The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการเรียนการสอนอายุรศาสตร์ นศพ.ปี4 19.05.65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatimontee_65, 2022-05-19 06:48:08

คู่มือการเรียนการสอนอายุรศาสตร์ นศพ.ปี4

คู่มือการเรียนการสอนอายุรศาสตร์ นศพ.ปี4 19.05.65

Keywords: การสอน

ค่มู อื การเรยี นการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ พร. /๖๓
ที่ 6

รายชอื่ ผูป้ ่วย HN วินจิ ฉัย ผู้ดแู ล

6.
7.
8.
9.
0.
1.
2.
3
4.
5.
6
7..
8.
9.
0.
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
0.

การปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการ (5-10 เวร/เดอื น) หอผู้ปว่ ย ชน้ั ปที

วันป/ี เดอื น/ เวลาม

คู่มือการเรียนการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระป่นิ เกลา้ พร. /๖๔
ท่ี 6
มา เวลากลับ ผูด้ แู ล

คูม่ ือการเรยี นการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปิน่ เกล้า พร. /๖๕

ทักษะการตรวจ การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ และหัตถการทจี่ าเป็น
(Technical and procedural skills)

ตามเกณฑม์ าตรฐานผปู้ ระกอบวิชาชพี เวชกรรมของแพทยสภา พ.ศ.๒๕๕๕
มีความสามารถในการตรวจ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การทาหัตถการและการใช้เคร่ืองมือต่างๆ
ในการตรวจวินจิ ฉยั และรกั ษาผปู้ วุ ย โดยอธิบาย ขอ้ บ่งช้ี ขอ้ ห้าม ภาวะแทรกซ้อนในการตรวจ สภาพและเงื่อนไขท่ี
เหมาะสม ข้นั ตอนการตรวจ สามารถทาได้ด้วยตนเอง และแปลผลได้อย่างถูกต้อง และเตรียมผู้ปุวยเพ่ือการตรวจ
วินจิ ฉัยน้นั ๆ ตามเกณฑ์ทรี่ ะบไุ ว้
การตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารและการตรวจพิเศษ มีความสามารถในการตรวจ การใช้เครอื่ งมือตา่ งๆ ในการตรวจ
วนิ จิ ฉยั โดยอธิบาย ขอ้ บง่ ช้ี ข้อหา้ ม ภาวะแทรกซ้อนในการตรวจ สภาพและเง่อื นไขทีเ่ หมาะสม ขนั้ ตอนการตรวจ
สามารถทาไดด้ ว้ ยตนเอง และแปลผลได้ถกู ต้อง
๑. Hematocrit
๒. Blood smear: differential white blood cell count, red cell morphology, platelet estimate and
morphology
๓. Malarial parasite
๔. ABO blood group, Rh and cross matching
๕. Venous clotting time, clot retraction, clot lysis
๖. Urine analysis
๗. Body fluid analysis, e.g., CSF, pleural
๘. Stool examination, stool occult blood
๙. Gram staining, acid fast stain
๑๐. KOH smear, Tzanck’s smear, wet preparation
๑๑. Tuberculin skin test
๑๒. Electrocardiography
๑๓. Growth and development assessment
๑๔. Electronic fetal heart rate monitoring
การตรวจทางรังสีวทิ ยา สามารถอธิบายข้นั ตอนการตรวจ และประเมิน ข้อบ่งช้ี ขอ้ หา้ ม สภาพ
และเง่ือนไขทเ่ี หมาะสม เตรยี มผปู้ วุ ยสาหรับการตรวจ และแปลผลการตรวจได้ถูกตอ้ ง
๑. Chest x-ray
๒. Plain abdomen
๓. Plain KUB
๔. Skull and sinuses
๕. Bones and joints
๖. Lateral soft tissue of neck

คู่มือการเรียนการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปิ่นเกล้า พร. /๖๖

การตรวจอ่นื ๆ สามารถบอกขอ้ บง่ ช้ี ขอ้ หา้ ม สภาพและเง่ือนไขที่เหมาะสม เตรียมผปู้ ุวยสาหรับการตรวจ และ
หรอื เก็บตวั อย่างตรวจ และแปลผลรายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกต้อง
๑. Hemoglobin, white blood cell count, platelet count
๒. Red cell indices
๓. Reticulocyte count
๔. Inclusion bodies, Heinz bodies
๕. Hemoglobin typing
๖. Erythrocyte sedimentation rate
๗. Coagulation study
๘. Bleeding time
๙. Culture from clinical specimens
๑๐. Antimicrobial susceptibility testing
๑๑. Cytology
๑๒. Endocrinologic studies: plasma glucose, HbA๑C, Oral glucose tolerance test (OGTT),
postprandial GTT, thyroid function test, serum cortisol
๑๓. Liver profile
๑๔. Kidney profile
๑๕. Lipid profile
๑๖. Cardiac markers
๑๗. Forensic and toxicology trace evidence
๑๘. HIV testing
๑๙. Serologic studies
๒๐. Arterial blood gas analysis
๒๑. Spirometry, peak expiratory flow rate measurement
๒๒. Audiometry
๒๓. Computerized axial tomography scan
๒๔. Magnetic resonance imaging
๒๕. Mammography
๒๖. Radionuclide study
๒๗. Barium contrast GI studies
๒๘. Intravascular contrast studies: arterial and venous studies
๒๙. Echocardiography
๓๐. Tumor markers
๓๑. Bone mineral density

คมู่ ือการเรยี นการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ พร. /๖๗

การทาหตั ถการทจี่ าเป็นหรือมีส่วนช่วยในการแกป้ ัญหาสุขภาพโดยแบง่ ระดับหัตถการดงั ต่อไปน้ี
ระดบั ท่ี ๑ หมายถงึ หัตถการพนื้ ฐานทางคลนิ ิก
เมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑติ สามารถอธิบายขน้ั ตอนการกระทาภาวะแทรกซ้อนทีอ่ าจจะเกดิ ได้ถกู ต้อง ตรวจและ
ประเมนิ ข้อบ่งช้ี ขอ้ หา้ ม สภาพและเงอ่ื นไขท่เี หมาะสม สามารถทาได้ดว้ ยตนเอง วนิ จิ ฉยั และดแู ลบาบัด
ภาวะแทรกซ้อนได้
ระดับท่ี ๒ หมายถงึ หตั ถการทีม่ ีความซบั ซอ้ นกวา่ หตั ถการพน้ื ฐาน มีความสาคัญตอ่ การรักษาผู้ปวุ ย
เมื่อจบแพทยศาสตรบณั ฑติ สามารถอธิบายข้ันตอน การกระทาภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้ถูกต้อง ตรวจและ
ประเมนิ ขอ้ บง่ ช้ี ข้อหา้ ม สภาพและเง่อื นไขที่เหมาะสม สามารถทาภายใต้การแนะนาได้ถูกต้อง และเมื่อผา่ นการ
เพิ่มพูนทักษะ แล้ว สามารถทาไดด้ ว้ ยตนเอง วินจิ ฉัยและดูแลบาบดั ภาวะแทรกซอ้ นได้
ระดับที่ ๓ หมายถึง หัตถการทีม่ คี วามซบั ซ้อน และอาจทาในกรณที จ่ี าเปน็
เมื่อจบแพทยศาสตรบณั ฑิต สามารถอธิบายขน้ั ตอนการกระทาภาวะแทรกซอ้ นท่อี าจจะเกิด ขอ้ บ่งชี้ ข้อหา้ ม
สภาพและเง่ือนไขท่ีเหมาะสม ได้ถกู ต้อง เคยช่วยทา และเม่ือผา่ นการเพิ่มพูนทักษะ สามารถทาได้ภายใต้การ
แนะนา วนิ จิ ฉยั ดแู ลบาบดั ภาวะแทรกซ้อนภายใต้การแนะนาได้ถูกตอ้ ง
ระดบั ที่ ๔ หมายถงึ หตั ถการทมี่ ีความซับซ้อน และ/หรือ อาจเกดิ อนั ตราย จาเปน็ ตอ้ งอาศยั การฝกึ ฝน
เม่อื จบแพทยศาสตรบัณฑติ สามารถอธบิ ายขั้นตอนการกระทา ภาวะแทรกซอ้ นท่ีอาจจะเกดิ ขอ้ บ่งช้ี ข้อหา้ ม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ได้ถูกต้อง สามารถให้คาแนะนา ปรกึ ษาแกผ่ ู้ปวุ ยไดถ้ ูกต้อง และเมื่อผ่านการเพมิ่ พูน
ทักษะ เคยเห็นหรอื เคยช่วยทา สามารถทาไดภ้ ายใต้การแนะนา วินิจฉัย ดแู ลบาบัดภาวะแทรกซ้อนภายใต้การ
แนะนาได้ถูกตอ้ ง

คมู่ อื การเรยี นการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ พร. /๖๘

รายช่ือนสิ ิตหลกั สตู รแพทยศาสตรบัณฑิต รุ่นท่ี ๑๓

ศูนย์แพทยศาสตรศกึ ษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า กรมแพทย์ทหารเรอื

ลาดับ รหสั นสิ ิต ชื่อ – สกลุ ลงช่ือ

๑ ๖๑๒๐๐๐๓๒ นางสาว ปาณิสรา เวชสวุ รรณมณี

๒ ๖๑๒๐๐๐๔๘ นาย ภเู บศ โสมาภา

๓ ๖๒๒๐๐๐๐๑ MR. EVARITH KHIM

๔ ๖๒๒๐๐๐๑๘ นาย กฤตนยั สมี าขจร

๕ ๖๒๒๐๐๐๑๙ นางสาว กญั ญารตั น์ บญุ ยะเจริญจติ ต์

๖ ๖๒๒๐๐๐๒๐ นาย ขจรศกั ด์ิ จิตแกลว้

๗ ๖๒๒๐๐๐๒๑ นาย คชติณห์ หมั่นเขตรกรณ์

๘ ๖๒๒๐๐๐๒๒ นางสาว จติ รกญั ญา กิจเฮง

๙ ๖๒๒๐๐๐๒๓ นางสาว ชญากานต์ สิงห์หริ ญั นสุ รณ์

๑๐ ๖๒๒๐๐๐๒๔ นาย ชยณัฐ จันทรด์ า

๑๑ ๖๒๒๐๐๐๒๕ นาย ชยานันต์ ภทั รเสถียร

๑๒ ๖๒๒๐๐๐๒๖ นาย ทาคุมิ บุญรตั นค์ ณุ านนท์

๑๓ ๖๒๒๐๐๐๒๗ นาย ธนภัทร กรอบรมั ย์

๑๔ ๖๒๒๐๐๐๒๘ นางสาว ธนญั ภรณ์ สุขวารี

๑๕ ๖๒๒๐๐๐๒๙ นางสาว ธัญวรตั ม์ บุญย่งิ สถติ ย์
๑๖ ๖๒๒๐๐๐๓๐ นาย นครินทร์ บุญบารุง
๑๗ ๖๒๒๐๐๐๓๑ นางสาว นนลนี เชาว์ถาวร
๑๘ ๖๒๒๐๐๐๓๒ นางสาว นวรตั น์ บญุ แร่
๑๙ ๖๒๒๐๐๐๓๓ นาย นธิ ินันท์ แตงอ่อน
๒๐ ๖๒๒๐๐๐๓๔ นาย ประจกั ษ์ รุ่งเชวง
๒๑ ๖๒๒๐๐๐๓๕ นางสาว พรนภัส พรวรนนั ท์
๒๒ ๖๒๒๐๐๐๓๖ นาย เพยี รวทิ ย์ ตรรี ตั นส์ ขุ
๒๓ ๖๒๒๐๐๐๓๗ นางสาว มุขสดุ า กากระโทก
๒๔ ๖๒๒๐๐๐๓๘ นาย ยศวริศ ไพรวัลย์
๒๕ ๖๒๒๐๐๐๓๙ นางสาว ลลติ สรา ปรีดี
๒๖ ๖๒๒๐๐๐๔๐ นาย วรวิช แซเ่ ล้า
๒๗ ๖๒๒๐๐๐๔๒ นาย ศุภวุฒิ นาคอร่าม
๒๘ ๖๒๒๐๐๐๔๓ นาย สริ วชิ ญ์ บวรวนิชพงษ์
๒๙ ๖๒๒๐๐๐๔๔ นาย สภุ นัย จันทวงศ์
๓๐ ๖๒๒๐๐๐๔๕ นางสาว สุริวสั สา สรสิงห์ไกรสร
๓๑ ๖๒๒๐๐๐๔๖ นางสาว สุวดี กอรัตนโชค
๓๒ ๖๒๒๐๐๐๔๗ นางสาว อรณิชา ครอู ตุ สาหะ
๓๓ ๖๒๒๐๐๐๔๙ นางสาว อภิชญา เจียมสว่างพร
๓๔ ๖๒๒๐๐๐๕๐ นาย ปราณยุต ปกี อง

คูม่ ือการเรยี นการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ พร. /๖๙

ภาพถา่ ยนิสติ แพทย์ชั้นปีท่ี ๔ ประจาปี ๒๕๖๕ (รนุ่ ที่ ๑๓)
ศนู ย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระป่นิ เกล้า พร.

๑.นางสาว ปาณสิ รา เวชสวุ รรณมณี ๒.นาย ภเู บศ โสมาภา ๓.MR. EVARITH KHIM ๔.นาย กฤตนัย สีมาขจร ๕.นางสาวกัญญารัตน์ บญุ ยะเจรญิ จิตต์

๖.นาย ขจรศกั ดิ์ จิตแกล้ว ๗.นาย คชติณห์ หม่ันเขตรกรณ์ ๘.นางสาว จิตรกญั ญา กิจเฮง ๙.นางสาว ชญากานต์ สงิ หห์ ริ ญั ๑๐.นาย ชยณัฐ จนั ทร์ดา
นุสรณ์

๑๑.นาย ชยานันต์ ภัทรเสถยี ร ๑๒.นาย ทาคมุ ิ บุญรัตน์คุณานนท์ ๑๓.นาย ธนภทั ร กรอบรัมย์ ๑๔.นางสาว ธนญั ภรณ์ สขุ วารี ๑๕.นางสาว ธญั วรัตม์ บุญย่ิงสถิตย์

๑๖.นาย นครนิ ทร์ บญุ บารงุ ๑๗.นางสาว นนลนี เชาว์ถาวร ๑๘.นางสาว นวรัตน์ บญุ แร่ ๑๙.นาย นิธนิ ันท์ แตงอ่อน ๒๐.นาย ประจกั ษ์ รุ่งเชวง

๒๑.นางสาว พรนภัส พรวรนันท์ ๒๒.นาย เพยี รวทิ ย์ ตรีรัตนส์ ุข ๒๓.นางสาว มขุ สุดา กากระโทก ๒๔. นาย ยศวริศ ไพรวัลย์ ๒๕.นางสาว ลลติ สรา ปรีดี

๒๖.นาย วรวชิ แซเ่ ลา้ ๒๗.นาย ศุภวุฒิ นาคอรา่ ม ๒๘.นาย สิรวชิ ญ์ บวรวนชิ พงษ์ ๒๙.นาย สุภนยั จนั ทวงศ์ ๓๐.นางสาว สุริวัสสา สรสงิ ห์ไกรสร

๓๑.นางสาว สวุ ดี กอรตั นโชค ๓๒.นางสาว อรณชิ า ครอู ตุ สาหะ ๓๓.นางสาว อภิชญา เจียมสว่างพร ๓๔.นาย ปราณยุต ปกี อง

คู่มือการเรยี นการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระป่นิ เกลา้ พร. /๗๐

การพิจารณาความผดิ ในกรณีที่นิสติ ขาดการปฏบิ ตั ิงานโดยไมไดสงใบลาตามระเบียบการลาของ
สาขาวิชาอายรุ ศาสตร

๑. การขาดการปฏิบัติงาน“เปนรายบคุ คล”โดยไมมเี หตุอนั ควรถอื เปนความผิดระวางโทษตั้งแตใหปฏิบัติงาน
เพ่มิ เติมที่หอผูปวย ๑ สปั ดาห (๗ วนั ) และเขยี นรายงานผูปวย ๑ ฉบับ ถึงพิจารณาใหลาดับขัน้ F
๒. การขาดการปฏิบัติงาน“เปนกลุม” โดยไมมีเหตุอันควรถือเปนความผิดอยางรายแรงระวางโทษต้ังแต
หักคะแนน ดานเจตคติ ๕ คะแนนตอความผิดหนึ่งคร้ัง (คิดเปนรอยละ ๕ ของคะแนนท้ังหมดตลอดการศึกษา)
ร่วมกับตองขึ้นปฏิบัติงานเพ่ิมเติมท่ีหอผูปวยอยางนอย ๑ สัปดาห (๗ วัน) และเขียนรายงานผูปวย ๑ ฉบับ ถึง
พจิ ารณาใหลาดับขั้น F

การพจิ ารณาความผดิ ในกรณที ่นี สิ ิตขาดเรียนโดยไมไดสงใบลาลวงหน้า
ตามระเบียบการลาของสถาบนั ร่วมสอนคณะแพทยศาสตรร์ พ.สมเด็จพระปิ่นเกลา้ กรมแพทย์ทหารเรือ
- นสิ ติ ผใู ดมีกิจจาเปนไมสามารถเขาชั้นเรยี นในชวั่ โมงเรยี นได นสิ ิตตองยน่ื ใบลาตาม แบบฟอรมของศูนย์
แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปิน่ เกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ ผานอาจารย์ประจารายวชิ าและนาไปขอ
อนุญาตตออาจารยผูสอน (ขอบงั คบั สถาบนั รว่ มสอนรพ.สมเดจ็ พระปิน่ เกล้า กรมแพทยท์ หารเรือ วาดวย
การศึกษาเพอ่ื แพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ.๒๕๖๔)
- การลากิจ นสิ ติ ผูใดมกี จิ จาเปน ไมสามารถเขารวมในกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแผนหรอื กาหนดการจัดการ
เรียนการสอนของรายวิชาได ใหยื่นใบลาผานอาจารย์ประจารายวชิ าแลวนาไปขออนุญาตตอ่ อาจารยผูสอน ลวงหน
าอยางนอย ๑ วัน หากไมสามารถย่นื ใบลาลวงหนาได ใหย่นื วนั แรกทเ่ี ขาช้นั เรยี น (ขอบังคับสถาบนั ร่วมสอน รพ.
สมเด็จพระป่ินเกลา้ กรมแพทย์ทหารเรือ วาดวยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ.๒๕๖๔)
- นสิ ติ ที่มีเหตจุ าเปนตองลากจิ หรอื ลาปวย ตองยื่นใบลาอยางเปนทางการ โดยใหอาจารยที่ทาหนาท่ีสอนในวันน้ัน
รับทราบและลงนามรับรองในใบลา และสงใหเจาหนาท่ีสาขาวิชาฯ ทุกคร้ัง ผูที่ไมปฏิบัติตามระเบียบจะถูกตัด
คะแนนความรบั ผดิ ชอบ หากนิสิตตองลาในกรณีฉุกเฉินจะตองแจงหรือใหผูอื่นแจงกับอาจารยประจารายวิชาหรือ
อาจารยผสู้ อนในวนั นัน้ ทราบกอนแลวทาเขียนใบลาตามมา (คูมอื การเรียนการสอนและการปฏิบัติงานสาหรับนิสิต
ภาควิชาอายุรศาสตร)
ตามขอบงั คับสถาบนั รว่ มสอนรพ.สมเด็จพระป่ินเกลา้ กรมแพทย์ทหารเรือวาดวยวนิ ยั นักศึกษา พ.ศ.๒๕๖๔
โทษฐานผิดวนิ ยั มี ๕ สถาน
- ตักเตอื น
- ทาทัณฑบน
- ใหพกั การศึกษาช่ัวคราว (ตง้ั แต ๑ ภาคการศึกษา ถงึ ๓ ปการศกึ ษา)
- ระงบั การเสนอใหรับปริญญา ฯลฯ (ต้ังแต ๑ ภาคการศกึ ษา ถึง ๓ ปการศึกษา)
- ลบชือ่ ออกจากการเปนนสิ ิต

ค่มู ือการเรียนการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปิน่ เกล้า พร. /๗๑

ประกาศ คณะแพทยศาสตร์
เร่ือง การแตง่ กายและทรงผมของนกั ศึกษาคณะแพทยศาสตร์

ตามประกาศสถาบันรว่ มสอนรพ.สมเด็จพระป่ินเกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ เรือ่ ง กาหนดนโยบายเก่ยี วกับการ
แตง่ กายของนสิ ิต ลงวันที่ ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔ ตอ้ งการให้นสิ ิตสถาบันร่วมสอนรพ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า
กรมแพทยท์ หารเรือ ทกุ คนมีบคุ ลิกภาพที่ดเี ป็นท่ยี อมรบั ของสังคมและ เป็นทช่ี นื่ ชมตอ่ ผทู้ พี่ บเหน็ ทั่วไป ทาให้
นิสติ เกดิ ความภาคภูมิใจในสถาบัน อกี ทั้งยงั เปน็ การเคารพตอ่ สถานท่ี ซงึ่ สะท้อนใหเ้ ห็นถึงวัฒนธรรมอนั ดี
งามภายในรพ.สมเดจ็ พระปน่ิ เกล้า กรมแพทย์ทหารเรอื นั้น
คณะแพทยศาสตร์ สถาบนั ร่วมสอนรพ.สมเดจ็ พระปิน่ เกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ ได้เลง็ เห็นถึงความเรยี บร้อย
ในการแตง่ กายและทรงผมของ นักศกึ ษาสถาบันร่วมสอนรพ.สมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ กรมแพทย์ทหารเรือ
ประกอบกบั ในปัจจบุ นั ได้มีบคุ คลภายนอกติดตอ่ และใช้ บรกิ ารในโรงพยาบาลเปน็ จานวนมาก ดงั น้ันเพ่ือเป็น
การสรา้ งภาพลกั ษณ์ที่ดขี องนิสิต คณะแพทยศาสตร์ สถาบันร่วมสอนรพ.สมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ กรมแพทย์
ทหารเรอื และปูองกันการแอบอา้ งของบุคคลภายนอก คณะแพทยศาสตร์ สถาบันร่วมสอนรพ.สมเด็จพระปน่ิ
เกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ เหน็ สมควรกาหนดรูปแบบของเครือ่ งแต่งกายและทรงผมของนิสติ แพทยด์ งั นี้
๑. เครือ่ งแตง่ กายและทรงผมสาหรับนสิ ิตแพทยช์ ายที่ใชท้ ่วั ไปประกอบด้วย

๑.๑ เสื้อเชิต้ สขี าวเกล้ยี งไมม่ ีลวดลาย
- แขนเสื้อใช้แบบแขนสัน้ หรือแขนยาว ไม่ตกแตง่ ทปี่ ลายแขน
- ความยาวของตัวเส้ือเลยสะเอวขนาดท่ีขอบกางเกงทับได้โดยเรยี บร้อย ไมต่ ึง เส้ือหย่อนจนบังหวั เข็มขัด

๑.๒ กางเกงขายาวแบบสากล สกี รมท่า สเี ทา สดี า สนี า้ ตาล
๑.๓ รองเท้าหุม้ ส้นสดี า หรอื สนี า้ ตาลแบบสภุ าพไมม่ ีลวดลาย
๑.๔ ถงุ เทา้ ส้ันสีสภุ าพ
๑.๕ เข็มขัดหนงั สีดา หรือหนงั กลบั สดี า ขนาด ๓ ซ.ม. มีหวั เขม็ ขดั ทาดว้ ยโลหะรมดาเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า ดนุ
เปน็ รปู งูพนั คบเพลงิ หรือหวั เขม็ ขดั ตรามหาวทิ ยาลัย
๑.๖ นกั ศึกษาชายไวผ้ มทรงสภุ าพสนั้
๒. เครอื่ งแต่งกายและทรงผมสาหรับนักศึกษาหญิงที่ใชท้ ั่วไปประกอบดว้ ย
๒.๑ เสือ้ ทาดว้ ยผ้าสขี าวเกล้ยี ง ไมม่ ลี วดลาย มีความหนาพอสมควร

- ความยาวของตัวเสอ้ื ใหเ้ ลยสะเอวเพือ่ ให้กระโปรงทบั ไดโ้ ดยมิดชิด ไม่ดงึ เสื้อหยอ่ นจนบังหวั เข็มขดั
- ตวั เส้อื ผา่ อกโดยตลอด ติดกระดมุ ๔ หรือ ๕ เม็ด
- แขนเสือ้ สัน้ เหนือศอก
๒.๒ กระโปรงแบบเรยี บสุภาพ สดี า สีกรมทา่ สเี ทา หรอื สีน้าตาล ความยาวของกระโปรง คลุมเข่า
๒.๓ เข็มขัดหนงั สีดาหรอื หนงั กลับสีดา ขนาดกวา้ ง ๔ ซ.ม. หัวเข็มขัดทาด้วยโลหะรมดาเป็นรูป
ส่เี หลี่ยมผนื ผา้ ดนุ เป็นรปู งูพันคบเพลิง หรือหวั เข็มขัดตรามหาวิทยาลยั
๒.๔ รองเท้าหมุ้ ส้นสขี าวหรือสีตามกระโปรง ส้นสงู ไมเ่ กิน ๒ ๑⁄๒ นิว้
๒.๕ นกั ศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ ๑ ใหส้ วมถุงเท้าส้ันสขี าวไม่มลี วดลาย

คู่มอื การเรยี นการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ พร. /๗๒

๒.๖ นกั ศึกษาหญิงไว้ผมทรงสภุ าพ หากไว้ผมยาวควรรวบให้เรยี บรอ้ ย
๓. เคร่อื งแต่งกายสาหรบั นกั ศึกษาที่ขึ้นปฏบิ ัติงานบนหอผู้ปุวย

๓.๑ นักศึกษาแพทย์ช้นั ปีที่ ๔ และ ๕ นกั ศกึ ษาชายและหญงิ สวมชุดปกติท่ัวไปตามข้อ ๑ และ ๒
และสวมทับด้วยเสื้อคลมุ ยาวสีขาว ปกั ชื่อนักศึกษานอกเสอ้ื ขา้ งซ้ายสีเขียว นอกเวลาราชการสวมชุดกระโปรง
หรอื กางเกงสีสุภาพ ไม่สวมรองเท้าแตะ และสวมทบั ด้วยเสอื้ คลมุ ยาวสีขาว

๓.๒ นกั ศึกษาแพทยช์ ัน้ ปีที่ ๖ ให้สวมเส้อื เคร่ืองแบบนักศึกษาแพทย์เวชปฏิบตั ทิ ัว่ ไปตามแบบท่ีทางคณะฯ
กาหนดปกั ชื่อนักศึกษานอกเสือ้ ข้างซา้ ยสแี ดง นอกเวลาราชการสวมชุดสภุ าพสวมทบั ด้วยเครอื่ งแบบนักศึกษา
เวชปฏบิ ตั ิทว่ั ไป นักศกึ ษาชายใหต้ ิดกระดุมเสื้อให้เรียบร้อยทั้งน้ีนกั ศึกษาต้องตดิ บัตรประจาตัวนักศึกษาทุกคร้ัง
ที่ขึน้ ปฏิบัติงานบนหอผู้ปุวย
๔. สาหรบั นกั ศกึ ษาที่แต่งกายไม่สภุ าพหรือขดั ต่อประกาศนี้อาจารย์ผสู้ อนหรืออาจารย์ผู้คุมสอบมสี ทิ ธิไม่ใหเ้ ขา้
ชน้ั เรยี นหรอื ห้องสอบ
จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔

ลงนาม
(พลเรอื ตรี นิธิ พงศ์อนันต์ รน.)

ผ.อ.รพ.สมเดจ็ พระป่ินเกล้า กรมแพทย์ทหารเรอื


Click to View FlipBook Version