื ภาพระบายส ี
ก็ได้ ข้นึ อยู่กับการเลือกใชว้ สั ดุอุปกรณ์และเรอ่ื งราวในการถ่ายทอด

ภาพระบายสี
ผลงานของ เด็กชายสาธติ คชนนั ท์

๒. วธิ กี ารปั้นและการแกะสลัก สามารถถา่ ยทอดงานเปน็ ศิลปะได้
๓ แบบ ได้แก่
๒.๑ แบบนนู ต�ำ่ เปน็ งานปน้ั ทม่ี แี ผน่ หลงั รองรบั และภาพจะนนู สงู
ขนึ้ มาจากพนื้ เพยี งเลก็ นอ้ ย มองเหน็ ดา้ นหนา้ ไดเ้ พยี งดา้ นเดยี ว เชน่ งานปน้ั
เหรยี ญต่างๆ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ รับรูท้ ห่ี ลากหลาย 15

งานปั้นแบบนนู ต�่ำ

๒.๒ แบบนนู สงู เปน็ งานปน้ั ทมี่ แี ผน่ หลงั รองรบั คลา้ ยรปู ปน้ั นนู ต�่ำ
แต่ภาพจะนูนสูงขึ้นมาจากพ้ืนรองรับมากกว่า และมีการลดหลั่นตามความ
เหมาะสม เชน่ งานปน้ั ฐานอนสุ าวรยี ต์ า่ งๆ

งานปนั้ แบบนนู สูง

๒.๓ แบบลอยตวั เปน็ งานปนั้ ทส่ี ามารถมองเหน็ ไดท้ กุ ดา้ นโดยรอบ
มลี กั ษณะเปน็ ภาพ ๓ มติ ิ มกั จะมฐี านเพอ่ื สามารถวางตง้ั กบั พน้ื ได้ เชน่ งานปนั้
อนสุ าวรีย์ต่างๆ

งานป้ันแบบลอยตัว

16 ˹Nj ¡ÒÃàÃչ̷٠èÕ ñ ÃºÑ ÃŒÙ·ÕËè ÅÒ¡ËÅÒÂ

๓. วิธีการพิมพ์ภาพ สามารถแบ่งตามวัสดุท่ีใช้ทำาแม่พิมพ์ได้
๒ ประเภท คือ
๓.๑ ก�รพิมพภ �พจ�กวสั ดธุ รรมช�ติ ไดแ้ ก่ ส่วนตา่ งๆ ของพชื
เชน่ ลำาต้น ใบ กงิ่ ผล สว่ นต่างๆ ของสัตว์ เชน่ เปลือกหอย ขนสตั ว ์ กา้ งปลา
และยังมีสว่ นท่เี ปน็ ธรรมชาตติ ่างๆ เช่น ดิน หนิ กรวด

ผลงานการพมิ พภ์ าพจากวสั ดุธรรมชาติ

๓.๒ ก�รพิมพภ �พจ�กวัสดทุ ม่ี นุษยท �ำ ขึ้น เชน่ เชือก ฟองนา้ำ
ตะแกรง กระดาษ

ผลงานการพมิ พภ์ าพจากเชือก

ซึ่งวิธีการพิมพ์ภาพเหล่าน้ียังมีเทคนิควิธีการที่สนุกสนานให้นักเรียน
ไดฝ้ ึกทกั ษะสรา้ งสรรคก์ ารพิมพใ์ นหนว่ ยการเรยี นรู้ตอ่ ๆ ไป

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ รับรทู้ ห่ี ลากหลาย 17

หนูท�ำ ได้

นักเรียนถ่ายทอดผลงานศิลปะจากความรู้สึกนึกคิดตามจินตนาการ
ด้วยวิธีการเขียนภาพ วิธีการป้ันและการแกะสลัก หรือวิธีการพิมพ์ภาพ
คนละ ๑ ชิ้นงาน

ภาพตัวอยา่ งการถ่ายทอดด้วยการเขยี นภาพ

แนวการวัดผลและประเมินผล

วิธีวดั ผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านในชน้ั เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื
วัดผลหมายเลข ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๗
เครือ่ งมือวัดผล
เลือกใช้เคร่ืองมือวัดผลจากการทำ�กิจกรรม “หนูทำ�ได้” โดยใช้
เครอ่ื งมอื วดั ผลหมายเลข ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๗
เกณฑ์การผ่าน
ผา่ นเกณฑ์ปานกลางในทกุ กจิ กรรม

˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹áÁ¤ç
ÈÔÅ»Ð

ª¹éÑ »ÃжÁÈ¡Ö ÉÒ»‚·èÕ ó

ÃÒ¤Ò ñðð ºÒ·


Click to View FlipBook Version