The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา ปรับปรุง 2565 รวมเล่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรสถานศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษา ปรับปรุง 2565 รวมเล่ม

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 145

๑๐. วิเคราะห์ผลการเรียนของตนแต่ละรายวชิ า โดยเฉพาะวิชาท่ีต้องใช้ประเมินระดับชาติ และการเรียนต่อ
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

๑๑. เรยี นรเู้ พ่ิมเตมิ เพื่อความพร้อมในการเข้าเรียนต่อ
๑๒. ปฏิบัตติ ามกฎ กตกิ า และระเบยี บของสงั คม
๑๓. ปฏิบัตติ นเปน็ สมาชกิ ทด่ี ขี องครอบครวั โรงเรียน และประเทศชาติ
๑๔. มีวธิ ีสร้างความมน่ั คงในอารมณข์ องตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม
๑๕. มีคุณธรรมที่เหมาะสมกับวัย เช่น ซื่อสัตย์ กตัญญูกตเวที เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ มีน้าใจ มีจิตสานึกเพ่ือ

สว่ นรวม สามัคคี ฯลฯ
๑๖. มจี ิตอาสา และทากจิ กรรมทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม
๑๗. รจู้ กั วิธีการตัดสินใจและแก้ปัญหาทถี่ ูกตอ้ ง
๑๘. ปฏิบัตกิ ิจกรรมทท่ี าแล้วมีความสขุ ผอู้ ื่นไมเ่ ดอื ดร้อน
๑๙. ให้ความรว่ มมอื และทางานรว่ มกบั ผู้อื่นไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์
รวมท้ังหมด ๑๙ ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผใ่ หญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 146

กจิ กรรมนกั เรยี น

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผใ่ หญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 147

คาอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กิจกรรมนกั เรียน
เวลา ๔๐ ชวั่ โมง
ก๑๑๙๐๒ เตรยี มลกู เสือสารองและลูกเสือสารอง (ดาวดวงท่ี ๑)
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑

คาอธบิ ายรายวชิ า

เปดิ ประชมุ กอง ดาเนนิ การตามกระบวนการของลกู เสือ และจดั กิจกรรมโดยให้ศกึ ษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติกิจกรรมตามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือสารอง
เรียนร้จู ากการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ใชส้ ญั ลกั ษณส์ มาชิกลกู เสอื สารองทม่ี ีความเป็นเอกลักษณ์รว่ มกัน ศึกษาธรรมชาติ
ในชมุ ชนดว้ ยความสนใจ ใฝุรู้ ตามวถิ ีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ปดิ ประชุมกอง ในเรอ่ื งต่อไปน้ี

1. เตรียมลูกเสือสารอง นิยายเมาคลี ประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่ (แกรนด์ฮาวล์)
การทาความเคารพเป็นรายบุคคล การจบั มอื ซา้ ย ระเบยี บแถวเบ้ืองต้น คาปฏญิ าณ กฎและคติพจน์ของลกู เสือสารอง

2. ลกู เสือสารองดาวดวงท่ี 1 อนามยั ความสามารถเชงิ ทักษะ การสารวจ การค้นหาธรรมชาติ ความปลอดภัย
บริการ ธงและประเทศตา่ ง ๆ การฝมี อื กิจกรรมกลางแจ้ง การบันเทิง การผูกเงื่อน คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
สารอง

เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสารองดาวดวงท่ี 1 สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ
และคติพจน์ของลูกเสือสารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจา เช่ือฟัง และพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน รู้จักบาเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือและฝึกฝนทากิจกรรมต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม รักษาและสง่ เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความมั่นคงของชาติ และสามารถประยุกต์ใช้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรียนรู้

1. มนี สิ ัยในการสังเกต จดจา เช่ือฟงั และพึ่งพาตนเองได้
2. มคี วามซ่ือสัตย์ สจุ ริต มรี ะเบยี บวินัยและเห็นอกเห็นใจผู้อ่นื
3. บาเพญ็ ตนเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
4. ทาการฝมี อื และฝกึ ฝนการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รักษาและสง่ เสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ และความม่ันคงของชาติ
6. อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น และสามารถประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 148

คาอธิบายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น กจิ กรรมนกั เรียน
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
ก๑๒๙๐๒ ลูกเสือสารอง (ดาวดวงที่ ๒)
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒

คาอธิบายรายวิชา

เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือสารอง
เรยี นรู้จากการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ ใช้สัญลกั ษณส์ มาชิกลกู เสอื สารองที่มคี วามเปน็ เอกลกั ษณร์ ่วมกนั ศึกษาธรรมชาติ
ในชุมชนดว้ ยความสนใจ ใฝรุ ู้ ตามวิถีเศรษฐกจิ พอเพยี ง สรุปผลและปฏบิ ตั ิกิจกรรม ปิดประชุมกอง ในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้

ลูกเสือสารองดาวดวงท่ี 2 นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่ (แกรนฮาวล์)
การทาความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว คาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือสารอง
อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ การค้นหาธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชนท้องถิ่น ความปลอดภัย
บริการ การผูกเง่ือน ธงและประเทศต่าง ๆ การฝีมือท่ีใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น กิจกรรมกลางแจ้ง การบันเทิงท่ีส่งเสริม
สุขภาพกาย สขุ ภาพจิต และอนรุ กั ษภ์ มู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ อนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน

เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสารองดาวดวงท่ี 2 สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ
และคติพจนข์ องลกู เสอื สารอง มนี ิสยั ในการสงั เกต จดจา เช่ือฟัง และพ่ึงตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเห็นใจ รู้จักบาเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือและฝึกฝนทากิจกรรมต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม ความม่ันคงของชาติ และสามารถประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรียนรู้

1. มีนสิ ยั ในการสังเกต จดจา เชือ่ ฟังและพ่ึงพาตนเองได้
2. มีความซ่ือสัตย์ สุจรติ มีระเบียบวินัยและเห็นอกเหน็ ใจผู้อื่น
3. บาเพญ็ ตนเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
4. ทาการฝีมอื และฝึกฝนการทากจิ กรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น และความมั่นคงของชาติ
6. อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ลดภาวะโลกรอ้ น และสามารถประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 149

คาอธิบายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น กจิ กรรมนกั เรียน
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
ก๑๓๙๐๒ ลูกเสือสารอง (ดาวดวงที่ ๓)
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓

คาอธิบายรายวิชา

เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือสารอง
เรยี นรู้จากการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ ใช้สัญลกั ษณส์ มาชิกลกู เสอื สารองที่มคี วามเปน็ เอกลกั ษณร์ ่วมกนั ศึกษาธรรมชาติ
ในชุมชนดว้ ยความสนใจ ใฝรุ ู้ ตามวิถีเศรษฐกจิ พอเพยี ง สรุปผลและปฏบิ ตั ิกิจกรรม ปิดประชุมกอง ในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้

ลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๓ นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่ (แกรนฮาวล์)
การทาความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว คาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือสารอง
อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ การค้นหาธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชนท้องถิ่น ความปลอดภัย
บริการ การผูกเง่ือน ธงและประเทศต่าง ๆ การฝีมือท่ีใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น กิจกรรมกลางแจ้ง การบันเทิงท่ีส่งเสริม
สุขภาพกาย สขุ ภาพจิต และอนรุ กั ษภ์ มู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ อนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน

เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๓ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ
และคติพจนข์ องลกู เสอื สารอง มนี ิสยั ในการสงั เกต จดจา เช่ือฟัง และพ่ึงตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเห็นใจ รู้จักบาเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือและฝึกฝนทากิจกรรมต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม ความม่ันคงของชาติ และสามารถประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรียนรู้

1. มีนสิ ยั ในการสังเกต จดจา เชือ่ ฟังและพ่ึงพาตนเองได้
2. มีความซ่ือสัตย์ สุจรติ มีระเบียบวินัยและเห็นอกเหน็ ใจผู้อื่น
3. บาเพญ็ ตนเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
4. ทาการฝีมอื และฝึกฝนการทากจิ กรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น และความมั่นคงของชาติ
6. อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ลดภาวะโลกรอ้ น และสามารถประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผใ่ หญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 150

คาอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น กจิ กรรมนกั เรียน
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
ก๑๔๙๐๒ ลกู เสอื สามัญ (ลกู เสอื ตรี)
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔

คาอธบิ ายรายวิชา

เปดิ ประชุมกอง ดาเนนิ การตามกระบวนการของลูกเสือ และจดั กิจกรรมโดยให้ศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน
ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามฐานการเรยี นรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติกิจกรรมตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือสามัญ
เรยี นรู้จากการคดิ และปฏิบตั จิ ริง ใชส้ ญั ลกั ษณส์ มาชิกลูกเสอื สามัญทมี่ คี วามเปน็ เอกลักษณ์ร่วมกัน ศึกษาธรรมชาติ
ในชุมชนด้วยความสนใจ ใฝุรู้ ตามวิถีเศรษฐกจิ พอเพียง สรุปผลและปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ปดิ ประชุมกอง ในเรอื่ งต่อไปน้ี

ความรู้เก่ียวกับกระบวนการลูกเสือ ประวัติของลอร์ด เบเดน โพเอลล์ (Load Baden Powell ; B.P.)
พระราชประวัติสังเขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว วิวัฒนาการของกระบวนการลูกเสือไทยและ
ลูกเสือโลก การทาความเคารพ การแสดงรหัส การจับมือซ้าย กิจกรรมกลางแจ้ง ระเบียบแถว ท่ามือเปล่า ท่าถือ
ไมพ้ ลอง การใช้สัญญาณมอื และนกหวีด การตง้ั แถวและการเรยี กแถว การใช้ทักษะในทางวิชาลูกเสือ การรู้จักดูแล
ตนเอง การชว่ ยเหลือผอู้ ่นื การเดินทางไปยังสถานที่ตา่ ง ๆ การทางานอดเิ รกและเรอื่ งท่ีสนใจ

เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในกจิ กรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ
ลกู เสอื สามัญ มีนสิ ยั ในการสังเกต จดจา เช่ือฟังและพ่ึงตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ
ผอู้ นื่ บาเพญ็ ตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝมี อื และฝกึ ฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคงของชาติ และสามารถ
ประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรยี นรู้

1. มนี สิ ยั ในการสงั เกต จดจา เชอ่ื ฟังและพ่ึงพาตนเองได้
2. มคี วามซื่อสตั ย์ สจุ ริต มรี ะเบียบวนิ ัยและเหน็ อกเหน็ ใจผู้อืน่
3. บาเพ็ญตนเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
4. ทาการฝีมอื และฝึกฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รักษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น และความมน่ั คงของชาติ
6. อนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น และสามารถประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผใ่ หญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 151

คาอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กจิ กรรมนกั เรยี น
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
ก๑๕๙๐๒ ลกู เสอื สามัญ (ลูกเสือโท)
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

คาอธบิ ายรายวิชา

เปิดประชมุ กอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสอื และจดั กิจกรรมโดยใหศ้ กึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน
ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามฐานการเรยี นรู้ โดยเนน้ ระบบหมู่ และปฏิบัติกิจกรรมตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือสามัญ
เรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจรงิ ใช้สญั ลักษณส์ มาชกิ ลูกเสอื สามัญทม่ี คี วามเปน็ เอกลักษณ์ร่วมกัน ศึกษาธรรมชาติ
ในชมุ ชนด้วยความสนใจ ใฝรุ ู้ ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพยี ง สรุปผลและปฏบิ ัติกิจกรรม ปิดประชมุ กอง ในเร่ืองต่อไปน้ี

ความรู้เก่ียวกับกระบวนการลูกเสือ ประวัติของลอร์ด เบเดน โพเอลล์ (Load Baden Powell ; B.P.)
พระราชประวัติสังเขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว วิวัฒนาการของกระบวนการลูกเสือไทยและ
ลูกเสือโลก การทาความเคารพ การแสดงรหัส การจับมือซ้าย กิจกรรมกลางแจ้ง ระเบียบแถว ท่ามือเปล่า ท่าถือ
ไมพ้ ลอง การใชส้ ัญญาณมือและนกหวดี การตั้งแถวและการเรยี กแถว การใช้ทักษะในทางวิชาลูกเสือ การรู้จักดูแล
ตนเอง การชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื การเดนิ ทางไปยังสถานท่ตี ่าง ๆ การทางานอดเิ รกและเร่อื งทีส่ นใจ

เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ
ลกู เสอื สามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟังและพ่ึงตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ
ผอู้ ื่น บาเพญ็ ตนเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝีมือและฝกึ ฝนการทากจิ กรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคงของชาติ และสามารถ
ประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรยี นรู้

1. มีนสิ ัยในการสงั เกต จดจา เชื่อฟงั และพ่ึงพาตนเองได้
2. มคี วามซื่อสัตย์ สจุ รติ มีระเบยี บวนิ ยั และเหน็ อกเหน็ ใจผู้อืน่
3. บาเพ็ญตนเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
4. ทาการฝมี อื และฝกึ ฝนการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รกั ษาและสง่ เสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น และความมั่นคงของชาติ
6. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น และสามารถประยุกต์ใชป้ รชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียงได้
รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 152

คาอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น กจิ กรรมนกั เรียน
เวลา ๔๐ ช่วั โมง
ก๑๖๙๐๒ ลกู เสอื สามัญ (ลกู เสอื เอก)
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖

คาอธบิ ายรายวิชา

เปดิ ประชุมกอง ดาเนนิ การตามกระบวนการของลูกเสือ และจดั กิจกรรมโดยให้ศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน
ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามฐานการเรยี นรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติกิจกรรมตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือสามัญ
เรยี นรู้จากการคดิ และปฏิบตั จิ ริง ใชส้ ญั ลกั ษณ์สมาชกิ ลกู เสอื สามัญทมี่ คี วามเปน็ เอกลักษณ์ร่วมกัน ศึกษาธรรมชาติ
ในชุมชนด้วยความสนใจ ใฝุรู้ ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ปดิ ประชุมกอง ในเรอ่ื งต่อไปน้ี

ความรู้เก่ียวกับกระบวนการลูกเสือ ประวัติของลอร์ด เบเดน โพเอลล์ (Load Baden Powell ; B.P.)
พระราชประวัติสังเขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว วิวัฒนาการของกระบวนการลูกเสือไทยและ
ลูกเสือโลก การทาความเคารพ การแสดงรหัส การจับมือซ้าย กิจกรรมกลางแจ้ง ระเบียบแถว ท่ามือเปล่า ท่าถือ
ไมพ้ ลอง การใช้สัญญาณมอื และนกหวีด การต้ังแถวและการเรียกแถว การใช้ทักษะในทางวิชาลูกเสือ การรู้จักดูแล
ตนเอง การชว่ ยเหลือผอู้ ่นื การเดินทางไปยังสถานท่ีตา่ ง ๆ การทางานอดเิ รกและเรอื่ งท่ีสนใจ

เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ
ลกู เสอื สามัญ มีนสิ ยั ในการสังเกต จดจา เช่ือฟังและพึ่งตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ
ผอู้ นื่ บาเพญ็ ตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝีมือและฝกึ ฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคงของชาติ และสามารถ
ประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรยี นรู้

1. มนี สิ ยั ในการสงั เกต จดจา เชอื่ ฟังและพ่ึงพาตนเองได้
2. มคี วามซื่อสตั ย์ สจุ ริต มรี ะเบยี บวินยั และเหน็ อกเห็นใจผู้อืน่
3. บาเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
4. ทาการฝีมอื และฝึกฝนการทากจิ กรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รักษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น และความมน่ั คงของชาติ
6. อนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น และสามารถประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 153

คาอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น กจิ กรรมนกั เรียน
เวลา ๓๐ ชว่ั โมง
กิจกรรมชุมนุม
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖

คาอธบิ ายรายวชิ า

ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการ เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิดประสบการณ์ทั้งด้านวิชาการและพ้ืนฐานอาชีพ ทักษะชีวิต และสังคม ตามศักยภาพ
อย่างรอบด้าน เพ่ือความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความสามารถในการส่ือสาร มีทักษะการคิด แก้ปัญหา ความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยี พัฒนาทักษะในการทางานและการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข รักในสถาบัน
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุรู้ ใฝุเรียน ดารงชีวิตอย่างพอเพียง มีความมุ่งมั่น
ในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมจี ติ สาธารณะ

เพื่อให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตน ได้พัฒนาความรู้
ความสามารถด้านการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ให้เกิดประสบการณ์ ท้ังทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต
และสังคมตามศักยภาพ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม คิดเป็น ทาได้ ทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้
ตามวิถปี ระชาธิปไตย และประยุกตห์ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม

โรงเรยี นบ้านหนองไผ่ใหญ่ ได้กาหนดกิจกรรมชมุ นมุ จานวน ๓ ชมุ นมุ เพอ่ื ให้นักเรียนเลือกเข้าตามความ
ถนดั และความสนใจ ได้แก่

๑. ชมุ นุมนาฏศลิ ป์
๒. ชมุ นุมกฬี า
๓. ชุมนุมคอมพวิ เตอร์

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 154

กจิ กรรมเพือ่ สงั คม

และสาธารณประโยชน์

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผใ่ หญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 155

คาอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น

กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง

คาอธิบายรายวชิ า

ฝึกปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสมัครใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย ฝึกการทางานท่ีสอดคล้องกับชีวิตจริง
ตลอดจนสะท้อนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ สารวจและใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนอย่างเป็นระบบ
เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ และใช้ความคิดสร้างสรรค์ การบริการด้านต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม
เสริมสร้างความมีน้าใจ เอื้ออาทร ความเป็นพลเมืองดีและความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม
คิดออกแบบกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ในลักษณะอาสาสมัคร จิตอาสา เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตามแนวทางวถิ ีชีวิตเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เพื่อให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
สามารถออกแบบการจดั กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ตามความถนัดและความสนใจ
ในลักษณะอาสาสมัคร พัฒนาศกั ยภาพตนเองในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จนเกิดคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ
และใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ และสามารถประยุกตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้

ผลการเรียนรู้

1. บาเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ครอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ
2. ออกแบบการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ตามความถนัดและความสนใจ

ในลักษณะอาสาสมัคร
3. สามารถพฒั นาศกั ยภาพในการจัดกจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชนไ์ ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. ปฏิบตั กิ จิ การเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
5. สามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 156

ส่วนที่ ๔
เกณฑ์การจบการศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหนองไผ่ใหญ่ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดเกณฑส์ าหรับการจบการศึกษา ไวด้ ังน้ี

เกณฑ์การจบระดบั ประถมศกึ ษา

1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่กาหนด และมีผลการประเมินรายวิชา
พ้ืนฐานผ่านทุกรายวชิ า

2. ผเู้ รียนตอ้ งมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผา่ น” ขน้ึ ไป
3. ผูเ้ รยี นมีผลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับ “ผา่ น” ข้นึ ไป
4. ผเู้ รยี นตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตดั สนิ ผลการเรยี น “ผา่ น” ทุกกจิ กรรม

การจัดการเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
เป็นเปาู หมายสาหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเปูาหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝัง
เสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ พัฒนาทักษะตา่ ง ๆ อันเป็นสมรรถนะสาคญั ให้ผเู้ รียนบรรลตุ ามเปูาหมาย

1. หลักการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะสาคัญ

และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า
ผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสมอง เน้นให้ความสาคัญท้งั ความรู้ และคุณธรรม

2. กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย

เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เปูาหมายของหลักสูตร โดยกระบวนการเรียนรู้ท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคดิ กระบวนการทางสังคม กระบวนการ
เผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง
กระบวนการจดั การ กระบวนการวจิ ยั กระบวนการเรียนร้กู ารเรยี นรขู้ องตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนสิ ัย

กระบวนการเหล่านี้ จัดเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนและพัฒนา
เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเปูาหมายของหลักสูตร ดังน้ัน ผู้สอนจึงจาเป็นต้องศึกษา
ทาความเข้าใจในกระบวนการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผใ่ หญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 157

3. การออกแบบการจัดการเรยี นรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ

ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงจะพิจารณาออกแบบ
การจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียน
ได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ และบรรลุตามเปูาหมายที่กาหนด

4. บทบาทของผ้สู อนและผเู้ รียน
การจดั การเรยี นรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเปูาหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาท

ดงั นี้
4.1 บทบาทของผสู้ อน
1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้

ทที่ ้าทายความสามารถของผู้เรียน
2) กาหนดเปาู หมายทต่ี อ้ งการให้เกิดข้นึ กับผ้เู รยี น ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ในที่เป็น

ความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พนั ธ์ รวมทั้งคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการ

ทางสมอง เพอ่ื นาผเู้ รยี นไปสู่เปาู หมาย
4) จดั บรรยากาศทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
5) จัดเตรยี มและเลอื กใช้สอ่ื ให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เทคโนโลยีที่เหมาะสม

มาประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอน
6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา

และระดบั พัฒนาการของผ้เู รียน
7) วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อนามาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุง

การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผ้เู รยี น
1) กาหนดเปาู หมาย วางแผน และรับผดิ ชอบการเรียนรูข้ องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อความรู้ ตั้งคาถาม

คิดหาคาตอบหรอื หาแนวทางแกป้ ัญหาด้วยวธิ ีการต่าง ๆ
3) ลงมือปฏิบัติจริง สรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์

ตา่ ง ๆ
4) มปี ฏสิ มั พนั ธ์ ทางาน ทากจิ กรรมร่วมกบั กลมุ่ และครู
5) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 158

สอ่ื การเรยี นรู้

ส่ือการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลกั สตู รได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ส่ือการเรียนรู้มีหลากหลาย
ประเภท ทั้งส่ือธรรมชาติ สื่อส่ิงพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อ
ควรเลอื กให้มคี วามเหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการ และลีลาการเรียนรทู้ ี่หลากหลายของผเู้ รยี น

การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมี
คุณภาพจากสื่อต่าง ๆ ท่ีมีอยู่รอบตัว เพ่ือนามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและส่ือสารให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
สถานศกึ ษา เขตพนื้ ที่การศกึ ษา หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง และผมู้ ีหนา้ ทจี่ ดั การศึกษาขั้นพืน้ ฐานควรดาเนินการ ดังนี้

1. จดั ให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ ทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้
ระหว่างสถานศึกษา ท้องถ่ิน ชมุ ชน สงั คมโลก

2. จัดทาและจดั หาส่อื การเรียนร้สู าหรับการศึกษาค้นคว้าของผูเ้ รียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้งจัดหา
สงิ่ ท่ีมีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกตใ์ ชเ้ ป็นส่ือการเรียนรู้

3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้
ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผู้เรียน

4. ประเมินคณุ ภาพของสอ่ื การเรยี นรูท้ ่ีเลอื กใชอ้ ย่างเป็นระบบ
5. ศกึ ษาคน้ ควา้ วิจยั เพอ่ื พัฒนาสือ่ การเรยี นร้ใู หส้ อดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
6. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับส่ือ และการใช้สื่อการเรียนรู้
เป็นระยะ ๆ และสม่าเสมอ
ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ท่ีใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถึงหลักการ
สาคัญของส่ือการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดประสบการณ์ใหผ้ ูเ้ รียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความม่ันคงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม
มกี ารใช้ภาษาทีถ่ ูกต้อง รปู แบบการนาเสนอท่ีเขา้ ใจง่ายและนา่ สนใจ

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือ การประเมินเพื่อ
พัฒนาผู้เรียน และเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียน
จะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเปูาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ
ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ
ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียน
เกดิ การพัฒนา และเรียนรู้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ แบง่ ออกเปน็ 4 ระดบั ประกอบด้วย ระดับช้นั เรยี น ระดับสถานศึกษา
ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา และระดบั ชาติ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 159

1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอน
ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน แฟูมสะสมงาน
การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน
ผูป้ กครองร่วมประเมิน ในกรณีทไี่ มผ่ า่ นตัวชีว้ ดั ให้มีการสอนซ่อมเสรมิ

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อันเป็นผล
มาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งท่ีจะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและ
ส่งเสริมในดา้ นใด นอกจากนี้ยังเปน็ ขอ้ มลู ให้ผู้สอนใชป้ รับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังน้ีโดยสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ัด

2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้
ของผเู้ รียนตามเปูาหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุง
นโยบาย หลักสูตร โครงการ หรอื วธิ กี ารจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาตามแนวทางการประกนั คุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชมุ ชน

3. การประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานท่ีจัดทา และดาเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือ
กบั หนว่ ยงานต้นสังกัดในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน
ระดับสถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา

4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษา
ในระดับต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน
การตัดสินใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมนิ ในระดบั ต่าง ๆ ข้างตน้ เปน็ ประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข
ส่งเสริมสนับสนุน เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล ท่ีจาแนกตาม
สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนต่า กลมุ่ ผู้เรียนท่ีมีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหา
ทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของ
สถานศึกษา ในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและ
ประสบความสาเรจ็ ในการเรยี น

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผใ่ หญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 160

สถานศึกษาในฐานะผรู้ ับผิดชอบจัดการศกึ ษา จะตอ้ งจัดทาระเบยี บว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนของสถานศึกษา ให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรทีเ่ กย่ี วข้องทุกฝุายถือปฏบิ ัตริ ่วมกัน

เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น

1. การตดั สนิ การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน
1.1 การตัดสินผลการเรียน
ในการตดั สินผลการเรยี นของกลุม่ สาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ

อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนน้ัน ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บ
ข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนา
จนเต็มตามศกั ยภาพ

ระดับประถมศกึ ษา
(1) ผู้เรียนต้องมเี วลาเรยี นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้งั หมด
(2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทกุ ตวั ชี้วดั และผา่ นตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากาหนด
(3) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า
(4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
ในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
การพิจารณาเล่ือนช้ัน ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า
สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผันให้เล่ือนช้ันได้ แต่หากผู้เรียน
ไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจต้ัง
คณะกรรมการพิจารณาใหเ้ รียนซา้ ช้ันได้ ทงั้ นใ้ี หค้ านึงถึงวุฒภิ าวะและความรคู้ วามสามารถของผู้เรียนเป็นสาคญั
1.2 การใหร้ ะดับผลการเรยี น
ระดับประถมศึกษา ในการตดั สนิ เพ่อื ให้ระดบั ผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ระดับ
ผลการเรยี นหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้
คาสาคญั สะท้อนมาตรฐาน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล
การประเมินเปน็ “ดีเยีย่ ม ดี และ ผา่ น”
การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม
และผลงานของผู้เรยี น ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากาหนด และให้ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเปน็ “ผ่าน และ ไมผ่ า่ น”
1.3 การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียน เป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้
ของผู้เรียน ซ่ึงสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรือ
อยา่ งน้อยภาคเรียนละ 1 คร้งั
การรายงานผลการเรียน สามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน
มาตรฐานการเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 161

2. เกณฑ์การจบการศกึ ษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็น 1 ระดับ

คอื ระดับประถมศึกษา
2.1 เกณฑ์การจบระดบั ประถมศกึ ษา
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม ตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ีหลักสูตร

แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานกาหนด
(2) ผ้เู รยี นต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่

สถานศึกษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่

สถานศึกษากาหนด
สาหรบั การจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเปูาหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับ

ผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการ
ของสถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์
ในแนวปฏบิ ัติ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สาหรับกลุ่มเปูาหมาย
เฉพาะ

เอกสารหลักฐานการศกึ ษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูล และสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้อง
กับพัฒนาการของผู้เรียนในด้านตา่ ง ๆ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี

1. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผู้เรียน

ตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา
และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
เม่ือผเู้ รียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6)

1.๒ แบบรายงานผ้สู าเรจ็ การศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตร โดยบันทึกรายช่ือและข้อมูล
ของผู้จบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6)

2. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทส่ี ถานศกึ ษากาหนด
เปน็ เอกสารท่ีสถานศึกษาจดั ทาข้ึนเพอ่ื บันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสาคัญเก่ียวกับผู้เรียน

เช่น แบบรายงานประจาตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน
และเอกสารอ่นื ๆ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการนาเอกสารไปใช้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผใ่ หญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 162

การเทยี บโอนผลการเรียน

สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปล่ียน
รปู แบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ
และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้
อน่ื ๆ เชน่ สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศกึ ษาโดยครอบครัว

การเทียบโอนผลการเรยี น ควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรกที่สถานศึกษา
รับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งน้ี ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเน่ืองในสถานศึกษาที่รับ
เทียบโอนอย่างนอ้ ย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาทรี่ บั ผเู้ รยี นจากการเทียบโอนควรกาหนดรายวิชา/จานวนหน่วยกิต
ท่ีจะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการไดด้ ังนี้
1. พจิ ารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอืน่ ๆ ทใี่ ห้ข้อมลู แสดงความรู้ ความสามารถของผ้เู รยี น
2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้และ
ภาคปฏิบตั ิ
3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัตใิ นสภาพจริง
การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศ หรอื แนวปฏบิ ตั ขิ องกระทรวงศึกษาธกิ าร

การบริหารจัดการหลกั สูตร

ในระบบการศึกษาทมี่ ีการกระจายอานาจใหท้ ้องถ่ิน และสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น
หน่วยงานต่าง ๆ ท่เี ก่ียวข้องในแต่ละระดบั ตงั้ แต่ระดบั ชาติ ระดบั ท้องถ่นิ จนถงึ ระดบั สถานศกึ ษา มีบทบาทหน้าท่ี
และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริมการใช้ และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เพ่ือให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ
สงู สดุ อนั จะส่งผลใหก้ ารพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น บรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรูท้ ี่กาหนดไวใ้ นระดับชาติ

ระดับท้องถิ่น ได้แก่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอื่น ๆ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาท
ในการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางที่จะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานที่กาหนด
ในระดับชาติ ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน เพื่อนาไปสู่การจัดทาหลักสูตรของสถานศึกษา
ส่งเสรมิ การใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสาเร็จ โดยมีภารกิจสาคัญคือ กาหนดเปูาหมาย
และจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิ่น โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับส่ิงที่เป็นความต้องการในระดับชาติ
พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถ่ิน รวมท้ังเพ่ิมพูนคุณภาพการใช้หลักสูตร
ดว้ ยการวิจัยและการพฒั นาบคุ ลากร สนบั สนุน สง่ เสริม ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพ
ของผู้เรยี น

สถานศึกษามีหน้าที่สาคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาเนินการใช้หลักสูตร
การเพ่ิมพนู คุณภาพการใชห้ ลกั สตู รดว้ ยการวจิ ัย และพฒั นาการปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตร จัดทาระเบียบการวัด
และประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พ้นื ฐาน และรายละเอยี ดทเี่ ขตพ้นื ท่กี ารศึกษา หรือหน่วยงานสังกัดอ่ืน ๆ ในระดับท้องถ่ินได้จัดทาเพิ่มเติม รวมทั้ง
สถานศกึ ษาสามารถเพิม่ เติมในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชมุ ชนและสงั คม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ และความต้องการ
ของผเู้ รียน โดยทุกภาคสว่ นเขา้ มามีส่วนรว่ มในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 163

ภภาาคคผผนนววกก

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองไผ่ใหญ่ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ... 164

คณะผู้จดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษา

โรงเรยี นบ้านหนองไผ่ใหญ่ )ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕(
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๑. นายธาดาพงศ์ แดงงาม ผอู้ านวยการโรงเรียน
๒. นางพวงพยอม วรรณโกษิตย์ ครู อันดบั คศ.๓
๓. นางสาวสุจติ รา สาครรมั ย์ ครู อนั ดับ คศ.๒
๔. นางสาวกานตน์ ภัทร เฮงสวัสดิพ ครู
๕. นายอนศุ ร ชยั รมั ย์ ครูผู้ชว่ ย
๖. นายเสรี เลิศฤทธิพ ครอู าสาช่วยสอน
๗. นางสาวมานิตา มสิ า ครอู ตั ราจา้ ง
๘. นางสาวศิรขิ วญั มลู ไธสง ครอู ัตราจา้ ง
๙. นางสาวดวงนภา สาครรมั ย์ เจ้าหนา้ ท่ธี ุรการ

เอกสารอ้างอิง

กรมวชิ าการ. (๒๕๕๕). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และท่แี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุงเทพฯ : อักษรไทย,

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๔๕). หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๕. กรุงเทพฯ :
ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๕๐ ก). แนวทางการจัดทาหน่วยการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงช่วงชน้ั ท่ี ๑ (ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓). กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่
ประเทศไทย จากัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๐ ข). แนวทางการจัดทาหน่วยการเรียนรู้แบบบรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงช่วงชั้นที่ ๒(ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖). กรงุ เทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่
ประเทศไทย จากัด.

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๕๑). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.

สถาบันส่งเสรมิ าการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (๒๕๖๐). ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกล่มุ
สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั
พน้ื ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั .

สถาบนั ส่งเสรมิ าการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (๒๕๖๐). ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั
พ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน. (๒๕๕๗, ๒๙ กันยายน). แนวปฏิบตั เิ ก่ยี วกับค่านิยมหลกั ๑๒
ประการสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน. (๒๕๖๑, ๘ มกราคม) แนวทางบริหารจดั การหลกั สตู ร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : ผแู้ ต่ง.

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๑). แนวทางการบรหิ ารจดั การหลักสตู ร. กรุงเทพฯ :
ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน. (๒๕๖๑, ๕ มกราคม) คาสง่ั สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ เรอ่ื ง ใหเ้ ปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้วี ดั การเรยี นรู้
คณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : ผ้แู ต่ง.

สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๑). ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด,๒๕๕๑.
สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๑). ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้

สงั คมศกึ ษาศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย
จากดั .
สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๑). ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจากัด.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๑). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนร้แู กนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชพี และเทคโนโลย.ี กรุงเทพฯ : ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.
สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๑). ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนร้แู กนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทยจากดั .
สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๗). แนวทางการจัดการเรียนรรู้ ายวชิ าเพิม่ เติม หน้าท่ีพลเมือง.
กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.
สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๘). คมู่ อื บรหิ ารจดั การเวลาเรียน “ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้”
กรุงเทพฯ : ผู้แตง่ .
สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๖๑). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนร้แู กนกลางสาระภมู ิศาสตร์
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้.
.กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.
สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๖๑). เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร
หลักเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจเร่ือง การจดั ทามาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สาระภูมศิ าสตรฯ์ (ฉบับปรบั ปรงุ พงศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ไปสกู่ ารปฏิบัติ. กรงุ เทพฯ : ผู้แต่ง.


Click to View FlipBook Version