The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักการวิเคราะห์เพลงและการฟังดนตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Airadda Wancha, 2021-07-29 02:55:44

หลักการวิเคราะห์เพลงและการฟังดนตรี

หลักการวิเคราะห์เพลงและการฟังดนตรี

หลกั การวเิ คราะห์เพลงและการ
ฟังดนตรี

หลกั การวิเคราะหแ ละการฟงดนตรี

๑. เน้ือหาในบทเพลง เพลงแตละบทเพลงมีเนื้อหา
และมีความหมายแตกตางกัน เน้ือหาเพลงเปนสิ่งสําคัญที่
ชวยบงบอกความรูสึกและอารมณของเพลงน้ันใหแกผูฟง
หรือผูอานไดรับรูและเขาใจความหมาย ทําใหเกิดอารมณ
ซาบซึ้งไปกับบทเพลงได ซ่ึงขึ้นอยูกับผูประพันธเพลงวาจะ
แตงใหเ น้ือหาของบทเพลงมีความหมาย หรือมลี กั ษณะไปใน
ทศิ ทางใด

ตัวอยา งเนือ้ เพลงโยสลัม
เพลง โยสลัม

ทํานองและคํารอง พระราชนพิ นธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยูห ัว

ปากเปน เอก เลขเปน โท (เลขเปนโท) โบราณวา
หนงั สอื ตรี มปี ญ ญา ไมเสยี หลาย
ถึงรูม าก ไมมีปาก ลาํ บากกาย
มีอุบาย พูดไมเปน เห็นปว ยการ
ถงึ เปน ครู รวู ชิ า (รวู ชิ า) ปญญามาก
ไมร ูจ ัก ใชป าก ใหจดั จา น
เหมอื นเตา ฝง นง่ั ซอื่ (นงั่ ซื่อ) ถอื ราํ คาญ
วชิ าการ มากเปลา ไมเขา ที
ใครชา งพดู พลิกแพลง (พลกิ แพลง) เหมอื นแรงมาก
คนนยิ ม ลมปาก มากเชยี วพี่
ถงึ รนู อย ถอ ยคํา (ถอ ยคาํ ) ใหขําดี
คงเปนที่ สมคะเน ท่ีเฉโก

เนื้อหาของบทเพลงน้ี ตองการใหแงคิดเกี่ยวกับ
ความสําคัญของการใชวาจาใหเปนประโยชนในการ
ดํารงชีวิต สอดแทรกถึงคา นยิ มของคนในสังคมไทย ท่เี ปน
คนพูดจาดี ออ นหวาน รูจักพูด ในทางตรงกนั ขาม ถาเปน
ผูมีความรดู แี ตไ มร ูจ กั พูด หรือถายทอดและสือ่ ความหมาย
ออกมาได ก็ไมสามารถเปนท่ียอมรับนับถือของคนอ่ืน ๆ
ในสงั คมได

หลกั การวเิ คราะหและการฟง ดนตรี

๒. องคประกอบในบทเพลง ประกอบดวยสวนตาง ๆ
ที่รวมเขาดวยกันทําใหเปนเพลง คือเน้ือรองหรือคํารอง
ทํานองดนตรีหรือเครื่องดนตรีเสียงรอง จังหวะความชาเร็ว
ของเพลง และการประสานเสยี ง

ตวั อยา งการวิเคราะหเ พลงพระราชนพิ นธส ายฝน

เพลงพระราชนพิ นธสายฝน เปนเพลงทํานองชา มีการเรียบเรียงเสียง
ประสานไดอยางกลมกลืนมีทวงทํานองอยูในแนว
ทํานอง พระบาทสมเดจ็ พระปรนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ระดับตาง ๆ ทั้งสูงและตํ่าคละเคลากันไปตามบท
เพลงทําใหเพลงมีความไพเราะ นอกจากนี้ยังมี
คาํ รอง พระเจาวรวงศเ ธอ พระองคเจา จกั รพนั ธเพญ็ ศิริ รูปแบบโครงสรางของเพลงท่ีผูประพันธออกแบบไว
ไดอยางวิจิตรบรรจง ใชจังหวะวอลทซ นับวาเปน
เพลงท่ีไดรับความนิยมและมีคุณคาเพลงหน่ึง เมื่อ
ผูฟงไดฟ งเพลงน้ีแลว เกดิ ความรสู ึกเบา เย็น นุมนวล
และเกิดจินตนาการเก่ียวกับธรรมชาติ เชน ฝน
ตนไม ความชุมชื่น เขยี วชอมุ ของแมกไม

หลกั การวเิ คราะหแ ละการฟง ดนตรี

๓. คุณภาพเสียงในบทเพลง คือลักษณะหรือคุณภาพเสียงท่ีดีท่ีใชในบทเพลง ไดแก คุณภาพเสียงรอง
และคณุ ภาพเสียงดนตรี โดยมีหลักและรายละเอยี ด คอื

คณุ ภาพเสียงรอง คือ เสียงขบั รองทีม่ ีคุณภาพ สามารถรองไดถูกตองตามจังหวะและทํานองเพลง มี
การออกเสยี งเนือ้ รองชัดเจน ถกู อักขรวิธมี ีความเหมาะสมสอดคลองกลมกลืนกบั ทํานองเพลง

คณุ ภาพเสียงดนตรี คือ เสียงการบรรเลงดนตรที ่ีมีคุณภาพ โดยบรรเลงไดถูกตองตามจังหวะและ
ทํานองเพลง มรี ะดบั เสยี งของเครื่องดนตรีสอดคลองและกลมกลนื ไมเบาหรอื ดงั จนเกนิ ไป

หลักการวเิ คราะหแ ละการฟงดนตรี

๔. การฟงดนตรีและหลักในการฟงเพลง การฟง คือ การรับรู
ความหมายจากเสียงที่ไดยิน ในชีวิตประจําวันของเรา การฟงเพลง
เปนแนวทางหนงึ่ ทจ่ี ะทาํ ใหเราสามารถรับรถู ึงความซาบซ้งึ ในบทเพลง
ถาผฟู ง มีประสบการณ มีความรูความเขาใจในเพลง รูจ กั การวิเคราะห
กจ็ ะทาํ ใหผฟู ง สามารถแสดงความคิดเห็นและบรรยายบทเพลงได การ
ฟงจึงเปนปจจัยท่ีสําคัญอยางหนึ่ง อาจแบงลักษณะของการฟงได
หลายประเภทไดแ ก

หลักการวิเคราะหและการฟงดนตรี

การฟงผานหู เปนการฟงโดยบังเอิญท่ีไมไดตั้งใจฟง มักมีกิจกรรมอ่ืน ๆ รวมอยูดวย เชน ดนตรีสําหรับประกอบ
พิธกี รรมตา ง ๆ ดนตรีประกอบการแสดง เพื่อเสรมิ สรา งบรรยากาศ ดนตรเี หลาน้ถี าผูฟงไมใหความสนใจในรายละเอียด
หรือติดตามลีลาทาํ นองเพลงอยา งใกลช ดิ ก็จะทําใหไ มสามารถเขาใจหรือรูส กึ กบั บทเพลงน้ันไดอยางแทจริง

การฟงดว ยความรูสึก เปนการตั้งใจฟง มากขนึ้ เรม่ิ สนใจในบางส่ิงบางอยา งในดนตรีทีไ่ ดฟง อาจเปนเพลงของเครื่อง
ดนตรี เชน เสียงของฟลูตท่ีทําใหผูฟงเกิดความรูสึกสดช่ืน เสียงกระห่ึมกังวานของวงออรเคสตราท่ีทําใหผูฟงรูสึกตื่นตัว
หัวใจพองโต หรือบางครั้งทําใหช่ืนชอบในนํ้าเสียงโดยไมทราบวาเปนเสียงอะไร เปนลักษณะของระดับการฟงที่เกิด
ความรสู กึ สนใจมากข้ึน

หลักการวเิ คราะหแ ละการฟงดนตรี

การฟงดวยอารมณ เปนการฟงที่มีปฏิกิริยาตอเสียงดนตรีมากข้ึน เกิดอารมณคลอยตามอิทธิพลของดนตรีท่ีฟง มีบางสิ่ง
บางอยางทส่ี นองอารมณของตนเอง โดยผฟู งไมส นใจในรายละเอยี ดเปน แตเ พียงความพอใจ

การฟง ดวยความเขาใจหรือการฟงดว ยอารมณซ าบซึ้ง เปนการใชสมาธิในการฟง เปนอยางมาก เพ่ือจะรับรแู ละเขาใจเพลง
นนั้ ทง้ั หมดใหม ากทส่ี ดุ เม่อื ไดย ินลีลา จังหวะ ทํานอง ก็จดจํา และใชอ งคป ระกอบของดนตรเี ขามาเปนเคร่ืองมอื ชวยใหสรางความ
เขา ใจในบทเพลงนั้น เปนการฟงที่สามารถบรรยายความรูสึกและแสดงความคิดเห็นที่มีตอบทเพลงได การจะฟงเพลงในลกั ษณะน้ี
ไดน ัน้ ตอ งอาศัยองคประกอบหลกั ในการฟง เพลง ดงั นี้

มีสมาธิและฟงดว ยใจจดจอ ในการฟงเพลง ฟง เพลงบอย ๆ ซํา้ แลวซ้ําอีก
ทกุ คร้ัง เพื่อฝก ทกั ษะการตคี วามหมาย

จดจําจังหวะ ทํานองเพลง ของบทเพลง
การประสานเสียง และรูปแบบของบท เขาใจเน้ือหาในบทเพลง
เพลงใหแ มน ยํา เพอื่ นาํ มาใชป ระกอบใน
การบรรยายความรูสึก และแสดงความ

คดิ เหน็



คาํ ถามท้ายบท

1. การบรรยายความรูสึกและแสดงความคิดเห็นท่ีมีตอบทเพลงตองอาศัย
องคป ระกอบใดบา ง

2. หลกั การวิเคราะหเพลงและการฟง ดนตรีประกอบดวยอะไรบา ง
3. คณุ ภาพเสยี งในบทเพลงคอื อะไรประกอบดว ยอะไรบาง
4. การฟงดนตรีมีประโยชนอยา งไร
5. การฟงดนตรปี ระเภทใดท่ีทําใหสามารถบรรยายความรสู ึกและแสดง

ความคิดเหน็ ทม่ี ตี อ บทเพลงไดโ ดยมีหลักการในการฟง เพลงอยางไร


Click to View FlipBook Version