The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anawat, 2022-09-20 23:18:53

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2564

รายงานสังเคราะห์ SAR 2564 สพม.กท1

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
(Self- Assessment Report : SAR)
ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

ระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

[ก]

คำนำ

เอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self- Assessment Report : SAR)
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ นี้ จัดทำขึ้นเพ่ือ
สรุปผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาในรอบปีการศึกษาว่ามีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพียงใด นอกจากนี้ ยังเป็นการ
วิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในภาพรวมระดับเขตพื้นที่การศึกษาว่า สามารถจัดการศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐานมีคณุ ภาพในระดบั ใด ตลอดจนการสังเคราะห์ผล จุดแข็ง
และจุดทค่ี วรพัฒนาของสถานศึกษา เพ่อื หาแนวทางในการสง่ เสริมพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในของ
สถานศึกษาให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้ง ทำให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
กรุงเทพมหานคร เขต ๑ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ข้อมูลสารเทศในภาพรวม
เพ่อื การกำหนดนโยบายและวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาในปีงบประมาณต่อไป

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ขอขอบคุณผู้อำนวยการ
สถานศึกษาในสังกัดที่เป็นผู้นำในการขับเคลื่อนระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตลอดจน
รองผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานแผนงาน หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา และหัวหน้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เป็นแกนนำสำคัญในการจัดระบบและดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
และขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ที่ให้คำแนะนำในการสังเคราะห์ผล
การประเมินตนเองในครั้งน้ี รวมทั้งทีมงานของกลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ทีจ่ ัดทำเอกสาร “รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑” นี้ได้สำเร็จเรียบร้อยอย่างมี
คุณภาพทีด่ ีเย่ยี ม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสาร
“รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา
๒๕๖๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑” นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผูบ้ ริหารการศกึ ษา ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาที่เก่ียวข้อง ในการนำไปใช้
เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาต่อไป

(นายนยิ ม ไผโ่ สภา)
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

สารบัญ [ข]

คำนำ หน้า
สารบญั ก
สารบญั ตาราง ข
บทสรปุ สำหรับผ้บู ริหาร ค
ตอนที่ ๑ บทนำ จ
ตอนที่ ๒ ข้อมลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษาในสงั กัด 1
ตอนที่ ๓ ผลการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐาน ๗
13
การศกึ ษา
ตอนที่ ๔ ผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพฒั นาคุณภาพของ 39

สถานศกึ ษา 50
บรรณานกุ รม 52
ภาคผนวก ๕๒

เครื่องมือการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๘๒
ตามแนวทางการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
สำหรับสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา

คณะผู้จดั ทำ

[ค]

สารบัญตาราง

ตาราง หนา้
๑ จำนวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอื่น จำนวนนักเรียนตามระดับชั้น ๗
ที่เปดิ สอนจำแนกตามกลุ่มโรงเรียน
๒ จำนวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอื่น จำนวนนักเรียนตามระดับชั้นที่ ๙
เปดิ สอนจำแนกตามขนาดสถานศึกษา
๓ สรุปผลประเมินคุณภาพภายนอกรอบล่าสุดของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี 12
การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
๔ ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สารและการคิดคำนวณ 14
๕ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 15
และแก้ปัญหา
๖ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 16
๗ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 17
๘ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 18
๙ ความรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคตติ อ่ งานอาชีพ 19
๑๐ การมคี ุณลักษณะและค่านิยมท่ดี ีตามที่สถานศึกษากำหนด 20
๑๑ ความภมู ใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทย 21
๑๒ การยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 22
๑๓ สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม 23
๑๔ มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพนั ธกิจทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 24
๑๕ มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพสถานศึกษา 25
๑๖. มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา 26
และทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
๑๗. มกี ารพฒั นาครู และบคุ ลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ 27
๑๘. มีการจัดสภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 28
อยา่ งมีคุณภาพ
๑๙ มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ 29
เรียนรู้
๒๐ จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้ 30
๒๑ ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ เี่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ 31
๒๒ มีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชิงบวก 32
๒๓ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รียน 33

[ง]

สารบัญตาราง (ตอ่ )

ตาราง หนา้
๒๔ มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การ 34

เรียนรู้ 35
๒๕ แสดงรายการสงั เคราะหจ์ ดุ เด่นของสถานศกึ ษา 36
๒๖ แสดงรายการสงั เคราะห์จดุ ควรพฒั นาของสถานศึกษา 3๗
๒๗ แผนการดำเนนิ งานเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาให้สงู ขน้ึ 40
๒๘ ผลการวิเคราะห์ประสทิ ธภิ าพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษาระดบั การศึกษา
48
ข้ันพน้ื ฐาน
๒๙ สรุปผลการวิเคราะห์ประสทิ ธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา

ระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร
เขต ๑ รายสถานศกึ ษา

[จ]

บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหาร

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ได้ดำเนินการสังเคราะห์
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๖๗ แห่ง พบว่า
สถานศึกษาส่วนใหญ่มีจำนวนครูผู้สอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ ๒๐ คนขึ้นไป
จำนวน ๖๒ แห่ง (ร้อยละ ๙๒.๕๔) และมีสถานศึกษาที่มีจำนวนครูผู้สอนต่ำกว่า ๒๐ คน
จำนวน ๕ แห่ง (ร้อยละ ๗.๔๖) มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงานในสถานศึกษา จำนวน ๖๕ แห่ง
(ร้อยละ ๙๗.๐๑) และไม่มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงานในสถานศึกษา จำนวน ๒ แห่ง (ร้อยละ
๒.๙๙) สถานศกึ ษามีจำนวนนักเรยี นต้ังแต่ ๑๒๐ คนขึน้ ไป ทุกสถานศึกษา จำนวน ๖๗ แห่ง (ร้อยละ
๑๐๐.๐๐) และเป็นสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ปกติทั่วไป ทุกสถานศึกษา จำนวน ๖๗ แห่ง (ร้อยละ
๑๐๐.๐๐)

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาโดยรวม
ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด โดยรวม มีคุณภาพ

อยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยแยกเป็นสถานศึกษามีคณุ ภาพอยู่ในระดับยอดเย่ียม จำนวน ๓๗ แห่ง (ร้อย
ละ ๕๕.๒๒) ระดับดีเลิศ จำนวน ๒๕ แห่ง (ร้อยละ ๓๗.๓๑) และระดับดี จำนวน ๕ แห่ง (ร้อยละ
๗.๔๖) และเมื่อพิจารณาภาพรวมในรายมาตรฐานแล้วพบว่า มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและ
การจัดการ มีผลการประเมนิ ในระดบั ยอดเยี่ยมสูงทีส่ ุด คือ จำนวน 47 แห่ง (รอ้ ยละ 70.15) รองลงมา
คือ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จำนวน 38 แห่ง (ร้อยละ
56.72) และมาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน จำนวน ๒๗ แห่ง (ร้อยละ 40.30 ) ตามลำดบั สำหรับ
ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน มผี ลการประเมิน ดังน้ี มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมินใน
ระดับยอดเยี่ยม จำนวน ๒๗ แห่ง (ร้อยละ 40.30) ระดับดีเลิศ จำนวน 24 แห่ง (ร้อยละ 35.82 ) และ
ระดับดี จำนวน 16 แหง่ (รอ้ ยละ 23.88) มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ มผี ลการ
ประเมินในระดับยอดเยี่ยม จำนวน 47 แห่ง (ร้อยละ 70.15) ระดับดีเลิศ จำนวน 17 แห่ง (ร้อยละ
25.37) และระดับดี จำนวน ๓ แห่ง (ร้อยละ ๔.๔๘) และมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการ
สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมินในระดับยอดเยี่ยม จำนวน 38 แห่ง (ร้อยละ 56.72)
ระดบั ดเี ลิศ จำนวน 25 แหง่ (รอ้ ยละ 37.31) และระดบั ดี จำนวน 4 แห่ง (รอ้ ยละ 5.97)

จดุ เดน่ จุดที่ควรพฒั นา และแผนการดำเนนิ งานเพื่อยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
จดุ เด่น
ดา้ นคณุ ภาพของผู้เรียน จดุ เดน่ ทีพ่ บมากท่สี ดุ คอื ผ้เู รียนมีสขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
รอ้ ยละ 71.64 รองลงมาคือด้านความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร รอ้ ยละ
62.69 เท่ากันกับ ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนดและผู้เรียนมี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา
รอ้ ยละ 59.70 เทา่ กัน ตามลำดับ

[ฉ]

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ มีระบบบริหารจัดการ
คุณภาพสถานศกึ ษา ร้อยละ 88.06 รองลงมา คือ การมีเปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษา
กำหนดชัดเจน ร้อยละ 68.66 และการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัด
การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ รอ้ ยละ 58.21 ตามลำดับ

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ
การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ร้อยละ
74.63 รองลงมา คือ การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ
62.69 และการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ
47.76 ตามลำดบั

จดุ ท่ีควรพัฒนา
ด้านคุณภาพของผู้เรียน จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
หลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 50.75 รองลงมา คือ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ร้อยละ 43.28 และผู้เรียนมี
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ร้อยละ 34.33
ตามลำดับ
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด การจัดระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 62.69 รองลงมา คือ
การจัดระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพสถานศึกษา ร้อยละ 56.72 และการพัฒนาครู และบุคลากรให้
มีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี รอ้ ยละ 40.30 ตามลำดบั
ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ
การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 52.24 รองลงมา คือ
การตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 49.25 และ
จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ
46.27 ตามลำดบั

แผนการดำเนนิ งานเพือ่ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาใหส้ ูงขนึ้
๑. ด้านคุณภาพของผู้เรียน พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีแผนการดำเนินงานพัฒนา

ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 62.69 รองลงมา ด้านการอ่าน
การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ร้อยละ 43.28 และด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ การแกป้ ญั หา รอ้ ยละ 41.79 ตามลำดบั

๒. ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีแผนการดำเนินงาน
พัฒนาด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ร้อยละ 62.69 รองลงมา
ด้านจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ

[ช]

47.76 และด้านการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย รอ้ ยละ ๔๔.๗๘ ตามลำดบั

๓. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พบว่า สถานศึกษา
ส่วนใหญ่มีแผนการดำเนินงานพัฒนาด้านการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้ ร้อยละ ๔๓.๒๘ เท่ากับด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้ รอ้ ยละ ๔๓.๒๘ รองลงมาเปน็ ด้านการตรวจสอบและประเมิน
ผูเ้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นา ร้อยละ 32.84 ตามลำดบั

[๑]

ตอนที่ ๑
บทนำ

พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
และพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๖ มาตรฐานและการประกัน
คุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๘ กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนนิ การอย่างต่อเนื่องโดยมีการจดั ทำรายงานประจำปีเสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ประกอบกับ
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา โดยมีการปรับปรุงมาตรฐานและประเด็นพิจารณาให้สะท้อนถึงคุณภาพอย่างแท้จริง
กำหนดเกณฑ์และรายการประเมินแบบองค์รวม (Holistic Assessment) ซึ่งเป็นการประเมินโดยใช้
ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Evidence Based) ลดภาระการจัดทำเอกสารที่ใช้ในการประเมิน ยึดหลักการ
ตัดสินระดับคุณภาพตามหลักการตดั สนิ โดยอาศยั ความเชีย่ วชาญ (Expert Judgment) ของผ้ปู ระเมิน
และใช้การตรวจทานผลการประเมิน โดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (Peer Review)
และปรับกระบวนทัศน์ในการประเมินที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาบนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา
รวมทั้งได้มีกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
๒๕๖๑ ข้อ ๓ กำหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้
จัดให้มีการประเมินผล ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี และต่อมา
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นเป้าหมายและแนวทางในการ
จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบท ครอบคลุมกับภาระหน้าที่ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
และใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแล ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังกล่าวประกอบด้วยมาตรฐานจำนวน ๓ มาตรฐาน
๒๑ ประเด็นการพจิ ารณา ดงั นี้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๒]

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รยี น
๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผู้เรยี น

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดงั น้ี
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน
๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย

แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
๕) มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
๖) มคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานอาชีพ

๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด
๒) ความภาคภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย
๓) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๒.๑ มเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจท่สี ถานศึกษากำหนดชดั เจน
๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร

สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี

คณุ ภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
๓.๑ จัดการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้

ในชวี ติ ได้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดบั เขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๓]

๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู ีเ่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้
๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ
จัดการเรยี นรู้
ในการขับเคลือ่ นการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสำนกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้สถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการให้เป็นไปตาม
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นั้น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐานได้มีประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง แนวปฏิบัติการดำเนินงาน
ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๖๑ สำหรับใชเ้ ปน็ แนวปฏิบัติในการดำเนนิ งานการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดย
กำหนดให้สถานศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานดำเนนิ การดังน้ี
๑. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
เพื่อให้เกิดการพัฒนา และเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ใหเ้ กิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม ชมุ ชน และผมู้ ีส่วนเก่ยี วข้อง
๒. จัดให้มรี ะบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ดังน้ี
๒.๑ กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กระทรวงประกาศใช้และให้สถานศึกษา กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท ทั้งนี้สามารถเพิ่มเติมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
นอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใชไ้ ด้ โดยให้สถานศกึ ษาและผูเ้ กี่ยวข้องดำเนินการและ
รบั ผิดชอบรว่ มกนั
๒.๒ จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ทส่ี อดคล้องกับสภาพปัญหา
และความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ โดยสะทอ้ นคณุ ภาพความสำเร็จอย่างชัดเจน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
๒.๓ ดำเนนิ การตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๒.๔ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยกำหนด
ผูร้ ับผิดชอบ และวิธีการที่เหมาะสม
๒.๕ ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ของสถานศกึ ษา และนำผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนา
๒.๖ จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นำเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๔]

สถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เป็นประจำทกุ ปี

๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมินตนเอง
(Self-Assessment Report : SAR) และตามคำแนะนำของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพและพฒั นาอย่างตอ่ เนือ่ ง

๓. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศกึ ษา (สมศ.) ในการประเมินคณุ ภาพภายนอกของสถานศกึ ษา เพ่ือปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตามข้อเสนอแนะของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และหน่วยงานต้น
สังกดั หรือหน่วยงานที่กำกับดูแล เพอ่ื นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา

ในส่วนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในฐานะหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับ
ดูแลสถานศึกษา ให้ดำเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตลอดจนให้คำปรึกษา
ช่วยเหลือและแนะนำสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
แต่ละแหง่ อย่างตอ่ เนอื่ ง

๒. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-
Assessment Report : SAR) พร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการใหม้ ีการประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้น
และจัดส่งไปยังสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อใช้เป็นข้อมูล
และแนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก

๓. ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามข้อเสนอแนะของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อนำไปสู่
การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๔. ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
ในการประเมินคณุ ภาพภายนอก

๕. อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์ และให้ข้อมูลเพิ่มเติม
ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก

จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
เป็นขั้นตอนการดำเนินงานที่สำคัญในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามวงรอบ
ปีการศึกษา ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วม
ของครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ผ่านกระบวนการประเมินและให้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ
ผลการดำเนินงาน และมีการบันทึกข้อมูลพร้อมจัดทำและเก็บรวบรวมสารสนเทศและเอกสาร

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๕]

ร่องรอยหลักฐานไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษาที่สถานศึกษาต้องดำเนินการหลังจากจัดการศึกษาผ่านไปในแต่ละปีการศึกษา
เพื่อรายงานผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาให้บุคลากรในสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และ
ผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสะท้อนภาพความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยใช้กลไก
การประกันคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และเมื่อสถานศึกษาแต่ละแห่ง
จดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว สถานศึกษาต้องจัดส่งรายงาน
ดงั กล่าวตอ่ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเปน็ ประจำทุกปี

ในส่วนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ โดยกลุ่มงาน
ส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งมีหน้าที่และความรับผิดชอบโดยตรงในการ
เสริมสรา้ งความเข้มแข็งของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้ดำเนินการตรวจสอบ รวบรวม ศึกษา
วิเคราะห์ และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR)
ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำนวน ๖๗ แห่ง และจัดทำ
เอกสาร “รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑” ตามกรอบ/แนวทางการ
สังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

1.1 วัตถุประสงค์ของการจัดทำเอกสาร “รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment
Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ระดับเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑”

๑. เพื่อสรุปผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔
ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ สำหรับใช้
เป็นข้อมูลสารสนเทศในการวางแผน และพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๒. เพือ่ เสนอสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานสำหรบั การวเิ คราะห์ สังเคราะหแ์ ละ
สรุปผลรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ในภาพรวมและใช้เป็นฐานข้อมูล/ แนว
ทางการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานต่อไป

1.2 ขั้นตอนการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report
: SAR) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๑. รวบรวมรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔
ของสถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๒. ศึกษาแนวทางสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามกรอบ/
แนวทางการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับปฐมวัย และ
ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๖]

๓. สังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๔. จัดทำเอกสาร “รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment
Report : SAR) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร
เขต ๑” ซง่ึ ประกอบดว้ ย ๔ บท ดังน้ี

ตอนท่ี ๑ บทนำ
ตอนท่ี ๒ ขอ้ มลู พืน้ ฐานของสถานศึกษาในสงั กดั
ตอนที่ ๓ ผลการสงั เคราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ ๔ ผลการวเิ คราะห์ประสทิ ธภิ าพและโอกาสในการพฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 256๔ ระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๗]

ตอนที่ ๒

ข้อมลู พ้นื ฐานของสถานศึกษาในสงั กัด

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษาประกอบด้วย จำนวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู
บุคลากรอื่น จำนวนนักเรียนตามระดับชั้นที่เปิดสอน และโรงเรียนที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบลา่ สุด (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 มิถุนายน 2564) ดงั น้ี
2.1 จำนวนสถานศกึ ษา ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู บคุ ลากรอ่นื จำนวนนักเรยี นตามระดบั ช้นั ที่เปดิ สอน

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 มสี ถานศกึ ษาระดับมัธยมศึกษา
จำนวน 67 แห่ง แบ่งเป็นสถานศึกษาท่ีเปิดสอนระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 6 จำนวน 66 แห่ง (รอ้ ยละ
98.51) และสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 จำนวน 1 แห่ง (ร้อยละ 1.49)
ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 153 คน ข้าราชการครู จำนวน 5,089 คน บุคลากรอื่น
จำนวน 1,548 คน และนักเรียน จำนวน 108,253 คน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 บริหารจัดการโดยใชก้ ลุม่
โรงเรียนเป็นฐาน ซึ่งมีกลุ่มโรงเรียนทั้งหมด จำนวน ๖ กลุ่ม และในแต่ละกลุ่มโรงเรียนมีขนาด
สถานศกึ ษาท่หี ลากหลาย ดงั นี้

2.1.1 จำนวนสถานศึกษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู บุคลากรอ่ืน จำนวนนกั เรยี นตามระดับชั้น
ทีเ่ ปดิ สอน จำแนกตามกลุ่มโรงเรียน
ตารางที่ 1 จำนวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอื่น จำนวนนักเรียนตามระดับชั้นท่ีเปิดสอน

จำแนกตามกลุ่มโรงเรียน

จำนวนบุคลากรอ่ืน

กลมุ่ จำนวน จำนวนผู้บริหาร จำนวนครู (พ นั ก ง า น ร า ช ก า ร จำนวนนกั เรยี น
โรงเรียน สถานศกึ ษา สถานศึกษา ครูอัตราจ้าง ครูธุรการ (รอ้ ยละ)
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (เฉพาะขา้ ราชการคร)ู เจ้าหน้าที่ ครูพี่เลี้ยง พนักงาน
ที่
10 (14.92) ๙ (๕.๘๘) (ร้อยละ) ขับรถ คนสวน พนักงานรักษา
1 14 (20.90) 46 (๓0.๐๗) ความปลอดภยั นกั การภารโรง)
2 11 (16.42) ๑๐ (๖.๕๔)
3 11 (16.42) ๑๑ (๗.๑๙) (ร้อยละ)
4 11 (16.42) 4๒ (๒๗.๔๕)
5 10 (14.92) 8๔๔ (๑๖.๕๘) 2๘๕ (1๘.๔๑) ๑๙,๐๓๐ (๑๗.๕๘)
67 (100.00) 35 (๒๒.๘๘)
6 1,0๒๒ (๒๐.๐๘) 3๒๐ (2๐.๖๗) 21,1๔๗ (๑๙.๕๓)
รวม ๑๕๓ (100.00)
๕๘๒ (11.๔๔) 1๗๗ (1๑.๔๓) 11,๕๘๐ (1๐.๗๐)

๘๘๗ (๑๗.๔๓) ๓๑๑ (2๐.๐๙) 18,๗๑๗ (17.๒๙)

1,๐๖๖ (๒๐.๙๕) 2๘๓ (1๘.๒๘) 23,๔๘๙ (21.๗๐)

๖๘๘ (๑๓.๕๒) ๑๗๒ (๑๑.๑๑) 14,๒๙๐ (13.๒๐)

5,๐๘๙ (100.00) 1,๕๔๘ (100.00) 10๘,๒๕๓ (100.00)

จากตารางที่ ๑ พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
ประกอบด้วยกลุ่มโรงเรยี น จำนวน 6 กลมุ่ โรงเรียน มจี ำนวนสถานศกึ ษา ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู บุคลากร
อื่น จำนวนนักเรียนตามระดบั ช้ันท่เี ปิดสอน ดงั นี้

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๘]

กลุ่มโรงเรียนที่มีจำนวนสถานศึกษามากที่สุด คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีจำนวน 14 แห่ง
(ร้อยละ 20.90) รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 3 กลุ่มโรงเรียนที่ 4 กลุ่มโรงเรียนที่ 5
มีจำนวน 11 แห่ง (ร้อยละ 16.42) เทา่ กนั และกลุ่มโรงเรียนที่ 1 กลุ่มโรงเรียนท่ี 6 มจี ำนวน 10 แห่ง
(ร้อยละ 14.92) เท่ากนั ตามลำดบั

กลุ่มโรงเรียนที่มีจำนวนผู้บริหารสถานศึกษามากที่สุด คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีผู้บริหาร
สถานศึกษา จำนวน 46 คน (รอ้ ยละ ๓0.๐๗ ) รองลงมา คือ กลมุ่ โรงเรยี นที่ 5 มผี ู้บริหารสถานศึกษา
จำนวน 4๒ คน (ร้อยละ ๒๗.๔๕ ) และกลุ่มโรงเรียนที่ ๖ มีผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3๕ คน
(ร้อยละ ๒๒.๘๘) ตามลำดับ

กลุ่มโรงเรียนที่มีจำนวนข้าราชการครูมากที่สุด คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 5 มีข้าราชการครู
จำนวน 1,๐๖๖ คน (ร้อยละ ๒๐.๙๕) รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีข้าราชการครู
จำนวน 1,0๒๒ คน (ร้อยละ ๒๐.๐๘) และกลุ่มโรงเรียนท่ี 4 มีข้าราชการครู จำนวน ๘๘๗ คน
(ร้อยละ ๑๗.๔๓) ตามลำดบั

กลุ่มโรงเรียนที่มีจำนวนบุคลากรอื่นมากที่สุด คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีบุคลากรอื่น
จำนวน 3๒๐ คน (ร้อยละ 2๐.๖๗) รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 4 มีบุคลากรอื่น จำนวน ๓๑๑ คน
(รอ้ ยละ 2๐.๐๙) และกลมุ่ โรงเรียนที่ ๑ มีบุคลากรอื่น จำนวน 2๘๕ คน (รอ้ ยละ 1๘.๔๑) ตามลำดับ

กลุ่มโรงเรียนที่มีจำนวนนักเรียนมากที่สุด คือ กลุ่มโรงเรียนท่ี 5 มีนักเรียน
จำนวน 23,๔๘๙ คน (ร้อยละ 21.๗๐ ) รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรียนท่ี 2 มีนักเรียน
จำนวน 21,1๔๗ คน (ร้อยละ ๑๙.๕๓) และกลุ่มโรงเรียนที่ 4 มีนักเรียน จำนวน ๑๙,๐๓๐ คน
(ร้อยละ ๑๗.๕๘) ตามลำดบั

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๙]

2.1.2 จำนวนสถานศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู บุคลากรอืน่ จำนวนนกั เรียนตามระดบั ชั้น
ท่ีเปดิ สอน จำแนกตามขนาดสถานศึกษา
ตารางท่ี 2 จำนวนสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู บุคลากรอ่นื จำนวนนกั เรยี นตามระดับชน้ั ท่ีเปดิ สอน

จำแนกตามขนาดสถานศกึ ษา

ขนาด จำนวน จำนวนผบู้ รหิ าร จำนวนครู จำนวนบุคลากรอน่ื จำนวนนักเรยี น
สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา (รอ้ ยละ)
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (เฉพาะข้าราชการครู) (พนกั งานราชการ
ครอู ัตราจา้ ง ครธู รุ การ
53 (34.64) (ร้อยละ) เจา้ หน้าท่ี ครพู เ่ี ลยี้ ง
54 (35.29) พนกั งานขบั รถ คนสวน
23 (15.03) พนักงานรักษาความปลอดภยั
23 (15.03)
153 (100.00) นักการภารโรง)

(รอ้ ยละ)

ใหญ่พเิ ศษ 1๗ (25.37) 2,539 (49.89) 750 (48.45) 56,284 (51.99)
ใหญ่ 16 (23.88)
กลาง 14 (20.90) 1,428 (28.06) 368 (23.77) 31,252 (28.87)
เลก็ 20 (29.85)
รวม 67 (100.00) 679 (13.34) 229 (14.79) 14,098 (13.02)

443 (8.71) 201 (12.98) 6,619 (6.1๑)

5,089 (100.00) 1,548 (100.00) 108,253 (100.00)

จากตารางที่ ๒ พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
ประกอบด้วยสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก มีจำนวนสถานศึกษา
ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครู บคุ ลากรอ่ืน จำนวนนักเรียนตามระดับชน้ั ที่เปดิ สอน ดังน้ี

ขนาดสถานศึกษาที่มีจำนวนมากที่สุด คือ สถานศึกษาขนาดเล็ก มีจำนวน ๒๐ แห่ง
(ร้อยละ 29.85) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีจำนวน 1๗ แห่ง (ร้อยละ 25.37)
และสถานศึกษาขนาดใหญ่ มจี ำนวน 16 แห่ง (รอ้ ยละ 23.88) ตามลำดบั

ขนาดสถานศึกษาที่มีจำนวนผู้บริหารสถานศึกษามากท่ีสุด คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีผู้บริหาร
สถานศึกษา จำนวน 54 คน (ร้อยละ 35.29) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีผู้บริหาร
สถานศึกษา จำนวน 53 คน (ร้อยละ 34.64) และสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็ก มีผู้บริหาร
สถานศึกษาขนาดสถานศึกษาละ จำนวน 23 คน (รอ้ ยละ 15.03) ตามลำดับ

ขนาดสถานศึกษาที่มีจำนวนข้าราชการครูมากที่สุด คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ
มีข้าราชการครู จำนวน 2,539 คน (ร้อยละ 49.89) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่
มีข้าราชการครู จำนวน 1,428 คน (ร้อยละ 28.06) และสถานศึกษาขนาดกลาง มีข้าราชการครู
จำนวน 679 คน (รอ้ ยละ 13.34) ตามลำดบั

ขนาดสถานศึกษาที่มีจำนวนบุคลากรอื่นมากที่สุด คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ
มีบุคลากรอื่นจำนวน 750 คน (ร้อยละ 48.45) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีบุคลากรอื่น
จำนวน 368 คน (ร้อยละ 23.77) และสถานศึกษาขนาดกลาง มีบุคลากรอื่น จำนวน 229 คน
(รอ้ ยละ 14.79) ตามลำดบั

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๑๐]

ขนาดสถานศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากที่สุด คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีนักเรียน
จำนวน 56,284 คน (ร้อยละ 51.99) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีนักเรียน
จำนวน 31,252 คน (ร้อยละ 28.87) และสถานศึกษาขนาดกลาง มีนักเรียน จำนวน 14,098 คน
(ร้อยละ 13.02) ตามลำดบั

2.2 ผลประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบลา่ สดุ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ได้รับการประเมินคุณภาพ

ภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่งผล
การประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาในสังกัด แบ่งเป็น ผลประเมินคุณภาพภายนอก
ภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ผลการประเมิน
คุณภาพภายนอกรอบส่ี และผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม

2.2.1 ผลประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙
เนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีนโยบายให้สถานศึกษา

ที่มีความสมัครใจรับการประเมินคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙ รับการประเมิน
คุณภาพภายนอกในระยะที่ 1 เท่านั้น ซึ่งเป็นการประเมินจากรายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา (SAR) ดังนั้น สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
กรุงเทพมหานคร เขต 1 ท่ีได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙
จำนวน ๒๐ แห่ง ในช่วงปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และได้รับผลการประเมินคุณภาพในภาพรวม
จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ระดับดี
จำนวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.00) โดยมีผลประเมินตามรายมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑
ด้านคุณภาพของผู้เรียน มีผลประเมินในระดับดี จำนวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.๐๐) มาตรฐานที่ ๒
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลประเมินในระดับดี จำนวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.๐๐)
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลประเมินในระดับดี
จำนวน ๒๐ แหง่ (รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐)

สว่ นในช่วงปีงบประมาณ ๒๕๖๕ สถานศกึ ษาในสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา
กรุงเทพมหานคร เขต 1 ท่ีได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙
จำนวน ๑๓ แห่งและได้รับผลการประเมินคุณภาพในภาพรวมจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ระดับดี จำนวน ๑๓ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.00) โดยมีผล
ประเมนิ ตามรายมาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานท่ี ๑ ดา้ นคณุ ภาพของผูเ้ รียน มผี ลประเมินในระดบั ดี จำนวน ๑๓
แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.๐๐) มาตรฐานที่ ๒ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลประเมินในระดับดี
จำนวน ๑๓ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.๐๐) มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคญั มผี ลประเมินในระดับดี จำนวน ๑๓ แหง่ (รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐)

2.2.2. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี
สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี จำนวน ๒๕ แห่ง ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓
และได้รับผลการประเมินคุณภาพในภาพรวม จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) ตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จำนวน ๒๕ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.00)

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๑๑]

โดยมีผลประเมินแยกตามมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานท่ี ๑ ด้านคุณภาพของผู้เรียน มีผลประเมินในระดับ
ดีเยี่ยม จำนวน ๙ แห่ง (ร้อยละ ๓๖.๐๐) ระดับดีมาก จำนวน ๑๐ แห่ง (ร้อยละ ๔๐.๐๐) และระดับดี
จำนวน ๖ แห่ง (ร้อยละ ๒๔.๐๐) มาตรฐานที่ ๒ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลประเมิน
ในระดับดีเยี่ยมจำนวน ๑๐ แห่ง (ร้อยละ ๔๐.๐๐) ระดับดีมาก จำนวน ๑๓ แห่ง (ร้อยละ ๕๒.๐๐)
และระดับดี จำนวน ๒ แห่ง (ร้อยละ ๘.๐๐) มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ มีผลประเมินในระดับดีเยี่ยม จำนวน ๘ แห่ง (ร้อยละ ๓๒.๐๐) ระดับดีมาก จำนวน ๑๒ แห่ง
(ร้อยละ ๔๘.๐๐) และระดับดี จำนวน ๕ แห่ง (รอ้ ยละ ๒๐.๐๐)
2.2.3 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม

สถานศึกษาในสังกดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ได้รับ
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จำนวน ๖๗ แห่ง ได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน
และมีผลการประเมินคุณภาพในภาพรวม จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) ระดับดีขึ้นไป จำนวน ๖๗ แห่ง (ร้อยละ 100.๐๐) โดยมีผลประเมินใน
ระดับดมี าก จำนวน ๑๔ แหง่ (ร้อยละ ๒๐.๙๐) และผลประเมนิ ในระดับดี จำนวน ๕๓ แห่ง (รอ้ ยละ ๗๙.๑๐)

จากผลประเมินคุณภาพภายนอกรอบล่าสุด ซึ่งได้แก่ ผลประเมินคุณภาพภายนอกภายใต้
สถานการณ์ COVID-๑๙ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ และผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสาม แสดงรายละเอียดดงั ตารางท่ี ๓

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๑๒]

ตารางท่ี 3 สรุปผลประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบล่าสดุ ของสถานศึกษาสังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
มธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

การประเมนิ คุณภาพ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก (จำนวนและร้อยละ) รับการ รอรบั การ
ภายนอก ประเมนิ ประเมิน
ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก ดเี ยี่ยม แลว้

ภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙ 0 0 มฐ.1 – 3 ไมม่ กี ารประเมินในระดบั นี้ * ๑๓
(สถานศึกษา ๑๓ แห่ง) (0.00) (0.00) ๑๓ (100.00) (๑๙.๔๐)
ช่วงปงี บประมาณ ๒๕๖๕

ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-๑๙ 0 0 มฐ.1 – 3 ไม่มกี ารประเมนิ ในระดับนี้ * 20
(สถานศึกษา 20 แหง่ ) (0.00) (0.00) 20 (100.00) (29.85)
ช่วงปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ๙

มฐ.1 /6 (24.00) มฐ.1 /10 (40.00) มฐ.1 /9 (36.00) (๑๓.๔๓)

รอบส่ี 0 0 มฐ.2/2 (8.00) มฐ.2/13 (52.00) มฐ.2/10 (40.00) 25
(สถานศึกษา 25 แห่ง) (0.00) (0.00) (37.31)

มฐ.3/5 (20.00) มฐ.3/12 (48.00) มฐ.3/8 (32.00)

รอบสาม 00 53 14 0 67 0
(สถานศึกษา 67 แหง่ ) (0.00) (0.00) (97.10) (20.90) (0.00) (100.00) (0.00)

หมายเหตุ 1. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙ สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีนโยบายให้สถานศึกษารับการประเมินคุณภาพภายนอก ระยะท่ี
๑ โดยการประเมินรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ซึ่งมีผลการประเมินระดับ 3
ระดับ ได้แก่ ดี พอใช้ และปรับปรงุ เท่าน้นั

2. การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ มีผลการประเมิน 5 ระดับ ได้แก่ ดีเยี่ยม ดี
มาก ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ

3. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม มีผลการประเมนิ ๔ ระดับ ได้แก่ ดีมาก ดี
พอใช้ ปรับปรงุ /ปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดบั เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๑๓]

ตอนท่ี ๓
ผลการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษา

รายงานการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา มีรายละเอยี ด ดังน้ี
ผลการสงั เคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ได้ดำเนินการสังเคราะห์
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๖๗ แห่ง พบว่า
สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินตนเองโดยรวมอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยมีผลการประเมิน
ในระดับยอดเยี่ยมในมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ตามลำดับ
สำหรบั ผลการประเมนิ ในรายละเอยี ดมีดงั ตอ่ ไปนี้
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รียน

สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ในภาพรวม
มีคุณภาพในระดับยอดเยี่ยม โดยสถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพในระดับยอดเยี่ยม
จำนวน ๒๗ แห่ง (ร้อยละ 40.30) ระดับดีเลิศ จำนวน 24 แห่ง (ร้อยละ 35.82 ) และระดับดี
จำนวน 16 แหง่ (ร้อยละ 23.88)
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน
ประเดน็ ที่ ๑.1.1 ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารและการคิดคำนวณ

๑) ด้านโครงการ/กจิ กรรมทีด่ ำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจิ กรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการ
ความสามารถในการอ่าน การเขียน และการสื่อสาร ร้อยละ 98.51 และมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ส่งเสรมิ หรอื บรู ณาการความสามารถในการคดิ คำนวณ ร้อยละ 98.51 เท่ากนั ทกุ รายการ

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม
หรือบูรณาการ ความสามารถในการอ่าน การเขียน และการสื่อสาร ร้อยละ 100.00 และ
ผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการคิดคำนวณ
ร้อยละ 97.01 ตามลำดับ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม
หรือบรู ณาการ ความสามารถในการอา่ น การเขยี น และการสอื่ สาร ร้อยละ 100.00 และรายงานผล
การดำเนิน โครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการคิดคำนวณ
รอ้ ยละ 100.00 เทา่ กันทกุ รายการ

แสดงดงั ตารางท่ี ๔

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๑๔]

ตารางท่ี ๔ ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสารและการคิดคำนวณ รอ้ ยละ

รายการสงั เคราะห์ 98.51
98.51
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน 100.00
97.01
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รียน 100.00
100.00
ประเด็นที่ ๑.1.1 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและการคดิ
คำนวณ

๑. โครงการ กิจกรรมท่ีดำเนนิ งาน

๑) มโี ครงการ/กจิ กรรม ท่ีส่งเสรมิ หรือบูรณาการความสามารถในการอ่าน
การเขยี น และการสื่อสาร

๒) มีโครงการ/กจิ กรรม ทส่ี ง่ เสรมิ หรือบรู ณาการความสามารถในการคิดคำนวณ
๒. ผลปรากฏ คุณภาพท่ีเกดิ ขึน้

๑) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ท่สี ง่ เสริมหรอื บูรณาการความสามารถใน
การอา่ น การเขยี น และการส่ือสาร

๒) ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ที่สง่ เสริมหรอื บรู ณาการความสามารถใน
การคิด คำนวณ
๓. แหล่งขอ้ มลู หลักฐาน

๑) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม ท่สี ง่ เสรมิ หรือบรู ณาการ
ความสามารถใน การอ่าน การเขียน และการสื่อสาร

๒) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ทส่ี ง่ เสริมหรือบรู ณาการ
ความสามารถใน การคดิ คำนวณ

ประเดน็ ที่ 1.1.๒ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียนความ
คดิ เห็นและแก้ปัญหา

๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการ
ความสามารถในการแกป้ ัญหา ร้อยละ 100.00 รองลงมา คือ มีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมหรือบรู ณาการ
ความสามารถในคิดวเิ คราะห์ และ/ หรอื คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ ร้อยละ 98.51 และ มโี ครงการ/กจิ กรรม ท่ี
ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ร้อยละ 98.51 เท่ากัน
ตามลำดบั

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือ
บูรณาการความสามารถในคิดวิเคราะห์ และ/หรือคิดอย่างมีวิจารณญาณ ร้อยละ 100.00 ผลการ
ดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมทสี่ ง่ เสริมหรือบูรณาการความสามารถในการแก้ปญั หา รอ้ ยละ 98.51 และ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการอภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคดิ เห็น รอ้ ยละ 97.01 ตามลำดับ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือ
บูรณาการความสามารถในคิดวิเคราะห์ และ/หรือคิดอย่างมีวิจารณญาณ ร้อยละ 100.00 รายงาน
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการอภิปรายแลกเปลี่ยน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๑๕]

ความคิดเห็น ร้อยละ 98.51 และรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการ
ความสามารถในการแกป้ ัญหา รอ้ ยละ 97.01 แสดงดังตารางที่ ๕
ตารางท่ี ๕ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแก้ปญั หา

รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น
1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น 98.51
98.51
ประเดน็ ที่ 1.1.๒ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย 100.00
แลกเปล่ียนความคดิ เห็นและแกป้ ัญหา 100.00
97.01
๑. โครงการ กจิ กรรมทด่ี ำเนนิ งาน 98.51
100.00
๑) มีโครงการ/กิจกรรม ทสี่ ่งเสรมิ หรอื บรู ณาการความสามารถในคิดวิเคราะห์ และ/ หรือ คิด 98.51
อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 97.01

2) มีโครงการ/กจิ กรรม ท่ีสง่ เสริมหรอื บูรณาการความสามารถในการอภปิ รายแลกเปลย่ี น
ความคิดเห็น

3) มีโครงการ/กิจกรรม ท่สี ่งเสริมหรอื บูรณาการความสามารถในการแก้ปญั หา
๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพทเ่ี กิดขนึ้

1) ผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม ที่สง่ เสริมหรอื บูรณาการความสามารถในคิดวเิ คราะห์
และ/ หรือ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ

2) ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ทส่ี ่งเสริมหรือบรู ณาการความสามารถในการอภปิ ราย
แลกเปล่ียนความคดิ เห็น

3) ผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม ที่ส่งเสรมิ หรือบรู ณาการความสามารถในการแกป้ ญั หา

๓. แหล่งข้อมูล หลกั ฐาน

1) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ท่ีสง่ เสรมิ หรอื บูรณาการความสามารถในคิด
วิเคราะห์ และ/ หรอื คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ

2) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ทีส่ ่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถใน
การอภปิ รายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น

3) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ทส่ี ่งเสริมหรอื บูรณาการความสามารถใน
การแก้ปัญหา

ประเด็นท่ี 1.1.๓ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบวา่ มโี ครงการ/กจิ กรรมเกย่ี วกับการสรา้ งนวัตกรรม

รอ้ ยละ 100.00
๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับ

การสร้างนวตั กรรม รอ้ ยละ 97.01

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๑๖]

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับ
การสร้างนวัตกรรม รอ้ ยละ 98.51

แสดงดงั ตารางที่ ๖
ตารางท่ี ๖ ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม

รายการสังเคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน 100.00
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ้ รียน 97.01
ประเดน็ ท่ี 1.1.๓ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 98.51
๑. โครงการ กจิ กรรมที่ดำเนินงาน

มีโครงการ/กิจกรรมเกีย่ วกับการสร้างนวัตกรรม
๒. ผลปรากฏ คุณภาพทเ่ี กิดข้นึ

ผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมเกยี่ วกับการสร้างนวัตกรรม

๓. แหล่งขอ้ มลู หลักฐาน
รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ/กิจกรรมเกีย่ วกบั การสร้างนวัตกรรม

ประเด็นท่ี 1.1.4 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความสามารถ

ในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ร้อยละ 100.00
๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ร้อยละ 97.01
๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร ร้อยละ 100.00
แสดงดังตารางที่ ๗

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๑๗]

ตารางที่ ๗ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รอ้ ยละ
รายการสังเคราะห์
100.00
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน 97.01
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 100.00

ประเดน็ ที่ 1.1.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
๑. โครงการ กจิ กรรมที่ดำเนนิ งาน

มโี ครงการ/กิจกรรมสง่ เสรมิ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือ่ สาร

๒. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดข้นึ
ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมสง่ เสริมความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสื่อสาร

๓. แหลง่ ข้อมลู หลักฐาน
รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมส่งเสรมิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร

ประเดน็ ท่ี 1.1.5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนนิ งาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 100.00 มีโครงการ/กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รอ้ ยละ 100.00 และมีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะทางวิชาการของนักเรียน
ร้อยละ 100.00 เท่ากันทกุ รายการ

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 98.51 ผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรม
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 98.51 และผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม
ความสามารถและทกั ษะทางวิชาการของนักเรยี น รอ้ ยละ 98.51 เท่ากนั ทุกรายการ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 100.00 รายงานผลการดำเนินการโครงการ/
กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 100.00 และรายงานผลการดำเนินการโครงการ/
กจิ กรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะทางวชิ าการของนกั เรยี น ร้อยละ 98.51 ตามลำดบั

แสดงดังตารางที่ ๘

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 256๔ ระดบั เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๑๘]

ตารางท่ี ๘ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ร้อยละ
รายการสงั เคราะห์
100.00
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน 100.00
100.00
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รียน 98.51
ประเด็นท่ี 1.1.5 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 98.51
๑. โครงการ กิจกรรมท่ดี ำเนินงาน 98.51

๑) มีโครงการ/กจิ กรรมการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสตู รสถานศึกษา 100.00
2) มีโครงการ/กิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 100.00
98.51
3) มโี ครงการ/กจิ กรรมส่งเสรมิ ความสามารถและทักษะทางวิชาการของนกั เรยี น

๒. ผลปรากฏ คุณภาพท่เี กดิ ขึ้น

1) ผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลกั สตู ร
สถานศกึ ษา

2) ผลการดำเนนิ การโครงการ/กิจกรรมยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
3) ผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมส่งเสรมิ ความสามารถและทกั ษะทางวิชาการ
ของนักเรียน
๓. แหลง่ ขอ้ มลู หลกั ฐาน

1) รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กจิ กรรมการจัดกิจกรรมการเรียนร้ตู าม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา

2) รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

3) รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กจิ กรรมสง่ เสริมความสามารถและทักษะทาง
วิชาการของนักเรียน

ประเด็นท่ี 1.1.6 ความรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคติต่องานอาชพี
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้มีทักษะ

ในการทำงาน ร้อยละ 98.51 มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ 97.01 และมีโครงการ/
กจิ กรรมการแนะแนว เพ่ือการประกอบอาชพี ร้อยละ 97.01 ตามลำดับ

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่าผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ
ร้อยละ 97.01 ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแนะแนว เพื่อการประกอบอาชีพตาม
ร้อยละ 97.01 และผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรยี นให้มีทักษะในการทำงาน ร้อยละ
95.52 ตามลำดับ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรียน
ให้มีทักษะในการทำงาน ร้อยละ 97.01 รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแนะแนว
เพื่อการประกอบอาชีพ ร้อยละ 97.01 และรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 256๔ ระดับเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๑๙]

รอ้ ยละ 97.01 เท่ากันทกุ รายการ รอ้ ยละ
แสดงดงั ตารางที่ ๙
ตารางท่ี ๙ ความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคตติ ่องานอาชีพ 98.51
97.01
รายการสังเคราะห์ 97.01
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
95.52
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน 97.01
ประเดน็ ท่ี 1.1.6 ความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติต่องานอาชพี 97.01

๑. โครงการ กจิ กรรมทดี่ ำเนนิ งาน 97.01
1) มีโครงการ/กิจกรรมพฒั นานักเรียนใหม้ ีทักษะในการทำงาน 97.01
2) มโี ครงการ/กิจกรรมสง่ เสรมิ อาชพี 97.01

3) มีโครงการ/กิจกรรมการแนะแนว เพอ่ื การประกอบอาชีพ
๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพทเ่ี กิดขนึ้

1) ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
2) ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมสง่ เสริมอาชีพ
3) ผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมการแนะแนว เพ่ือการประกอบอาชีพ

๓. แหลง่ ขอ้ มูล หลกั ฐาน

1) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมพฒั นานกั เรียนให้มที กั ษะในการทำงาน

2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสรมิ อาชีพ

3) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแนะแนวเพื่อการประกอบอาชีพ

1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รียน
ประเดน็ ที่ 1.2.๑ การมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ดี ีตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด

๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม
คุณลักษณะ และค่านิยมที่ดี ร้อยละ 100.00 และมีโครงการ/กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด
ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ นกั ศกึ ษาวิชาทหาร จติ อาสา ร้อยละ 100.00 เทา่ กันทุกรายการ

๒) ด้านผลปรากฏ คณุ ภาพท่ีเกิดขน้ึ พบวา่ ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม
คุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ร้อยละ 100.00 และผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
ยวุ กาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร จติ อาสา ร้อยละ 100.00 เทา่ กันทุกรายการ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม
คุณธรรม คุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ดี ี ร้อยละ 100.00 และรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร จิตอาสา ร้อยละ 100.00
เทา่ กันทุกรายการ แสดงดงั ตารางที่ ๑๐

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดบั เขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๒๐]

ตารางที่ ๑๐ การมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ดี ีตามทสี่ ถานศึกษากำหนด ร้อยละ

รายการสังเคราะห์ 100.00
100.00
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผ้เู รยี น 100.00
1.2 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผู้เรียน 100.00

ประเดน็ ที่ 1.2.๑ การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด 100.00
100.00
๑. โครงการ กจิ กรรมทดี่ ำเนนิ งาน

1) มีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมคุณธรรม คุณลักษณะ และค่านยิ มท่ดี ี
2) มโี ครงการ/กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นักศกึ ษา
วชิ าทหาร จิตอาสา
๒. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น

1) ผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมท่สี ง่ เสริมคุณธรรม คณุ ลักษณะและค่านยิ มที่ดี
2) ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ้ ำเพ็ญ
ประโยชน์ นกั ศกึ ษาวิชาทหาร จติ อาสา
๓. แหล่งขอ้ มูล หลักฐาน
1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมทสี่ ง่ เสริมคุณธรรม คุณลกั ษณะและ
คา่ นิยมทีด่ ี
2) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผบู้ ำเพญ็
ประโยชน์ นักศกึ ษาวชิ าทหาร จติ อาสา

ประเด็นท่ี 1.2.2 ความภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย
๑) ด้านโครงการ/กจิ กรรมท่ีดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมอนุรักษศ์ ิลปวัฒนธรรมและ

ประเพณีไทย ร้อยละ 100.00 และมีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้
ในการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 100.00 เท่ากัน รองลงมา คือ มีโครงการ/กิจกรรม
วันสำคัญต่าง ๆ รอ้ ยละ 98.51 ตามลำดบั

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมอนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ร้อยละ 100.00 ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 100.00 และผลการดำเนิน
โครงการ/กจิ กรรมวนั สำคญั ตา่ ง ๆ ร้อยละ 100.00 เทา่ กนั ทุกรายการ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมอนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ร้อยละ 100.00 รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 100.00 และรายงาน
ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมวนั สำคัญต่าง ๆ รอ้ ยละ 100.00 เท่ากนั ทุกรายการ

แสดงดงั ตารางท่ี ๑๑

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๒๑]

ตารางที่ ๑๑ ความภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย ร้อยละ
รายการสงั เคราะห์
100.00
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน 100.00
98.51
1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น 100.00
ประเดน็ ที่ 1.2.2 ความภูมใิ จในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย 100.00
๑. โครงการ กจิ กรรมทดี่ ำเนินงาน 100.00
100.00
1) มโี ครงการ/กิจกรรมอนรุ ักษ์ศิลปวฒั นธรรมและประเพณีไทย 100.00
2) มโี ครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการนำภมู ิปญั ญาท้องถิ่นมาใช้ในการจดั การเรยี น 100.00

การสอน
3) มโี ครงการ/กจิ กรรม วันสำคัญต่าง ๆ
๒. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึน้

1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมอนุรกั ษศ์ ิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย

2) ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมสง่ เสรมิ การนำภูมิปญั ญาท้องถน่ิ มาใชใ้ น
การจดั การเรยี นการสอน

3) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมวันสำคญั ต่าง ๆ
๓. แหลง่ ข้อมลู หลักฐาน

1) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมอนรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรมและประเพณไี ทย
2) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมสง่ เสริมการนำภมู ิปัญญาท้องถน่ิ มาใช้ใน

การจดั การเรยี นการสอน
3) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมวันสำคญั ต่าง ๆ

ประเดน็ ที่ 1.2.3 การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือ

นักเรียน ร้อยละ 100.00 และ มีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง การ
สง่ เสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา ร้อยละ 100.00 เท่ากันทกุ รายการ

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม
การอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง การส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา ร้อยละ 100.00
และผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ร้อยละ 100.00
เทา่ กันทกุ รายการ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม
การอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง การส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา ร้อยละ 100.00
และรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ร้อยละ 100.00
ตามลำดบั

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดบั เขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๒๒]

แสดงดงั ตารางท่ี ๑๒ รอ้ ยละ
ตารางที่ ๑๒ การยอมรับที่จะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
100.00
รายการสงั เคราะห์ 100.00
100.00
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน 100.00
100.00
1.2 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น 100.00

ประเด็นที่ 1.2.3 การยอมรับท่ีจะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย

๑. โครงการ กจิ กรรมทด่ี ำเนินงาน
1) มีโครงการ/กิจกรรมท่ีสง่ เสรมิ การอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่าง การส่งเสรมิ
ประชาธปิ ไตยในสถานศึกษา
2) มโี ครงการ/กิจกรรมระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน

๒. ผลปรากฏ คุณภาพท่เี กดิ ขน้ึ
1) ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ การอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ ง
การส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยในสถานศึกษา
2) ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

๓. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมการอยูร่ ่วมกนั บน
ความแตกต่าง การส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา
2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน

ประเด็นท่ี 1.2.4 สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาวะ

ทางร่างกาย ร้อยละ 100.00 และมีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม ร้อยละ 100.00
เทา่ กันทุกรายการ

๒) ดา้ นผลปรากฏ คุณภาพทีเ่ กิดขึน้ พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมสุขภาวะ
ทางร่างกาย ร้อยละ 100.00 และผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม
ร้อยละ 100.00 เท่ากันทกุ รายการ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม
สุขภาวะทางรา่ งกาย รอ้ ยละ 100.00 และรายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมด้านจิต
สังคม รอ้ ยละ 100.00 เทา่ กนั ทกุ รายการ

แสดงดังตารางที่ ๑๓

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๒๓]

ตารางที่ ๑๓ สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม รอ้ ยละ
รายการสังเคราะห์
100.00
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน 100.00
1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน 100.00
ประเด็นที่ 1.2.4 สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม 100.00
๑. โครงการ กิจกรรมท่ีดำเนินงาน 100.00
100.00
1) มโี ครงการ/กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ สุขภาวะทางร่างกาย
2) มีโครงการ/กจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ ด้านจติ สังคม
๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพท่ีเกิดข้นึ
1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมทีส่ ง่ เสรมิ สุขภาวะทางรา่ งกาย
2) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมดา้ นจิตสงั คม
๓. แหล่งข้อมลู หลักฐาน
1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมทสี่ ง่ เสริมสุขภาวะทางรา่ งกาย
2) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมทส่ี ่งเสริมดา้ นจิตสังคม

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและ

การจัดการ ในภาพรวมมีคุณภาพในระดับยอดเยี่ยม โดยสถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพ
ในระดับยอดเยี่ยม จำนวน 47 แห่ง (ร้อยละ 70.15) ระดับดีเลิศ จำนวน 17 แห่ง (ร้อยละ
25.37) และระดับดี จำนวน ๓ แหง่ (ร้อยละ ๔.๔๘)
ประเด็นท่ี ๒.๑ มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน

๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กับการกำหนด/ ทบทวนวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา ร้อยละ 100.00

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์/
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา/แผนปฏบิ ัตกิ าร สำหรับการบริหารจดั การ ร้อยละ 100.00

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า แผนกลยุทธ์/แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/
แผนปฏิบัติการสำหรับการบรหิ ารจัดการ ร้อยละ 100.00

แสดงดงั ตารางท่ี ๑๔

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๒๔]

ตารางท่ี ๑4 มเี ป้าหมายวิสยั ทัศนแ์ ละพันธกิจที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน รอ้ ยละ
รายการสงั เคราะห์

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 100.00
100.00
ประเดน็ ที่ ๒.๑ มีเปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพันธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนดชดั เจน
๑. โครงการ กจิ กรรมทด่ี ำเนนิ งาน

มีโครงการ/กจิ กรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การกำหนด/ทบทวนวิสัยทศั น์ พันธกิจของ
สถานศกึ ษา

๒. ผลปรากฏ คุณภาพท่เี กดิ ขนึ้

ผลการดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ/์ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏบิ ตั กิ าร
สำหรับการบริหารจัดการ

๓. แหลง่ ข้อมลู หลักฐาน 100.00

แผนกลยุทธ/์ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏบิ ัติการ สำหรับการบริหาร
จัดการ
จดั การ

ประเดน็ ท่ี ๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพสถานศึกษา
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีกิจกรรมวางแผนการพัฒนาระบบบริหาร

จัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบริหาร ร้อยละ 100.00 มีกิจกรรม
การดำเนินแนวทางการกำกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือรูปแบบ
บริหารจัดการ คุณภาพสถานศึกษา รอ้ ยละ 100.00 และโครงการ/กจิ กรรม การปรับปรุงพัฒนางาน
อย่างต่อเน่ือง รอ้ ยละ 100.00 เท่ากันทกุ รายการ

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินกิจกรรมวางแผนการพัฒนา
ระบบ บริหารจัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบริหาร ร้อยละ 100.00
ผลการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือผลการใช้รูปแบบบริหาร
จัดการคุณภาพ สถานศึกษา ร้อยละ 100.00 และผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการปรับปรุง
พฒั นางานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ร้อยละ 100.00 เทา่ กนั ทุกรายการ

๓) ด้านแหล่งขอ้ มลู หลกั ฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินกิจกรรมวางแผนการพัฒนา ระบบ
บริหาร จัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบริหาร ร้อยละ ๙๘.๕๑ รายงานผลการ
กำกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือรูปแบบบริหารจัดการคุณภาพ
สถานศึกษา ร้อยละ ๙๘.๕๑ และรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม การปรับปรุงพัฒนางาน
อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ ๙๘.๕๑ เทา่ กันทุกรายการ

แสดงดงั ตารางที่ ๑๕

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๒๕]

ตารางที่ ๑๕ มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพสถานศึกษา ร้อยละ
รายการสังเคราะห์
100.00
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 100.00
ประเด็นที่ ๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพสถานศกึ ษา 100.00
๑. โครงการ กจิ กรรมท่ดี ำเนินงาน 100.00
100.00
๑) มกี ิจกรรมวางแผนการพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพการศกึ ษา องิ แนวคิด/ 100.00
ทฤษฏีทางการบริหาร 98.51
98.51
๒) มีกจิ กรรมการดำเนนิ แนวทางการกำกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลโดย 98.51
ใช้วงจรคุณภาพ หรือรปู แบบบรหิ ารจดั การคุณภาพสถานศกึ ษา

๓) โครงการ/กิจกรรม การปรับปรุงพฒั นางานอยา่ งต่อเนื่อง
๒. ผลทีป่ รากฏ คุณภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ

๑) ผลการดำเนนิ กจิ กรรม วางแผนการพัฒนา ระบบบริหารจัดการคณุ ภาพ
การศกึ ษา อิงแนวคดิ /ทฤษฏที างการบริหาร

๒) ผลการกำกบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ
หรือผลการใชร้ ปู แบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพสถานศึกษา

๓) ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม การปรับปรุงพฒั นางานอย่างต่อเน่อื ง
๓. แหลง่ ขอ้ มลู หลกั ฐาน

๑) รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรม วางแผนการพฒั นา ระบบบริหารจัดการคุณภาพ
การศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบริหาร

๒) รายงานผลการกำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใชว้ งจรคุณภาพ
หรอื รูปแบบบริหารจดั การคณุ ภาพสถานศึกษา

๓) รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม การปรับปรงุ พัฒนางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง

ประเด็นท่ี ๒.3 มีการดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพผูเ้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศึกษา
และทุกกลมุ่ เป้าหมาย
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมการพัฒนางานวิชาการ

ร้อยละ 100.00 และมโี ครงการ/กิจกรรมพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา รอ้ ยละ 98.51 ตามลำดับ
๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการพัฒนางาน

วิชาการ ร้อยละ 98.51 และผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
รอ้ ยละ 97.01 ตามลำดับ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินงานพัฒนาวิชาการ
รอ้ ยละ 97.01 และรายงานผลการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา รอ้ ยละ 95.52 ตามลำดบั

แสดงดังตารางท่ี ๑๖

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๒๖]

ตารางที่ ๑๖ มีการดำเนินงานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศึกษาและ
ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเดน็ ที่ ๒.3 มีการดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการที่เนน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบด้านตาม
หลักสูตรสถานศกึ ษาและทุกกลุม่ เปา้ หมาย

๑. โครงการ กิจกรรมท่ดี ำเนนิ งาน 100.00
๑) มีโครงการ/กจิ กรรมการพฒั นางานวิชาการ

2) มโี ครงการ/กจิ กรรมพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา 98.51

๒. ผลที่ปรากฏ คณุ ภาพท่เี กดิ ขน้ึ

1) ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมการพฒั นางานวชิ าการ 98.51

2) ผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา 97.01

๓. แหล่งขอ้ มลู หลักฐาน

1) รายงานผลการดำเนินงานพัฒนาวิชาการ 97.01

2) รายงานผลการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา 95.52

ประเดน็ ท่ี ๒.4 มกี ารพฒั นาครู และบคุ ลากรใหม้ คี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ดี ำเนินงาน พบวา่ มีโครงการ/กจิ กรรมส่งเสริมให้ครู และบคุ ลากร

ได้พัฒนาตนเองด้วยวธิ กี ารที่หลากหลาย รอ้ ยละ 100.00
๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดข้ึน พบว่า ผลการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาตนเอง

ดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย รอ้ ยละ 98.51
๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลากร

ด้วยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย รอ้ ยละ 98.51
แสดงดังตารางที่ ๑๗

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดบั เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๒๗]

ตารางที่ ๑๗ มีการพฒั นาครู และบุคลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ ร้อยละ
รายการสงั เคราะห์
100.00
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ 98.51
ประเด็นท่ี ๒.4 มีการพัฒนาครู และบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ 98.51
๑. โครงการ กิจกรรมทด่ี ำเนินงาน
มีโครงการ/กิจกรรมสง่ เสรมิ ให้ครู และบุคลากรไดพ้ ัฒนาตนเองดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย
๒. ผลปรากฏ คุณภาพทเ่ี กดิ ข้นึ
ผลการสง่ เสริมใหค้ รูและบคุ ลากรได้พัฒนาตนเองด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย
๓. แหล่งข้อมลู หลักฐาน
รายงานผลการดำเนินโครงการพฒั นาครูและบุคลากรดว้ ยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย

ประเด็นที่ ๒.5 มีการจัดสภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี
คุณภาพ
๑) ด้านโครงการ/กจิ กรรมท่ีดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดล้อมทาง

กายภาพ สังคม แหลง่ เรยี นรทู้ ้งั ภายใน ภายนอกหอ้ งเรียน ท่เี ออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้ ร้อยละ 98.51
๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม พัฒนา

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการ
เรยี นรู้ ร้อยละ 100.00

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนา
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัด
การเรียนรู้ ร้อยละ 89.55

แสดงดังตารางท่ี ๑๘

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 256๔ ระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๒๘]

ตารางที่ ๑๘ มกี ารจดั สภาพแวดลอ้ มทางทางกายภาพและสงั คมทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การเรียนรูอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเด็นท่ี ๒.5 มีการจดั สภาพแวดลอ้ มทางทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการ
จัดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ

๑. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนนิ งาน

มีโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สงั คม แหลง่ เรยี นรู้ทั้งภายใน 98.51
ภายนอกหอ้ งเรียน ที่เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้

๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพที่เกิดขึน้ 100.00
89.55
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สงั คม แหลง่ เรยี นรู้
ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน ทเ่ี อื้อตอ่ การจัดการเรยี นรู้

๓. แหล่งขอ้ มลู หลักฐาน

รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สังคม
แหลง่ เรยี นร้ทู งั้ ภายใน ภายนอกห้องเรียน ท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้

ประเด็นที่ ๒.6 มีการจัดเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้
๑) ดา้ นโครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนินงาน พบว่า มโี ครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริม สนับสนุนการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ ร้อยละ 100.00 และมีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม
สนบั สนนุ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจดั การเรยี นรู้ ร้อยละ 95.52 ตามลำดบั

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม
สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ ร้อยละ 98.51 และผลการดำเนิน
โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ
95.52 ตามลำดับ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการจัดโครงการ/กจิ กรรมที่ส่งเสริมสนับสนุน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารจัดการ ร้อยละ 98.51 และรายงานผลการจัดโครงการ/
กิจกรรมท่ีส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 95.52
ตามลำดับ

แสดงดงั ตารางที่ ๑๙

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๒๙]

ตารางที่ ๑๙ มกี ารจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้

รายการสังเคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ประเดน็ ท่ี ๒.6 มกี ารจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบริหารจดั การ
และการจัดการเรยี นรู้

๑. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน 100.00

๑) มโี ครงการ/กจิ กรรม ทส่ี ง่ เสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ในการบริหารจดั การ

2) มโี ครงการ/กจิ กรรม ทสี่ ่งเสริม สนับสนนุ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 95.52
ในการจัดการเรยี นรู้

๒. ผลทปี่ รากฏ คุณภาพท่เี กดิ ข้ึน 98.51

1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ท่ีส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการบรหิ ารจัดการ

2) ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ทีส่ ่งเสรมิ สนับสนนุ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 95.52
ในการจดั การเรยี นรู้

๓. แหลง่ ข้อมลู หลักฐาน 98.51

1) รายงานผลการจดั โครงการ/กิจกรรม ที่สง่ เสรมิ สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการบริหารจัดการ

2) รายงานผลการจดั โครงการ/กิจกรรม ท่สี ง่ เสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี 95.52
สารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั
สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียน

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในภาพรวมมีคุณภาพในระดับยอดเยี่ยม โดยสถานศึกษา
มีผลการประเมินคุณภาพในระดับยอดเยี่ยม จำนวน 38 แห่ง (ร้อยละ 56.72) ระดับดีเลิศ
จำนวน 25 แห่ง (ร้อยละ 37.31) และระดบั ดี จำนวน 4 แหง่ (รอ้ ยละ 5.97)

ประเด็นท่ี ๓.๑ จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยผ่าน

กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 100.00 และ
มีการจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ร้อยละ 100.๐0 เท่ากันทกุ รายการ

๒) ดา้ นผลปรากฏ คุณภาพท่เี กดิ ขึน้ พบว่า ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมการจดั การเรียนรู้
โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 100.00
และผลการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นรอ้ ยละ 100.๐0 เท่ากนั ทกุ รายการ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๓๐]

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการจัดการ
เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ร้อยละ 100.๐0 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ร้อยละ 100.๐0 เทา่ กันทุกรายการ

แสดงดงั ตารางท่ี ๒๐

ตารางที่ ๒๐ จัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้

รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั

ประเด็นที่ ๓.๑ จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริงและสามารถนำไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตได้

๑. โครงการ กิจกรรมทดี่ ำเนนิ งาน 100.00

๑) มีโครงการ/กจิ กรรมการจัดการเรียนร้โู ดยผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ
และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตได้

๒) มีการจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรูท้ เ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ 100.00

๒. ผลทป่ี รากฏ คณุ ภาพทเี่ กดิ ข้ึน 100.00

๑) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการจดั การเรียนรูโ้ ดยผา่ นกระบวนการคิดและ
ปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้

๒) ผลการจดั ทำแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 100.00

๓. แหล่งข้อมลู หลักฐาน 100.00
100.00
๑) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมการจัดการเรยี นร้โู ดยผ่านกระบวนการ
คิด และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้

๒) แผนการจดั การเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั

ประเดน็ ท่ี ๓.๒ ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูท้ ีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 100.00 และ มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด
แหลง่ เรยี นรู้และภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ร้อยละ 97.01 ตามลำดบั

๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาส่ือ
นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 100.00 และ ผลการดำเนินโครงการ/
กจิ กรรมพัฒนาหอ้ งสมุด แหล่งเรียนรแู้ ละภูมิปญั ญาท้องถิน่ ร้อยละ 97.01 ตามลำดับ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 98.51 และ รายงานผลโครงการ/กิจกรรม
พฒั นาห้องสมดุ แหลง่ เรยี นร้แู ละภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ร้อยละ 97.01 ตามลำดับ

แสดงดังตารางท่ี ๒๑

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๓๑]

ตารางที่ ๒๑ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้ ร้อยละ

รายการสังเคราะห์ 100.00
97.01
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ 100.00
ประเด็นท่ี ๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู ี่เออื้ ต่อการเรยี นรู้ 97.01
๑. โครงการ กิจกรรมทด่ี ำเนนิ งาน

๑) มโี ครงการ/กจิ กรรมพัฒนาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศสำหรบั
การเรียนรู้

๒) มโี ครงการ/กจิ กรรมพัฒนาห้องสมุด แหลง่ เรยี นรูแ้ ละภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน

๒. ผลท่ีปรากฏ คุณภาพท่ีเกิดขนึ้

๑) ผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ
สำหรบั การเรียนรู้

๒) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพฒั นาห้องสมุด แหลง่ เรียนรแู้ ละภมู ปิ ัญญา
ท้องถิน่

๓. แหลง่ ข้อมลู หลักฐาน 98.51
97.01
๑) รายงานผลโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาสอ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ
สำหรบั การเรยี นรู้

๒) รายงานผลโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาห้องสมุด แหลง่ เรยี นรแู้ ละภมู ิปญั ญา
ทอ้ งถิน่

ประเด็นท่ี ๓.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหารจัดการ

เน้นการมีปฏสิ ัมพนั ธ์เชงิ บวก สามารถเรียนรู้รว่ มกันอยา่ งมีความสุข รอ้ ยละ 97.01
๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหาร

จดั การเน้นการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์เชิงบวก สามารถเรียนรูร้ ่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ ร้อยละ 97.01
๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหาร

จัดการเนน้ การมปี ฏสิ ัมพนั ธเ์ ชิงบวก สามารถเรยี นรู้รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข ร้อยละ 95.52
แสดงดงั ตารางท่ี ๒๒

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๓๒]

ตารางที่ ๒๒ มกี ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นเชิงบวก ร้อยละ

รายการสงั เคราะห์ 97.01
97.01
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั 95.52
ประเด็นที่ ๓.3 มีการบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก
๑. โครงการ กจิ กรรมท่ดี ำเนินงาน

มีโครงการ/กิจกรรมท่ีมกี ารบรหิ ารจัดการ เนน้ การมปี ฏิสมั พนั ธเ์ ชิงบวก สามารถ
เรียนรู้ร่วมกนั อยา่ งมคี วามสขุ

๒. ผลทปี่ รากฏ คุณภาพท่ีเกดิ ขึน้

ผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมที่มกี ารบรหิ ารจัดการ เน้นการมปี ฏิสัมพนั ธ์
เชิงบวก สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข
๓. แหลง่ ข้อมูล หลักฐาน
รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมที่มกี ารบริหารจัดการ เน้นการมี
ปฏิสัมพันธเ์ ชิงบวก สามารถเรียนรรู้ ว่ มกันอยา่ งมีความสุข

ประเดน็ ที่ ๓.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผ้เู รียน
๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัด

และประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ร้อยละ 100.00 มีกิจกรรมการให้ข้อมูลย้อนกลบั
แก่ผู้เรียนเพื่อนำไปพฒั นาการเรียนรู้ รอ้ ยละ 98.51 และ มีโครงการ/กจิ กรรมการสรา้ งเครื่องมือวัด
ประเมินผลท่หี ลากหลาย ร้อยละ 97.01 ตามลำดบั

๒) ดา้ นผลปรากฏ คณุ ภาพท่เี กดิ ขึ้น พบว่า ผลการดำเนนิ การโครงการ/กิจกรรมพฒั นาการวัด
และประเมนิ ผลการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ รอ้ ยละ 100.00 ผลการดำเนินการกิจกรรมการให้
ขอ้ มูลยอ้ นกลบั แกผ่ เู้ รียนเพื่อนำไปพฒั นาการเรียนรู้ ร้อยละ 98.51 และผลการดำเนนิ การโครงการ/
กิจกรรมการสรา้ งเครื่องมอื วัดประเมนิ ผลทหี่ ลากหลาย รอ้ ยละ 97.01 ตามลำดับ

๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมพัฒนา
การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ร้อยละ 98.51 รายงานผลการดำเนินการ
โครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลที่หลากหลาย ร้อยละ 97.01 และบันทึก
การนำข้อมลู ยอ้ นกลับเพื่อพัฒนา ร้อยละ 95.52 ตามลำดับ

แสดงดังตารางท่ี ๒๓

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๓๓]

ตารางที่ ๒๓ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น ร้อยละ

รายการสงั เคราะห์ 100.00
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ 97.01
ประเด็นที่ ๓.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นา 98.51
ผู้เรยี น 100.00
๑. โครงการ กิจกผรเู้ รรยีมนทีด่ ำเนินงาน 97.01
98.51
1) มีโครงการ/กิจกรรมพฒั นาการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้
อยา่ งเป็นระบบ 98.51
97.01
2) มีโครงการ/กิจกรรมการสรา้ งเครือ่ งมอื วดั ประเมินผลที่หลากหลาย 95.52

3) มกี จิ กรรมการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผเู้ รยี นเพอ่ื นำไปพฒั นาการเรียนรู้

๒. ผลทปี่ รากฏ คณุ ภาพทีเ่ กดิ ขน้ึ
1) ผลการดำเนนิ การโครงการ/กิจกรรมพฒั นาการวัดและประเมนิ ผลการจดั การ
เรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ

2) ผลการดำเนนิ การโครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวดั ประเมินผล
ท่หี ลากหลาย

3) ผลการดำเนนิ การกิจกรรมการให้ข้อมูลยอ้ นกลบั แก่ผ้เู รยี นเพ่ือนำไปพฒั นา
การเรยี นรู้

๓. แหล่งข้อมลู หลักฐาน

1) รายงานผลการดำเนนิ การโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาการวัดและประเมนิ ผล
การจัดการเรียนรอู้ ย่างเป็นระบบ

2) รายงานผลการดำเนนิ การโครงการ/กจิ กรรมการสร้างเคร่ืองมือวัดประเมินผล
ทีห่ ลากหลาย

3) บันทกึ การนำข้อมลู ย้อนกลับเพื่อพัฒนา

ประเดน็ ที่ ๓.5 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นร้แู ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพือ่ พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้
๑) ดา้ นโครงการ/กจิ กรรมท่ดี ำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจิ กรรมการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และ

ใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้ รอ้ ยละ 100.00
๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลี่ยน

เรียนรูแ้ ละให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับเพือ่ พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ รอ้ ยละ 97.01
๓) ด้านแหล่งข้อมลู หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมการแลกเปลีย่ น

เรียนรแู้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพือ่ พฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 95.52
แสดงดงั ตารางที่ ๒๔

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๓๔]

ตารางที่ ๒๔ มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพอื่ พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ

ประเด็นที่ ๓.5 มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพือ่ พฒั นาและ
ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้
๑. โครงการ กิจกรรมท่ีดำเนินงาน

มโี ครงการ/กจิ กรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนา 100.00
และปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้

๒. ผลทปี่ รากฏ คุณภาพทเ่ี กดิ ขึน้ 97.01
95.52
ผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั
เพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้

๓. แหล่งขอ้ มูล หลกั ฐาน

รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมูล
สะทอ้ นกลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้

จุดเดน่ จุดทคี่ วรพัฒนา และแผนการดำเนนิ งานเพื่อยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา
จดุ เด่น
ด้านคุณภาพของผู้เรียน จุดเด่นทพี่ บมากทสี่ ุด คอื ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม
ร้อยละ 71.64 รองลงมาคือผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ร้อยละ 62.69 เทา่ กนั กับ ผูเ้ รยี นมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ มีระบบบริหารจัดการ
คณุ ภาพสถานศึกษา รอ้ ยละ 88.06 รองลงมา คอื การมีเป้าหมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพนั ธกิจท่สี ถานศึกษา
กำหนดชัดเจน รอ้ ยละ 68.66 และการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่เี อื้อต่อการจัดการ
เรียนรู้อย่างมคี ณุ ภาพ ร้อยละ 58.21 ตามลำดบั

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ
การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ร้อยละ
74.63 รองลงมา คือ การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ
62.69 และการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ
47.76 ตามลำดบั

แสดงดังตารางที่ ๒๕

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดับเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๓๕]

ตารางที่ ๒๕ แสดงรายการสงั เคราะห์จุดเด่นของสถานศกึ ษา ร้อยละ

รายการสังเคราะห์ 71.64
62.69
จดุ เด่น 62.69
88.06
๑. ดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี น 68.66
๑) ด้านสุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม 58.21
๒) ดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
๓) ดา้ นการมคี ุณลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ีดตี ามที่สถานศึกษากำหนด 74.63

๒. ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 62.69
๑) ดา้ นระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพสถานศกึ ษา 47.76
๒) ดา้ นการมเี ป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจที่สถานศึกษากำหนดชดั เจน
๓) ด้านการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้
อยา่ งมคี ุณภาพ

๓. ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
๑) ดา้ นจดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้

๒) ดา้ นการใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนรู้

๓) ด้านการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา
ผ้เู รยี น

จดุ ท่ีควรพัฒนา

ด้านคุณภาพของผู้เรียน จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
หลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 50.75 รองลงมา คือ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ร้อยละ 43.28 และผู้เรียนมี
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และผู้เรยี นมีสุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม ร้อยละ 34.33
ตามลำดบั

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด การจัดระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 62.69 รองลงมา คือ
การจดั ระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา รอ้ ยละ 56.72 และการพฒั นาครู และบุคลากรให้
มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี ร้อยละ 40.30 ตามลำดับ

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ
การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 52.24 รองลงมา คือ
การตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 49.25 และ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๓๖]

จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ
46.27 ตามลำดบั แสดงดังตารางที่ ๒๖
ตารางที่ ๒๖ แสดงรายการสังเคราะห์จดุ ควรพฒั นาของสถานศึกษา

รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ

จุดท่คี วรพัฒนา 50.75
๑. ด้านคณุ ภาพผเู้ รียน 43.28
34.33
๑) ดา้ นผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 34.33
๒) ดา้ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ 62.69

อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแก้ปัญหา 56.72
40.30
๓) ดา้ นความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๔) ด้านสขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม 52.24
๒. ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ

๑) ดา้ นจัดเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ
การจัดการเรยี นรู้

๒) ด้านมีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพสถานศึกษา

๓) พัฒนาครู และบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี

๓. ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

๑) ดา้ นการใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ที่เอ้ือตอ่ การเรียนรู้

๒) ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมา 49.25
พัฒนาผู้เรยี น 46.27

๓) ดา้ นจัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้

แผนการดำเนนิ งานเพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษาใหส้ ูงขึน้
๑) ด้านคุณภาพผู้เรียน พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีแผนการดำเนินงานพัฒนา

ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 62.69 รองลงมา ด้านการอ่าน การ
เขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ร้อยละ 43.28 และด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ การแกป้ ญั หา รอ้ ยละ 41.79 ตามลำดบั

๒) ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ พบว่า สถานศกึ ษาส่วนใหญม่ ีแผนการดำเนินงาน
พัฒนาด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ร้อยละ62.69 รองลงมา
ด้านจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ ร้อยละ
47.76 และด้านการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก
กลมุ่ เป้าหมาย รอ้ ยละ ๔๔.๗๘ ตามลำดบั

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๓๗]

๓) ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พบว่า สถานศึกษา
ส่วนใหญ่มีแผนการดำเนินงานพัฒนาด้านการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้ ร้อยละ ๔๓.๒๘ เท่ากับด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ ๔๓.๒๘ รองลงมาเป็นด้านการตรวจสอบและ
ประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา ร้อยละ 32.84 ตามลำดบั แสดงดงั ตารางที่ ๒๗

ตารางท่ี ๒๗ แผนการดำเนนิ งานเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาให้สงู ขนึ้ ร้อยละ

รายการสงั เคราะห์ 43.28
41.79
แผนการดำเนนิ งานเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาให้สงู ข้นึ 31.34
๑. ด้านคณุ ภาพผู้เรียน 38.81
62.69
๑) ด้านการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ 35.82
๒) ด้านการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การแก้ปญั หา 35.82
๓) ด้านการสรา้ งนวตั กรรม 26.87
๔) ด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 26.87
๕) ดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา 25.37
๖) ดา้ นความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชีพ
๗) ด้านคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทีด่ ี 16.42
๘) ดา้ นความภูมใิ จในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย 43.28
๙) ด้านการอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 44.78
๑๐) ดา้ นสขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม
๒. ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 62.69
๑) ด้านการปรับเป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพันธกิจของสถานศึกษา 34.33
๒) ด้านระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
๓) ด้านการพฒั นาวชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษา 47.76
และทุกกลุ่มเปา้ หมาย
๔) ด้านการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี
๕) ด้านการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้
อยา่ งมีคณุ ภาพ
๖) ดา้ นจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจดั การและการ
จดั การ เรียนรู้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1

ตารางที่ ๒๗ แผนการดำเนนิ งานเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาให้สูงขึ้น (ต่อ) [๓๘]

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

แผนการดำเนนิ งานเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สงู ข้ึน 43.28
๓. ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 43.28
26.87
๑) ด้านการจัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไป 32.84
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้ 29.85

๒) ด้านการใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรู้
๓) ด้านการบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก
๔) ดา้ นการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นา
ผู้เรยี น๕) ด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพื่อพฒั นาและ
ปรับปรุง การจดั การเรียนรู้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดบั เขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๓๙]

ตอนที่ ๔
ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
จำนวน ๖๗ แห่ง จดั กลมุ่ ตามประสิทธิภาพของสถานศึกษาได้ ๒ กลุ่ม ดงั น้ี

4.1 กลุม่ YYY จำนวน 44 แหง่ (ร้อยละ 65.67) ได้แก่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรยี นเทพศิรินทร์
โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนมักกะสันพิทยา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
โรงเรียนวัดราชบพิธ โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร โรงเรียน
โยธินบูรณะ โรงเรียนวัดราชาธิวาส โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ โรงเรียน
สตรีวิทยา โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลยั โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย โรงเรียนชิโนรสวทิ ยาลัย โรงเรียน
ทวีธาภิเศก โรงเรียนสตรีวัดระฆัง โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โรงเรียนมัธยมวัดดุสิตาราม โรงเรียน
วิมุตยารามพิทยากร โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง โรงเรียนโพธิสารพิทยากร โรงเรียนมหรรณพาราม โรงเรียน
ศึกษานารี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์(ทวีวัฒนา)
ในพระราชูปถมั ภ์ฯ โรงเรียนวัดราชโอรส โรงเรียนธนบุรีวรเทพีพลารักษ์ โรงเรยี นแจงร้อนวิทยา โรงเรยี น
บางปะกอกวิทยาคม โรงเรียนบางมดวิทยา สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์ โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ โรงเรียน
รัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน โรงเรียนศึกษานารีวิทยา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี โรงเรียน
อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม โรงเรยี นปัญญาวรคณุ โรงเรยี นมัธยม
วัดหนองแขม โรงเรียนวดั นวลนรดศิ โรงเรียนวดั ประดใู่ นทรงธรรม และโรงเรยี นสตรวี ดั อัปสรสวรรค์

4.2 กลมุ่ NYY จำนวน 23 แหง่ (รอ้ ยละ 34.33) ได้แก่ โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย
โรงเรียนวัดสระเกศ โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ โรงเรียนโยธินบูรณะ ๒ (สุวรรณสุทธาราม)
โรงเรียนราชนันทาจารย์ สามเสนวิทยาลัย ๒ โรงเรียนราชวินิต มัธยม โรงเรียนวัดน้อยนพคุณ
โรงเรียนวัดบวรนิเวศ โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน โรงเรียนบวรมงคล โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราช
วิทยาลัย โรงเรียนสวนอนันต์ โรงเรียนวัดอินทาราม โรงเรียนมัธยมวัดดาวคะนอง โรงเรียนทีปังกร
วิทยาพัฒน์(วัดน้อยใน)ในพระราชูปถัมภ์ฯ โรงเรียนสุวรรณพลับพลาพิทยาคม โรงเรียนทวีธาภิเศก
บางขุนเทียน โรงเรียนพิทยาลงกรณ์พิทยาคม โรงเรียนวัดพุทธบูชา โรงเรียนไชยฉิมพลีวิทยาคม
โรงเรียนนวลนรดิศวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก โรงเรียนวัดรางบัว และโรงเรียนราชวินิตบางแคปานขำ
แสดงดงั ตารางที่ ๒๘

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๔ ระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

[๔๐]

ตารางท่ี ๒๘ ผลการวเิ คราะห์ประสทิ ธภิ าพและโอกาสในการพฒั นาคณุ ภาพของสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษา

ขั้นพ้ืนฐาน

ผลการวเิ คราะห์ จำนวนสถานศกึ ษา (แห่ง)

จำนวน (แห่ง) รอ้ ยละ

YYY 44 65.67

NYY 23 34.33

รวม ๖๗ ๑๐๐.๐๐

ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน กลมุ่ YYY

จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ มีสถานศึกษา
กลุ่ม YYY จำนวน 44 แห่ง (ร้อยละ 65.67) เป็นกลุ่มสถานศึกษาที่มีความพร้อมด้านกายภาพ
บุคลากรได้รบั การพัฒนาตนเองและมีจำนวนเพียงพอ ได้รับการสนบั สนนุ จากเครือข่ายผู้ปกครองและ
หนว่ ยงานภายนอกเพยี งพอ เป็นอย่างดีและตอ่ เน่ือง สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ งานดา้ นกระบวนการ
ได้ตามมาตรฐาน มีกระบวนการบริหาร และการจัดการ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ และผู้เรียนยังมีคุณภาพบรรลุเป้าหมายตามที่สถานศึกษากำหนด ซึ่งวิเคราะห์
ตามทฤษฎีระบบ (System Theory) ไดด้ ังน้ี

๑. ด้านปัจจยั นำเขา้ (Input) พิจารณาจากความเพียงพอและความเหมาะสมของทรัพยากร
และสิ่งสนับสนุนการศึกษาของสถานศึกษาทั้งด้านกายภาพด้านบุคลากร และด้านการสนับสนุน
จากภายนอกสถานศึกษา พบว่า ด้านกายภาพ มีความพร้อมระดับมาก โดยมีการจัดห้องเรียนครบ
ตามระดับชั้นที่เปิดสอน มีห้องปฏิบัติการ/ห้องพิเศษ/แหล่งเรียนรู้เพียงพอและพร้อมใช้งาน
จัดแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น สวนพฤกษศาสตร์ ลานดนตรี ลานธรรมะ
ลานกีฬา สวนวรรณคดี เวทีเสริมทักษะภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ มีสื่อเทคโนโลยีส่งเสริมการ
เรียนรู้ อย่างหลากหลายครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษามีการจัดมาตรการสถานศึกษา
ปลอดภัยเพื่อเพิ่มความปลอดภัยควบคุมการแพร่เชื้อโรคระบาดต่าง ๆ อย่างรัดกุม ด้านบุคลากร มี
ความพร้อมระดบั มาก โดยมผี ูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษาปฏิบัติงานครบทุกแห่ง มคี รคู รบทุกระดับช้ันและ
ทุกรายวิชาซึ่งในปีการศึกษาที่ผ่านมา ครูทุกคนได้รับการพัฒนาตนเองโดยเฉลี่ย ๒๐ ชั่วโมงขึ้นไป
รวมทั้งได้เข้าร่วมกิจกรรม PLC โดยเฉลี่ย ๕๐ ชั่วโมงขึ้นไป ได้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา และสถานศึกษามีบุคลากรอ่ืน
สนับสนุนงานวิชาการและงานธุรการ ด้านการสนับสนุนจากภายนอก มีความพร้อมระดับมาก
โดยไดร้ บั ความรว่ มมือเปน็ อย่างดีจากผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีผู้ปกครอง
ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป เข้าร่วมประชุมหรือเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา และคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีการประชุม ปีละ ๔ ครั้ง นอกจากน้ีสถานศึกษาได้รับการสนับสนุน
เงินทุนการศึกษา สื่อการเรียนรู้อุปกรณ์ส่งเสริมการเล่นกีฬา ดนตรี-นาฏศิลป์ หรืออุปกรณ์ฝึกด้าน
วิชาชีพต่างๆ จากบริษัท ห้างร้านหน่วยงานเอกชนและชุมชนอย่างเพียงพอ ส่งผลต่อการพัฒนา
คุณภาพผู้เรยี นสงู ขึ้น

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 256๔ ระดบั เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

[๔๑]

๒. ด้านกระบวนการ (Process) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR)
ของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
และมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ พบวา่ ด้านกระบวนการ
บริหารและการจัดการ มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจนสอดคล้องกับ
บริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
นโยบายของรัฐบาล จุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและจุดเน้นของ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการ
ผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง พัฒนาครูและ
บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการ ของครูและสถานศึกษา มีการจัด
ประชุมครูและบุคลากรเพื่อจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี มีการส่งเสริม
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการขอความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน แผนพัฒนาการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี มีความครอบคลุมคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา อีกทั้งมีการติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีและนำ
ขอ้ มูลไปใชป้ รับปรงุ หรือพฒั นาให้ต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ นอกจากนย้ี ังพบวา่ สถานศึกษามีการนิเทศ
ภายในอย่างเป็นระบบ มีแนวทางการพัฒนาวิธีการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่
เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีกระบวนการวิจัยและพัฒนาระบบการบริหารที่ถูกต้อง
ตามหลกั วชิ าการ รวมทัง้ ใหค้ วามสำคัญในการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)
ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการบรหิ ารจัดการ ด้านกระบวนการ ในด้านการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้
ผู้เรียนเป็นสำคัญมีครูร้อยละ ๘๐ ขึ้นไปจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่านกระบวนการคิด
และปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
สามารถนำไป จัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ เช่น การจัดการเรียนการ
สอนแบบโครงงาน การสอนโค้ดดิ้ง การสอนแบบสะเต็มศึกษาฯ มีการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียนจัดทำโครงงานแบบบูรณาการทั้งในสาระการเรียนรู้และข้ามกลุ่ม
สาระการเรยี นรใู้ นแต่ละระดบั ชัน้ และจัดทำชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) มีการแลกเปลี่ยน
เรียนร้แู ละให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพ่ือพฒั นา และปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ สถานศึกษาใหค้ วามสำคัญ
ในการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้
และมีการเผยแพร่ เช่น การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ชุดฝึกทักษะด้านการคิดคำนวณ
การฝึกทักษะการอ่านและการคิดขั้นสูง การพูดสนทนาภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้วยบทเรียนออนไลน์
การพัฒนารูปแบบการสอนสิทธิพลเมือง เป็นต้น และยังพบว่า สถานศึกษาได้ให้ความสำคัญ
กับการส่งเสริมให้ครูมีการบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก มีการจัดทำเอกสารในชัน้ เรียนอย่างถูกต้อง
และครบถ้วน มีการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ทำให้มีข้อมูลไปใช้ออกแบบการจัดการเรียน
รู้ให้สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียน รวมทั้งมีระบบดูแลช่วยเหลือผูเ้ รียนอย่างเขม้ แข็งและเปน็
ระบบ มีการติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองที่หลากหลายช่องทางมีการเยี่ยมบ้านนักเรียนที่หลากหลาย
ครอบคลุมทุกบ้าน ครูมีกระบวนการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบใช้เครื่องมือ และ
วิธีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน
และนำผลมาใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 256๔ ระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1


Click to View FlipBook Version