003230
รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน
เพอ่ื ขอรับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS)
ประจาปกี ารศกึ ษา 2564
ครูผสู้ อนยอดเย่ียม ระดบั ประถมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอน
นางสาวณหทัย แม้นชล
ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ
โรงเรียนไทยรฐั วิทยา 93 (บา้ นลาดตะเคยี น)
สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาปราจนี บุรี เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คำรบั รองเอกสำร
ขา้ พเจา้ นางสาวณหทัย แมน้ ชล ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นไทยรัฐวิทยา 93 (บ้านลาดตะเคียน) สงั กดั
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปราจีนบุรี เขต 2 ขอรับรองวา่ สาเนาเอกสารทกุ ฉบบั ตามเอกสาร
ประกอบการประเมิน ตามแบบรายงานสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self Report) ตามองคป์ ระกอบและ
ตามตวั ชว้ี ัด ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ประเภท ครผู ู้สอนยอดเยีย่ ม รหสั 003230 ประจาปีการศึกษา 2564 เสนอเพอื่ ขอรบั รางวัล
ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) คร้ังท่ี 11 ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 เป็นข้อมูลประกอบการพจิ ารณาของ
คณะกรรมการ ผรู้ ายงานไดส้ าเนาเอกสารจากตน้ ฉบบั จริงทกุ ประการ และขอรับรองวา่ ข้าพเจา้ เป็นผู้มี
คณุ สมบตั ิตรงตามท่กี าหนดทุกประการ และข้อความท่ีข้าพเจ้าเขียนไวใ้ นรายงานพร้อมทั้งเอกสารหลักฐาน
ถกู ต้องตามความเปน็ จรงิ หากตรวจสอบภายหลังพบว่าข้าพเจา้ มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามท่ีกาหนดหรือย่นื
เอกสารหลักฐานอันเป็นเทจ็ ใหถ้ อื ว่าข้าพเจ้าหมดสิทธเิ์ ข้ารว่ มการประกวด และจะไม่เรยี กร้องสทิ ธิ์ใด ๆ
จงึ ลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน
ลงชือ่ ผเู้ สนอขอรบั รางวลั
(นางสาวณหทัย แม้นชล)
ตาแหน่ง ครู โรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา 93 (บา้ นลาดตะเคียน)
วันท่ี 21 กรกฎาคม 2565
กำรตรวจสอบและรับรองของสว่ นรำชกำรตน้ สงั กัด
ไดต้ รวจสอบแลว้ รับรองวา่ ขอ้ มลู ถูกต้อง และเป็นความจริง
ลงชอื่ ผู้รับรอง
(นายสมหมาย สังขะวินจิ )
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา 93 (บ้านลาดตะเคียน)
วนั ท่ี 21 กรกฎาคม 2565
คำนำ
รายงานผลการปฏิบัติงานเพ่ือรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศึกษา
2564 ประเภท ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านนวัตกรรม
และเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน เป็นเอกสารที่จัดทาขึ้นสาหรับการประเมินการคัดเลือกเพ่ือขอรับ
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ของ นางสาวณหทัย แม้นชล ตาแหน่งครู วิทยฐานะครู
ชานาญการพิเศษ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 93 (บ้านลาดตะเคียน) สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 รายละเอียดประกอบด้วย ข้อมูลท่ัวไปของผู้ขอรับการประเมิน
คุณสมบัติเบ้ืองต้น องค์ประกอบเฉพาะด้าน และองค์ประกอบที่เป็นตัวช้ีวัดร่วม ซึ่งได้นาเสนอ
รายละเอยี ดตามตัวชี้วดั
หวงั วา่ เอกสารเลม่ นี้ จะอานวยความสะดวกตอ่ การพิจารณาของคณะกรรมการผ้ปู ระเมิน
ในการคัดเลือกใหไ้ ด้รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศึกษา 2564 อย่างดยี ิ่ง ครง้ั นี้
จะเป็นการสร้างขวญั และกาลังใจให้ครูมีพลงั ทจ่ี ะรว่ มพฒั นาการศึกษาของชาติใหม้ ีคุณภาพยงิ่ ขึ้นต่อไป
( นางสาวณหทยั แม้นชล )
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ
สำรบญั หน้ำ
ก
เรื่อง ข
คารับรองเอกสาร ค
คานา ง
สารบัญ จ
สารบญั ภาพ 1
สารบัญตาราง 2
ช่ือรางวลั ท่เี สนอขอ 17
คุณสมบัติเบ้ืองตน้ ผูข้ อรบั การประเมนิ
องค์ประกอบและตัวช้ีวัดตำมเกณฑก์ ำรประเมินด้ำนนวตั กรรม 17
และเทคโนโลยีเพอื่ กำรเรยี นกำรสอนยอดเย่ียม 19
21
กำรประเมนิ ตัวช้วี ดั เฉพำะ 25
องค์ประกอบที่ 1 คุณภำพ
34
ตัวชว้ี ัดที่ 1 คณุ ลักษณะของนวตั กรรม 34
ตวั ช้ีวดั ท่ี 2 คุณภาพขององค์ประกอบในนวตั กรรม 35
ตวั ชีว้ ัดท่ี 3 การออกแบบนวัตกรรม
ตัวชีว้ ัดที่ 4 ประสิทธิภาพของนวัตกรรม 35
องค์ประกอบท่ี 2 คณุ ประโยชน์ 35
ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 ความสามารถในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา
ตวั ชว้ี ัดที่ 2 ประโยชนต์ ่อบคุ คล 36
ตัวชีว้ ัดที่ 3 ประโยชนต์ ่อหน่วยงาน
องคป์ ระกอบท่ี 3 ควำมคิดรเิ ริ่มสร้ำงสรรค์ 36
ตัวช้วี ดั ที่ 1 ความแปลกใหม่ของนวัตกรรม 36
ตัวชี้วดั ที่ 2 จุดเดน่ ของนวัตกรรม 37
กำรประเมินตัวชว้ี ัดร่วม 38
องค์ประกอบท่ี 1 ผลท่ีเกิดกับผู้เรยี น
1.ผลท่เี กิดกับผู้เรียน 39
44
1.1 ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1.2 ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบตั ิงาน 53
1.3 การเผยแพรผ่ ลงานนักเรียน
1.4 การไดร้ บั รางวัล/ยกย่องเชดิ ชู 55
องค์ประกอบท่ี 2 ผลกำรพฒั นำตนเอง
ตัวชว้ี ัดที่ 1 เปน็ แบบอบ่าง และเป็นที่ยอมรับจากบคุ คลอื่น
ตวั ชว้ี ัดที่ 2 พัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง
องคป์ ระกอบท่ี 3 กำรดำเนินงำน/ผลงำนที่เป็นเลิศ
ตวั ช้ีวดั ที่ 1 การนาองค์ความรู้จากการไดร้ ับการพัฒนา
หรือการพัฒนาตนเองไปใช้ประโยชน์
ตัวชว้ี ัดท่ี 2 การแก้ปัญหา/การพัฒนาผเู้ รียน
ภำคผนวก 58
ภาคผนวก ก กพ. 7 64
ภาคผนวก ข เกียรติบตั รท่ีได้รับรางวลั 69
ภาคผนวก ค เกียรติบัตรทเี่ ข้ารับการอบรม 92
ภาคผนวก ง เกยี รติบตั รและโลร่ างวัลของโรงเรียน 95
ภาคผนวก จ ชุดแบบฝกึ ทักษะ 97
ภาคผนวก ฉ กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดแบบฝึกทักษะ และรายการ
ประเมนิ คุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19
สำรบญั ภำพ
เรื่อง หนำ้
ภาพท่ี 1 การปฏิบตั ิหน้าท่ีครูทีป่ รึกษาช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 8
ภาพท่ี 2 กิจกรรมทีม่ ีสว่ นร่วมกบั ชมุ ชน 9
ภาพที่ 3 ตัวอยา่ งส่ือการจัดการเรียนรู้ 11
ภาพท่ี 4 หลากหลายกิจกรรม แสดงบทบาทหนา้ ทขี่ องความเปน็ ครู 13
ภาพท่ี 5 รว่ มเปน็ คณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู รของโรงเรยี น 13
ภาพที่ 6 การเผยแพร่ผลงาน 14
ภาพที่ 7 การแสดงผลงาน 16
ภาพที่ 8 โล่และการนาเสนอผลงานแนวปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) 17
ภาพที่ 9 แสดงผลงานของนักเรยี นในกิจกรรมต่าง ๆ 37
ภาพที่ 10 แสดงผลงานของนักเรียน 38
ภาพที่ 11 เกียรติบตั รของนักเรียน 38
ภาพท่ี 12 เกียรติบตั รของนกั เรยี น 39
ภาพท่ี 13 ภาพการรว่ มทาบุญในกจิ กรรมวันสาคัญต่าง ๆ 39
ภาพท่ี 14 เกยี รติบตั รหนึง่ แสนครูดี 40
ภาพท่ี 15 รางวลั ชนะเลศิ ครูโรงเรยี นไทยรัฐวิทยาดีเดน่ ประจาปี 2559 40
ภาพที่ 16 เกยี รติบตั รครูผสู้ อนนกั เรยี นได้รับรางวัลระดับเหรยี ญทองแดง 41
ภาพที่ 17 เกียรติบัตรครดู ีไม่มอี บายมุข ประจาปีการศึกษา 2563 41
ภาพที่ 18 เกยี รติบตั รครดู ีของแผน่ ดินขั้นพน้ื ฐาน ประจาปี 2563 42
ภาพที่ 19 ไดร้ บั รางวัลครูผสู้ อนดีเดน่ ระดบั จังหวดั ประจาปี 2564 42
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยดเี ด่น 43
ภาพท่ี 20 การประเมนิ คักเลือกห้องเรียนคุณภาพ ประจาปี 2564 ระดบั ช่วงชั้นที่ 2 43
ภาพท่ี 21 การดารงชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งดว้ ยการปลูกพชื ผกั สวนครัวไว้
54
กนิ เอง 54
ภาพท่ี 22 การเผยแพร่ผลงานทาง facebook กล่มุ PLCOnline63/2 55
ภาพที่ 23 การเผยแพรผ่ า่ น เว็บไซต์ของโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา 93 (บา้ นลาดตะเคียน)
ภาพที่ 24 การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิวิชาภาษาไทย
สำรบัญตำรำง
เร่ือง หนำ้
ตารางท่ี 1 แสดงประวัติการศึกษา 2
ตารางที่ 2 แสดงประวัตกิ ารรับราชการ 2
ตารางท่ี 3 แสดงสรปุ การลา ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2562 - 2564 9
ตารางที่ 4 แสดงชว่ั โมงสอน ปีการศกึ ษา 2564 10
ตารางท่ี 5 แสดงรายชื่องานวิจัยท่ีสาเร็จและเผยแพร่แลว้ 14
ตารางท่ี 6 แสดงรางวลั ทไี่ ด้รับ 15
ตารางที่ 7 แสดงงานเขยี นแสดงผลงานที่เก่ยี วข้องกับการจัดการเรียนการสอน 17
ตารางที่ 8 แบบแผนการทดลอง 26
ตารางท่ี 9 การวเิ คราะห์เนอื้ หา จุดประสงค์การเรียนรแู้ ละจานวนข้อสอบกลุ่มสาระ 30
การเรียนรู้ภาษาไทยเรือ่ งการอ่านจบั ใจความชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5
ตารางท่ี 10 แสดงนักเรยี นทผี่ ่านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 36
ตารางท่ี 11 แสดงจานวนนกั เรยี นทปี่ ระพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามคณุ ลกั ษณะ 36
อนั พงึ ประสงค์ทเี่ ปน็ จุดเน้นของ สถานศกึ ษา 44
ตารางที่ 12 แสดงการพฒั นาตนเองดา้ นวชิ าชีพ
1
รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านเพื่อขอรับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ.( OBEC AWARDS)
รางวัลประเภท ครผู ู้สอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นการสอน
……………………………………………………………………
1. ช่ือรางวัลทีเ่ สนอขอ ครูผูส้ อนยอดเยี่ยม
ชอื่ นางสาวณหทยั แม้นชล
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรยี นไทยรฐั วิทยา 93 (บา้ นลาดตะเคยี น)
ประเภท บคุ คลยอดเยย่ี ม
สงั กัด สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา
สำนกั งำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศึกษำมธั ยมศึกษำ
ดา้ น ดำ้ นวิชำกำรยอดเยย่ี ม
ดำ้ นบรหิ ำรจดั กำรยอดเยี่ยม
ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษายอดเยี่ยม
ระดบั ( ) กอ่ นประถมศึกษำ
() ประถมศกึ ษา ( ) มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย
( ) มัธยมศึกษำตอนตน้
กลมุ่ สาระการเรียนรู้
() ภาษาไทย ( ) คณติ ศำสตร์
( ) วิทยำศำสตร์ ( ) สังคมศึกษำ
( ) ศิลปะ ( ) สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
( ) ภำษำตำ่ งประเทศ ( ) กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี
( ) บรู ณำกำร
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
( ) กิจกรรมแนะแนว
( ) กจิ กรรมนกั เรยี น
( ) กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสำธำรณประโยชน์
2. คุณสมบตั ิเบ้อื งต้นผู้ขอรบั การประเมิน
2.1 ดารงตาแหน่ง ครู สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ชื่อ นำงสำวณหทยั แม้นชล
เกดิ วันจนั ทร์ที่ 27 กนั ยำยน 2519 อำยุ 46 ปี
ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐำนะ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ โรงเรยี นไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคยี น)
จังหวัดปรำจนี บุรี
สงั กดั สำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำปรำจนี บุรี เขต 2 2
หมายเหตุ
เชอ้ื ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
ทอี่ ยู่ปจั จุบัน 37 หมู่ 6 ตำบลบำ้ นหอย อำเภอประจนั ตคำม จงั หวัดปรำจีนบรุ ี
โทรศพั ทม์ ือถอื 0 885610544 E-mail : [email protected]
ประวัตกิ ารศกึ ษา
ตำรำงที่ 1 แสดงประวัติกำรศึกษำ
วฒุ กิ ารศกึ ษา วชิ าเอก/วิชาโท ปที ่สี าเรจ็ สถานศกึ ษา
การศึกษา
มหำวทิ ยำลยั บรู พำ
กศ.บ. กำรประถมศึกษำ พ.ศ 2542 มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏวไลยอลงกรณ์
ค.ม. หลกั สตู รและกำรสอน พ.ศ. 2551
2.2 ปฏิบัติหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนในตาแหน่งไม่น้อยกว่า 2 ปี นับถึงวันท่ียื่นคาขอรับการ
ประเมนิ ประวตั ิการสอนภาษาไทย
ประวัตกิ ารรับราชการ
เรมิ่ รบั รำชกำรครู ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย โรงเรียนบำ้ นวงั ใหม่ กง่ิ อำเภอวงั สมบูรณ์ จังหวดั สระแก้ว
เมอ่ื วันท่ี 7 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2549 อำยรุ ำชกำร 16 ปี
ตำรำงที่ 2 แสดงประวตั กิ ำรรับรำชกำร
วนั เดอื น ปี ตาแหนง่ ชือ่ สถานศึกษา
7 ม.ี ค. 2549 ครูผูช้ ่วย โรงเรียนบ้ำนวงั ใหม่ จังหวัดสระแกว้
7 มี.ค. 2551 ครู โรงเรยี นบ้ำนวังใหม่ จงั หวดั สระแก้ว
1 เม.ย. 2555 ครู/ครชู ำนำญกำร โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) จงั หวดั ปรำจีนบุรี
23 ธ.ค. 2556 ครู/ครชู ำนำญกำรพิเศษ โรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยำ 93 (บำ้ นลำดตะเคียน) จังหวดั ปรำจีนบุรี
ปัจจุบันดารงตาแหน่ง ครู วิทยฐำนะ ครูชำนำญกำรพิเศษ โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำด
ตะเคียน) อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปรำจีนบุรี สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำปรำจีนบุรี
เขต 2 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร
2.3 เป็นผไู้ ม่เคยถกู ลงโทษทางวินัย (ขอรบั รองว่าขา้ พเจา้ เป็นผไู้ ม่เคยถูกลงโทษทางวินยั )
ตง้ั แต่รับรำชกำรมำ ระยะเวลำ 16 ปี ไดป้ ฏิบตั ิตนตำมระเบียบวินัยของทำงรำชกำร ดำรงตน
อยบู่ นจรรยำบรรณวชิ ำชีพอยำ่ งเครง่ ครัด ไดร้ บั ควำมไวว้ ำงใจจำกผบู้ ริหำร เพ่ือนครู และนกั เรียน โดยไดร้ ับ
แต่งตง้ั ใหเ้ ป็นหวั หน้ำงำนตำ่ ง ๆ ไม่เคยกระทำควำมผิดอันก่อให้เกิดกำรถูกลงโทษทำงวนิ ัย
2.4 มีความประพฤติในการครองตน ครองคนและครองงาน เป็นแบบอย่างที่ดีและยอมรับของบุคคล
ในวิชาชีพและสังคม
3
2.4.1 การครองตน (มคี ณุ ธรรม) จริยธรรมทพ่ี ึงประสงค์
2.4.1.1 ขำ้ พเจ้ำสำนึกอยู่เสมอว่ำตนเองเปน็ ครูต้องเป็นแบบอย่ำงที่ดีให้กับลูกศษิ ย์โดยยึดถือ
แนวปฏิบัติในจรรยำบรรณครู รักและเมตตำศิษย์ โดยให้ควำมเอำใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้กำลังใจใน
กำรศึกษำเล่ำเรียนแก่ศิษย์โดย อบรม สั่งสอนฝึกฝนสร้ำงควำมรู้ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงำมให้แก่ศิษย์อยำ่ ง
เต็มควำมสำมำรถด้วยควำมบริสุทธิ์ใจ สร้ำงขวัญและกำลังใจในโอกำสสำคัญต่ำง ๆ ประพฤติปฏิบัติตนเป็น
แบบอย่ำงท่ีดีแก่ศิษย์ทั้งกำย วำจำและใจ ไม่กระทำตนให้เป็นปฏิปกั ษ์ต่อควำมเจริญทำงกำย สติปัญญำ จิตใจ
อำรมณ์ และสังคมของศิษย์ ไม่แสวงหำประโยชน์จำกศิษย์ และไม่ใช้ให้สิทธิ์กระทำกำรใด ๆ อันเป็นกำรหำ
ผลประโยชน์ให้แก่ตนโดยชอบ พัฒนำตนเองทั้งด้ำนวิชำชีพ ด้ำนบุคลิกภำพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อกำรพัฒนำ
ทำงวิทยำกำร เศรษฐกิจ สังคม และกำรเมืองอยู่เสมอ รักและศรัทธำในวิชำชีพครูและเป็นสมำชิกท่ีดีของ
องค์กรวิชำชีพครู ช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทำงสร้ำงสรรค์ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นผู้นำในกำรอนุรักษ์
และพัฒนำภูมิปัญญำและวัฒนธรรมไทยได้นำมำ เป็นแนวทำงในกำรทำหน้ำที่ครู โดยอบรมสั่งสอนลูกศิษย์
ด้วยควำมรบั ผดิ ชอบต่อหน้ำท่ี สอนเนอ้ื หำควำมรคู้ วบคู่ไปกับคุณธรรมจรยิ ธรรมและทกั ษะชวี ติ ในด้ำนตำ่ ง ๆ มี
วนิ ยั และรับผดิ ชอบต่อกำรกระทำของตนเอง ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนเป็นผู้มีจรรยำมำรยำทท่ีงดงำม เปน็ แบบอย่ำง
ให้แก่ครอบครัว เพ่ือนร่วมงำนและศิษย์ ส่งผลให้ข้ำพเจ้ำได้รับกำรยอมรับจำกสำธำรณชน สถำนศึกษำและ
หน่วยงำนดังน้ี
1. ไดร้ บั เคร่อื งหมำยเชดิ ชเู กียรติ “หน่ึงแสนครูดี”ประจำปี 2557
2. ได้รับรำงวัลชนะเลิศครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยำดีเด่น ประจำปี 2559 ภำคกลำง-ภำค
ตะวนั ออก
3. ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรำงวัลระดับเหรียญทองแดง กิจกรรมกำรแข่งขันนำฎศิลป์ไทย
อนุรักษ์ ระดับช้ัน ม.1-ม.3 งำนมหกรรมควำมสำมำรถทำงศิลปะหัตถกรรม วิชำกำรและเทคโนโลยีของ
นกั เรียนระดับชำติ ปีกำรศกึ ษำ 2561
4. ไดร้ ับรำงวลั ครดู ไี ม่มอี บำยมขุ ประจำปกี ำรศึกษำ 2563
5. ได้รับรำงวัลครดู ีของแผ่นดินข้นั พ้ืนฐำน โครงกำรเครือข่ำยครูดีของแผ่นดิน เจริญรอยตำม
เบอื้ งพระยคุ ลบำท ประจำปี 2563
6. ไดร้ บั รำงวลั ครผู ูส้ อนดเี ดน่ ระดับจงั หวัด ประจำปี 2564 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ภำษำไทย
ดเี ดน่
7. ไดเ้ ขำ้ รบั กำรประเมินคักเลือกห้องเรยี คุณภำพ ประจำปี 2564 ระดบั ช่วงช้นั ที่ 2 ไดอ้ ันดับ
ท่ี 4 สำนกั งำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำปรำจนี บุรี เขต 2
และมคี วำมตรงต่อเวลำมำปฏิบัตริ ำชกำรก่อนเวลำและกลบั หลงั เวลำรำชกำร ไมท่ ำกิจ
เพื่อประโยชน์ส่วนตนในเวลำรำชกำร รวมท้ังกำรเสียสละเวลำส่วนตัวในกำรแก้ปัญหำด้ำนกำรเรียนให้กับ
นักเรียน และสอนเพิ่มเติมหลังเลิกเรียน มีควำมอดทน อดกล้ันต่อควำมเหนื่อยยำกขณะปฏิบัติรำชกำร
เออื้ เฟอ้ื เผ่อื แผ่และมงุ่ ม่นั ทำประโยชน์เพื่อสว่ นรวม ให้ควำมช่วยเหลือผู้อืน่ เมื่อมีโอกำส มีควำมรักควำมสำมัคคี
ในองคก์ ร มีควำมละอำยและเกรงกลวั ต่อกำรทำช่ัว ไม่ยุ่งเก่ยี วกบั ยำเสพติดและอบำยมขุ ต่ำง ๆ มีระเบยี บวินัย
ประพฤติตนอยู่บนพ้ืนฐำนของข้อกำหนดของสถำนศึกษำ สังคม แลกฎหมำย ตลอดจนกำรสร้ำงนิสัยรักกำร
อำ่ น ร้เู ท่ำทนั กำรพัฒนำกำรทำงวิทยำกำร เศรษฐกิจ สงั คมและกำรเมืองอยู่เสมอ นอกจำกน้ปี ระพฤตติ น รว่ ม
กิจกรรมท่ีแสดงออกถึงควำมรักและภักดีต่อสถำบันชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์ ทั้งของชุมชนและ
สถำนศึกษำจัดข้ึน ตลอดถึงกำรอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงำมของท้องถิ่น โดยกำรเข้ำร่วมเป็นส่วนหนึ่ง
4
ในคณะกรรมกำรจัดงำนและเข้ำร่วมประเพณีต่ำง ๆ ของท้องถ่ิน เข้ำร่วมกิจกรรมทำงศำสนำในฐำนะ
พทุ ธศำสนิกชนทด่ี อี ยำ่ งสม่ำเสมอ
2.4.2. กำรครองคน (ทำงำนร่วมกับผู้อืน่ ไดด้ ี เป็นทย่ี อมรับรกั ใครข่ องศิษย์ ผู้รว่ มงำน)
2.4.2.1 กิจกรรมทีท่ ำร่วมกบั ผู้รว่ มงำนในโรงเรยี น ข้ำพเจำ้ ได้ประกอบวิชำชพี ครูด้วย
ควำมรักและ ควำมศรัทธำ ส่งผลให้ได้รบั กำรยอมรบั รักใคร่ของศิษย์ และเป็นแบบอย่ำงในกำรปฏิบตั ิตนของผู้
รว่ มประกอบวิชำชีพ โดยไดท้ ำกิจกรรมร่วมกับโรงเรียนดังนี้
1. หัวหนำ้ กลุม่ สำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย
2. หวั หน้ำเจ้ำหนำ้ ที่พสั ดุ
3. คณะกรรมกำรกลุ่มงำนงบประมำณ
4. คระกรรมกำรงำนระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น
5. คณะกรรมกำรครูท่ีปรึกษำคณะสีฟ้ำ
6. คณะกรรมกำรงำนป้องกนั ยำเสพตดิ ในสถำนศกึ ษำ
7. คณะกรรมกำรงำนสมำคมครูไทยรัฐวทิ ยำภำคกลำง ภำคตะวนั ออก
8. คณะกรรมกำรงำนประกวดนักเรียนพระรำชทำนและนักเรียนรำงวัลนักเรียน
ทุนกำรศกึ ษำพระรำชทำนฯ ม.ท.ศ. รุ่นที่ 13 เหรียญทอง และรำงวัลเด็กและเยำวชนดีเด่น
9. ครเู วรประจำวัน วันพฤหสั บดี
10. ครูที่ปรกึ ษำ ชั้นประถมศกึ ษำปที ี่ 5/1
จำกกำรทข่ี ้ำพเจ้ำมีกำรวำงแผนในกำรพัฒนำ มีเป้ำหมำย มีทศิ ทำงในกำรดำเนินงำน
เพ่ือพัฒนำตนเอง นักเรียนและสถำนศึกษำ โดยมีกำรจัดกิจกรรม โครงกำรต่ำง ๆ อย่ำงเป็นรูปธรรม ซึ่งมีกำร
ร่วมมือกันระหว่ำงนักเรียนและครูในกำรปฏิบัติกิจกรรม ทำให้ผลกำรดำเนินงำนเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง
ชุมชน ทอ้ งถน่ิ ดังมีผลงำนเป็นท่ีปรำกฏ ดังนี้
1. รำงวัล ชนะเลิศ Best Practice กำรเรียนกำรสอนสื่อมวลชนศึกษำของมูลนิธิ
ไทยรฐั กลุ่มไทยรัฐบรู พำ ปจี ำปกี ำรศึกษำ 2562
2. รำงวัลโรงเรยี นจัดกจิ กรรมสง่ เสริมกำรอ่ำนดีเด่นระดบั ดีมำกปี พ.ศ. 2562
3. โล่รำงวัลผ่ำนกำรประเมินเป็นต้นแบบโรงเรียนไทยรัฐวิทยำ รุ่นที่ 2 ปีกำรศึกษำ
2562
4. รำงวัลระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประจำปี 2563 ประเภทสถำนศึกษำ
ขนำดกลำง ระดบั ทอง
5. รำงวลั กิจกรรมอำ่ นออกยก ปีกำรศกึ ษำ 2563
6. โรงเรยี นใหม้ ีคณุ ภำพตำมเกณฑ์ BEIDQM
7. รำงวัลสถำนศึกษำส่งเสริมผู้เรียนเข้ำศึกษำต่อด้ำนอำชีวศึกษำอย่ำงต่อเนื่องปี
พ.ศ. 2563
8. รำงวัลผลกำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของ
สถำนศึกษำออนไลน์
9. ได้รับรำงวัลระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระดับสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
ประจำปี 2564 ระดับทอง
ข้ำพเจ้ำมีคุณลักษณะประจำตัวที่แสดงกำรครองคน ดังน้ี ข้ำพเจ้ำมีบุคลิกภำพ
เหมำะสมกับกำรเป็นครู แต่งกำยสะอำดถูกต้องตำมระเบียบของทำงรำชกำรกำหนด กำรวำงตนถูกต้องตำม
5
กำลเทศะทำให้ผู้คบหำสมำคมสบำยใจไม่เห็นแก่ตัว เป็นคนมีเหตุผลมองโลกในแง่ดี ไม่ใช้อำรมณ์ในกำร
แก้ปัญหำ อุปนิสัยร่ำเริง แจ่มใส อ่อนน้อมถ่อมตน ไม่เคยเอำเปรียบผู้อื่น รับฟังควำมคิดเห็นของผู้อ่ืนมำ
ปรับปรุงตนเองและในกำรปฏิบัติงำนให้ดีย่ิงข้ึน สร้ำงควำมคุ้นเคยกับผู้อื่นได้ง่ำย ติดต่อประสำนงำนกับบุคคล
อื่นอยู่เสมอ ตำมปกติข้ำพเจ้ำมีมนุษย์สัมพันธ์อยู่แล้ว จึงสำมำรถเข้ำกับคนอ่ืนได้ง่ำยท้ังในวงรำชกำร เพ่ือน
ร่วมงำน ผู้ปกครองเด็ก ผู้นำองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน และผู้มำติดต่อรำชกำรจึงทำให้งำนส่วนตัวและงำน
รำชกำรสำเรจ็ ดว้ ยดี
- มีมนุษยสัมพันธ์ดี สร้ำงควำมคุ้นเคยกับผู้อื่นได้ง่ำย เพรำะกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้หรือ
งำนในหนำ้ ทจ่ี ะสำเร็จหรอื ไมน่ ้ัน ขึ้นอยู่กับกำรตดิ ตอ่ ประสำนงำนกบั บุคคลอ่ืนเสมอ
- กำรใช้เหตุผลในกำรตัดสินใจ เมื่อมีปัญหำข้ำพเจ้ำจะปรึกษำผู้บังคับบัญชำและเพ่ือน
ร่วมงำน เป็นกำรตัดสินใจจำกมติท่ีประชุม เป็นหลักกำรปฏิบัติงำนในขณะเดียวกันเพื่อนร่วมงำนเมื่อมีปัญหำ
หรอื ผดิ พลำดในกำรปฏบิ ตั งิ ำน
- กำรยกย่องชมเชยผู้อ่ืน เมื่อบุคคลนั้นประพฤติตนได้ถูกต้องและประสบผลสำเร็จ ข้ำพเจ้ำ
จักยกย่องชมเชยผู้อื่นเสมอ อำทิ เพ่ือนครูที่ได้รับรำงวัลต่ำง ๆ เด็กมีควำมประพฤติดี เรียนดี เด็กที่แต่งกำย
สะอำดเรียบร้อย เป็นต้น
- กำรแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำสำเร็จ จำกกำรปฏิบัติงำนของข้ำพเจ้ำในบำงคร้ังมีปัญหำเฉพำะ
หน้ำตอ้ งทำกำรแก้ไข โดยอำศยั ควำมเชื่อมั่นในตนเอง ข้ำพเจ้ำไมย่ อมให้ปญั หำนนั้ ผ่ำนไปและทำควำมเสียหำย
ให้กับส่วนรวมโดยเด็ดขำด ดังนั้นข้ำพเจ้ำจึงได้รับควำมไว้วำงใจจำกผู้บังคับบัญชำ เพ่ือนครู และบุคคลใน
ชุมชนใหม้ สี ว่ นร่วมในกำรปฏิบตั งิ ำนต่ำงๆ มำกมำย
- มีสัมพันธภำพในกำรทำงำน กำรทำงำนร่วมกับผู้อื่น ข้ำพเจ้ำใช้หลักกัลยำณมิตร และมี
มนุษยสัมพันธ์ที่ดี สำมำรถทำงำนร่วมกับผู้อ่ืนได้ทุกกลุ่ม ทุกเพศ และทุกวัย จึงได้รับกำรยอมรับจำกผู้บริหำร
โรงเรียนผู้ร่วมงำน เด็ก ผู้ปกครองและประชำชนทั่วไป อีกท้ังมีควำมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีบุคลิกภำพท่ีดี มี
ควำมสำมำรถประสำนงำน มีเหตุผลสำมำรถแก้ปัญหำต่ำง ๆ ได้ มีเทคนิคกำรพูด ชักชวน เสนอแนะ
ให้กำลังใจ ทำงำนร่วมกับผู้อ่ืนโดยสำมำรถวำงตัวในกำรเป็นผู้นำ ผู้ตำม และเป็นผู้ให้ ผู้รับ ที่ดี มีหลักในกำร
ทำงำน มีควำมบริสุทธิ์ยุติธรรมและทำงำนอย่ำงโปร่งใส ปรำศจำกอคติ ยึดประโยชน์ของเด็กและส่วนรวมเปน็
ท่ีตั้ง มีกำรทำงำนเป็นทีมได้รับกำรยอมรับจำกทุกฝ่ำยท่ีเกี่ยวข้องสำมำรถเป็นแบบอย่ำงที่ดีได้และมีผลในกำร
ครองคน ดังน้ี
จำกเหตุผลดังกล่ำวข้ำงต้น ทำให้ข้ำพเจ้ำได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้ำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
ได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้ำเจ้ำหน้ำที่พัสดุ และได้รับมอบหมำยงำนต่ำง ๆ ในโรงเรียนเสมอ แสดงให้เห็น
ควำมสำมำรถในกำรทำงำนร่วมกับผ้อู นื่ ไดเ้ ป็นอย่ำงดี
ประชุมกลุ่มสำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย ติดตอ่ ประสำนกบั โยธำจงั หวดั ปรำจีนบรุ ี
6
จัดนิทรรศกำรเร่ือง ระบบกำรดูแลชว่ ยเหลือ งำนปจั ฉมิ นกั เรยี นช้ันอนุบำล ป.6และม.3
นักเรียน ณ สพป. ปรำจีนบุรี เขต 2
ประเมินห้องเรียนคุณภำพ กำรปฏิบตั หิ นำ้ ทย่ี นื เวรหนำ้ ประตู
2.4.2.1 กิจกรรมที่ทำรว่ มกบั ผู้ร่วมงำนในโรงเรียน
1) กิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรมและจริยธรรม ด้วยกำรสวดมนต์ไหวพ้ ระ ทำบุญตกบำตร
รบั ศีล ฟงั เทศนท์ ่วี ดั กำรน่งั สมำธิ และเขำ้ รว่ มกิจกรรมทำงพุทธศำสนำ
2) กิจกรรมส่งเสริมระเบียบวินัย ได้แก่ กำรเข้ำแถวหน้ำเสำธง กำรทำเวรประจำวัน
กำรประชมุ ห้องเรียน
3) กิจกรรมวนั ไหว้ครู
4) กจิ กรรมวันภำษำไทยและวันสุนทรภู่
5) กิจกรรมรณรงค์และต่อต้ำนยำเสพติด
6) กิจกรรมกำรแข่งขนั กีฬำสีในโรงเรียน
7) กิจกรรมวันสำคัญ เชน่ วันเขำ้ พรรษำ วันอำสำฬหบชู ำ วันลอยกระทง
8) กจิ กรรมสิ่งแวดลอ้ ม
9) กิจกรรมทัศนศกึ ษำของนกั เรียน
10) กิจกรรมกำรประชุมผปู้ กครอง
11) กิจกรรมวนั ปัจฉิมนิเทศ
12) กิจกรรมเข้ำคำ่ ยลกู เสอื – เนตรนำรี
13) กิจกรรมโรงเรียนคมุ้ ครองเดก็
กำรรว่ มงำนกบั เพอ่ื นครแู ละผูบ้ ริหำรในโรงเรียนเป็นไปด้วยควำมรำบรน่ื เรียบร้อย ได้รบั ควำมช่ืนชม
7
วันอำสำฬหบูชำและวนั เขำ้ พรรษำ ลอยกระทง วันสนุ ทรภู่
รณรงคแ์ ละต่อต้ำนยำเสพติด วันคล้ำยวันสถำปนำลกู เสือแห่งชำติ พิธไี หวค้ รู
กำรประชุมคณะกรรมสำระภำษำไทย กีฬำสี วนั คริสตม์ ำส
รณรงคก์ ำรสวมหมวกนริ ภัยในชมุ ชนและโรงเรยี น วนั สงิ่ แวดล้อม กจิ กรรมลูกเสือ
8
2.4.2.2 จัด/ร่วมกจิ กรรมตำมระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ขำ้ พเจ้ำมคี วำมเอ้ืออำทร
เอำใจใสน่ ักเรยี นทกุ คนอย่ำงเท่ำเทียมกันและสม่ำเสมอ และเปน็ ครูประจำช้ันประถมศึกษำปที ่ี 5/1 มีมนษุ ย
สมั พนั ธ์ที่ดี เปิดโอกำสใหผ้ ู้ปกครองไดแ้ สดงควำมคิดเห็นและมีส่วนร่วมในกำรดูแลตลอดจนช่วยเหลือนักเรียน
ในกำรแกไ้ ขปญั หำตำ่ ง ๆ ออกเยยี่ มบ้ำนนักเรยี นในหอ้ งประจำชั้นทุกปีกำรศึกษำ เพ่ือจะไดร้ ้จู กั นักเรยี นเป็น
รำยบคุ คล จัดทำเอกสำรตำมระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นอยำ่ งครบถ้วนและเปน็ ปัจจุบัน เช่น ระเบยี นสะสม
ปพ.6 กำรประเมิน SDQ กำรประเมนิ EQ ได้รับกำรชืน่ ชมจำกผปู้ กครองว่ำดแู ลเอำใจใส่นกั เรยี นดีมำก
ภำพท่ี 1 กำรปฏิบัติหน้ำที่ครูทป่ี รกึ ษำช้ันประถมศึกษำปีที่ 5/1
9
2.4.2.3 กิจกรรมร่วมกับชุมชน ข้ำพเจ้ำให้ควำมร่วมมือ ช่วยเหลือสนับสนุน และเข้ำ
ร่วมกิจกรรมของชุมชนด้วยดีเสมอมำดงั นี้ งำนจติ อำสำ งำนฌำปนกจิ ศพ กำรบำเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน เป็น
ตน้
ภำพที่ 2 กจิ กรรมทมี่ ีสว่ นร่วมกับชุมชน
2.4.3 การครองงาน (รับผิดชอบ มุ่งม่ัน ตั้งใจทางานตามภารกิจ/ที่ได้รับมอบหมายอย่าง
สรา้ งสรรค์จนเกดิ ความสาเรจ็ )
2.4.3.1 ไม่เคยขำดงำน
ข้ำพเจ้ำตระหนักในบทบำทหนำ้ ที่ของกำรเป็นครู ท่ีต้องมีควำมรับผิดชอบต่อนักเรียนเป็นจำนวนมำก
ซึง่ ปฏิบตั ิหนำ้ ท่เี ต็มกำลังควำมสำมำรถ ศรัทธำ และยดึ ม่ันในอดุ มกำรณ์แห่งวชิ ำชีพครู ไมเ่ คยขำดงำนเลย
2.4.3.2 ลำกจิ ไมเ่ กิน 2 ครงั้ /ภำคเรียน และไม่เกิน 4 คร้งั /ปกี ำรศกึ ษำ
เมื่อข้ำพเจ้ำไม่สบำย หรือมีภำรกิจของครอบครัว เช่น พำมำรดำไปพบแพทย์ จะเสนอใบลำทุกครั้ง
หำกเป็นกำรลำกิจจะเสนอใบลำล่วงหน้ำ โดยหำครูไปสอนแทนในคำบเรยี นของข้ำพเจ้ำ ข้ำพเจ้ำลำกจิ ไมเ่ กนิ 4
คร้งั /ปีกำรศึกษำ
ตำรำงท่ี 3 แสดงสรปุ กำรลำ ระหว่ำงปกี ำรศึกษำ 2562 - 2564
ปีการศกึ ษา ลาป่วย(ครั้ง/วัน) ลากจิ (ครงั้ /วนั ) รวม(ครั้ง/วัน)
2562 - 1/2 1/2
2563 1/1 1/2 2/3
2564 - - -
10
2.4.3.3 มชี ่วั โมงสอนตำมเกณฑท์ ี่ ก.ค.ศ. กำหนด
ขำ้ พเจ้ำได้รบั มอบหมำยใหส้ อน จำนวน 28 ชัว่ โมง/สปั ดำห์ ซึ่งครบตำมเกณฑท์ ี่ ก.ค.ศ. กำหนด
ตำรำงที่ 4 แสดงชว่ั โมงสอน ปกี ำรศกึ ษำ 2564
ที่ รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า ชน้ั จานวน จานวน
หอ้ ง ช่ัวโมง /
1 ท14101 ภำษำไทย สัปดาห์
2 ท14101 ภำษำไทย
3 ท15101 ภำษำไทย ป.4/1 1 4
4 ท16101 ภำษำไทย
5 ท16101 ภำษำไทย ป.4/2 1 4
6 พ16101 สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
7 พ16101 สขุ ศึกษำและพลศึกษำ ป.5 1 4
8 ง15101 กำรงำนอำชีพ
9 ส15025 กำรป้องกนั กำรต้ำนทจุ รติ ป.6/1 1 4
ป.6/2 1 4
ป.6/1 1 2
ป.6/2 1 2
ป.5 1 2
ป.5 1 2
รวม 9 28
2.4.3.4 มผี ลงำนดงั น้ี
1) มีแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเป็นปัจจุบันและครบช่ัวโมงสอน
ตลอดปกี ำรศึกษำ
ข้ำพเจำ้ ไดจ้ ดั กำรเรียนรเู้ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั โดยกำรวเิ ครำะหห์ ลักสูตรวเิ ครำะหม์ ำตรฐำนกำรเรียนรู้
สำระกำรเรียนรู้ โดยพิจำรณำจำกมำตรฐำนกำรเรียนรู้ วิเครำะห์บริบทของชุมชน บริบทของโรงเรียน
และวิเครำะห์ผู้เรียนเป็นรำยบุคคล จัดทำหน่วยกำรเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชำติกำรเรียนรู้ของนักเรียน
กำหนดจำนวนหน่วยกำรเรียนรู้ ช่ือหน่วยกำรเรียนรู้ หน่วยกำรเรียนรู้ย่อยและจำนวนช่ัวโมง จัดทำแผนกำร
จัดกำรเรียนรู้วิชำภำษำไทย 5 ท15101 ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กำรดำเนินกำรสอนมุ่งให้เด็กมีส่วนร่วมในกำร
จัดกิจกรรมด้วยตนเอง ผ่ำนกระบวนกำรกลุ่ม กำรแสวงหำควำมรู้หลำกหลำย เน้นทักษะกำรปฏิบัติท้ังในเวลำ
เรยี นและนอกเวลำเรียน ม่งุ เน้นพัฒนำคุณธรรม และจรยิ ธรรม
กำรวัดและกำรประเมินพัฒนำกำร ได้ดำเนินกำรวัดและประเมนิ พัฒนำกำรตำมสภำพจริง โดยได้สร้ำง
เครื่องมือวัด ได้แก่ แบบสังเกต แบบสังเกตพฤติกรรม ได้วิเครำะห์เด็กรำยบุคคลร่วมกับกำรใช้บันทึก
กำรสนทนำ แบบบันทึกพัฒนำกำรรำยบุคคล แบบสำรวจตนเอง ซ่ึงมีควำมหลำกหลำยสำมำรถนำไปใช้วัด
และประเมินควำมพร้อมให้สอดคล้องกับท่ีกำหนดไว้ ทำให้ทรำบผลกำรเรียนรู้ สะท้อนถึงกำรเรียน
ของนกั เรยี น และผลกำรจัดประสบกำรณ์ของครู นำผลดงั กล่ำวท่ไี ด้ไปปรบั ปรงุ กำรเรียนกำรสอน
กำรรำยงำนผล ต่อเด็ก ผู้ปกครอง และผู้บริหำรสถำนศึกษำ ได้ดำเนินกำรวิเครำะห์ สรุปผลกำรวัด
และประเมินควำมพร้อมทุกภำคเรียน แจ้งให้เด็กทรำบเพ่ือจะได้นำไปเป็นข้อมูลพัฒนำตนเองและปรับปรุง
วิธีกำรเรียนรู้ให้ดีข้ึนแล้วมอบข้อมูลสำรสนเทศของผลกำรเรียนรู้แก่ผู้ปกครองได้ทรำบผลกำรเรียนของบุตร
11
หลำน ซ่ึงเป็นวิธีกำรที่ดีที่ทำให้ผู้ปกครองได้ร่วมมือกับโรงเรียนในกำรดูแลเอำใจใส่และร่วมพัฒนำกำรเรียนรู้
ให้กับเด็ก นอกจำกน้ียังได้รำยงำนผลกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ให้ผู้บริหำรสถำนศึกษำรับทรำบ เพื่อนำไป
เป็นข้อมูลกำหนดนโยบำยและหำแนวทำงพัฒนำครู เพื่อวำงแผนกำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนให้มีคุณภำพ
ตอ่ ไป
2) มีควำมสำเร็จในกำรพฒั นำตนเองตำมแผนพฒั นำเอง (ID Plan)
ข้ำพเจ้ำได้พฒั นำตนเองตำมสมรรถนะและประจำสำยงำนได้สรปุ ดังนี้
- มุ่งผลสัมฤทธิ์ในกำรปฏิบัติงำน โดยวำงแผนกำรปฏิบัติงำนและจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียน
เปน็ สำคญั สร้ำงโอกำสให้นักเรยี นได้แสดงศักยภำพในด้ำนต่ำง ๆ จดั หำ พฒั นำสื่อและนวัตกรรมทีห่ ลำกหลำย
เพอื่ กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นเกดิ ควำมกระตือรือร้นในกำรเรยี น เช่น จดั ทำสอื่ powerpoint ใบงำน ใบควำมรู้ หนงั สอื
ส่งเสรมิ กำรอ่ำน รวบรวมแนวข้อสอบเพ่ือเตรียมสอบ O-NET จดั กจิ กรรมส่งเสริมกำรอำ่ นมำกมำย
ภำพท่ี 3 ตัวอย่ำงสื่อกำรจดั กำรเรยี นรู้
12
- กำรบริกำรท่ีดี ทำหน้ำท่ีเป็นครูผู้สอนที่ดี ช่วยเหลือ ส่งเสริมและสนับสนุนกำรเรียนรู้ของนักเรียน
อย่ำงเตม็ ควำมสำมำรถ
กรรมกำรกำรสอบกำรอ่ำนช้นั ป.1 กำรตรวจ ATK ให้กบั นักเรยี น ตวิ NT
- กำรพัฒนำตนเอง โดยวิเครำะห์จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง อยู่ตลอดเวลำ ยอมรับควำมคิดต่ำง และ
คำแนะนำจำกผู้ใหญ่อยเู่ สมอ สมัครเข้ำร่วมรบั กำรอบรมตำมสิทธทิ์ ี่ได้รับเพ่ือพัฒนำศักยภำพในกำรทำงำน ทั้ง
ที่โรงเรียนมอบหมำยให้ไปอบรม และสมัครใจอบรม (โดยใช้งบประมำณของตนเอง) นอกจำกนี้ยังชอบสืบค้น
ขอ้ มูลผ่ำนอนิ เตอร์เนต็ ทำแบบทดสอบออนไลน์เพอื่ พัฒนำตนเองเสมอ ดงั ตวั อยำ่ งต่อไปน้ี
อบรมออนไลน์ อบรมโรงเรียนคมุ้ ครองเด็ก กำรสร้ำงชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวิชำชีพ (PLC)
- กำรทำงำนเป็นทีม มีส่วนร่วมในกำรวำงแผนปฏบิ ัติงำนตำ่ งๆทั้งในและนอกโรงเรียน เต็มใจให้ควำม
ร่วมมืออย่ำงเต็มควำมสำมำรถ ปฏิบัติตนเป็นผู้นำผู้ตำมท่ีดี มีควำมรับผิดชอบในหน้ำท่ีท่ีได้รับมอบหมำย
สนับสนุนให้กำลังใจและยกย่องผู้อ่ืนอย่ำงเหมำะสม เห็นได้จำกกำรได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้ำกลุ่มสำระ
กำรเรยี นรู้ภำษำไทย เปน็ ต้น
- จริยธรรมและจรรยำบรรณวชิ ำชพี ได้รับกำรอบรมปลูกฝังตำมกระบวนกำรฝกึ หัดครู ให้รักศรัทธำ
ในวิชำชพี ครู ข้ำพเจำ้ จงึ ปฏิบัติตนเป็นผู้มคี ุณธรรมจริยธรรม เพ่ือกำรเป็นครูที่ประกอบดว้ ยคุณงำมและควำมดี
ซง่ึ กระทำดว้ ยควำมสำนึกในจิตใจ เชน่ ควำมเสยี สละ มีนำ้ ใจ ควำมเกรงใจ ควำมยตุ ธิ รรม ควำมเหน็ อกเห็นใจ
กำรมมี ำรยำทท่งี ดงำม ควำมรักและควำมเมตตำตอ่ ศิษย์ ปฏิบัตติ นอยใู่ นหลักศลี ธรรมอนั ดงี ำม ดำเนินชีวิตด้วย
ปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพียง มุ่งมั่นพัฒนำวิชำชีพด้วยควำมศรัทธำ เหน็ คณุ คำ่ และควำมสำคัญของกำรเป็นครูท่ีดี
13
อยู่เสมอ โดยมีควำมรักและศรัทธำในวิชำชีพครู พึงกระทำตนให้เป็นแบบอย่ำงท่ีดีต่อศิษย์ ไม่สร้ำงควำมเส่ือม
เสยี ใหแ้ กท่ ำงรำชกำรและชอื่ เสียงของครู จะเห็นได้จำกกำรไม่เคยถูกลงโทษทำงวนิ ยั เลย
ภำพท่ี 4 หลำกหลำยกิจกรรม แสดงบทบำทหน้ำท่ีของควำมเปน็ ครู
- สมรรถนะประจำสำยงำน บริหำรจัดกำรหลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนรู้ ข้ำพเจ้ำได้บริหำรจัดกำร
หลักสูตรโดยจัดทำคำอธิบำยรำยวิชำ โครงสร้ำง จำนวนชั่วโมง น้ำหนักคะแนน ตลอดจนกำรวัดประเมินผล
นอกจำกนยี้ งั รว่ มเป็นคณะกรรมกำรหลักสตู รและวชิ ำกำรของโรงเรียนอกี ด้วย
ภำพท่ี 5 รว่ มเป็นคณะกรรมกำรพัฒนำหลกั สตู รของโรงเรยี น
- กำรพัฒนำผู้เรียน จัดกิจกรรมท่ีหลำกหลำยเหมำะสมกับศักยภำพของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม จัดทำวิจัย
ในชั้นเรียน เพื่อรับทรำบปัญหำ และหำแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำของผู้เรียน ปลูกฝังค่ำนิยมที่ดีงำม
และกำรอยู่ร่วมกันในสังคม เคำรพกฎ กติกำของโรงเรียน มีควำมเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ มีจิตอำสำ และมีควำม
รับผิดชอบ โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงกำรพัฒนำผู้เรียนให้มีนิสัยรักกำรอ่ำนและกำรเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมกำรอ่ำน
ในทกุ ระดบั ชัน้ ตอ่ เน่อื ง จริงจงั เชน่ ทำ้ ดวลกำรอ่ำน ยุวบรรณำรกั ษ์ บันทึกยอดนกั อำ่ น เปน็ ตน้
- กำรบริหำรจัดกำรชั้นเรียน จัดบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้ จัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมผู้เรียน
ใหเ้ รยี นรอู้ ย่ำงมีควำมสุข กลำ้ คิด กลำ้ ทำ และกลำ้ แสดงออกในส่ิงที่ถูกต้อง จัดแสดงผลงำนเพ่ือช่นื ชมและเป็น
14
กำลังใจให้แก่ผู้เรียน สร้ำงโอกำสให้ผู้เรียนได้แสดงควำมสำมำรถอย่ำงเหมำะสม กำหนดข้อตกลงในกำรอยู่
ร่วมกันเพ่ือควำมมีระเบียบวินัย มอบหมำยหน้ำที่ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกำรรับผิดชอบต่อส่วนรวม เช่น
มหี ัวหนำ้ ห้อง รองหัวหนำ้ หอ้ ง กรรมกำรห้องเรียน และเวรประจำวนั
- กำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ และกำรวิจัย โดยวิเครำะห์สภำพปัญหำที่เกิดข้ึนกับผู้เรียนในชั้นเรียน
นำไปสู่กำรออกแบบกำรเรียนรู้ คิดหำวิธแี ก้ปญั หำด้วยกำรทำวิจยั ในชั้นเรียน และจัดโครงกำรตำ่ งๆ เพื่อพฒั นำ
และแกไ้ ขปญั หำใหก้ บั ผู้เรียนอย่ำงตรงจดุ โดยไดจ้ ดั ทำวิจยั ในช้นั เรยี นอยำ่ งตอ่ เนื่องทกุ ภำคเรยี น
- กำรสร้ำงควำมร่วมมือกับชุมชน ประสำนงำนกับชุมชนในกำรร่วมมือในกิจกรรมต่ำงๆของโรงเรียน
เช่น กจิ กรรมวนั สำคัญทำงศำสนำ งำนลอยกระทง เป็นต้น
2.5 ผลงานทเ่ี กดิ จากการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
2.5.1 มีผลกำรประเมินคุณภำพภำนนอก : ผลกำรประเมนิ SAR ภำยใต้สถำนกำรณ์ COVID – 19 มี
ผลกำรประเมิน SAR รำยมำตรฐำน ระดบั กำรศึกษำข้ันพื้นฐำน มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพผู้เรียน จดุ เน้นผู้เรียนมี
คุณภำพตำมมำตรฐำนหลักสตู รสถำนศึกษำและมีควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำร
ผลกำรพิจำรณำทุกตัวชี้วัดสรุปผลประเมินอยู่ในระดับ ดี มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
จุดเน้น ส่งเสริมกำรใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อกำรจัดกำรศึกษำ ผลกำรพิจำรณำทุกตัวชี้วัดสรุปผล
ประเมินอยู่ในระดับ ดี มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดเน้น
จัดกำรเรียนกำรสอนโดยใช้ส่ือและเทคโนโลยีสำรสนเทศอย่ำงหลำกหลำย ผลกำรพิจำรณำทุกตัวช้ีวัดสรุปผล
ประเมนิ อยู่ในระดับ ดี
2.5.2 มงี ำนวจิ ยั ในชั้นเรียนท่สี ำเรจ็ เผยแพร่แล้ว
ขำ้ พเจำ้ ไดน้ ำงำนวจิ ยั ในชนั้ เรยี นเผยแพร่ทโ่ี รงเรียนใกล้เคียง และเผยแพรใ่ นเวบ็ ไซต์ต่ำงๆ
ตำรำงที่ 5 แสดงรำยชื่องำนวจิ ยั ท่สี ำเรจ็ และเผยแพรแ่ ล้ว
ท่ี ชื่อเร่ือง ระดบั ชนั้
กำรพฒั นำชุดกำรเรียนดว้ ยตนเอง ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ 4
1 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย เรื่องชนิดของประโยค สำหรับ
นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 4
2 กำรแก้ปัญหำนกั เรยี นเขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง ของนักเรียนชนั้ ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ 6
ประถมศกึ ษำปีท่ี 6
รำยงำนกำรใช้แบบฝึกทกั ษะกำรอำ่ นจับใจควำม ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 5
3 ดว้ ยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพือ่ พฒั นำกำรอำ่ น
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย สำหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษำ
ปที ่ี 5
ภำพท่ี 6 กำรเผยแพรผ่ ลงำน
15
2.6 ไดร้ ับรำงวลั ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ
2.6.1 ได้รับรำงวัลยกย่องเชิดชูเกียรติจำกหน่วยงำนภำครัฐ/เอกชนเป็นที่ยอมรับในวงวิชำชีพ
(ภำยใน 2 ปีนับถงึ วันท่ีย่ืนขอรบั กำรประเมนิ )
จำกกำรปฏิบัติหนำ้ ที่อย่ำงอุตสำหะและมีผลงำนเชิงประจกั ษ์ ส่งผลให้ได้รับรำงวัลยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ
จำกหน่วยงำนภำครฐั /เอกชน เป็นทย่ี อมรบั ในวงวิชำชพี ดังนี้
ตำรำงท่ี 6 แสดงรำงวัลท่ีได้รับ
ที่ วันเดือนปี ชือ่ รางวัล หน่วยงาน
1 5 พ.ย. 2557 หนงึ่ แสนครดู ี สำนกั งำนเลขำธกิ ำรคุรสุ ภำ
ได้รับรำงวลั ชนะเลิศครูโรงเรียนไทยรัฐ มูลนธิ ไิ ทยรัฐ
2 27 ธ.ค. 2559 วทิ ยำดีเดน่ ประจำปี 2559
ภำคกลำง-ภำคตะวันออก
ครูผ้สู อนนกั เรียนได้รบั รำงวัลระดับ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ัน
เหรียญทองแดง กจิ กรรมกำรแข่งขนั พ้นื ฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร
นำฎศิลปไ์ ทยอนุรกั ษ์ ระดบั ช้ัน ม.1-
3 25-27 ธ.ค. 2561 ม.3 งำนมหกรรมควำมสำมำรถทำง
ศิลปะหัตถกรรม วิชำกำรและ
เทคโนโลยีของนักเรยี นระดบั ชำติ ปี
กำรศกึ ษำ 2561
ไดร้ บั รำงวัลครูดขี องแผน่ ดิน มูลนิธิครดู ีของแผ่นดิน
4 23 ส.ค. 2563 ขั้นพ้ืนฐำนโครงกำรเครือข่ำยครูดีของ
แผ่นดิน เจริญรอยตำมเบ้ืองพระยุคล
บำท ประจำปี 2563
ครูดีไม่มีอบำยมุข ประจำปีกำรศึกษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้น
5 16 ม.ค. 2564 2563 พนื้ ฐำนหนว่ ยงำน สคล. ,สสสและม
หำวทิ ยำลยั จุฬำลงกรณรำชวิทยำลยั
ไดร้ ับรำงวลั ครูผู้สอนดเี ดน่ ระดบั สำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวดั
6 16 ม.ค. 2565 จังหวัด ประจำปี 2564 ปรำจนี บุรี
กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทยดีเด่น
7 30 ม.ี ค. 2565 กำรประเมนิ คักเลือกห้องเรียคณุ ภำพ สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ
ประจำปี 2564 ระดบั ชว่ งชน้ั ท่ี 2 ได้ ประถมศึกษำปรำจนี บรุ ี เขต 2
อนั ดบั ที่ 4
16
2.6.2 ได้รับเชิญให้เป็นวิทยำกรบรรยำยหัวข้อท่ีตรงกับภำรกิจ/งำนท่ีได้รับมอบหมำยอย่ำงน้อย
2 คร้ัง/ปกี ำรศึกษำ ระดบั สถำนศกึ ษำ/เขต
ไดร้ ับมอบหมำยให้เปน็ วิทยำกรบรรยำยเตรียมควำมพร้อมในกำรสอบ NT ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำ
ปีท่ี 3 ปีกำรศึกษำ 2563 และปีกำรศึกษำ 2564 นอกเหนือจำกกำรได้รับเชิญให้เป็นวิทยำกรบรรยำยให้
ควำมรู้ในเรื่องต่ำงๆแล้ว ข้ำพเจ้ำยังได้รับเชิญให้เป็นกรรมกำรตัดสินกำรแข่งขันทักษะต่ำง ๆคณะกรรมกำร
ประเมินครูผู้ช่วย ในกำรตัดสินทุกคร้ังจะพยำยำมหำควำมรู้ เกีย่ วกับกำรแข่งขันใหม้ ำกทสี่ ุด ตดั สนิ ด้วยควำม
โปรง่ ใส ซ่อื สัตย์ ยุติธรรม ไม่อคติ ลำเอียงจงึ ได้รับเชิญทง้ั ภำยในโรงเรียน และหนว่ ยงำนภำยนอก
เตรียมควำมพร้อมในกำรสอบ NT ปีกำรศึกษำ2563 เตรยี มควำมพร้อมในกำรสอบ NT ปีกำรศึกษำ2564
คณะกรรมกำรตดั สนิ เขยี นเร่ืองจำกภำพ คณะกรรมกำรประเมนิ ครูผ้ชู ่วย
2.6.3 ไดร้ ับเชิญใหแ้ สดงผลงำนตนเองในระดบั ชำติ/นำนำชำติ
ได้นำแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมและส่ือผลงำนต่ำงๆ ไปจัดแสดงที่โรงแรมจันทรำ
รีสอร์ทจังหวัดนครนำยก โครงกำรสร้ำงควำมเป็นพลเมืองดี จัดโดยมูลนิธิไทยรัฐ ให้กับครูภำคกลำงภำค
ตะวันออก
ภำพท่ี 7 กำรแสดงผลงำน
17
ได้รบั การคัดเลอื กใหน้ าเสนอผลงานแนวปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลิศ (Best Practice) ในการจดั แสดงผล
งานทางวิชาการ การจดั การเรียนการสอนวิชาความเปน็ พลเมืองดี ระดับประเทศ ณ โรงแรมชาลนี า่ โฮเทล
กรงุ เทพฯ จดั โดย มูลนธิ ไิ ทยรัฐ ร่วมกบั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
ภำพที่ 8 โลแ่ ละกำรนำเสนอผลงำนแนวปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice)
2.6.4 มีงำนเขียนแสดงผลงำน/ควำมคิดเชิงสร้ำงสรรค์ที่เกี่ยวกับกำรจัดกำรเรียนกำรสอน/กำร
พัฒนำผ้เู รียนตำมหลกั สตู ร/ระดบั ประถม คณุ ภำพท่ีเผยแพรผ่ ำ่ นสอ่ื สำธำรณะไม่นอ้ ยกวำ่ 1 ครั้ง/ภำคเรียน
ตำรำงที่ 7 แสดงงำนเขยี นแสดงผลงำนทเ่ี ก่ียวข้องกบั กำรจดั กำรเรียนกำรสอน
ท่ี งานเขียนแสดงผลงานทเ่ี ก่ียวข้องกับการจัดการเรยี นการสอน หมายเหตุ
1 แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจบั ใจควำม จำกบทร้อยกรอง ระดับช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี 5
2 แบบฝึกทักษะกำรอำ่ นจับใจควำม จำกบทควำม ระดบั ชั้นประถมศึกษำปที ่ี 5
3 แผนพฒั นำตนเอง (ID Plan)
สรุปผลการปฏิบตั งิ าน
ตามองค์ประกอบดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอนยอดเยีย่ ม
องค์ประกอบท่ี 1 คณุ ภาพประกอบด้วยตวั ชว้ี ดั 4 ตวั ช้ีวดั ดังนี้
ตวั ชี้วัดท่ี 1 คณุ ลักษณะของนวตั กรรม
คณุ ลักษณะของนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื กำรเรยี นกำรสอนท่ีจัดทำข้นึ มีคณุ ลักษณะดังน้ี
1. เป็นแบบฝกึ ทักษะกำรอำ่ นจบั ใจควำมดว้ ยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพื่อพฒั นำกำรอ่ำน สำหรบั
นกั เรียนช้นั ประถมศึกษำปีที่ 5 มีกำรจดั ทำเป็นแบบฝกึ ทกั ษะทเี่ รียงลำดับเน้อื หำอย่ำงเป็นขัน้ ตอนครอบคลุม
ท้งั 5 สำระ 4 เล่ม ดังน้ี
ชดุ ท่ี 1 บทกล่อมเด็กและบทรอ้ งเลน่
ชดุ ท่ี 2 เพลง
ชดุ ท่ี 3 นทิ ำน
ชุดที่ 4 เร่อื งสนั้
18
กำรสอนอ่ำนจับใจควำมในระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 5 พบว่ำนักเรียนบำงคนอ่ำนได้แต่ไม่เข้ำใจ
เรื่องรำวท่ีอำ่ น ทำให้จับใจควำมของเร่ืองไม่ได้ และส่วนใหญไ่ ม่สำมำรถแยกควำมแตกต่ำงระหว่ำงข้อเท็จจริง
กับควำมคิดเห็นของผู้เขียนได้ เน่ืองจำกผู้เขียนมิได้แสดงแนวคิดหรือใจควำมสำคัญของเรื่องโดยตรง ซึ่งทำให้
ขำดสมรรถภำพทำงด้ำนกำรอ่ำนจับใจควำม จึงกล่ำวได้ว่ำ กำรอ่ำนเป็นทักษะสำคัญในบรรดำทักษะท้ังสค่ี ือ
กำรฟัง กำรพูด กำรอ่ำนและกำรเขียน โดยเฉพำะกำรอ่ำนจับใจควำมท่ีมีควำมสำคัญต่อกำรเรียนกำรสอน
ตำมขั้นตอนท่ีแนะนำไว้ในเอกสำรหลักสูตร ก็ยังพบปัญหำหลำยปัญหำ เท่ำที่ได้รวบรวมจำกประสบกำรณ์
คือ นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบกำรอ่ำน อ่ำนแล้วจับใจควำมสำคัญไม่ได้ ไม่สำมำรถสรุปประเด็นได้ แยก
ควำมรู้ ข้อเท็จจรงิ ขอ้ คิดเห็นไม่ได้ ไมส่ ำมำรถแยกใจควำมสำคญั และใจควำมรองได้ ซ่ึงเปน็ ปญั หำทีผ่ ูศ้ กึ ษำ
ต้องแก้ไข และพัฒนำกำรอำ่ นจบั ใจควำมใหด้ ยี งิ่ ข้นึ
จำกควำมสำคัญและปัญหำดังกล่ำว จึงเห็นว่ำกำรแก้ปัญหำกำรสอนอ่ำนจับใจควำมโดยใช้
แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษำปีท่ี 5 เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักคิด วิเครำะห์ และเข้ำใจเร่ืองรำวที่อ่ำนได้ถูกต้อง สำมำรถจับ
ใจควำมของเรือ่ งท่อี ำ่ นไดร้ วดเรว็ จึงสร้ำงและพฒั นำแบบฝกึ ทักษะกำรอำ่ นจับใจควำมดว้ ยวธิ กี ำรสอนแบบ
SQ4R เพื่อพัฒนำกำรอำ่ น สำหรบั นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี 5 ข้นึ
2. เป็นวิธีกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ โดยใช้วิธีกำรจัดกำรเรียนรู้แบบ SQ4R ซ่ึงมีท้ังหมด 6 ข้ันตอน
ดงั นี้
ขน้ั ตอนท่ี 1 S (Survey) กำรอำ่ นอยำ่ งคร่ำวๆ เพื่อหำจดุ สำคญั ของเรื่อง
ข้ันตอนท่ี 2 Q (Question) กำรต้ังคำถำม
ขัน้ ตอนท่ี 3 R1 (Read) กำรอำ่ นข้อควำมซ้ำอยำ่ งละเอียดเพ่ือหำคำตอบ
ขั้นตอนที่ 4 R2 (Record) กำรจดบนั ทกึ ตำมควำมเข้ำใจของตนเอง
ขน้ั ตอนท่ี 5 R3 (Recite) กำรเขียนสรุป โดยใช้ภำษำของตนเอง
ข้ันตอนท่ี 6 R4 (Reflect) กำรวิเครำะห์ วิจำรณ์ ให้ผู้เรียนในกลุ่มทุกคนร่วมกัน
วิเครำะห์ วิจำรณ์ แล้วแสดงควำมคิดเห็นในประเด็นที่ผู้เรียนมีควำมคิดเห็นสอดคล้องหรือควำมคิดเห็นไม่
สอดคลอ้ ง และนำมำถกในแต่ละประเด็น
- รูปแบบของนวตั กรรมมคี วามถกู ต้องครบถ้วนตามประเภทของนวตั กรรม
เป็นแบบฝึกทกั ษะกำรอำ่ นจับใจควำมด้วยวธิ กี ำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอำ่ น สำหรับนักเรียน
ช้ันประถมศึกษำปีที่ 5 มีควำมสอดคล้องกับจุดเน้นของกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียน ตำมหลักสูตรแกนกลำง
กำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน 2551 และกำรปฏิรูปกำรศึกษำ ในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ.2552-2561) โดยมี ควำม
สอดคล้องคือ ตรงกับจุดเนน้ ด้ำนกำรพัฒนำทักษะควำมสำมำรถของผเู้ รียน ในระดบั ชน้ั ประถมศึกษำ ต้องเป็น
ผทู้ ่แี สวงหำควำมรู้ เพ่อื แกป้ ัญหำ มที กั ษะกำรคดิ กำรแกป้ ญั หำอย่ำงสร้ำงสรรค์ มีทักษะชวี ิต ซง่ึ สอดคล้องกับ
คุณลักษณะของผู้เรียนตำมชว่ งวยั คือ มุ่งม่ันในกำรศึกษำ และกำรท ำงำน อยู่อย่ำงพอเพียง ใฝ่เรียนรู้ และใฝ่
ดี ดังน้ันจึงกล่ำวได้ว่ำแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน
สำหรับนกั เรยี นช้ันประถมศึกษำปที ี่ 5 เป็นนวัตกรรม ทส่ี อดคล้องกับจุดเน้นกำรพฒั นำคุณภำพผเู้ รียนท่ีสำคัญ
ในกลุ่มสำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย
- นวตั กรรมมคี วำมสอดคลอ้ งกบั ควำมร้คู วำมสำมำรถและกำรปฏิบตั หิ นำ้ ที่
นวัตกรรมแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธกี ำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี 5 เป็นนวัตกรรมท่ีสอดคล้อง กับควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรปฏิบัติหน้ำที่
กล่ำวคือ ผู้จัดทำมีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรจัดทำแบบฝึกทักษะ กำรจัดรูปแบบกำรพิมพ์ จัดรูปเล่ม
19
นวัตกรรมกำรนำเสนอนำ่ สนใจ มีกำรจดั เรียงลำดบั ควำมยำกงำ่ ยอย่ำงเปน็ ขนั้ ตอน กล่ำวคือในชดุ แบบฝึก ได้ มี
เน้ือหำตำมสำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตัวช้ีวัด ของรำยวิชำภำษำไทยระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 5 โดย
เริ่มจำกชดุ ที่ 1 บทกล่อมเดก็ และบทรอ้ งเลน่ ชุดที่ 2 เพลง ชดุ ท่ี 3 นิทำน ชดุ ท่ี 4 เรื่องส้นั
ดังน้ันเน้ือหำในชุดแบบฝึกที่นำมำต้ังแต่ชุดฝึกท่ี 1 ถึงชุดแบบฝึกท่ี 4 จึงมีควำมสัมพันธ์เรียงลำดับ
อย่ำงชัดเจน ส่งผลให้นักเรียนเข้ำใจในกำรเรียนรู้ นักเรียนสำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้จริง
สำมำรถทำแบบทดสอบตำมตัวชี้วัดและมำตฐำนกำรเรียนรู้ ได้อย่ำงถูกต้อง รวดเร็ว เช่ือมโยงควำมรู้สู่กำร
จัดทำแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษำปที ี่ 5 ได้อยำ่ งดเี ยย่ี ม
ตัวชว้ี ัดที่ 2 คณุ ภาพขององค์ประกอบในนวตั กรรม
กำรจัดทำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอื่ กำรเรียนกำรสอนวิชำภำษำไทยพนื้ ฐำน โดยใช้นวตั กรรม แบบ
ฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมดว้ ยวิธกี ำรสอนแบบ SQ4R เพื่อพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษำ
ปีที่ 5 ครงั้ นี้ ผูส้ อนมวี ตั ถปุ ระสงค์ เปำ้ หมำยทส่ี อดคล้องกับสภำพปัญหำควำมต้องกำร พฒั นำควำมสมบูรณ์ใน
เนอ้ื หำสำระของนวตั กรรม และควำมถูกต้องตำมหลกั วชิ ำกำร ดงั น้ี
1. สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนา
ภำษำเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมประจำชำติ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในกำรสื่อควำมหมำยและช่วย
สร้ำงควำมเข้ำใจอันดีระหว่ำงคนในชำติ ภำษำไทยมีควำมสำคัญทำงด้ำนกำรถ่ำยทอดวัฒนธรรม ด้ำนกำร
รำยงำนเล่ำเรียน ด้ำนกำรติดต่อสื่อสำรและด้ำนกำรปกครอง ดังที่กรมวิชำกำร (2546 : 7) ให้ควำมหมำย
ของกำรอ่ำนว่ำ กำรอ่ำน หมำยถึง กำรแปลควำมหมำยของอักษรที่อ่ำนออกมำเป็นควำมรู้ ควำมคิด และ
เกิดควำมเข้ำใจเรื่องรำวที่อ่ำนตรงกับเร่ืองรำวท่ีผู้เขียนเขียน ผู้อ่ำนสำมำรถนำควำมรู้ ควำมคิด หรือสำระ
จำกเรื่องรำวที่อำ่ นไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้
จำกจุดประสงค์ของหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 จะเห็นได้ว่ำ
ภำษำไทยเป็นกลุ่มทักษะทนี่ ักเรียนจะนำไปใชป้ ระโยชน์ต่ำงๆ ในกำรสื่อสำร ดังนน้ั ภำษำไทย จึงมคี วำมสำคัญ
กบั นกั เรียนทุกคน ครผู สู้ อนต้องจดั กำรเรยี นกำรสอนอยำ่ งมีประสิทธิภำพ โดยให้นักเรียนสำมำรถใช้ทักษะทั้ง
4 ดำ้ น คือ ฟงั พดู อ่ำนและเขียนได้อย่ำงถูกต้อง ท้ังน้ีกำรอำ่ นถือเป็นทักษะทำงภำษำด้ำนหน่ึงทีส่ ำคัญต่อกำร
เรียนรู้ของนักเรียน กำรแสวงหำควำมรู้ต่ำงๆ ต้องใช้ทักษะกำรอ่ำนทั้งน้ัน เพรำะภำษำที่ได้รับจำกกำรอ่ำน
เป็นพื้นฐำนในกำรใชภ้ ำษำท้ังสำนวนกำรพูดและกำรเขยี น
ทำให้สำมำรถบันทึกข้อควำม ย่อเรื่อง เรียบเรียงข้อควำมได้ดีข้ึน นั่นคือกำรอ่ำนเป็นเคร่ืองมือสำคัญ
ในกำรพัฒนำควำมคิด ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใช้กระบวนกำรคิดอันจะนำไปใช้ ในกำรเขียนและกำรพูด แสดง
ให้เห็นว่ำกำรอ่ำนเป็นทักษะที่จำเป็นอย่ำงยิ่งต่อกำรรำยงำนและกำรดำรงชีวิตประจำวัน ในกำรจัดกำรเรียน
กำรสอนในระดับประถมศึกษำ อำจกล่ำวได้ว่ำกำรอ่ำนเป็นหัวใจหลักของกิจกรรมทั้งหลำย ซ่ึงสอดคล้องกับ
แนวคิดของ ทัศนีย์ ศุภเมธี (2544 : 79) กล่ำวว่ำ กำรอ่ำน คือ กำรแปลสัญลักษณ์ท่ีเขียนหรือพิมพ์ให้มี
ควำมหมำยออกเป็นสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ในภำษำไทย คือ คำ ข้อควำม จึงเป็นเรื่องสำคัญมำกในกำรสอน
อำ่ นแกเ่ ดก็ แรกเรียน นกั เรียนจะต้องเขำ้ ใจควำมหมำยและนำไปใช้ในกำรฟัง พดู และเขยี นได้อย่ำงถูกต้อง
จำกประสบกำรณก์ ำรสอนภำษำไทยของผ้ศู ึกษำในกำรสอนชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 5 พบว่ำ นักเรยี นมี
ปัญหำในกำรอ่ำนจับใจควำม ซึ่งเป็นปัญหำในกำรเรียนวิชำภำษำไทยเป็นอย่ำงมำกจำกสภำพปัญหำทักษะ
กำรอ่ำน ปัจจุบันนี้กำรสอนอ่ำนจับใจควำมยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้อันเนื่องมำจำกหลำยสำเหตุ
ด้วยกัน คือ นักเรียนขำดควำมเข้ำใจในส่ิงที่อ่ำน จำเรื่องที่อ่ำนไม่ได้ เข้ำใจช้ำ หรือจับใจควำมสำคัญของ
เร่ืองท่ีอ่ำนไม่ได้ อีกสำเหตุหนึ่งก็คือ ครูไม่จัดกิจกรรมและสื่อท่ีจะกระตุ้นให้นักเรียนอยำกอ่ำน เพรำะ
20
กิจกรรมและส่ือที่ดีต้องสื่อควำมหมำยได้จริงในชีวิตประจำวัน ต้องเปิดโอกำสให้นักเรียนได้คิดวิเครำะห์
วจิ ำรณเ์ ร่ืองท่ีอำ่ น
จำกควำมสำคัญและปัญหำดังกล่ำว ผู้ศึกษำเห็นว่ำกำรแก้ปัญหำกำรสอนอ่ำนจับใจควำมโดยใช้ชุด
แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักคิด วิเครำะห์ และเข้ำใจเร่ืองรำวที่อ่ำนได้ถูกต้อง
สำมำรถจบั ใจควำมของเร่ืองที่อำ่ นไดร้ วดเร็ว ผศู้ ึกษำจึงสนใจทจ่ี ะสร้ำงและพฒั นำชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับ
ใจควำมของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษำปีที่ 5 ขึ้นนอกจำกน้ี ปยิ วรรณ ศิรริ ตั น์ (2543 : 2) ไดก้ ลำ่ ววำ่ ทกั ษะ
กำรอ่ำนเป็นทักษะท่ีควรได้รับกำรส่งเสริมเป็นอย่ำงมำก เพรำะเป็นทักษะท่ีคงอยู่ในตัวนักเรียนได้นำนที่สุด
ผู้เรียนมีโอกำสได้ใช้นำนที่สุด และใช้ได้แม้ว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำไปแล้ว ทักษะกำรอ่ำนเป็นทักษะที่ช่วยให้
ผู้เรียนสำมำรถศึกษำหำควำมรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองตลอดเวลำ และยังเป็นทักษะที่ต้องใช้มำกที่สุดใน
ชีวิตประจำวัน ท้ังในด้ำนกำรศึกษำ กำรทำงำน กำรอ่ำน จึงจะทำให้ชีวิตเกิดกำรพัฒนำ เพรำะกำรอ่ำน
ช่วยให้นักเรียนพัฒนำสมอง ควำมคิด กำรอ่ำนเป็นกระบวนกำรในกำรหำควำมหมำยและทำควำมเข้ำใจกับ
บทอ่ำนและเปน็ กระบวนกำรทตี่ อ้ งคดิ ตลอดเวลำ
จงึ กลำ่ วได้วำ่ กำรอ่ำนเป็นทกั ษะสำคัญในบรรดำทกั ษะท้งั ส่ีคือ กำรฟัง กำรพดู กำรอ่ำน
และกำรเขียน โดยเฉพำะกำรอ่ำนจับใจควำมท่ีมีควำมสำคัญต่อกำรเรียนกำรสอนตำมขั้นตอนที่
แนะนำไว้ในเอกสำรหลักสูตร ก็ยังพบปัญหำหลำยปัญหำ เท่ำท่ีผู้ศึกษำได้รวบรวมจำกประสบกำรณ์ คือ
นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบกำรอ่ำน อ่ำนแล้วจับใจควำมสำคัญไม่ได้ ไม่สำมำรถสรุปประเด็นได้ แยกควำมรู้
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นไม่ได้ ไม่สำมำรถแยกใจควำมสำคัญและใจควำมรองได้ ซึ่งเป็นปัญหำท่ีผู้ศึกษำต้อง
แก้ไข และพฒั นำกำรอ่ำนจบั ใจควำมใหด้ ีย่งิ ขึ้น
2. วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย
1)เพอื่ สร้ำงและหำประสิทธภิ ำพของชุด แบบฝกึ ทกั ษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R
เพื่อพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย โรงเรียนไทยรัฐ
วิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) ตำมเกณฑ์มำตรฐำน 80/80 2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี 5 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) ก่อนและหลังกำรใช้ชุดแบบฝึก
ทักษะกำรอำ่ นจับใจควำมดว้ ยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่อื พฒั นำกำรอำ่ น สำหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่
5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย 3) เพ่ือศึกษำดัชนีประสิทธิผลกำรเรียนรู้ด้วยชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับ
ใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 5 กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้ภำษำไทย 4) เพื่อศึกษำควำมพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี 5 ที่มีต่อชุดแบบฝึกทักษะกำร
อ่ำนจับใจควำมดว้ ยวธิ ีกำรสอนแบบ SQ4R เพื่อพฒั นำกำรอ่ำน สำหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 5
3. คุณภาพความสมบูรณใ์ นเนือ้ หาสาระของนวตั กรรม และความถกู ต้องตามหลักวชิ าการ
3.1 ลักษณะของผลงำนเปน็ ชุดแบบฝกึ ทกั ษะกำรอ่ำนจับใจควำม หมำยถึง สือ่ กำรเรียนกำรสอนที่ผู้
ศึกษำสร้ำงข้นึ โดยมีกำรวิเครำะหส์ ำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย กำรอ่ำนจับใจควำม ไดแ้ ก่ ชอื่ ชดุ ฝกึ คำชีแ้ จง เป็น
ส่วนที่อธิบำยกำรใช้แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมเพ่ือให้บรรลุจุดมุ่งหมำยตำมที่วำงไว้ จุดประสงค์ของ
แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม เป็นส่วนท่ีระบุเป้ำหมำยที่นักเรียนต้องทำในแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับ
ใจควำม
3.2 เป็นนวัตกรรมที่ผ่ำนกำรตรวจสอบจำกผู้เช่ียวชำญด้ำนเน้ือหำ และรูปแบบ อย่ำงถูกต้องตำม
กระบวนกำรของกำรสร้ำงนวัตกรรม โดยควำมสมบูรณ์ของเนื้อหำในนวัตกรรมเป็นไปตำมกระบวนกำรกำร
ของกำร พฒั นำผู้เรยี น
21
3.3 ผู้สอน ได้พัฒนำนวัตกรรมท่ีใช้ให้น่ำสนใจสำหรับผู้เรียนและผู้สนใจท่ัวไปและนำไปใช้ในเป็นใน
กำรสร้ำงชดุ แบบฝกึ ทักษะกำรอำ่ นจับใจควำม กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย ให้มปี ระสิทธภิ ำพยิ่งขนึ้
ตวั ช้วี ดั ท่ี 3 การออกแบบนวตั กรรม
3.1 มีแนวคิดทฤษฎรี องรับอย่างสมเหตสุ มผลสามารถอ้างองิ ได้
กำรออกแบบนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือกำรเรียนกำรสอนชดุ แบบฝกึ ทักษะกำรอำ่ นจับใจควำมด้วย
วิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทย โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปรำจีนบุรี สำนักงำนเขต
พื้นท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำปรำจีนบรุ ี เขต 2 มีแนวคิดทฤษฎรี องรบั อยำ่ งมเี หตผุ ล มีกำรพัฒนำ และสำมำรถ
อำ้ งอิงได้ ดงั น้ี
ความหมายของการอา่ นจบั ใจความ
สุนนั ทำ ม่ันเศรษฐวิทย์ (2544 : 83) ได้ให้ควำมหมำยกำรอ่ำนจบั ใจควำมไว้วำ่ เป็น
ควำมชำนำญหรอื เช่ยี วชำญในกำรอำ่ นทผี่ ู้อ่ำนสำมำรถจับใจควำมเรื่องที่อ่ำนได้ถูกต้อง จะต้องมี
กำรฝึกฝน ทำควำมคุ้นเคยกับสัญลักษณ์ท่ีผู้เขียนกำหนดขึ้น ผู้อ่ำนจะต้องทำควำมเข้ำใจควำมหมำยแล้วใช้
ควำมคิดเห็นของตนช่วยตดั สนิ ในกำรเลือกใจควำมสำคญั
สุปรำณี พัดทอง (2545 : 65) ได้ให้ควำมหมำยกำรอ่ำนจับใจควำมไว้ว่ำ เป็นควำมคิดสำคัญอันเปน็
แก่นสำรหรือหัวใจของเร่ืองท่ีผู้เขียนมุ่งสื่อมำให้ผู้อ่ำนได้ทรำบ ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงและควำมคิดเห็น หรืออย่ำง
ใดอยำ่ งหนง่ึ กไ็ ด้
กรมวิชำกำร (2545 : 188) กล่ำวว่ำ กำรอ่ำนจับใจควำม หมำยถึง กำรอ่ำนที่มุ่งค้นหำสำระของเรื่อง
หรอื ของหนังสือแต่ละเล่มที่เปน็ ส่วนใจควำมสำคัญ และส่วนขยำยใจควำมสำคัญของเรื่อง
จดุ มงุ่ หมายของการอา่ นจับใจความ
สปุ รำณี พัดทอง (2545 : 44) กล่ำวถึงจุดม่งุ หมำยของกำรอำ่ นจับใจควำมไว้ดงั น้ี
1. เพื่อให้นักเรียนอ่ำนและจับใจควำมสำคัญได้ ไม่ใช่อ่ำนเพ่ือให้เรียนจบช่ัวโมงไปเท่ำน้ัน เพ่ือให้
กิจกรรมกำรอ่ำนมีควำมหมำย กำรอ่ำนเพื่อควำมเข้ำใจ นิยมกำรอ่ำนจำกเอกสำรกระดำษแบบฝึกหัดที่ครู
เตรยี มมำโดยเฉพำะ ไมค่ วรอำ่ นจำกหนงั สอื ท้งั เลม่ ท่ีมคี วำมหนำมำก ควรมเี วลำ
อ่ำนเฉพำะและทำแบบฝึกหัดไปในชว่ั โมงนนั้ ๆ
2. ใหผ้ ้อู ่ำนสำมำรถบอกรำยละเอียดของเรื่องท่ีอ่ำนว่ำมสี ำระอะไรบำ้ ง โดยให้เลำ่ ให้ทรำบ
ให้รำยงำนได้อยำ่ งชดั เจนท่สี ุดเท่ำทจี่ ะทำได้ จงึ จะแสดงว่ำผู้อำ่ นมคี วำมเข้ำใจเรอ่ื งทีอ่ ำ่ น
3. อ่ำนเพอ่ื ปฏิบัตติ ำมคำสงั่ หรอื คำแนะนำ
4. ฝึกกำรใช้สำยตำ กำรอ่ำนเพ่ือควำมเข้ำใจนิยมฝึกทักษะในกำรอ่ำนและตอบคำถำมได้ถูกต้อง
แม่นยำ
5. อ่ำนเพ่อื ใหส้ รุปหรอื ย่อได้วำ่ เร่ืองที่อ่ำนนน้ั เก่ียวกับอะไร แมจ้ ะไมล่ ะเอียดแค่ให้สำมำรถบอกได้บ้ำง
แมจ้ ะไมค่ รบบรบิ รู ณ์ก็ตำม
6. อำ่ นแล้วสำมำรถคำดกำรณ์ ทำนำยว่ำเรื่องที่อ่ำนนนั้ ลงเอยไปในรูปใด
7. อ่ำนและทำรำยงำนย่อได้ โดยเฉพำะกำรอำ่ นประเภทนีต้ ้องกำรฝึกกำรทำโน้ตยอ่
8. อ่ำนเพอ่ื หำควำมจริงและแสดงขอ้ คดิ เห็นประกอบได้
ประเภทของการอา่ นจับใจความ
สุนนั ทำ ม่ันเศรษฐวิทย์ (2544: 25 – 26) กล่ำววำ่ กำรอ่ำนเพอ่ื จับใจควำมของเร่ืองท่ีอ่ำนนั้น
มี 2 ลกั ษณะคอื
22
1. กำรอ่ำนเพอื่ จบั ใจควำมสว่ นรวม
2. กำรอำ่ นเพ่อื จบั ใจควำมสำคญั
กำรอ่ำนเพื่อจับใจควำมส่วนรวม เป็นกำรทำควำมเข้ำใจเน้ือหำท่ีสำคัญของข้อควำมหรือหนังสือ
เพ่อื ใหม้ องเห็นควำมสัมพนั ธ์ของรำยละเอียดต่ำงๆ และเข้ำใจจดุ มุ่งหมำยสำคัญของข้อควำมหรือหนังสือน้ัน ๆ
ได้ กำรอ่ำนเพอ่ื จบั ใจควำมส่วนรวมทำได้ดว้ ยกำรพลิกดูและกวำดสำยตำผำ่ นหัวข้อตำ่ งๆ เพอ่ื ใหท้ รำบว่ำแต่ละ
หัวข้อมีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร และมีกำรดำเนินไปสู่จุดหมำยปลำยทำงด้วยวิธีกำรเชื่อมโยงเนื้อหำและ
แนวควำมคิด ตลอดจนข้อมลู ตำ่ งๆได้เป็นอยำ่ งดี
ส่วนกำรอ่ำนเพื่อจับใจควำมสำคัญ เป็นกำรอ่ำนเพื่อทำควำมเข้ำใจ ใจควำมสำคัญของข้อควำม ผู้อ่ำนที่
ชำนำญอำจจะไม่จำเป็นต้องอ่ำนทุกตัวอักษร ในขณะที่ผู้อ่ำนที่มีประสบกำรณ์น้อย ต้องอ่ำนอย่ำงพินิจ
พิจำรณำจึงจะสำมำรถจบั ใจควำมของเน้ือเร่อื งได้ ใจควำมสำคัญน้ันมิได้มีควำมหมำยจำกัดเพียงแค่เนื้อเร่ืองที่
สำคัญเท่ำนั้น นักอ่ำนท่ีดีอำจจะเก็บสำระสำคัญของหนังสือ เล่มหนึ่งหรือบทควำมหนึ่ง ๆ ได้หลำยแง่ เช่น
เก็บควำมรู้ เก็บเนอื้ เรือ่ งที่สำคญั เก็บแนวควำมคดิ
องค์ประกอบของการอา่ นจับใจความ
กำรอ่ำนจับใจควำมนบั วำ่ เป็นจุดประสงค์หรอื หวั ใจของกำรอำ่ น เพรำะในกำรอ่ำนถึงแม้ว่ำ
จะอ่ำนรวดเร็วเพียงใดก็ตำม ถ้ำผู้อ่ำนไม่เข้ำใจสิง่ ท่ีตนอ่ำนหรือไม่สำมำรถจับใจควำมสำคญั ของสิ่งที่ตนอ่ำนได้
แลว้ ก็กลำ่ วได้ว่ำ กำรอ่ำนนัน้ ไม่มีประสทิ ธิภำพ องค์ประกอบที่กอ่ ใหเ้ กดิ ควำมเขำ้ ใจใน
กำรอ่ำน เพอื่ จบั ใจควำมของเรอื่ งที่อำ่ นได้น้นั มีผู้เสนอแนวควำมคิดไว้ สรปุ ไดด้ ังนี้
สุนนั ทำ มนั่ เศรษฐวทิ ย์ (2544 : 7 – 8) กลำ่ วว่ำ ควำมเขำ้ ใจของกำรอำ่ นแต่ละบคุ คลจะสงู
หรอื ตำ่ ขน้ึ อยู่กับองค์ประกอบหลำย ๆ ประกำร เชน่
1. ชนิดของควำมเข้ำใจในกำรอ่ำน บุคคลจะเข้ำใจส่ิงที่อ่ำนแตกต่ำงกันออกไปตำมประสบกำรณ์เดมิ
ของตน และควำมคดิ อนั เปน็ วัตถปุ ระสงคข์ องกำรอ่ำนที่เกดิ ข้นึ ในขณะน้วี ัตถุประสงค์ของกำรอ่ำน มีดงั นี้
1.1 อ่ำนเพื่อเกบ็ ใจควำมสำคัญ
1.2 อำ่ นเพ่ือศึกษำรำยละเอียดท่ีสำคญั
1.3 อ่ำนเพ่อื ศึกษำคำแนะนำตำ่ ง ๆ เชน่ กำรใช้เคร่ืองมือ เป็นตน้
1.4 อำ่ นเพื่อคำดกำรณ์ว่ำเรือ่ งจะลงเอยอยำ่ งไร
1.5 อำ่ นเพือ่ ศกึ ษำคุณคำ่ ของสิง่ ทีอ่ ่ำน
2. พิสยั ของควำมเข้ำใจในกำรอำ่ น เด็กจะอำ่ นไดด้ ขี ้นึ และถูกตอ้ งเพียงใดข้ึนอยกู่ บั พิสยั
ของหมคู่ ำท่เี ดก็ เข้ำใจได้ และข้ึนอยูก่ ับควำมสำมำรถทำงสตปิ ญั ญำ ชนดิ ของประสบกำรณ์เก่ำและ
ควำมยำกงำ่ ยของข้อควำมทีเ่ ด็กอ่ำนด้วย
3. ควำมถูกต้องของควำมเข้ำใจในกำรอ่ำน ช่วยให้เด็กเข้ำใจเร่ืองรำวท่ีอ่ำนมำกน้อยต่ำงกัน ควำม
ถูกต้องในกำรเขำ้ ใจของเด็กย่อมแตกตำ่ งกนั มำกนอ้ ยตำมประสบกำรณ์และควำมยำกง่ำย
ของข้อควำมนน้ั ๆ
4. ระดับควำมเข้ำใจในกำรอ่ำน ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบหลำยประกำรด้วยกันเป็นต้นว่ำสติปัญญำ
ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน ควำมเข้ำใจศัพท์ทอ่ี ำ่ น และวธิ กี ำรพเิ ศษเฉพำะตวั ของผู้อ่ำน
แต่ละคน รวมท้ังประสบกำรณ์เดิมของแตล่ ะคน
5. ควำมเรว็ ของควำมเข้ำใจในกำรอำ่ น ต้องอำศยั ควำมเขำ้ ใจในคำศัพท์ควำมสำมำรถ
ในกำรนึกภำพส่งิ ท่ีอ่ำน ควำมยำกงำ่ ยของข้อควำมและสิง่ อ่ืน ๆ
กำรอ่ำนทจี่ ะเขำ้ ใจเรอ่ื งและจบั ใจควำมสำคัญไดน้ น้ั ต้องสบื เนื่องมำจำกกำรอำ่ นให้เกดิ ทักษะ
23
5 ขั้น คือ อ่ำนออก อ่ำนคล่อง อ่ำนเข้ำใจเรื่อง อ่ำนแยกแยะชนิดของข้อควำม อ่ำนแล้วตีควำมหรือวินิจฉัย
สำระได้ ขน้ั น้เี ปน็ ขน้ั ที่จำเปน็ ทสี่ ุดในกำรอ่ำน ซึ่งผ้อู ่ำนต้องเข้ำใจวำ่ ผ้เู ขยี นไดส้ ่งสำระอะไรมำใหผ้ อู้ ่ำนบ้ำง โดย
ผอู้ ่ำนจะตอ้ งพิจำรณำเอง
สรปุ ไดว้ ่ำ องค์ประกอบของกำรอ่ำนจบั ใจควำม จะต้องมีองค์ประกอบหลำยประกำรที่ต้องฝึกฝนจน
เกิดทกั ษะ จึงจะสำมำรถอ่ำนจบั ใจควำมได้ สรุปควำม ตคี วำม หรอื เขำ้ ใจในส่ิงท่อี ่ำนได้
อยำ่ งถอ่ งแท้ ดังนัน้ ในกำรสอนอำ่ นผู้อำ่ นควรคำนงึ ถึงควำมสำคัญขององคป์ ระกอบเหลำ่ นี้ จงึ จะทำ
ใหก้ ำรอำ่ นบรรลุจดุ ประสงค์
หลกั สำคัญในกำรสอนอ่ำนจบั ใจควำม
ในกำรสอนทกั ษะกำรอำ่ นเพ่ือจับใจควำม ครตู อ้ งพยำยำมสร้ำงควำมสนใจใหน้ ักเรยี น
เห็นคุณคำ่ และควำมสำคัญของกำรอ่ำนเพ่ือจบั ใจควำม โดยฝึกใหน้ ักเรียนอ่ำนเพอ่ื ควำมเข้ำใจ
ในเร่ืองรำวทีก่ ำหนด โดยครูตง้ั คำถำมให้นกั เรียนตอบเปน็ ตอน ๆ ตำมท้องเร่ืองนนั้ ๆ
กรมวชิ ำกำร (2546 : 189 - 190) กำรอำ่ นจับใจควำมใหบ้ รรลุจดุ ประสงค์มแี นวทำงดังนี้
1.ตั้งจุดมุ่งหมำยในกำรอ่ำนให้ชัดเจน เช่น อ่ำนเพื่อหำควำมรู้ เพื่อควำมเพลิดเพลิน หรือเพื่อบอก
เจตนำของผู้เขยี น เพรำะจะเป็นแนวทำงใหก้ ำหนดกำรอำ่ นไดอ้ ย่ำงเหมำะสม และ
จับใจควำมหรอื คำตอบได้รวดเรว็ ยงิ่ ขน้ึ
2.สำรวจส่วนประกอบของหนังสืออย่ำงคร่ำว ๆ เช่น ช่ือเรื่อง คำนำ สำรบัญ คำช้ีแจงกำรใช้
หนังสือ ภำคผนวก ฯลฯ เพรำะสว่ นประกอบของหนังสือจะทำใหเ้ กิดควำมเข้ำใจเก่ียวกับเรื่องหรือหนังสือที่
อ่ำนไดก้ วำ้ งขวำงและรวดเรว็
3.ทำควำมเข้ำใจลักษณะของหนังสือว่ำประเภทใด เชน่ สำรคดี ตำรำ บทควำม ฯลฯ ซ่ึงจะช่วยให้
มแี นวทำงในกำรอำ่ นจับใจควำมสำคัญได้ง่ำย
4.ใช้ควำมสำมำรถทำงภำษำในด้ำนกำรแปลควำมหมำยของคำ ประโยค และข้อควำมต่ำง ๆ อย่ำง
ถกู ตอ้ งรวดเร็ว
5.ใช้ประสบกำรณ์หรือภูมิหลังเก่ียวกับเร่ืองที่อ่ำนมำประกอบ จะทำให้เข้ำใจและจับใจควำมที่อ่ำนได้
งำ่ ยและรวดเร็วยง่ิ ขึ้น
การวัดความสามารถในการอ่านจับใจความสาคญั
รัตนำกร สำยคำทอน (2546 : 40) ได้กล่ำวถึงกำรวัดควำมสำมำรถในกำรอ่ำนจับใจควำม
สำคญั เพอ่ื ให้ได้ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี นกำหนดไว้ 3 ด้ำนดงั น้ีคอื
1. ด้ำนสติปัญญำ สิ่งที่ต้องวัดมี 6 ด้ำน คือ ควำมรู้ ควำมจำ ควำมเข้ำใจ กำรนำไปใช้ใน
กำรวิเครำะห์ สงั เครำะหแ์ ละกำรประเมินผล
2. ด้ำนทักษะ ได้แก่ กำรออกเสียง และกำรอ่ำนในใจ แล้วสำมำรถจับใจควำมสำคัญของ
สิง่ ท่กี ำหนดได้
3. ดำ้ นเจตคติ ใช้กำรสงั เกตพฤตกิ รรมกำรเรียน กำรแสดงออกถงึ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
กำรสนทนำ สัมภำษณ์ และแบบประเมินควำมสนใจ กำรยอมรบั ในเรอ่ื งกำรอ่ำนจับใจควำมสำคัญ
สรุปได้ว่ำ กำรวัดควำมสำมำรถในกำรอ่ำนจับใจควำมสำคัญ หมำยถึง กำรบอกควำมหมำย
ของคำศัพท์ กำรอ่ำนในใจ และบอกรำยละเอียดของเร่ือง ระบุควำมสำคัญของเรื่อง และสรุปสำระสำคัญของ
ข้อควำม และเรือ่ ง
24
3.2 นวตั กรรมมคี วามสอดคล้องตามแนวคดิ ทฤษฎีทก่ี าหนดดงั นี้
3.2.1 ความสอดคลอ้ งกบั แนวคิดทฤษฎกี ารอ่านจบั ใจความ และการสอนแบบSQ4R
ความหมายของการอ่านจบั ใจความ
กรมวิชำกำร (2545 : 188) กล่ำวว่ำ กำรอ่ำนจับใจควำม หมำยถึง กำรอ่ำนที่มุ่งค้นหำสำระ
ของเรื่องหรือของหนงั สอื แตล่ ะเล่มทเี่ ป็นส่วนใจควำมสำคัญ และสว่ นขยำยใจควำมสำคัญของเรอื่ ง
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2545 : 120) กล่ำวว่ำ กำรอ่ำนจับใจควำม หมำยถึง กำรแปล
ควำมหมำยของอักษรออกมำเป็นควำมคดิ ซึง่ ไมไ่ ด้พดู ออกมำเป็นเสียงและนำควำมคดิ นั้นไปใช้ประโยชน์
สรุปได้ว่ำ กำรอ่ำนจับใจควำม หมำยถึง กำรอ่ำนเพ่ือทำควำมเข้ำใจควำมสำคัญของข้อควำม
และกำรท่ีผู้อ่ำนแปลควำม หรือทำควำมเข้ำใจประเด็นของเรอ่ื งหรือข้อควำมที่อ่ำน สำมำรถจับสำระของเรื่อง
และเข้ำใจจุดหมำยสำคัญของเรื่องนั้นๆ จับใจควำมสำคัญและแนวคิดด้วยกระบวนกำรคิดวิเครำะห์ และนำ
ควำมรู้ควำมคิดท่ไี ดจ้ ำกกำรอำ่ นไปประยกุ ตใ์ ช้ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด
การสอนแบบSQ4R
วิธีกำรสอนโดยใช้รูปแบบกำรสอนแบบ SQ4R เป็นกำรสอนเพื่อกำรส่ือสำร ถึงแม้เป็นกำร
สอนเน้นทักษะกำรอ่ำน แต่ผู้สอนจะต้องสอนแบบภำษำเพ่ือกำรสื่อสำร คือ ประกอบด้วย กำรฟัง พูด อ่ำน
และเขียน กิจกรรมกำรสอนจะเร่ิมต้นจำกกำรนำเข้ำสู่บทเรียน ซ่ึงเป็นกำรเตรียมควำมพร้อมเสียก่อนจึงเข้ำสู่
ขั้นตอนวธิ ีกำรสอนแบบ SQ4R ( เมขลำ ลือโสภำ, 2555 )
1.ข้ันนำเข้ำสู่บทเรียน เป็นข้ันท่ีจัดทำบรรยำกำศให้รู้สึกสบำย ไม่เคร่งเครียด เสนอสิ่งเร้ำ
เพ่ือให้ผู้เรียนพร้อมท่ีจะเรียนบทเรียนใหม่ กำรเสนอเนื้อหำใหม่ ผู้สอนอำจกำหนดให้ผู้เรียนเตรียมมำเองหรือ
ผสู้ อนจดั เตรียมมำใหก้ ไ็ ด้
2. ขัน้ สอน ซ่ึงกระทำกำรสอนตำมระบบของวธิ ีกำรสอนแบบ SQ4R มี 6 ขน้ั ตอน คอื
2.1 Survey (S) อ่ำนอย่ำงคร่ำว ๆ เพ่ือหำจุดสำคัญของเร่ือง กำรอ่ำนในขั้นน้ีไม่
ควรใช้เวลำนำนเกินไป กำรอ่ำนคร่ำว ๆ จะชว่ ยใหผ่อ้ ำู้ นเรยี บเรียงแนวคดิ ตำ่ งได้
2.2 Question (Q) กำรตั้งคำถำม จะทำให้ผู้อ่ำนมีควำมอยำกรู้อยำกเห็น ดังนี้จึง
เพิ่มควำมเข้ำใจในกำรอ่ำนมำกยิ่งข้ึน คำถำมจะช่วยให้ผู้อ่ำนระลึกถึงควำมรู้เดิมท่ีมีอยู่เกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่ำน
คำถำมจะชว่ ยใหผ้ อู้ ่ำนเข้ำใจเรื่องได้เร็ว และท่ีสำคัญกค็ อื คำถำมจะตอ้ งสมั พันธ์กับเรื่องรำวท่ีกำลงั อ่ำนในเวลำ
เดียวกันก็ควรจะต้องถำมตัวเองดูว่ำใจควำมสำคัญ ท่ีผ่เขียนกำลังพูดถึงอยู่น้ันคืออะไร ทำไมจึงสำคัญ สำคัญ
อย่ำงไรและเก่ียวข้องกับอะไรหรือใครบ้ำง ตอนไหนและเม่ือไร อย่ำงไรก็ตำมควรพยำยำมต้ังคำถำมถำมให้ได้
เพรำะจะช่วยให้กำรอ่ำนในขั้นตอนต่อไปเป็นไปอย่ำงมีจุดมุ่งหมำยและสำมำรถจับประเด็นสำคัญได้อย่ำง
ถูกต้องไมผ่ ดิ พลำด
2.3 Read (R) กำรอ่ำนข้อควำมในบทหรือตอนนั้นๆ ซ้ำ อย่ำงละเอียดและใน
ขณะเดียวกัน ก็ค้นหำคำตอบสำหรับคำถำมท่ีได้ตั้งไว้ ในขั้นนี้จะเป็นกำรอ่ำนเพ่ือจับใจควำมและจับประเด็น
สำคญั ๆ โดยแท้จรงิ ขณะทก่ี ำลังอำ่ นอยู่ ถ้ำนกึ คำถำมไดอ้ กี กอ็ ำจใชว้ ิธีกำรจดบนั ทกึ ไวก้ ่อน แลว้ ตงั้ ใจอำ่ น
ต่อไปจนกวำ่ จะได้คำตอบทีต่ ้องกำร
2.4 Record (R) ให้ผู้เรียนจดบันทึกขอ้มูลต่ำง ๆ ที่ได้อ่ำนจำกข้ันตอนที่ 3 โดยมุ่ง
จดบนั ทึกในสว่ นท่สี ำคญั และสง่ิ ที่จำเป็น โดยใช้ขอ้ ควำมควำมอย่ำงรดั กมุ ตำมควำมเขำ้ ใจของผ่เรียน
2.5 Recite (R) ให้ผู้เรียนเขียนสรุปใจควำมสำคัญ โดยพยำยำมใช้ภำษำของ
ตนเองถำ้ ยังไมแ่ นใ่ จในบทใดหรือตอนใดให้กลับไปอ่ำนซำ้ ใหม่
25
2.6 Reflect (R) ให้ผู้เรียนวิเครำะห์ วิจำรณ์ บทอ่ำนที่ได้อ่ำน แล้วแสดงควำม
คดิ เหน็ ในประเดน็ ทีผ่ ู้เรยี นมีควำมคิดเห็นสอดคล้องหรือควำมคิดเหน็ ไม่สอดคล้อง บำงครง้ั อำจขยำยควำมสิ่งที่
ได้อำ่ นโดยกำรเช่อื มโยงควำมคดิ จำกบทอ่ำนกบั ควำมรูเ้ ดมิ โดยใช้ภำษำอย่ำงถูกต้อง
2. ขนั้ สรุปและประเมนิ ผล เป็นข้นั กำรวัดผลและประเมินผลวำ่ เมอื่ จบขัน้ ตอนกำรสอนแบบ
SQ4R แล้วผู้เรียนได้ควำมรู้ตำมจุดปรสงค์ท่ีต้ังไว้หรือไม่ เป็นกำรประเมินควำมสำมำรถเพ่ือนำผลมำพัฒนำ
ผู้เรียนและช่วยเหลือผู้เรียนที่เรียนอ่อน โดยอธิบำยเพ่ิมเติม ให้แบบฝึกมำกข้ึน หรือสำหรับผู้เรียนดี ก็จะให้
แบบฝกึ เสริมใหม้ ีทักษะเพม่ิ ขึน้ อีกก็ได้
ตวั ชว้ี ัดที่ 4 ประสิทธภิ าพของนวตั กรรม
นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน ผู้สอนได้มีกระบวนการหาประสิทธิภาพ
ของนวัตกรรมถูกต้องตามหลักวิชา ตามเกณฑ์ที่กาหนด วิธีการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมครอบคลุม
ในด้านเน้อื หา (Content validity) และโครงสรา้ ง (Construct Validity) ดงั นี้
กำรสร้ำงนวัตกรรมชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพื่อ
พัฒนำกำรอำ่ น สำหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ 5
1. ประเดน็ ในการพัฒนานวตั กรรมอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
1.1 สร้ำงและหำประสิทธิภำพของชุด แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธกี ำรสอน
แบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) ตำมเกณฑม์ ำตรฐำน 80/80
1.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 5 โรงเรียน
ไทยรัฐวทิ ยำ 93 (บำ้ นลำดตะเคียน) ก่อนและหลังกำรใชช้ ุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมดว้ ยวิธีกำรสอน
แบบ SQ4R เพือ่ พฒั นำกำรอำ่ น สำหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 5 กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย
1.3 ดัชนีประสิทธิผลกำรเรียนรู้ด้วยชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอน
แบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษำปที ี่ 5 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย
1.4 ควำมพงึ พอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 5 ที่มตี ่อชดุ แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับ
ใจควำมด้วยวธิ กี ำรสอนแบบ SQ4R เพอื่ พฒั นำกำรอ่ำน สำหรบั นักเรียนช้นั ประถมศึกษำปีท่ี 5
2. เป้าหมายในการพัฒนา (ระบุเปา้ หมายเชงิ ปริมาณและหรอื ปรมิ าณและหรือเป้าหมาย
เชิง คุณภาพ และระยะเวลาดาเนนิ การ)
2.1 เพ่ือสร้ำงและหำประสิทธิภำพของชุด แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำร
สอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
โรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยำ 93 (บำ้ นลำดตะเคยี น) ตำมเกณฑ์มำตรฐำน 80/80
2.2 เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนักเรยี นชั้นประถมศึกษำปีท่ี 5 โรงเรียน
ไทยรัฐวทิ ยำ 93 (บำ้ นลำดตะเคียน) กอ่ นและหลังกำรใช้ชุดแบบฝกึ ทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอน
แบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอำ่ น สำหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษำปีที่ 5 กลุม่ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย
2.3 เพ่ือศึกษำดัชนีประสิทธิผลกำรเรียนรู้ด้วยชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วย
วิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทย
2.4 เพ่ือศึกษำควำมพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 5 ที่มีต่อชุดแบบฝึกทักษะ
กำรอ่ำนจบั ใจควำมดว้ ยวธิ ีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอำ่ น สำหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ 5
26
3. วิธกี ารพฒั นา (แสดงถึงขัน้ ตอน/วิธีการพัฒนา)
กำรสร้ำงชุดชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือ
พัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษำปที ี่ 5 มวี ิธกี ำรดำเนนิ กำรสรำ้ งตำมขน้ั ตอนดงั นี้
1. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้ำหมำยที่ใช้ในกำรศึกษำ ได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 5/1 ภำคเรียนท่ี 2
ปีกำรศึกษำ 2564 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) อำเภอกบินทร์บุรี สำนักงำนเขตพื้นที่
กำรศึกษำประถมศึกษำปรำจีนบุรี เขต 2 จำนวน 30 คน ซ่ึงได้มำโดยวิธีเลือกแบบเจำะจง
(Purposive Sampling) เฉพำะหอ้ งเรียนทีร่ บั ผิดชอบสอนเปน็ กล่มุ ทดลอง
2. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษา
เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในกำรศึกษำครง้ั นี้ประกอบดว้ ย
2.1 ชดุ แบบฝึกทกั ษะกำรอ่ำนจบั ใจควำม กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ช้นั ประถมศกึ ษำปี
ท่ี 5 จำนวน 4 ชดุ ดังน้ี ชุดที่ 1 บทกลอ่ มเด็กและบทร้องเล่น ชุดท่ี 2 เพลง ชุดที่ 3 นทิ ำน ชุดที่ 4 เร่ืองส้นั
2.2 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี นกลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย เรือ่ ง
กำรอ่ำนจับใจควำม ช้ันประถมศึกษำปที ่ี 5 จำนวน 30 ข้อ
2.3 แผนกำรจัดกำรเรียนรกู้ ลุม่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย เรื่อง กำรอำ่ นจับใจควำม
ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ 5 จำนวน 8 แผน ไมน่ ับรวมกำรทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น
2.4 แบบสอบถำมควำมพึงพอใจที่มีต่อชุดแบบฝกึ ทักษะกำรอำ่ นจบั ใจควำมกลุ่มสำระ
กำรเรียนรภู้ ำษำไทย ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี 5 เปน็ แบบมำตรสว่ นประมำณค่ำ (Rating Scale)
จำนวน 10 ขอ้
3. เน้ือหาท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา
เนื้อหำที่ใช้ในกำรศึกษำครั้งน้ี เป็นเน้ือหำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้น
ประถมศึกษำปีท่ี 5 ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พุทธศักรำช 2551 สำระที่ 1 : กำรอ่ำน
เรอื่ ง กำรอ่ำนจับใจควำม
4. แบบแผนทใี่ ชใ้ นการศึกษา
ผู้ศึกษำได้ดำเนินกำรศึกษำโดยใช้แบบแผนกำรทดลองแบบหน่ึงกลุ่มสอบก่อน-สอบ
หลงั (One Group Pretest – Posttest Design) (พวงรัตน์ ทวรี ัตน์. 2543 : 60) ดงั ตำรำงที่ 8
ตำรำงท่ี 8 แบบแผนกำรทดลอง
Pretest Treatment Posttest
T1 X T2
วธิ ีดาเนนิ การ One Group Pretest – Posttest Design
เลือกกลุ่มตัวอย่ำง (ไมส่ มุ่ )
ทดสอบก่อนจดั กระทำ (Pretest)
ทดลองหรือจดั กระทำ (Treatment)
ทดสอบหลงั จัดกระทำ (Posttest)
สญั ลกั ษณท์ ีใ่ ชใ้ นแบบแผนการทดลอง
X แทน กำรสอนโดยใช้ชดุ ฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม
27
T1 แทน กำรสอบกอ่ นทไ่ี ด้รับกำรเรียนของกลุ่มทดลอง
T2 แทน กำรสอบหลงั ได้รับกำรเรยี นของกล่มุ ทดลอง
5.ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศกึ ษา
กำรดำเนินกำรศึกษำในครั้งนไี้ ด้ดำเนนิ กำรในภำคเรยี นท่ี 2 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 ระหวำ่ ง
วันที่ 6 ธนั วำคม 2564 ถึงวันที่ 26 ธนั วำคม 2564 โดยใช้เวลำในกำรดำเนนิ กำร 10 ชั่วโมง
รวม 10 วัน โดยมกี ำหนดกำรดังน้ี
1. ทดสอบกอ่ นเรยี น 1 ชว่ั โมง
2. กำรฝกึ ทกั ษะภำษำไทย เร่อื ง กำรอำ่ นจับใจควำม 8 ชัว่ โมง
3. ทดสอบหลังเรียน 1 ชัว่ โมง
6. การสรา้ งและการหาคณุ ภาพเคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา
ผศู้ กึ ษำไดก้ ำหนดขนั้ ตอนในกำรดำเนนิ กำรสร้ำงเคร่ืองมือที่ใช้ในกำรศึกษำตำมลำดับดงั น้ี
1. แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ ผู้ศึกษำไดเ้ ขยี นแผนกำรจัดกำรเรยี นรโู้ ดย โดยมีขั้นตอนดงั นี้
1.1 ศกึ ษำหลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำน พุทธศักรำช 2551 หลักสตู รสถำนศึกษำ
โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคยี น) กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 5 และคู่มือ
ครูกลุ่มสำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย ช้ันประถมศึกษำปีที่ 5
1.2 ศกึ ษำรำยละเอียดในกำรจดั ทำแผนกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นร้ขู อง วิมลรตั น์ สนุ ทรโรจน์
(2545 : 247 – 316) วัฒนำพร ระงับทุกข์ (2543 : 142 – 176) กำรเขียนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่เน้น
ทักษะกระบวนกำรของบูรชัย ศิริมหำสำคร (2539 : 66 – 76) ซึ่งผู้ศึกษำได้กำหนดแผนกำรจัดกำรเรียนรู้
ประกอบด้วยหวั ขอ้ สำคัญ ดงั น้ี หวั เรอื่ ง สำระสำคญั จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ เนื้อหำสำระ กจิ กรรมกำรเรียนรู้
สื่อกำรเรยี นรู้ กำรวัดผลประเมินผล แบบฝกึ ทักษะประกอบแผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้
1.3 วิเครำะห์เน้ือหำและจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ เรื่องกำรอ่ำนจบั ใจควำม แล้วแบ่ง
เนือ้ หำยอ่ ยเพือ่ เขียนแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั กำรสรำ้ งแบบฝึกทกั ษะ ซึ่งมีทัง้ หมด
8 แผน ดังน้ี แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี 1-2 บทกล่อมเด็กและบทร้องเล่น แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี 3-4
เพลง แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ 5-6 นิทำน แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ 7-8 เรอื่ งส้ัน
1.4 สรำ้ งแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้เป็นรำยชวั่ โมงโดยให้สอดคลอ้ งกับชดุ แบบฝึกทักษะ
ซง่ึ แตล่ ะแผนประกอบดว้ ย หัวเรอ่ื ง สำระสำคัญ จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ เน้ือหำ กิจกรรมกำรเรยี นรู้
ส่ือกำรเรียนรู้ กำรวดั ผลประเมินผล
1.5 นำแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่สร้ำงขึ้นเสนอตอ่ ผู้อำนวยกำรโรงเรยี นไทยรฐั วิทยำ 93
(บ้ำนลำดตะเคยี น) เพอ่ื ตรวจสอบรำยละเอียดและตรวจสอบควำมถูกต้อง ควำมเหมำะสมใน
ด้ำนกำรใชภ้ ำษำ เน้ือหำ จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ กำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ กำรวดั ผลและประเมินผล
1.6 นำแผนกำรจัดกำรเรยี นรมู้ ำปรบั ปรุงตำมข้อเสนอแนะของผู้อำนวยกำรโรงเรียน
ไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) เสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิ เพ่ือทำกำรประเมินควำมเหมำะสมและควำม
สอดคล้องของแผนกำรจัดกำรเรียนรซู้ ่ึงผูท้ รงคณุ วฒุ ิประกอบด้วย
1.6.1 นำยสมหมำย สงั ขะวินจิ ผอู้ ำนวยกำร โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยำ 93
(บ้ำนลำดตะเคยี น) สำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำปรำจีนบรุ ี เขต 2
1.6.2 นำงหยำดรุ้ง งอนกิ่ง รองผูอ้ ำนวยกำรชำนำญกำร
โรงเรยี นไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำปรำจนี บุรี เขต 2
28
1.6.3 นำงกรรณิกำร์ เหมวิภำต ครูชำนำญกำรพิเศษ (สำขำภำษำไทย) โรงเรียน
ไทยรัฐวทิ ยำ 93 (บำ้ นลำดตะเคียน) สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำปรำจีนบรุ ี เขต 2
1.6.4 นำยเสรี มณีแสน ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ (สำขำภำษำไทย)
โรงเรียนชุมชนบำ้ นเขำลูกช้ำง สำนักงำนเขตพืน้ ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำปรำจีนบุรี เขต 2
1.6.5 นำงสำวสมปอง สร้อยมณี ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ
โรงเรียนบำ้ นโคกกระทอ้ น สำนักงำนเขตพ้ืนทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำปรำจนี บุรี เขต 2
1.7 นำผลกำรประเมินโดยใช้เกณฑ์ประเมินระดับควำมคิดเห็นท่ีเป็นมำตรำส่วนประมำณ
คำ่ (Rating Scale) 5 ระดับ มำหำค่ำเฉลย่ี ซ่ึงเทยี บกบั เกณฑ์ทต่ี ้งั ไว้ คือ ตอ้ งมีคำ่ เฉลย่ี 3.51 ข้นึ ไป
โดยใช้เกณฑก์ ำรแปลควำมหมำยของค่ำเฉล่ยี ดงั นี้ (บุญชม ศรีสะอำด. 2546 : 102 – 103)
4.51 – 5.00 หมำยควำมว่ำ เหมำะสมมำกทส่ี ุด
3.51 – 4.50 หมำยควำมวำ่ เหมำะสมมำก
2.51 – 3.50 หมำยควำมว่ำ เหมำะสมปำนกลำง
1.51 – 2.50 หมำยควำมวำ่ เหมำะสมน้อย
1.00 – 1.50 หมำยควำมวำ่ เหมำะสมนอ้ ยที่สดุ
1.8 นำผลกำรประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิท้ัง 5 ท่ำน มำวิเครำะห์หำค่ำเฉลี่ย ได้ค่ำเฉลี่ย
โดยรวมเท่ำกับ 4.90 (รำยละเอียดดังตำรำง 13 ในภำคผนวก ข)
1.9 นำแผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ดลองใช้ ดงั น้ี
1.9.1 ทดลองครั้งท่ี 1 แบบ 1:1 ภำคเรยี นท่ี 1 ปีกำรศึกษำ 2564 กบั นักเรียน
ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 6 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) ท่ีเคยเรียนเร่ืองนี้มำแล้ว ที่ไม่ใช่กลุ่ม
ตัวอย่ำง จำนวน 3 คน โดยคัดเลอื กนักเรียนเก่ง 1 คน ปำนกลำง 1 คน และ อ่อน 1 คน เพื่อศึกษำ
ควำมชัดเจนของภำษำและลำดับขั้นตอนกิจกรรม ผลปรำกฏว่ำ ภำษำยังไม่ชัดเจนพอ ส่วนลำดับข้ันตอน
เหมำะสม จึงได้ปรบั ปรงุ ภำษำใหช้ ัดเจนและเหมำะสมกบั วยั ของเดก็ มำกขึ้น
1.9.2 นำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ทีป่ รบั ปรุงแลว้ ไปทดลองใช้ครั้งที่ 2 กบั กล่มุ เลก็
โดยทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) ท่ีเคยเรียนเร่ืองนี้
มำแล้ว (ซึ่งไม่ใช่นักเรียนคนเดมิ ในกำรทดลองครั้งท่ี 1 ) ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอยำ่ ง โดยใช้กับนกั เรยี นเก่ง ปำนกลำง
และออ่ น อย่ำงละ 3 คน ผลปรำกฏวำ่ นักเรยี นมคี วำมเข้ำใจเน้ือหำมำกขนึ้ ภำษำทใ่ี ชช้ ัดเจนมำกขึน้ เวลำ
ทีใ่ ช้เหมำะสมกบั กจิ กรรม
1.9.3 นำแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ีปรบั ปรุงแล้วไปทดลองภำคสนำมในภำคเรียน
ที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2564 กบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษำปที ี่ 6 โรงเรยี นไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคยี น)
ท่ีเคยเรียนเร่ืองนีม้ ำแลว้ ที่ไม่ใชก่ ลุ่มตัวอยำ่ ง โดยใช้กับนกั เรยี น 30 คน เพือ่ แกไ้ ขข้อบกพร่องอีก 1 ครง้ั
1.10 จดั ทำแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ฉบบั สมบรู ณ์เพ่อื นำไปใชก้ ับกลุ่มตวั อยำ่ งตำมแผน
กำรทดลอง
2. การสร้างชดุ แบบฝกึ ทักษะการอ่านจับใจความ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ดาเนินการตามลาดบั ขนั้ ตอนดังนี้
2.1 ศึกษำเอกสำรและงำนวจิ ยั ทเี่ ก่ียวกับกำรอ่ำนจับใจควำม
2.2 สร้ำงชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจบั ใจควำมตำมข้ันตอนดงั นี้
2.2.1 เขยี นโครงรำ่ งจำนวน 4 ชดุ
29
2.2.2 กำหนดวัตถุประสงค์ของชุดแบบฝึกทักษะให้สอดคล้องกับหลักสูตรเนื้อหำ
สำระและจดุ ประสงค์
2.2.3 กำหนดกิจกรรมของชุดแบบฝึกทักษะตำมลำดับข้ันตอนตำมรูปแบบขั้นตอน
ของกำรเรยี นรู้ โดยนำกิจกรรมสำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย มำเปน็ แนวทำงในกำรจัดทำชุดแบบฝึกทกั ษะ
2.2.4 กำหนดส่อื และอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นกำรฝกึ กำรเรยี นรูแ้ ละแหล่งเรยี นรู้
2.2.5 กำหนดเวลำในกำรทำกิจกรรมในชุดแบบฝกึ ทักษะ
2.3 หำคณุ ภำพของชดุ แบบฝึกทกั ษะ โดยกำรนำชุดแบบฝกึ ทักษะกำรอำ่ นจับใจควำม
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 5 ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่ำน ตรวจสอบควำม
เหมำะสม โดยใช้แบบประเมินมำตรำส่วนประมำณค่ำ (Rating Scale) 5 ระดับ โดยใช้เกณฑ์เฉล่ีย 3.5
ข้ึนไปถือว่ำอยู่ในระดับท่ีเหมำะสม นำแบบประเมินมำวิเครำะห์ ปรำกฏผลโดยรวมทุกเรื่องมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ
4.42 หมำยถงึ ชุดแบบฝึกทกั ษะกำรอำ่ นจับใจควำม ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 5 มีควำมเหมำะสมมำก
2.4 นำชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ไปทดลองใช้ใน
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 กับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำด
ตะเคียน) ที่เคยเรียนเร่ืองนี้ผ่ำนมำแล้ว ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่ำง โดยทดลองกับนักเรียน จำนวน 3 คน
ประกอบด้วย เก่ง 1 คน ปำนกลำง 1 คน อ่อน 1 คน เพ่ือหำควำมเหมำะสมของเวลำ กำรใช้ภำษำ
กำรส่อื ควำมหมำย แล้วนำมำปรับปรงุ แกไ้ ขใหเ้ หมำะสมย่ิงขึ้น
2.5 นำชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ท่ีได้รับกำร
ปรับปรุงแล้วไปทดลองใชก้ ับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 6 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) ใน
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 ที่เคยเรียนเรื่องนี้ผ่ำนมำแล้ว ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่ำง จำนวน 9 คน โดย
กำหนดกลุ่มเก่ง 3 คน ปำนกลำง 3 คน และกลุ่มอ่อน 3 คน แล้วนำมำปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องให้
สมบรู ณ์ยง่ิ ขึน้
2.6 นำชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ท่ีได้รับกำร
ปรับปรุงแล้วไปทดลองภำคสนำมกับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี 6 โรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยำ 93
(บ้ำนลำดตะเคียน) ในภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 ที่เคยเรียนเร่ืองนี้ผ่ำนมำแล้ว ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่ำง
จำนวน 30 คน แลว้ นำมำปรบั ปรุงแก้ไขข้อบกพร่องใหส้ มบรู ณ์ย่งิ ข้นึ
2.7 จดั ทำชดุ แบบฝกึ ทกั ษะกำรอำ่ นจับใจควำม กลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย
ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี 5 ฉบบั สมบูรณ์เพอ่ื นำไปใช้กบั กลุ่มตัวอยำ่ งต่อไป
3. การสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดาเนนิ การตามขน้ั ตอนดังนี้
3.1 ศึกษำหลักสูตร คู่มือครู แบบเรียนภำษำไทย ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 5 เรื่องกำรอ่ำน
จับใจควำม ด้ำนเน้ือหำ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ สื่อกำรเรียนกำรสอน กำรวัดผลประเมินผลกำรเรียนรู้
เคร่ืองมือวัดโดยกำรวิเครำะห์ให้ครอบคลุมเน้ือหำ จุดประสงค์ และกำหนดพฤติกรรมย่อยของแต่ละเนื้อหำ
ออกมำเป็นขอ้ สอบ
3.2 ศกึ ษำวธิ ีกำรสรำ้ งและพฒั นำแบบทดสอบผลสัมฤทธข์ิ อง พวงรัตน์ ทวีรตั น์
(2543 : 250 – 252) กำรวัดและกำรสร้ำงข้อสอบระดับประถมศึกษำ กำรวัดและกำรสร้ำงแบบสอบ
ผลสัมฤทธิ์ และกำรวัดผลกำรศึกษำของ สมนึก ภัททิยธนี (2545 : 157 – 193) สร้ำงข้อสอบแบบ
เลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก ให้สอดคล้องกับผลกำรวิเครำะห์หลักสูตร เพ่ือให้สำมำรถสร้ำงข้อสอบได้
ครอบคลมุ จำนวนทง้ั หมด 40 ข้อ ต้องกำรจรงิ จำนวน 30 ข้อ
30
ตำรำงที่ 9 กำรวเิ ครำะหเ์ น้ือหำ จุดประสงคก์ ำรเรยี นรแู้ ละจำนวนขอ้ สอบกลมุ่ สำระ
กำรเรียนรู้ภำษำไทย เรอื่ งกำรอำ่ นจับใจควำม ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี 5
ตอนท่ี เน้อื หำ จำนวนขอ้ สอบ
ตอนท่ี 1 กำรอำ่ นจบั ใจควำมบทกลอ่ มเด็กและบทร้อง ทง้ั หมด/ข้อ ต้องกำร/ขอ้
ตอนที่ 2 กำรอ่ำนจบั ใจควำมเพลง
ตอนท่ี 3 กำรอำ่ นจบั ใจควำมนิทำน 10 7
ตอนท่ี 4 กำรอำ่ นจับใจควำมเรื่องสนั้ 10 8
10 8
10 7
รวม 40 30
3.3 หำคณุ ภำพของแบบทดสอบที่สรำ้ งขน้ึ ทง้ั หมด 40 ข้อ ให้ผ้ทู รงคุณวฒุ ิตรวจสอบ
ควำมเท่ียงตรง (IOC) ว่ำวัดได้ตรงกับพฤติกรรมที่ระบุไว้ โดยให้ +1 เม่ือแน่ใจว่ำวัดได้ตรง ให้ 0 เมื่อไม่
แน่ใจว่ำวัดได้ตรง และให้ -1 เมื่อแน่ใจว่ำวัดได้ไม่ตรง แล้วนำบันทึกผลกำรประเมินของผู้ทรงคุณวฒุ ิทั้ง 5
ท่ำนมำหำดชั นีควำมสอดคล้องของข้อคำถำมท่ีวดั (IOC) คัดเลอื กขอ้ คำถำมทม่ี ีค่ำมำกกว่ำ 0.5 ขนึ้ ไป
3.4 นำแบบทดสอบไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ
93 (บำ้ นลำดตะเคยี น) ซง่ึ กำลังเรียนในภำคเรียนที่ 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 จำนวน 30 คน ทไี่ ม่ใช่
กลมุ่ ตัวอยำ่ งซึ่งผำ่ นกำรเรยี นเรื่องดงั กลำ่ วมำแลว้
3.5 หำคำ่ ควำมยำกง่ำย (p) และคำ่ อำนำจจำแนก (r) ของแบบทดสอบเปน็ รำยข้อโดยใช้
เทคนิค 27 % ของจุง เตห์ ฟำน (ล้วน สำยยศ และอังคณำ สำยยศ. 2538 : 217 – 218) ทำกำร
คดั เลือกขอ้ สอบให้เหลือ 30 ขอ้ นำแบบทดสอบที่คดั เลอื กไวไ้ ปหำค่ำควำมเช่ือม่นั โดยใช้สูตร KR – 20
ของคูเดอร์ ริชำร์ดสัน (Kuder – Richardson KR – 20) (บญุ ชม ศรีสะอำด. 2546 : 88 – 89)
3.6 จัดพิมพ์แบบทดสอบเพ่ือนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่ำง นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 5/1
โรงเรยี นไทยรัฐวิทยำ 93 (บำ้ นลำดตะเคียน) สำนักงำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำปรำจีนบรุ ี เขต 2
4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 ทม่ี ตี ่อแบบฝึกทักษะ
การอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
4.1 ศกึ ษำวธิ ีสรำ้ งแบบสอบถำมโดยวิธีของลิเคริ ท์ (Likert Scale) 5 ระดบั
4.2 สร้ำงแบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรียน ท่ีมีต่อชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับ
ใจควำม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย จำนวน 10 ข้อ แต่ละข้อกำหนดน้ำหนักในกำรตอบ ตำมเกณฑ์ 5
ระดบั คอื
มำกท่ีสดุ = 5 คะแนน
มำก = 4 คะแนน
ปำนกลำง = 3 คะแนน
นอ้ ย = 2 คะแนน
นอ้ ยที่สุด = 1 คะแนน
4.3 นำแบบสอบถำมไปให้ผู้เชีย่ วชำญชดุ เดิมตรวจสอบควำมถูกต้องเหมำะสม
31
4.4 ปรับปรุงแบบสอบถำมตำมขอ้ เสนอแนะของผู้เชี่ยวชำญ
4.5 ผลกำรตรวจสอบควำมเที่ยงของแบบสอบถำม โดยหำค่ำ IOC ผลกำรตรวจสอบได้ค่ำ
IOC 0.88
5. การดาเนินการศกึ ษาและเก็บรวบรวมขอ้ มลู
กำรดำเนินกำรศึกษำคร้ังนี้ ใช้เวลำ 10 ชั่วโมง ทั้งนี้รวมเวลำทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน โดย
มรี ำยละเอยี ดในกำรศึกษำ ดังน้ี
1. กอ่ นทำกำรทดลอง ผศู้ กึ ษำทำกำรทดสอบกอ่ นเรยี น (Pretest) กบั นกั เรียนกลุ่มตวั อยำ่ ง
ดว้ ยแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรยี นทีผ่ ูศ้ กึ ษำได้สรำ้ งข้นึ
2. ผูศ้ ึกษำดำเนินกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ดว้ ยตนเองตำมแผนกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้
และใช้ชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ในขั้นตอนกิจกรรมกำรเรียนกำร
สอน จำนวน 8 แผน และมีกำรทำแบบทดสอบย่อยทำ้ ยช่ัวโมง
3. เมอื่ สนิ้ สุดกำรทดลองสอนแลว้ ผศู้ กึ ษำทำกำรทดสอบหลงั เรียน (Posttest) กบั นักเรียน
กลมุ่ ตวั อย่ำงด้วยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นชุดเดิมกับท่ีทดสอบก่อนเรียน
6. การวิเคราะหข์ ้อมูล
ในกำรวิเครำะหข์ ้อมูล ผศู้ ึกษำไดว้ ิเครำะห์ข้อมลู ตำมขัน้ ตอนดังนี้
1. วิเครำะห์หำประสิทธิภำพของชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทย ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี 5
2. วเิ ครำะห์หำควำมแตกตำ่ งระหว่ำงค่ำเฉลยี่ ของคะแนนทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน
กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทยกำรอ่ำนจบั ใจควำม ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี 5 ก่อนเรียนและหลงั เรยี น
โดยใช้สถิติในกำรตรวจสอบสมมตฐิ ำน t – test (Dependent)
3. วิเครำะห์หำดัชนีประสิทธิผลของชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทย ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี 5 โดยใชว้ ธิ ขี อง Goodman and Schnieder
4. วเิ ครำะห์ควำมพงึ พอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปที ี่ 5 ทมี่ ีตอ่ ชุดฝึกทกั ษะ
กำรอำ่ นจบั ใจควำม กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
7. สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. สถติ ิทีใ่ ชใ้ นกำรหำคณุ ภำพของเครื่องมือ
1.1 กำรหำควำมเที่ยงตรง (Validity) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรียน
โดยกำรหำคำ่ ดัชนคี วำมสอดคลอ้ งระหว่ำงข้อสอบกบั จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
(IOC : Index of Item Objective Congruence) (สมนกึ ภทั ทยิ ธน.ี 2545 : 219 – 221)
IOC R
N
เมื่อ IOC แทน ดัชนีควำมสอดคล้องระหว่ำงจุดประสงค์กับเน้ือหำหรือระหว่ำง
ขอ้ สอบกบั จดุ ประสงค์
R แทน ผลรวมควำมคดิ เหน็ ของผู้ทรงคณุ วุฒิ
N แทน จำนวนผู้ทรงคุณวฒุ ิ
1.2 หำค่ำควำมยำกง่ำย (p) โดยใช้สูตร (บญุ ชม ศรีสะอำด. 2546 : 84)
32
P= R
N
เมือ่ P แทน ระดบั ควำมยำก
R แทน จำนวนผู้ตอบถูกทัง้ หมด
N แทน จำนวนคนในกลุม่ สูงและกลุม่ ตำ่
ค่ำ P ทีเ่ หมำะสมมีค่ำอยู่ระหว่ำง 0.20 – 0.80
1.3 หำคำ่ อำนำจจำแนก (Discrimination) จำกผลกำรสอบครงั้ เดยี วหลังสอน ตำมวธิ ี
ของ แบรนแนน (Brennan) (บญุ ชม ศรีสะอำด. 2546 : 90)
B U L
N1 N2
เมือ่ B แทน ค่ำอำนำจจำแนก
U แทน จำนวนผู้รอบรหู้ รือสอบผำ่ นเกณฑท์ ี่ตอบถกู
N1 แทน จำนวนผรู้ อบร้หู รือสอบผ่ำนเกณฑ์
N2 แทน จำนวนผู้ไมร่ อบรหู้ รือสอบไม่ผ่ำนเกณฑ์
2. หำค่ำสถิตพิ ้นื ฐำน (บุญชม ศรสี ะอำด. 2546 : 105)
2.1 รอ้ ยละ (Percentage)
เมือ่ P f 100
แทน รอ้ ยละ
แทน ควำมถี่ที่ต้องกำรแปลงให้เป็นรอ้ ยละ
N แทน จำนวนคะแนนในกลุ่ม
2.2 คำ่ เฉล่ยี ( x )
X
x= N
เมอื่ x แทน คะแนนเฉลีย่
X แทน คะแนน
N แทน จำนวนนักเรียนทเ่ี ป็นกลุม่ ตัวอย่ำง
2.3 ค่ำเบีย่ งเบนมำตรฐำน (SD) คำนวณจำกสตู ร (บุญชม ศรีสะอำด. 2546 : 106)
N X 2 ( X 2 )
SD= N (N 1)
เมอ่ื S.D แทน สว่ นเบ่ียงเบนมำตรฐำน
X แทน คะแนนแตล่ ะตวั
N แทน จำนวนคนทั้งหมด
X2 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแตล่ ะตัวยกกำลังสอง
( X2) แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลังสอง
33
3. หำค่ำควำมเท่ยี งของแบบทดสอบทกั ษะกำรคิดวิเครำะห์ โดยใช้สูตร K.R.20
ของ Kuder Richardson (ล้วน สำยยศ และอังคณำ สำยยศ. 2538 : 197 - 198)
เมื่อ rtt แทน ควำมเท่ยี งของแบบทดสอบ
n แทน จำนวนข้อของแบบทดสอบ
p แทน สัดส่วนของผู้ทำได้ในข้อหน่ึง ๆ นั่นคือสัดส่วนของจำนวนคนท่ีทำถูกกับ
จำนวนคนทงั้ หมด
q แทน สัดส่วนของผ้ทู ำผดิ ในข้อหนง่ึ ๆ คือ = 1 – p
St แทน คะแนนควำมแปรปรวนของแบบทดสอบฉบบั นน้ั
4. กำรหำประสิทธิภำพของชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี 5 มีประสทิ ธิภำพ 80/80 (เผชญิ กจิ ระกำร. 2544 : 49)
4.1 กำรหำประสทิ ธิภำพของสอ่ื โดยใชส้ ตู ร ดังนี้
E1 = ∑X 100
N
A
เมื่อ E1 แทน ประสิทธภิ ำพของกระบวนกำร
X แทน คะแนนของแบบฝึกหัดหรอื ของแบบทดสอบย่อยทกุ ชุดรวมกัน
A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกหดั ทุกชดุ รวมกัน
N แทน จำนวนนกั เรยี น
∑Y
E2 = N 100
B
เมื่อ E 2 แทน ประสทิ ธภิ ำพของผลลัพธ์
ใชค้ ่ำ t-test y แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลงั เรียน
B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรยี น
N แทน จำนวนนกั เรียนทง้ั หมด
4.2 กำรเปรยี บเทยี บค่ำเฉล่ียผลสัมฤทธิก์ ำรอ่ำนจบั ใจควำม ภำยในกลมุ่ เดียวกนั
ซงึ่ ใช้สูตรดงั นี้ (บญุ ชม ศรีสะอำด. 2546 : 112)
D
t = N D2 ( D)2
N 1
เมื่อ D แทน ผลรวมของผลตำ่ งของคะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
D2 แทน ผลรวมของผลต่ำงของคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรียนยกกำลังสอง
N แทน จำนวนนักเรยี นท่ีเป็นกล่มุ ตัวอยำ่ ง
34
4.3 กำรหำดัชนปี ระสิทธผิ ล (E.I.) โดยใชว้ ิธีกำรขอกูดแมน เฟรทเชอร์และชไนเดอร์
ในกำรหำค่ำดัชนีประสิทธิผล (The Effectiveness Index) ดังน้ี (เผชิญ กิจระกำร และสมนึก ภัททิยธนี.
2545 : 46 – 47)
ดชั นีประสทิ ธิผล = รอ้ ยละของผลรวมของคะแนนหลังเรียน – ร้อยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรยี น
100 – รอ้ ยละของผลรวมของคะแนนกอ่ นเรยี น
E.I. = P2% - P1%
100 – P1%
เม่อื P1% แทน รอ้ ยละของผลรวมของคะแนนทดสอบกอ่ นเรียน
P2% แทน รอ้ ยละของผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน
องคป์ ระกอบที่ 2 คุณประโยชน์ ประกอบด้วยตัวชี้วัด 3 ตัวช้ีวัด ดังน้ี
ตวั ช้ีวดั ที่ 1 ความสามารถในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา
1. ชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำร
อำ่ น สำหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 5 มีประสิทธภิ ำพ 80.87/83.00 ซงึ่ สูงกว่ำเกณฑท์ ีต่ งั้ ไว้ คือ 80/80
2. นักเรียนท่ีเรียนโดยกำรใช้ชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอน
แบบ SQ4R เพ่ือพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 5 มีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลัง
เรยี นสูงกว่ำก่อนเรียน อย่ำงมีนยั สำคัญทำงสถติ ิทีร่ ะดบั .05
3. ดัชนีประสิทธิผลของชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ
SQ4R เพื่อพฒั นำกำรอ่ำน สำหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ 5 มีค่ำเทำ่ กบั 0.70 แสดงวำ่ นกั เรยี นทเ่ี รยี น
โดยกำรใช้ชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพื่อพัฒนำกำรอ่ำน สำหรับ
นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี 5 มีควำมรเู้ พิม่ ขึ้นร้อยละ 70
4. นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 5 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 93 (บ้ำนลำดตะเคียน) มี
ควำมพงึ พอใจตอ่ ชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำม โดยภำพรวม มคี ำ่ เฉล่ยี อยู่ในระดบั มำกทสี่ ุด
( x = 4.87)
ตวั ชีว้ ดั ที่ 2 ประโยชนต์ ่อบุคคล
ประโยชนต์ ่อบุคคลที่จะได้รับจำกผลงำนนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื กำรเรียนกำรสอน
1. ช่วยพัฒนำผู้เรยี นด้ำนทักษะกำรอ่ำน และกำรเขียน แก้ปญั หำชว่ ยในกำรจำเนอ้ื หำ
รำยวิชำภำษำไทย ไม่ว่ำจะเป็นกำรพูด กำรฟัง กำรดู กำรอ่ำน กำรเขียน หลักกำรใช้ภำษำไทย กำรคิดเชิง
สรำ้ งสรรค์ กำรคดิ เชงิ บูรณำกำร เปน็ ตน้ ชว่ ยในกำรแกป้ ญั หำ จำแนกแยกแยะองค์ประกอบต่ำง ๆ และกำรทำ
ควำมเข้ำใจส่ิงที่เกดิ ข้ึน เมอื่ พบปญั หำใด ๆ จะสำมำรถวเิ ครำะห์ปญั หำน้นั ได้
2. ช่วยปลูกฝังลักษณะนิสัยรักกำรอ่ำน ไม่ว่ำจะเป็นกำรอ่ำนคิดวิเครำะห์หรือกำรอ่ำน
อย่ำงมีวิจำรณญำณ รวมถึงกำรใช้เหตุผลในกำรแสดงควำมคิดเห็น โดยกำรใช้ข้อมูลจำกส่ิงท่ีอ่ำนมำประกอบ
เหตุผล ทำให้ผู้เรียนมีทักษะกำรอ่ำน คิดวิเครำะห์อย่ำงมีวิจำรณญำณ อ่ำนจับใจควำมสำคัญและรำยละเอียด
ของส่ิงที่อ่ำน แสดงควำมคิดเห็นและข้อโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องท่ีอ่ำน และเขียนกรอบแนวคิด ย่อควำม จำกส่ิงท่ี
อ่ำนได้ วิเครำะห์ วิจำรณ์ อย่ำงมีเหตุผล มีกำรดับควำมอย่ำงมีขั้นตอนและควำมเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่ำน
รวมทั้งประเมินควำมถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนจำกเร่ืองที่อ่ำน ซ่ึงเป็นคุณภำพผู้เรียนที่สอดคล้อง ของ
35
หลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน 2551 และยังเป็นประโยชน์ต่อบุคลำกรครูในกำรนำไปใช้เปน็ แนวทำง
ในกำรจดั กำรเรียนกำรสอนเพื่อพฒั นำทักษะกระบวนกำรอำ่ นจับใจควำม
ตัวชีว้ ดั ที่ 3 ประโยชนต์ ่อหนว่ ยงาน
ประโยชน์ต่อหน่วยงำน ที่จะได้รับจำกผลงำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือกำรเรียนกำร
สอนทีก่ ระทบเศรษฐกิจ สงั คม ควำมมั่นคง และกำรพัฒนำประเทศ
พัฒนำผู้เรียนให้เป็นผู้มีทักษะกระบวนกำรอ่ำนจับใจควำม และกำรเขียน คิดแก้ไขปัญหำ
อย่ำงสร้ำงสรรค์เม่ือนักเรียนได้เรียนรู้จำกกำรฝึกทักษะกระบวนกำรอ่ำน จับใจควำมและกำรเขียนอย่ำงเป็น
ลำดับ ทำให้นักเรียนสำมำรถมีทักษะกระบวนกำรคิดวิเครำะห์ คิดแก้ไขปัญหำอย่ำงสร้ำงสรรค์ในสถำนกำรณ์
ต่ำง ๆ ท่พี บเจอในชวี ิตประจำวัน มกี ำรใช้เหตุผลในกำรตัดสนิ ใจ หำแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำ สำมำรถแสดง
ควำมคิดเห็นได้อย่ำงสร้ำงสรรค์ ส่งผลให้เป็นผู้ท่ีมีพฤติกรรมที่ดี เนื่องจำกมีกระบวนกำรคิดวิเครำะห์ มีควำม
มุ่งมั่นในกำรเรียน มีทักษะในกำรคิดอย่ำงเป็นระบบ ตลอดจนสถำนศึกษำมีบุคลำกรท่ีมีคุณภำพในกำรจัดกำร
เรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนสูงขึ้น มีส่ือกำรสอนท่ีหลำกหลำยและมีคุณภำพตำมเกณฑ์
มำตรฐำนจนทำให้สถำนศึกษำมคี ุณภำพ เป็นท่ียอมรับของชุมชน
องค์ประกอบท่ี 3 ความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ ประกอบดว้ ยตวั ชว้ี ัด 2 ตัวชี้วดั ดังน้ี
ตัวช้ีวัดท่ี 1 ความแปลกใหมข่ องนวตั กรรม
1. เป็นนวัตกรรมใหม่ ที่ปรบั ปรงุ จำกแนวคดิ เดมิ และนำมำพัฒนำใหม่ 2 ลกั ษณะ ดังน้ี
1.1 เป็นกำรปรับปรุงจำกนวัตกรรมกำรพัฒนำกำรอ่ำนจับใจควำม โดยใช้รปู แบบเดิม แต่มี
กำรปรับปรุงเนื้อหำ และวิธีกระบวนกำร โดยยึดควำมทันสมัย สนุกสนำน สร้ำงให้เด็กเกิดควำมสุขในกำร
เรียนรู้ ให้เป็นเน้ือหำที่มีควำมทันสมัยและใกล้ตัวผู้เรียน เป็นสมรรถนะท่ีจำเป็นในสถำนกำรณ์ปัจจุบัน ซ่ึง
สอดคลอ้ งกบั คณุ ภำพของผเู้ รียนตำมช่วงวยั และคุณลกั ษณะตำมหลกั สตู รและจดุ เน้นกำรพฒั นำคุณภำพผู้เรียน
ของหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน 2551 และนโยบำยทต่ี ้องกำรพฒั นำใหเ้ กิดข้ึนกบั คนไทย
1.2 เป็นกำรปรับเปลี่ยนแนวคิดกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ วิธีกำรสอนแบบSQ4R ซ่ึงเป็น
ขั้นตอนกำรพัฒนำทักษะกระบวนกำรอำ่ น เพอื่ เสริมสรำ้ งควำมคิดสรำ้ งสรรคแ์ ละกำรแกป้ ัญหำ ผู้สอนไดศ้ ึกษำ
ขั้นตอนของกำรสอนได้พบว่ำ วิธีกำรสอนแบบSQ4R มีข้ันตอนในกำรสอนเพื่อพัฒนำทักษะกระบวนกำรอ่ำน
จบั ใจควำมได้เป้นอย่ำงดี ซ่งึ สำมำรถปรบั ใชใ้ นรำยวชิ ำอืน่ ได้
ตัวชีว้ ดั ที่ 2 จดุ เดน่ ของนวตั กรรม
นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื กำรเรียนกำรสอนมีลักษณะเด่น นำ่ สนใจ สะท้อนถึงกำรมี
แนวคิดใหม่ ใชง้ ำ่ ย สะดวก และลงทุนน้อย จุดเด่นของนวตั กรรมท่สี ร้ำงขนึ้ มีดงั น้ี
1.เป็นชุดแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมด้วยวิธีกำรสอนแบบ SQ4R เพื่อพัฒนำกำรอ่ำน
สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 5 ที่มีกำรเรียงลำดับของเนื้อหำกำรเรียนรู้ตำมลำดับ มีควำมสัมพันธ์กับ
ของเน้ือหำ และมีบริบทใกล้ตัวผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนเกิดควำมเข้ำใจได้ง่ำย โดยได้คัดเลือกเน้ือหำจำกมำตรฐำน
กำรเรียนรู้และตัวชี้วัด เพ่ือใช้ในกำรฝึกทักษะกำรอ่ำน สำมำรถทำให้ผู้เรียนเกิดควำมเข้ำใจและนำไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้จริง สำมำรถทำแบบทดสอบวัดควำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขียนได้อย่ำง
ถกู ต้อง รวดเรว็
2. เปน็ นวัตกรรมท่ีสรำ้ งโมเดล วธิ ีกำรจดั กระบวนกำรเรยี นรขู้ นึ้ มำใหม่เพอ่ื ให้เหมำะแก่กำร
ใชจ้ ดั กระบวนกำรเรียนกำรสอน ไดใ้ ช้กำรสอนแบบ SQ4R ขั้นตอนกำรจดั กำรเรียนรู้ ซ่ึงเปน็ วธิ กี ำรสอน
ทีส่ อดคลอ้ งกบั กำรดำเนนิ งำนเพือ่ พฒั นำใหผ้ ู้เรียนเกดิ ทักษะกำรอำ่ นและกำรเขียน
3. เป็นนวตั กรรมที่ใชใ้ นกำรเรียนรู้ได้อยำ่ งง่ำยดำยด้วยตัวนักเรียนเอง โดยมขี น้ั ตอนใน
36
กำรศึกษำและกำรทำกิจกรรมอย่ำงเป็นลำดับข้ันตอน มีควำมสะดวกที่นักเรียนสำมำรถศึกษำเรียนรู้ด้วย
ตนเองในช่วงเวลำว่ำง และสำมำรถนำไปเรียนรู้ที่บ้ำน ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่ลงทุนน้อยแต่สร้ำงควำมคุ้มค่ำแก่
ผเู้ รยี น
ตวั ชว้ี ัดร่วมด้านวชิ าการ สาหรับครผู สู้ อนยอดเยย่ี ม
องคป์ ระกอบที่ 1 ผลท่ีเกิดกับผู้เรยี น ประกอบด้วยตัวชว้ี ัด 3 ตวั ชี้วดั ดงั นี้
ตัวชี้วดั ที่ 1 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1.1 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1.1.1) นักเรยี นผ่ำนกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ครบท้ัง 8 ข้อ คิดเปน็ ร้อยละ 100
ตำรำงที่ 10 แสดงนกั เรยี นท่ีผ่ำนคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
ปีการ จานวน สรุปผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 8 ประการ
ศกึ ษา นักเรียน ระดับ 3 (ดเี ย่ยี ม) ระดับ 2 (ด)ี ระดับ 1 (ผำ่ น) ระดบั 0 (ไม่ผำ่ น)
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
2564 30 27 90 3 10 - - - -
จำกตำรำง 8 พบวำ่ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 เด็กผ่ำนคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ท้งั 8 ข้อ ทุกคน
คิดเปน็ ร้อยละ 100
1.1.2) นกั เรยี นประพฤติปฏิบตั ติ นตำมคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ทเ่ี ป็นจุดเนน้ ของสถำนศึกษำ
ได้ครบทุกข้อ คิดเป็นร้อยละ 100
ตำรำงท่ี 11 แสดงจำนวนนักเรียนท่ีประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตำมคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ เ่ี ป็นจุดเน้นของ
สถำนศึกษำ
ปกี ารศึกษา จานวน ดีเย่ยี ม การประเมนิ ผ่านรอ้ ยละ
เด็ก ระดบั คุณภาพ 100.00
2564 ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
30 27 3 - - -
จำกตำรำง 9 พบวำ่ ปกี ำรศึกษำ 2564 เด็กประพฤติปฏิบตั ิตนตำมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ท่ี
เปน็ จุดเน้นของสถำนศึกษำ ครบทุกข้อ คดิ เป็นร้อยละ 100
ตัวช้ีวัดที่ 2 ผลงาน/ชน้ิ งาน/ภาระงาน/ผลการปฏบิ ัตงิ าน
2.1 นักเรียนทุกคนมีผลงำน/ชิ้นงำน/ภำระงำน/ผลกำรปฏิบัติงำนครบถ้วนตำมที่ครูกำหนด โดย
นักเรียนได้เรียนรู้ใชก้ ระบวนกำรเรียนรู้ในกำรสร้ำงผลงำนอย่ำงสร้ำงสรรค์ โดยกำร นำเอำกิจกรรมกำรเรียนรู้
และกำรพฒั นำกระบวนกำรคิดนำไปใชช้ วี ติ ประจำวันได้
2.2 ผลงำน/ชน้ิ งำน/ภำระงำน/ผลกำรปฏิบัตงิ ำนของนักเรียนมีคุณภำพตำมเกณฑ์ท่ีกำหนดในระดับดี
ขน้ึ ไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80
2.3 ผลงำน/ช้ินงำน/ภำระงำน/ผลกำรปฏิบัติงำนเกิดจำกกำรปฏิบัติงำนของนักเรียน ตำมหลักสูตร
อย่ำง แทจ้ ริง และได้รับกำรรบั รองจำกผบู้ รหิ ำรโรงเรยี น
37
ภำพที่ 9 แสดงผลงำนของนักเรยี นในกิจกรรมต่ำง ๆ
ตวั ชว้ี ดั ที่ 3 การเผยแพร่ผลงานนกั เรยี น
ข้ำพเจ้ำได้นำผลงำนนักเรียนท่ีเกิดจำกกำรจัดกำรเรียนรู้ และนวัตกรรมในกำรจัดกำรเรียนรู้ไป
เผยแพร่ โดยเผยแพร่สู่สำธำรณะ ผ่ำนเว็บไซต์โรงเรียน รวมถึงกำรจัดงำนนิทรรศกำรของโรงเรียนและท่ี
สำนกั งำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำปรำจีนบุรเี ขต 2
38
ภำพท่ี 10 แสดงผลงำนของนักเรยี น
ตัวชี้วดั ที่ 4 การได้รบั รางวลั /ยกย่องเชดิ ชู
4.1 ผลงำน / ชิ้นงำน / ภำระงำน / ผลกำรปฏิบัติงำนของนักเรียนได้รับรำงวัล / ยกย่องเชิดชูและมี
ผู้นำไปใช้ทั้งภำยในและภำยนอกสถำนศกึ ษำ
ส่งนกั เรยี นเขำ้ รบั กำรแข่งขนั กจิ กรรมกำรแขง่ ขนั คัดลำยมือสื่อภำษำไทย ระดับชัน้ ป.4-ป.6 ปี
กำรศกึ ษำ 2562 กิจกรรมกำรแขง่ ขันกำรเรยี งร้อยถ้อยควำมระดับชัน้ ป.4 -ป.6 ปีกำรศึกษำ 2562
กำรแขง่ ขันกจิ กรรมกวเี ยำวชนคนรนุ่ ใหม่ กลอนสี่ (4บท) ระดับชั้นป.4-ป.6 ปกี ำรศกึ ษำ 2562
กำรแขง่ ขันกิจกรรมต่อคำศพั ท์ภำษำไทย (คำคมเดิม) ระดับชั้นป.4-ป.6 ปีกำรศึกษำ 2562
ภำพที่ 11 เกยี รติบตั รของนักเรียน
39
ภำพท่ี 12 เกยี รติบตั รของนกั เรยี น
ตัวช้วี ัดร่วมด้านวชิ าการ สาหรบั ครผู ู้สอนยอดเยี่ยม
องคป์ ระกอบที่ 2 ผลการพฒั นาตนเอง
ตัวชี้วัดร่วมด้ำนวิชำกำร สำหรับครูผู้สอนยอดเยี่ยม องค์ประกอบท่ี 2 ผลกำรพัฒนำตนเอง ประกอบด้วย
ตวั ช้วี ดั 2 ตวั ชว้ี ัด ดังนี้
ตัวชว้ี ัดที่ 1 เป็นแบบอย่ำงและเปน็ ที่ยอมรบั จำกบคุ คลอื่น ๆ
ตัวชี้วัดท่ี 2 พฒั นำตนเองอย่ำงต่อเน่ือง
สว่ นที่ 1 กำรได้รับกำรพัฒนำ
สว่ นที่ 2 กำรพฒั นำตนเอง
ตัวช้วี ัดท่ี 1 เปน็ แบบอยำ่ งและเป็นท่ียอมรบั จำกบคุ คลอ่ืน ๆ
1.1 กำรพฒั นำตนเองในด้ำนคุณธรรม จริยธรรม
- ประพฤติตนยึดม่ันในคุณธรรม จริยธรรม มีควำมศรัทธำและปฏิบัติตนตำมหลักศำสนำ ฝึกสมำธิ
และนอ้ มนำหลักคำสอนของพระพุทธเจ้ำในกำรดำเนินชีวิตไมเ่ บียดเบยี นผ้อู ื่น เปน็ แบบอยำ่ งทด่ี แี ก่ศษิ ย์ ได้รบั
กำรยกยอ่ งชมเชย และมสี ว่ นร่วมและเสริมสร้ำงพฒั นำผู้อน่ื
ภำพท่ี 13 ภำพกำรรว่ มทำบุญในกจิ กรรมวันสำคญั ต่ำงๆ
40
- ไดร้ บั เครือ่ งหมำยเชิดชเู กียรติ “หนึ่งแสนครดู ี”ประจำปี 2557
ภำพท่ี 14 เกียรติบัตรหนง่ึ แสนครดู ี
- ได้รับรำงวลั ชนะเลศิ ครูโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยำดีเดน่ ประจำปี 2559 ภำคกลำง-ภำคตะวนั ออก
ภำพท่ี 15 รำงวลั ชนะเลิศครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยำดีเดน่ ประจำปี 2559
41
- ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรำงวัลระดับเหรียญทองแดง กิจกรรมกำรแข่งขันนำฎศิลป์ไทยอนุรักษ์
ระดับช้ัน ม.1-ม.3 งำนมหกรรมควำมสำมำรถทำงศิลปะหัตถกรรม วิชำกำรและเทคโนโลยีของนักเรียน
ระดับชำติ ปกี ำรศึกษำ 2561
ภำพที่ 16 เกยี รติบัตรครผู สู้ อนนักเรียนได้รบั รำงวลั ระดับเหรียญทองแดง
- ได้รบั รำงวลั ครดู ไี ม่มีอบำยมุข ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2563
ภำพที่ 17 เกียรตบิ ัตรครดู ไี ม่มีอบำยมุข ประจำปีกำรศึกษำ 2563
42
- ได้รับรำงวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพ้ืนฐำน โครงกำรเครือข่ำยครูดีของแผ่นดนิ เจริญรอยตำมเบื้องพระ
ยคุ ลบำท ประจำปี 2563
ภำพที่ 18 เกียรติบัตรครดู ขี องแผน่ ดนิ ข้ันพื้นฐำน ประจำปี 2563
- ไดร้ ับรำงวลั ครผู ู้สอนดีเด่น ระดบั จังหวดั ประจำปี 2564 กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทยดเี ดน่
ภำพที่ 19 ได้รับรำงวัลครูผสู้ อนดีเดน่ ระดบั จังหวดั ประจำปี 2564
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ภำษำไทยดเี ด่น
43
- ไดเ้ ข้ำรบั กำรประเมินคักเลือกหอ้ งเรียนคุณภำพ ประจำปี 2564 ระดับชว่ งชนั้ ที่ 2 ได้อนั ดับที่ 4
สำนกั งำนเขตพืน้ ทก่ี ำรศึกษำประถมศกึ ษำปรำจนี บุรี เขต 2
ภำพที่ 20 กำรประเมินคกั เลือกห้องเรียนคุณภำพ ประจำปี 2564 ระดับช่วงชนั้ ท่ี 2
1.2 ปฏิบัติตนเป็นแบบอยำ่ งทดี่ ี ตำมแนวปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง ทั้งในหนำ้ ทร่ี ำชกำร และส่วนตน จน
ไดร้ ับกำรยกย่องให้ไดร้ บั รำงวลั เชดิ ชเู กยี รติด้ำนวชิ ำชีพ
กำรดำรงชีวิตตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกำรปลกู พชื ผกั สวนครวั ไวร้ บั ประทำนเอง
โดยกำรน้อมนำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยหู่ ัวรชั กำลที่ 9 มำเป็นหลักใน
กำรดำเนินชวี ติ
ภำพที่ 21 กำรดำรงชีวิตตำมหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงด้วยกำรปลกู พชื ผักสวนครัวไว้กนิ เอง