The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนจังหวัดน่าน ๒. เพื่อวิเคราะห์กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนจังหวัดน่าน ๓. เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผู้วิจัยนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In - depth Interview) โดยได้ทาการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงบุคคล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ตามวัตถุประสงค์การวิจัยที่กาหนดไว้
ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน พบว่า มีการดาเนินกิจกรรมด้วยการนาภูมิปัญญาชาวบ้านของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งชาวบ้านเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกันมีบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการแบ่งโครงสร้างการทางาน การผลิต/ทรัพยากรการผลิต เน้นคนในชุมชนร่วมกันระดมความคิด เพื่อการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและได้ การเงิน/บัญชี มีการบริหารจัดการการเงินและบัญชีที่เป็นระบบและตรวจสอบได้ มีการเปิดเผยข้อมูลการเงิน บัญชีอย่างสม่าเสมอ การตลาด เน้นจัดจาหน่ายสินค้าของวิสาหกิจชุมชน มีจาหน่ายทั้งปลีกและส่ง ภายใน/ต่างจังหวัด ตลาด Online และตลาดต่างประเทศ และมีการกาหนดกฎระเบียบหรือข้อตกลง ให้ความสาคัญกับ การจัดสรรผลประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน มีการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและชุมชนอย่างเหมาะสม ๒. การวิเคราะห์กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน พบว่า (Plan) การวางแผน ชาวบ้านเกิดการริเริ่มรวมกลุ่มกัน ก่อตั้งวิสาหกิจชุมชน และพัฒนากระบวนการอย่างมีขั้นตอน ด้วยการวางแผนอย่างมีส่วน (Do) การลงมือปฏิบัติ วิสาหกิจชุมชนมีโครงสร้างการบริหารองค์กรที่ชัดเจน และการบริหารจัดการคนให้เหมาะสมกับบทบาท (Check) การตรวจสอบ เพื่อความโปร่งใสในการดาเนินงาน มีกฎระเบียบ หรือข้อตกลง ข้อบังคับ ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและชุมชน เน้นการจัดสรรผลประโยชน์ของสมาชิกให้ (Action) ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา จาเป็นต้องยกระดับปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นผสานภูมิปัญญาสากล มีการพัฒนาเครือข่ายร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อยกระดับการจัดเก็บภูมิปัญญาเกี่ยวกับสมุนไพรและทรัพยากรท้องถิ่นให้เกิดความยั่งยืนอย่างมีระบบต่อไป

๓. แนวทางในการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน พบว่า คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มต้องเป็นผู้มีบทบาทสาคัญ เป็นแกนนาผลักดันให้กลุ่มมีความเข็มแข็ง โดยการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่เป็นระบบ ผลิตภัณฑ์ชุมชนต้องมี อัตลักษณ์ นาเสนอ Story เรื่องราวความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ ที่แสดงถึงความเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มของสินค้า สู่ Smart Product และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีความทันสมัย เพื่อเพิ่มกระบวนการผลิตสินค้าให้มีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น และการพัฒนาช่องทางการตลาด พัฒนาช่องทางการจัดจาหน่ายเพื่อเพิ่มฐานกลุ่มลูกค้าให้มีความหลากหลาย เช่น เว็บไซต์ Line Facebook Appication และสื่อประชาสัมพันธ์อื่น ๆ เป็นต้น สมาชิกทุกคนต้องได้รับผลประโยชน์ร่วมกันอย่างเป็นธรรม สมาชิกสามารถดารงชีพอยู่ได้ ภายใต้การส่งเสริมอาชีพของวิสาหกิจชุมชน เมื่อมีงาน มีรายได้ ชุมชนก็ได้รับประโยชน์จากวิสาหกิจชุมชนในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ด้วยรายได้ที่ได้จากการประกอบอาชีพที่ย้อนคืนไปสู่สังคม นามาซึ่งการพัฒนาอย่างยั่งยืนตลอดไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฐานข้อมูลห้องสมุด, 2023-10-16 00:20:18

กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนจังหวัดน่าน Management Process of community enterprises for Sustainable Development Case Study : Enterprise Community in Nan Province

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนจังหวัดน่าน ๒. เพื่อวิเคราะห์กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนจังหวัดน่าน ๓. เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผู้วิจัยนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In - depth Interview) โดยได้ทาการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงบุคคล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ตามวัตถุประสงค์การวิจัยที่กาหนดไว้
ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน พบว่า มีการดาเนินกิจกรรมด้วยการนาภูมิปัญญาชาวบ้านของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งชาวบ้านเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกันมีบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการแบ่งโครงสร้างการทางาน การผลิต/ทรัพยากรการผลิต เน้นคนในชุมชนร่วมกันระดมความคิด เพื่อการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและได้ การเงิน/บัญชี มีการบริหารจัดการการเงินและบัญชีที่เป็นระบบและตรวจสอบได้ มีการเปิดเผยข้อมูลการเงิน บัญชีอย่างสม่าเสมอ การตลาด เน้นจัดจาหน่ายสินค้าของวิสาหกิจชุมชน มีจาหน่ายทั้งปลีกและส่ง ภายใน/ต่างจังหวัด ตลาด Online และตลาดต่างประเทศ และมีการกาหนดกฎระเบียบหรือข้อตกลง ให้ความสาคัญกับ การจัดสรรผลประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน มีการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและชุมชนอย่างเหมาะสม ๒. การวิเคราะห์กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน พบว่า (Plan) การวางแผน ชาวบ้านเกิดการริเริ่มรวมกลุ่มกัน ก่อตั้งวิสาหกิจชุมชน และพัฒนากระบวนการอย่างมีขั้นตอน ด้วยการวางแผนอย่างมีส่วน (Do) การลงมือปฏิบัติ วิสาหกิจชุมชนมีโครงสร้างการบริหารองค์กรที่ชัดเจน และการบริหารจัดการคนให้เหมาะสมกับบทบาท (Check) การตรวจสอบ เพื่อความโปร่งใสในการดาเนินงาน มีกฎระเบียบ หรือข้อตกลง ข้อบังคับ ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและชุมชน เน้นการจัดสรรผลประโยชน์ของสมาชิกให้ (Action) ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา จาเป็นต้องยกระดับปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นผสานภูมิปัญญาสากล มีการพัฒนาเครือข่ายร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อยกระดับการจัดเก็บภูมิปัญญาเกี่ยวกับสมุนไพรและทรัพยากรท้องถิ่นให้เกิดความยั่งยืนอย่างมีระบบต่อไป

๓. แนวทางในการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน พบว่า คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มต้องเป็นผู้มีบทบาทสาคัญ เป็นแกนนาผลักดันให้กลุ่มมีความเข็มแข็ง โดยการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่เป็นระบบ ผลิตภัณฑ์ชุมชนต้องมี อัตลักษณ์ นาเสนอ Story เรื่องราวความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ ที่แสดงถึงความเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มของสินค้า สู่ Smart Product และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีความทันสมัย เพื่อเพิ่มกระบวนการผลิตสินค้าให้มีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น และการพัฒนาช่องทางการตลาด พัฒนาช่องทางการจัดจาหน่ายเพื่อเพิ่มฐานกลุ่มลูกค้าให้มีความหลากหลาย เช่น เว็บไซต์ Line Facebook Appication และสื่อประชาสัมพันธ์อื่น ๆ เป็นต้น สมาชิกทุกคนต้องได้รับผลประโยชน์ร่วมกันอย่างเป็นธรรม สมาชิกสามารถดารงชีพอยู่ได้ ภายใต้การส่งเสริมอาชีพของวิสาหกิจชุมชน เมื่อมีงาน มีรายได้ ชุมชนก็ได้รับประโยชน์จากวิสาหกิจชุมชนในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ด้วยรายได้ที่ได้จากการประกอบอาชีพที่ย้อนคืนไปสู่สังคม นามาซึ่งการพัฒนาอย่างยั่งยืนตลอดไป

Keywords: กระบวนการบริหารการจัดการวิสาหกิจชุมชน,การพัฒนาอย่างยั่งยืน,วิสาหกิจชุมชนจังหวัดน่าน

๑๙๐


๑๙๑


๑๙๒


๑๙๓


๑๙๔ ภาคผนวก ง การรับรองการน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์


๑๙๕


๑๙๖ ภาคผนวก จ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบจากการวิจัย


๑๙๗ ประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับ ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ผลลัพธ์ (Outcome) ผลกระทบ ผลกระทบ (Impact) ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร วิสาหกิจชุมชนเพื่อ ก า รพัฒน าอย่ าง ยั่งยืน วิส าหกิจชุมชน กลุ่ม ผู้ ผ ลิ ต ภ า ค รั ฐ ภ าคเอ กชนมี ค ว าม รู้ ก ระบวน ก า รบ ริห า ร จัดการวิสาหกิจชุมชน อย่างยั่งยืน วิสาหกิจชุมชนสามารถ น าไปปรับกระบวนการ บริหารจัดการวิสาหกิจ ชุมชนของตนเองได้ วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น มี ก ระบวนก า รบ ริห า ร จัดการที่เป็นระบบมาก ยิ่งข้น รู ป แ บ บ ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร วิสาหกิจชุมชนเพื่อ ก า รพัฒน าอย่ าง ยั่งยืน วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ไ ด้ รูปแบบก ระบวนกา ร บริหารจัดการวิสาหกิจ ชุมชนที่มีประสิทธิภาพ วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ป รั บ รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร จัดการวิสาหกิจชุมชนให้ มีโครงสร้างที่เหมาะสม วิส าหกิจชุมชนมีก า ร บริหารจัดการตั้งแต่การ ผลิต การบริหารจัดการ การเงิน บัญชี การตลาด ที่ดียิ่งขึ้น แ น ว ท าง ใ น ก า ร พัฒนารูปแบบการ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร วิสาหกิจชุมชนเพื่อ ก า รพัฒน าอย่ าง ยั่งยืน วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ไ ด้ แนวทางในการพัฒนา รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร จัดการวิสาหกิจชุมชน เพื่อก า รพัฒน าอย่ าง ยั่งยืน วิสาหกิจชุมชนสามารถ ยกระดับการบริหารเพื่อ พัฒนาให้เป็นสากล วิสาหกิจชุมชนสามารถ พึ่งพาตนเองได้ มีการ บริหารจัดการที่ดี


๑๙๘ ประวัตินักวิจัย ๑. ชื่อ - นามสกุล ภาษาไทย นายธัชพล ยรรยงค์ ภาษาอังกฤษ Mr.Thatchaphon Yanyong ต าแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจ าหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต : สังกัดหน่วยงาน/คณะ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่อยู่ที่ติดต่อได้ บ้านเลขที่ ๔๖๙ หมู่ที่ ๓ วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกียรติฯ แขวง/ต าบล ฝายแก้ว เขต/อ าเภอ ภูเพียง จังหวัด น่าน รหัสไปรษณีย์๕๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๕๔-๖๐๑-๐๖๓ โทรสาร ๐๕๔-๖๐๑-๐๖๓ ต่อ ๑๑๖ โทรศัพท์มือถือ ๐๘๙-๖๑๑๑๙๙๘ อีเมล์[email protected] วุฒิการศึกษา ปริญญาตรีพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิชารัฐศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับ ๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๕๒ ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) นโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก, พ.ศ.๒๕๕๔ สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ รัฐศาสตร์, การเมืองการปกครอง, รัฐประศาสนศาสตร์ 2. ชื่อ - นามสกุล : ภาษาไทย พระมหากิตติ กิตฺติเมธี ภาษาอังกฤษ PhramahaKitti Kittimethi ต าแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจ าหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต : สังกัดหน่วยงาน/คณะ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่อยู่ที่ติดต่อได้ เลขที่ ๔๖๙ หมู่ที่ ๓ วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกียรติฯ แขวง/ต าบล ฝายแก้ว เขต/อ าเภอ ภูเพียง จังหวัด น่าน รหัสไปรษณีย์๕๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๕๔-๖๐๑-๐๖๓ โทรสาร ๐๕๔-๖๐๑-๐๖๓ ต่อ ๑๑๖ โทรศัพท์มือถือ ๐๙๑-๑๖๒๘๖๖๖ อีเมล์[email protected] วุฒิการศึกษา ปริญญาตรีพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๕๖ ปริญญาโท พุทธศาสตมหาบัณฑิต (พธ.ม.) รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๕๗ สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ รัฐศาสตร์, รัฐประศาสนศาสตร์


๑๙๙ 3. ชื่อ - นามสกุล : ภาษาไทย พระมหาอนันต์ องฺกุรสิริ ภาษาอังกฤษ PhramahaAnan Aunggurasiri ต าแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจ าหลักสูตรรัฐ : ประศาสนศาสตรบัณฑิต สังกัดหน่วยงาน/คณะ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่อยู่ที่ติดต่อได้ เลขที่ ๔๖๙ หมู่ที่ ๓ วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกียรติฯ แขวง/ต าบล ฝายแก้ว เขต/อ าเภอ ภูเพียง จังหวัด น่าน รหัสไปรษณีย์๕๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๕๔-๖๐๑-๐๖๓ โทรสาร ๐๕๔-๖๐๑-๐๖๓ ต่อ ๑๑๖ โทรศัพท์มือถือ ๐๘๘-๗๓๖๓๐๔๔ อีเมล์[email protected] วุฒิการศึกษา ปริญญาตรีพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๕๙ ปริญญาโท พุทธศาสตมหาบัณฑิต (พธ.ม.) รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๖๐ สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ รัฐศาสตร์, รัฐประศาสนศาสตร์


Click to View FlipBook Version