The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by V.sodahak, 2022-10-05 02:13:43

qgis_manual

qgis_manual

หน้า 1

ความรูท้ ว่ั ไปเก่ยี วกบั โปรแกรม

Quantum GIS คืออะไร
Quantum GIS หรือ QGIS คือโปรแกรมประเภทจัดการข้อมูล GIS (Geographic Information System)

โปรแกรมหน่ึง ซงึ่ มสี ่วนติดต่อผใู้ ช้เป็นแบบกราฟกิ (Graphic User Interface: GUI) ท่ีเข้าใจและใช้งานง่าย
QGIS ถกู พัฒนาข้ึนมาภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเปดิ เผยโค้ด (Open source) ซง่ึ สามารถนาไปใช้งาน

ได้อย่างไมม่ ขี ้อจากัด อกี ทงั้ ยังสามารถนาโคด้ ไปพัฒนาต่อได้อีกด้วย
การพัฒนาแบบเปิดเผยโค้ดคือการเขียนโปรแกรมแบบเปิดเผยซอร์สโค้ด (Source code)

ให้นักพัฒนาจากท่ัวโลกได้ร่วมกันพัฒนาโปรแกรม ขอ้ ดีคอื การหลอ่ เล้ียงโครงการพัฒนาลกั ษณะนมี้ ักมาจากเงิน
ลงขนั จากองค์กรใหญ่ ๆ ทต่ี ้องการใชง้ านโปรแกรมนัน้ แตไ่ มอ่ ยากซื้อของท่มี ีขายอยู่ในตลาดท่ีมีราคาแพงเกนิ ไป
ในขณะที่ต้องการใช้ความสามารถของโปรแกรมไม่มากนัก ดังนั้น QGIS จึงถูกพัฒนาข้ึนให้มีความสามารถ
หลากหลาย ทั้งการใช้งานท่วั ไปอย่างการเรยี กใช้งานขอ้ มูลภาพ ตารางสืบค้นข้อมูล วเิ คราะหข์ ้อมูลแบบอา้ งอิง
ข้อมูลเชิงตาแหน่ง (Spatial query) ตลอดจนนาเสนอข้อมูลในรู้แบบแผนที่อย่างสวยงามทั้งแบบ Offline และ
Online อีกดว้ ย

แต่อย่างไรก็ตาม การพัฒนาแบบเปิดเผยโค้ดมีข้อจากัดท่ีทิศทางการพัฒนาจะถูกวางไว้อย่างกว้าง ๆ
เท่านั้น โดยปกติโปรแกรมประเภทนี้จึงมักมีความสามารถกว้าง ๆ คือทา ได้แทบทุกอย่างที่โปรแกรม
ในท้องตลาดทั้งหมดมี แต่ฟังก์ชันแต่ละอย่างอาจไม่มีประสิทธิภาพสูงมากนัก QGIS จึงนามาใช้งานท่ัว ๆ ไปได้
เท่าน้ัน แต่งานที่ต้องการฟังก์ชันที่มีความซับซ้อนสูงหรือต้องการประสิทธิภาพ QGIS จะยังตอบสนองได้ไม่ดี
เทา่ ท่คี วร

QGIS ถูกพัฒนาข้ึนโดยกลุ่มนักพัฒนาซอฟต์แวร์จากประเทศเยอรมันในปี พ.ศ. 2545 เร่ิมที่เวอร์ชัน
0.001-alpha จนถึงปัจจุบันปีพ.ศ. 2561 (เดือนธันวาคม) เวอร์ชันล่าสุดคือ QGIS 3.4 'Madeira' สามารถใช้
งานบนระบบปฏิบัติการ Windows , Linux หรือ Mac OS เป็นเคร่ืองมือท่ีมีประสิทธิภาพในการจัดการข้อมูล
GIS และใช้ภาษา C++ เป็นหลักสามารถเช่ือมต่อและเรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆกับ Geospatial RDBMS เช่น
PostGIS/PostgreSQL และ GRASS ได้ อีกทั้ง ผู้ใช้สามารถพัฒนาปลั๊กอินขึ้นมาใช้เพิ่มความสามารถ
ของโปรแกรมโดยใช้ภาษา Python ไดอ้ ีกดว้ ย

ค่มู ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยุทธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 2

เวอร์ชันตา่ ง ๆ ของ Quantum GIS

คมู่ อื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หน้า 3

การติดตงั้ โปรแกรม QGIS
1. ดาวน์โหลด โปรแกรม QGIS ได้จาก https://www.qgis.org/en/site/forusers/download.html

เว็บจะแสดงโปรแกรมเวอรช์ ันล่าสุด หากต้องการเวอรชันเก่าให้คลิกท่ี ALL RELEASES => Older releases
of QGIS are available here จึงสามารถเลือกดาวนโหลดโปรแกรม QGIS เวอร์ชันท่ีต้องการซึ่งในเอกสารคู
มือการใช้งานโปรแกรม QGIS เลม่ น้ีจะกลา่ วถงึ เวอรชนั 3.2 (Bonn) เทาน้ัน

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยุทธศาสตรแ์ ละประเมนิ ผล

หนา้ 4

2. เมื่อดาวนโ์ หลดโปรแกรม QGIS เสรจ็ แลว้ ใหด้ ับเบิ้ลคลกิ ท่ีไฟล์ QGIS-OSGeo4W-3.2.3-1-Setup-
x86_64.exe จะปรากฏหนา้ จอตดิ ตั้ง ให้คลิกทีป่ ุ่ม Next >

3. เมอื่ คลกิ ท่ี ปุม่ Next จะปรากฏสว่ นของการยอมรบั ลขิ สิทธข์ิ องโปรแกรม QGIS ให้คลิกท่ี ปุม่ I Agree

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยุทธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หนา้ 5

4. หลังจากคลิก ปุ่ม I Agree จะปรากฏหน้าจอให้ผู้ใช้กาหนดที่ตั้งท่ีจะลงโปรแกรม ซึ่งค่าตั้งต้นจะถูกกาหนด
ไวท่ี C:\Program Files\QGIS 3.2 แต่หากต้องการกาหนดที่ต้ังโปรแกรมไวท่ีอ่ืน ให้คลิกปุม Browse… แล้ว
เลอื กโฟลเดอร์ท่ีตอ้ งการ เมื่อผู้ใช้กาหนดทีต่ ้ังทีต่ อ้ งการลงโปรแกรมเรยี บรอ้ ยแล้วให้คลกิ ปุม Next >

5. จากนน้ั จะปรากฏหน้าจอให้เลอื กองคป์ ระกอบของโปรแกรมทต่ี ้องการตดิ ต้งั ซึ่งโปรแกรม QGIS
จะถูกเลือกไว้ให้แลว จึงสามารถคลิกปุม Install เพอื่ เริม่ ตดิ ตง้ั โปรแกรม

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หนา้ 6

6. เม่อื โปรแกรมไดตดิ ตั้งเสรจ็ เรียบร้อยแลวจะแสดงหน้าจอดงั ภาพด้านล่าง ผใู้ ช้สามารถคลกิ ปุม Finish
เพอื่ ปิดหน้าต่างการติดตั้งโปรแกรมได และอาจจะมกี ารรสี ตาร์ทเคร่ืองใหม่อีกคร้งั

7. หลังจากผา่ นข้ันตอนการติดตัง้ โปรแกรมแลวจะสามารถเปดิ โปรแกรม QGIS โดยเขา้ ไปที่ Start =>
All Programs => QGIS 3.2 => QGIS Desktop 3.2.3 หรอื ดบั เบิลคลิกที่ Icon บน Desktop จะเปิด
โปรแกรมขึ้นมาตามรปู ด้านล่าง

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 7

องค์ประกอบของ QGIS
QGIS ประกอบไปดว้ ย 4 ความสามารถสาคัญ ไดแ้ ก่
1. QGIS Desktop ใช้สรา้ ง แกไ้ ข แสดงผล วเิ คราะห์ และนาเสนอขอ้ มูลดา้ นภมู ิศาสตร์

QGIS Desktop
2. QGIS Browser ใช้เปิดดูหรอื พรวี วิ ข้อมลู ภูมศิ าสตร์และเมตาดาตา้ ทีจ่ ดั เก็บไว้ อกี ทง้ั ใช้จัดการ
โอนยา้ ยขอ้ มลู เหล่านน้ั ได้อกี ด้วย

QGIS Browser

ค่มู ือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 8

3. QGIS Server ใช้จัดการ WMS (Web Map Service) และ WFS (Web Feature Service)
ควบคุมชั้นข้อมลู ข้อมลู ตาราง เลย์เอาท์และระบบพกิ ดั ที่จะแสดงออกไป

QGIS Server
4. QGIS Web Client ใชแ้ สดงผลระบบแผนท่ีบนเวบ็

QGIS Web Client
ซ่ึงในคู่มือน้จี ะกล่าวถึงการใช้งาน QGIS Desktop เบื้องต้นเท่าน้ัน

คมู่ ือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยุทธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 9

ประเภทของข้อมลู GIS โปรแกรม GIS ท่วั ไปจะแบ่งขอ้ มูลเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดงั นี้
1. เวกเตอร์ (Vector) คือข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในรูปชุดของจุดพกิ ัดและความสัมพันธ์ระหวา่ งพกิ ัดต่าง ๆ

ซ่ึงยังแบง่ ย่อยได้อีก 3 ประเภทคอื
- จุด (Point) เป็นชุดพิกัดทไี่ ม่มีความสมั พนั ธ์กันเลย แตล่ ะจดุ เปน็ ข้อมลู แยกของตวั เองไม่มีเกี่ยวกัน
- เส้น (Line) เป็นชุดพิกัดท่ีมีความเกี่ยวข้องกันแบบทางเดียว คือมีจุดเร่ิมต้นไปจนถึงจุดปลาย ไม่มี

ลักษณะการวนซา้ กลับมาจุดเดมิ ชดุ ความสมั พนั ธ์นีห้ น่ึงชุดคอื ขอ้ มลู ของเสน้ หนึ่งเสน้
- โพลีกอน (Polygon) เป็นชุดพิกัดท่ีมีความเก่ียวข้องกันแบบวนกลับ คือมีจุดเริ่มตน้ และจุดปลายเป็น

จุดเดยี วกนั ทาให้ได้หนึง่ ชุดพกิ ัดเปน็ รปู ปดิ หน่ึงรปู

รปู ตัวอยา่ งข้อมูลแบบเวกเตอร์
ขอ้ มูลเวกเตอร์อาจมีข้อมูลตาราง (Attribute) ประกอบอยู่ด้วยหรือไม่ก็ได้ ซ่ึงข้อมูลตารางน้ีจะผูกโยง
เข้ากับชุดข้อมูลแต่ละชุดไปเช่น ถ้าเป็นข้อมูลแบบจุด แต่ละจุดก็จะมีข้อมูลตารางของตัวเองหน่ึงชุด ถ้าเป็น
ขอ้ มูลแบบเส้น แตล่ ะเสน้ กจ็ ะมีขอ้ มูลตารางของตัวเองหนง่ึ ชุดเช่นกนั
QGIS รองรับฟอร์แม็ตเว็กเตอร์ของโปรแกรมช่ือดัง ๆ ในท้องตลาดแทบท้ังหมดเช่น ESRI Shape,
MapInfo File, Microstation DGN และ AutoCAD DXF เป็นตน้
2. ราสเตอร์ (Raster) คือข้อมลู ท่ีมีการจัดเก็บเป็นช่องตารางส่ีเหลี่ยม แต่ละช่องตารางเรียกวา่ พิกเซล (Pixel)
จะเก็บข้อมูลตัวเลขชุดหนึ่ง พิกเซลจะมีขนาดช่องละเท่ากนั เรียงตัวกันเป็นรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก พิกัดภูมิศาสตร์
จะถูกกาหนดไว้ที่พิกเซลแรกและขนาดของพิกเซลจะเป็นตัวกาหนดพิกัดของพิกเซลอื่น ๆ เอง หากข้อมูล
ราสเตอร์ไมไ่ ด้ระบพุ กิ ดั พกิ เซลแรกมา พกิ ัดจะเร่ิมที่จุด (0,0) เรียกวา่ Unregistered raster

คมู่ อื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หนา้ 10

รปู ตวั อย่างข้อมูลราสเตอร์ แสดงใหเ้ หน็ วา่ เก็บข้อมูลเปน็ พิกเซล
โดยทั่วไปราสเตอร์มักเป็นข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม หรือแผนที่ท่ีถูกสแกนจาก
กระดาษ แต่ข้อมูลราสเตอร์ก็ยังสามารถเก็บข้อมูลอ่ืนๆ เช่น ระดับความสูงได้เช่นกัน ซ่ึง QGIS รองรับฟอร์แม็ต
ของรปู ภาพทเ่ี ปน็ ทนี่ ิยมสว่ นใหญไ่ ด้ทงั้ หมดเชน่ JPG, PNG, GIF, BMP และ TIFF อีกทงั้ ข้อมูลราสเตอรท์ ่มี กี าร
ระบพุ กิ ัด (Georeferencing) ทโ่ี ปรแกรมดงั ๆ รองรับได้ เชน่ Geo-TIFF, ECW, SID,DEM และ IMG เปน็ ตน้
3. ดีลมิ ิตเตดเท็กซ์ (Delimited text) คือข้อมูลประเภทข้อความ (Text) ทถ่ี ูกค่ัน (Delimited) ด้วย
เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์บางตัวเช่น ลูกน้า (“,”) ทับ (“/”) หรือช่องว่าง (“ ”) เพื่อบ่งบอกว่าข้อความท่ีถูกค่ัน
น้นั เปรียบเสมือนอยคู่ นละช่องตารางกนั ขอ้ มูลประเภทนีม้ ักมาจากการบันทึกของเคร่อื งรับสัญญาณ GPS หรือ
การนาเข้าจากโปรแกรมอ่ืน ๆ ท่ีไม่ใช่โปรแกรม GIS เช่น Excel เป็นต้น ทั้งน้ีเพ่ือใช้ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลตาราง
(Attribute)

หวั ตารางมี 5 คอลัมน์
คน่ั ด้วยลกู น้า ( , )

แต่ละแถวมี 5 คอลัมน์ ค่ัน
ด้วยลูกน้า ( , ) เช่นกัน เป็น
การแสดงให้เห็นว่าข้อมูลแม้
ไม่มีเส้นตาราง แต่เขียนใน
รูปแบบตารางได้

ตัวอย่างดลี มิ ติ เตดเทก็ ซ์

ค่มู อื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยุทธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หน้า 11

การใช้โปรแกรม Quantum GIS เบื้องต้น

สว่ นตดิ ตอ่ ผ้ใู ช้ของ QGIS
เมือ่ เปิด QGIS ข้ึนมาโปรแกรมจะมสี ว่ นประกอบหลกั อยู่ 5 สว่ นไดแ้ ก่ Menu Bar, Tool Bar, Map Legend,

Map View และ Status Bar ดงั ภาพ

1. Menu Bar คือเมนูฟังก์ชันทั้งหมดท่ี QGIS มี โดยจัดหมวดหมู่ไว้เป็น 13 หมวดหลัก แต่ละหมวด
มีเมนูยอ่ ยลงไป

2. Tool Bar คือฟังก์ชันท่ีใช้งานบ่อยของ QGIS (ซ่ึงทั้งหมดมีอยู่ใน Menu Bar) มีลักษณะเป็นกลุ่ม
ไอคอน (Icon) จัดไว้เปน็ หมวดหมูเ่ ดียวกัน หมวดหมู่เหลา่ นส้ี ามารถยา้ ยและปดิ ได้ตามความถนดั ของผู้ใช้

3. Map Legend คือส่วนคาอธิบายแผนที่ใช้แสดงรายชื่อชั้นข้อมูลท่ีมีอยู่ และยังใช้จัดการลาดับ
ปรบั แตง่ การแสดงผลและเปดิ -ปดิ ช้นั ข้อมูลอีกด้วย

4. Map View คือส่วนการแสดงผลแผนที่ท้ังหมดตามท่ีได้กาหนดไว้ใน Map Legend และนอกจาก
แสดงแผนทใ่ี หด้ แู ลว้ ผู้ใช้ยังสามารถปรับแตง่ ลบ-เพ่ิม รายละเอยี ดของชัน้ ขอ้ มูลต่าง ๆ ได้ในส่วนน้ี

5. Status Bar แสดงตาแหน่งปจั จุบันท่ี Mouse pointer ชี้อยู่ (ซึ่งสามารถเปล่ียนเป็นแสดงขอบเขต
ของแผนท่ีท่ีแสดงอยู่ได้โดยคลิกไอคอนด้านซ้ายสุดของแถบ Status Bar) นอกจากน้ียังบอกมาตราส่วนและ
ระบบพกิ ดั แผนท่ีท่ีใชอ้ ยอู่ ีกดว้ ย

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยุทธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 12

แถบเครื่องมือ (Toolbar) แสดงเป็นสัญลักษณ์ (Icon) ที่ใช้แทนคาสั่งต่างๆ แถบเครื่องมือที่โปรแกรม
ไดจ้ ัดเตรียมไว้ให้นั้นมอี ย่หู ลายชุดดว้ ยกนั เชน่

 File Toolbar แถบเคร่อื งมือสาหรับจดั การเอกสาร

New หมายถึง การสร้างเอกสารโครงการใหม่

Open หมายถึง การเปิดเอกสารโครงการที่มอี ยูเ่ ดิม

Save หมายถึง การบันทกึ โครงการ

Save As หมายถงึ การบันทกึ โครงการเปน็ อกี ชื่อหนึ่ง

New Print Layout หมายถึง การสรา้ งแผนทใี่ หมเ่ พ่ือการพมิ พ์

Composer Manager เปน็ ส่วนของหนา้ จอเลก็ ๆ สาหรบั ใหผ้ ใู้ ชง้ านสามารถจดั การกบั

Layer/Composer ที่สร้างข้ึนได้ ได้แก่ การเรียก Layout มา

แสดง การลบและสร้าง Layout ออกหรือการ เปลี่ยนช่ือให้กับ

Layout

 Map Navigation Toolbars เป็นเคร่อื งมือในการกวาด ย่อ ขยาย แผนท่ี

Pan Map ใชเ้ ลื่อนแผนท่ไี ปด้านอ่ืน ๆโดยยงั คงรกั ษามาตราสว่ นเดิม

Pan Map to Selection ใช้เลอ่ื นแผนทไี่ ปยังข้อมลู ทเี่ ลอื กไว้ รักษามาตราสว่ นเดิม

Zoom In ใช้ขยายมาตราส่วนให้ใหญ่ขึ้นด้วยการคลิกบริเวณที่ต้องการขยาย

จะขยายทีละเท่าตัว หรือใช้วิธีลากกรอบสี่เหล่ียมผืนผ้าเพ่ือขยาย

แผนท่ใี ห้มขี นาดพอดีกรอบ

Zoom Out ใช้ย่อมาตราส่วนใหเ้ ลก็ ลงด้วยการ คลิกบรเิ วณท่ีต้องการย่อจะย่อที

ละคร่งึ หน่งึ

Zoom to Native Pixel Resolution ใช้เปลย่ี นมาตราสว่ นใหค้ วามละเอยี ดข้อมลู ราสเตอร์

ที่เปิดอยเู่ ท่ากบั ความละเอียดของหนา้ จอ

คู่มอื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานักยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หน้า 13

Zoom Full เปล่ยี นมมุ มองเป็นส่วนทมี่ องเหน็ ขอ้ มูลทุกชั้นได้ครบทงั้ หมด

Zoom to Selection เลื่อนไปยังข้อมูลท่ีเลือกไว้และเปลี่ยนมาตราส่วนให้เห็นข้อมูล

ทเ่ี ลอื กไว้ทง้ั หมดพอดี

Zoom to Layer เปลี่ยนมมุ มองเป็นสว่ นทมี่ องเห็นขอ้ มลู ชนั้ ที่เลอื กได้ครบท้งั หมด

Zoom Last กลบั ไปมุมมองก่อนหน้า

Zoom Next กลบั ไปมุมมองหลงั
New Bookmark คาส่งั ในการสรา้ งบรเิ วณท่บี นั ทึกใหม่ให้กับโครงการ

Show Bookmark คาสั่งในการแสดงบริเวณทีบ่ นั ทกึ ไวก้ ่อนหน้าน้ี

Refresh การเคลยี ร์ค่าใหเ้ ป็นปัจจบุ นั

 Attribute Toolbars เป็นกลุ่มของเครื่องมือในการเรียกดูคุณสมบัติ ข้อมูลในตาราง การวัด และ
การให้ Label บน Balloon เปน็ ต้น

Identify Features คาสง่ั ในการดูข้อมูลบรรยายของข้อมลู ท่ีคลิกเลอื ก

Run Feature Action คาสั่งการดาเนนิ การทางานข้อมลู

Select Features คาสง่ั ในการเลือกข้อมูล

Select Features by คาสั่งในการเลือกข้อมูลแตล่ ะชนิด

Deselect Feature from All Layers คาส่ังยกเลกิ การเลอื กข้อมลู จากทุกช้นั ข้อมลู

Open Attribute Table คาสั่งในการเปิดตารางคุณลักษณะชดุ ข้อมูลท้ังหมด

Open Field Calculator คาส่งั ในการเปิดตารางคาบรรยายของชุดขอ้ มลู ทัง้ หมด

Toolbox คาสง่ั ในการเปิดหน้าต่างเครื่องมอื การทางาน

Show Statistical Summary คาสั่งในการคานวณค่าของตารางคุณลักษณะชดุ ข้อมูล

Measure Line การวัดระยะทางในแผนท่ี

Map Tips คาส่งั ในการนาข้อมูลในตารางาแสดงผลท่ีแผนที่

Text Annotation เครือ่ งมือในการสรา้ ง ปรับปรุง และแก้ไข กล่องขอ้ ความ

คู่มอื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หนา้ 14

 Digitizing Toolbars เป็นเคร่ืองมือสาหรับสร้าง แก้ไข ปรบั ปรุงข้อมลู เชิงเส้น (Vector)

Current Edits คาสั่งเลอื กแก้ไขขอ้ มูลปัจจบุ นั

Toggle Editing คาสง่ั เร่ิมเข้าสู่ การปรบั ปรงุ แก้ไข หรือสรา้ งข้อมลู

Save Layer Edits คาสั่งการบนั ทึกชั้นข้อมลู ท่ีแก้ไข

Add Feature คาส่ังการนาเขา้ ข้อมูล

Vertex Tool คาสงั่ ในการย้าย Node ใน จดุ เสน้ หรือรูปปดิ

เพอ่ื แก้ไขรูปร่างของ Feature

Delete Selected คาสงั่ ในการลบ จุด เสน้ หรอื รูปปิด ที่ได้เลือกไว้

Cut Feature คาสง่ั ในการลบและจัดเก็บในหนว่ ยความจาเพ่ือรอ

การนาไปวางของ จดุ เส้น หรือรปู ปดิ ท่ไี ด้เลือกไว้

Copy Feature คาสง่ั ในการทาสาเนา จุด เส้น หรอื รูปปิด ทไ่ี ด้เลือกไว้

Paste Feature คาสั่งในการวางคาสั่งในการลบ จดุ เส้น หรอื รูปปิด

ทไ่ี ดเ้ ลอื กไว้ จากสาเนาที่เก็บไว้ในหนว่ ยความจา

ขอ้ แนะน้า : หากซ่อนเครื่องมือโดยความบังเอิญ สามารถเรียกคืนได้โดยการ คลิกท่ปี มุ่ View คลิกเลือก

Toolbars และเลือก Digitizing Toolbar จากน้ันเคร่ืองมือท่ีถูกซ่อนจะปรากฏดังเดิม

คมู่ อื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมนิ ผล

หน้า 15

Manage Layer Toolbar คือ แถบเมนูคาสั่งของโปรแกรมสาหรับเพิ่มจัดการ สร้าง ข้อมูลเชิงพื้นที่ท้ังที่เป็น
ขอ้ มูลเชิงเส้น และข้อมูลเชิงภาพ การเรียกใช้งานแถบเมนูทาไดโ้ ดยการเลือ่ นเมาสม์ าวางทช่ี ่ือเมนูที่ตอ้ งการเปิด
แล้วเลอื่ นเมาส์ไปตามรายการคาสั่งเมื่อต้องการใช้คาสงั่ ใดๆ ให้คลกิ ไปที่คาสั่งนั้น โปรแกรมก็จะทาการเรียกใช้
งานคาสั่งนั้นๆ คลิกที่ปุ่ม View คลิกเลือก Toolbars และเลือก Manage Layer Toolbar จากน้ันเครื่องมือ
ท่ถี กู ซ่อนจะปรากฏ

Add Vector Layer การเพมิ่ ข้อมลู เชิงเส้นในรปู แบบการจัดเก็บ Format ตา่ งๆ
Add Laster Layer การเพ่ิมข้อมูลภาพเชิงตวั เลขในรูปแบบการจดั เก็บ
Format ต่าง ๆ
Add Delimited TextLayer การนาเขา้ ข้อมลู พิกัดจากเอกสาร
Add SpatialLite Layer การเพิ่มข้อมูลเชงิ เส้นจากฐานข้อมลู เชงิ พ้ืนท่ี SpatialLite
Add / Edit Virtual layer การสร้างชน้ั ขอ้ มูลเสมอื นกบั ชน้ั ขอ้ มลู ที่เลือกไว้
Add PostGIS Layers การเพ่ิมข้อมลู เชิงเส้นจากฐานขอ้ มูลเชงิ พ้นื ที่ PostGIS
Add WMS/WMTS Layer การเพ่ิมข้อมูลจากแหล่งใหบ้ ริการข้อมลู
Add WCS Layer การเพ่ิมข้อมูลชนดิ WCS
Add WFS Layer การเพ่ิมข้อมลู ชนดิ WFS
New Shape File Layer การสรา้ ง Shape File ใหม่

ค่มู อื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมนิ ผล

หนา้ 16

การกา้ หนดระบบอ้างองิ พิกัดทางภมู ิศาสตร์

ระบบอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ หรือ CRS (Coordinate Reference System) มีความสาคัญในการ
กาหนดตาแหน่งบนแผนที่หรือภาพถ่าย เพ่ือระบุตาแหน่งของพ้นื ทจ่ี รงิ ในภูมิประเทศ โดยระบบพิกัดภูมิศาสตร์
ทีป่ ระเทศไทยใชห้ ลักๆ มอี ยู่ 4 ชนดิ ดว้ ยกัน ไดแ้ ก่

- EPSG:24047 Indian 1975 / UTM Zone 47N
- EPSG:24048 Indian 1975 / UTM Zone 48N
- EPSG:32647 WGS 84 / UTM Zone 47N
- EPSG:32648 WGS 84 / UTM Zone 48N

WGS 84 WGS84 Zone 47N

Indian1975 Zone 47N
ประเทศไทยอย่ใู นระบบพิกัดภมู ศิ าสตร์ Zone 47N และ 48N ในส่วนของกรุงเทพมหานครอยู่ใน
Zone 47N จงึ นิยมใช้ระบบพิกดั EPSG:32647 WGS 84 / UTM Zone 47N และ EPSG:24047 Indian
1975 / UTM Zone 47N

คูม่ ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หน้า 17

การก้าหนดค่าพิกัดของโครงการ การกาหนดค่าพิกัดของโครงการ เปน็ การกาหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของโครงการ
ซง่ึ สามารถกาหนดค่าให้แก่โครงการได้ ดงั นี้

1. เลือกชุดคาสง่ั Project เลือกคาสง่ั Properties หรือกดป่มุ Ctrl+Shift+P

2. คลิกท่ีแถบ CRS ในช่อง Coordinate Reference System จะเป็นการกาหนดพิกัดหรือตาแหน่ง
อ้างอิงทางภูมิศาสตร์ให้กับโครงการ ในท่ีน้ีเราจะทาการเลือกระบบพิกัด WGS84/UTM zone 47N ซ่ึงเป็น
ค่า CRS ของกรงุ เทพมหานคร โดยพิมพ์ 32647 ท่ชี ่อง Filter เพื่อทาการค้นหาระบบพิกัดทต่ี ้องการ แล้วกด
Enter ส่วนช่อง Coordinate Reference Systems of the world จะขึ้นพิกัด WGS84/UTM zone 47N
ใหก้ ดเลือกที่ WGS84/UTM zone 47N เม่อื เลอื กเสรจ็ แลว้ คลกิ OK เพือ่ ยนื ยันการเลอื ก

คมู่ ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยุทธศาสตรแ์ ละประเมนิ ผล

หน้า 18

การกาหนดค่า CRS เป็น WGS84 Zone 47N เป็นค่าเริ่มต้นทุกครงั้ เมือ่ สร้าง Project ใหม่
1. คลกิ ท่เี มนู Settings เลอื ก Options

2. เลอื กแทบ็ CRS แลว้ เลอื กท่ี Use a default CRS และคลิกป่มุ เพ่ือกาหนดระบบอ้างอิง
ภมู ิศาสตรเ์ ป็นค่าต้ังตน้ ทกุ ครั้งเมื่อสร้างโครงการใหม่

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หน้า 19

3. เมอ่ื คลิกปมุ่ Select CRS จะปรากฏหนา้ ตา่ งตวั เลือกระบบพิกัด คน้ หารหัสพิกดั 32647
โดยพมิ พล์ งในชอ่ ง Filter (32647 คอื รหสั ของ WGS84 zone 47N) คลกิ เลอื ก WGS84 /UTM
zone 47N คลกิ ปมุ่ OK

4. กาหนดค่า CRS เป็น WGS84 Zone 47N เป็นค่าเริม่ ตน้ ทุกครง้ั เม่ือสร้าง Layer ใหมโ่ ดยตง้ั คา่
เลือกแทบ็ CRS แลว้ เลอื กท่ี Use a default CRS และคลิกปุม่ เพอื่ กาหนดระบบอ้างอิง
ภูมิศาสตรเ์ ป็นคา่ ตง้ั ตน้ ทกุ ครั้งเมื่อสรา้ งโครงการใหม่

คู่มอื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานักยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 20

5. เมื่อคลิกป่มุ Select CRS จะปรากฏหนา้ ต่างตวั เลอื กระบบพิกัด ค้นหารหัสพกิ ดั 32647
โดยพมิ พล์ งในช่อง Filter (32647 คอื รหสั ของ WGS84 zone 47N) คลิกเลือก WGS84 /UTM
zone 47N คลกิ ปุ่ม OK

6. เมื่อตั้งค่า CRS เรยี บร้อยแล้ว คลิกปุ่ม OK เพื่อยืนยันการต้งั คา่ CRS ค่าพกิ ัดในสว่ นของ Status Bar
จะเปลย่ี นเปน็ EPSG:32647

คู่มือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยุทธศาสตร์และประเมินผล

หน้า 21

การเพิม่ ชน้ั ข้อมลู

ในการเพ่ิมชั้นข้อมูลใหม่ (การเรียกใช้ชนั้ ข้อมูลทีม่ อี ยู่) สามารถทาได้ 3 วิธี คือ
การเพิ่มช้ันขอ้ มูลจาก Browser การเพิ่มชนั้ ข้อมูลจาก Browser สาหรบั การเรยี กดูข้อมูล และส่วนประกอบ
ของขอ้ มลู เชงิ ภูมสิ ารสนเทศ สามารถดาเนินการได้ดังน้ี

1. ทาการเปิดใชง้ าน Browser Panel โดยการคลิกที่เมนู View => Panels ให้ทาเคร่ืองหมาย ท่หี น้า
Browser จากนั้นให้ไปที่โฟลเดอร์ท่ีเก็บ Shapefile ท่ีต้องการ แล้วคลิกเมาส์ข้างขวาท่ีโฟลเดอร์น้ัน แล้ว
เลือก Add as a favourite จะปรากฏสัญลักษณ์ Favourites เพ่ือให้สามารถเรียกใช้งานโฟลเดอร์ของ
Shapefile ไดอ้ ย่างรวดเร็ว โดยไมต่ ้องทาการ Browse หาไฟล์จากโฟลเดอร์ท่ตี ้องการ

2. เลอื ก Shapefile ทีต่ ้องการ (.shp) และคลิกเมาส์ขา้ งซ้ายคา้ งไว้ แล้วลากไปวางบนหน้าต่าง
แสดงผลลัพธ์ (Map view) ตรง Layers Panel จะปรากฏชน้ั ข้อมูลทเ่ี พมิ่ เข้ามา

ค่มู ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หนา้ 22

การเพม่ิ ช้ันข้อมูลจาก Manage Layer Toolbars
1. การเพิ่มช้ันช้ันข้อมูลเชิงเส้น (Vector) มีอยู่ 3 รูปแบบ คือ ช้ันข้อมูลแบบเส้น (Line) ชั้นข้อมูล
แบบจดุ (Point) และชน้ั ข้อมูลแบบรปู ปิด (Polygon) สามารถดาเนินการได้ ดังนี้
1.1 คลกิ ท่ีปุ่ม เพ่ิมช้นั ข้อมลู เชิงเส้น (Add Vector Layer)
1.2 เลือกประเภทแหล่งชั้นข้อมูลท่ีเก็บชั้นข้อมูลว่าอยู่ในรูปแบบใด ในกรณีนี้ช้ันข้อมูลมีลักษณะเป็น
Shape file ท่ีถูกจัดเก็บไว้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ดังนั้นที่ช่อง Source type จึงเลือก File และเลือก
Encoding เป็น TIS-620 จากนัน้ คลิกทีป่ ุม่ เพ่อื ไปที่แหลง่ เกบ็ ขอ้ มลู

1.3 คลิกเลือกไฟลท์ ี่มีนามสกุล *.shp (Shape File) จากนนั้ คลิกที่ Open

ค่มู ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หน้า 23

1.4 โปรแกรมจะปรากฏชัน้ ข้อมูลทไ่ี ด้เลือกไว้ เม่ือต้องการซ้อนทับขอ้ มลู หลายชนั้ ข้อมลู สามารถเรยี ก
ชั้นข้อมูลเพ่ิมเติมโดยการเปิดข้อมูลตามวิธีข้างต้น หรือเลือกขั้นข้อมูลหลายชั้นโดยกดปุ่ม Ctrl ไว้แล้วคลิกปุ่ม
Open เมื่อได้ช้ันข้อมูลที่เราต้องการแล้ว ทาการเรยี งช้ันข้อมูลโดยการคลิกซา้ ยตรงชื่อชั้นข้อมูลแล้วลากมาใน
ตาแหน่งท่ีต้องการ โดยเรียงช้ันข้อมูลแบบจุด (Point) อยู่บนสุดตามด้วยชั้นข้อมูลแบบเส้น (Line) และช้ัน
ขอ้ มูลแบบรูปปิด (Polygon) ดังภาพ

และอีกหนง่ึ วิธีสาหรับการเพิ่มชั้นข้อมลู โดยเพ่ิมจาก Manu bar คลกิ ที่ Layer เลอื ก Add Layer แลว้ คลิก
เลอื ก Add Vector Layer…

คมู่ ือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมนิ ผล

หน้า 24

2. การเพิ่มช้ันข้อมูลเชิงภาพ (Raster) ประกอบไปด้วย ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม
แผนที่ ภูมิประเทศ เป็นต้น โดยการเพิ่มช้ันข้อมูลเชิงภาพให้คลิกที่ปุ่มเพิ่มชั้นข้นข้อมูลเชิงภาพ (Add Raster
Layer) เลือกไฟล์ภาพท่ีต้องการใช้งาน โดยนามสกุลของข้อมูลเชิงภาพที่สามารถใช้งานได้มีอยู่หลายนามสกุล
ยกตัวอยา่ งเชน่ *.TIF, *.JPEG, *.BMP เปน็ ตน้ สามารถดาเนนิ การได้ ดังนี้

2.1 คลกิ ท่ปี ุม่ เพม่ิ ช้นั ขอ้ มลู เชิงภาพ (Add Raster Layer)
2.2 คลิก เพื่อไปที่แหล่งเก็บข้อมูลท่ีต้องการ ในการอบรมครั้งน้ีให้เข้าไปที่ Drive D:
=> basemap => raster แล้วเลือกไฟล์ช่อื 1018 จากน้นั คลิกท่ี Open

2.3 เม่อื คลิก Add โปรแกรมจะปรากฏช้ันขอ้ มลู เชิงภาพทไี่ ดเ้ ลอื กไว้

ค่มู ือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยุทธศาสตรแ์ ละประเมนิ ผล

หน้า 25

การแสดงรายละเอยี ดและปรบั แตง่ คุณสมบัตขิ องช้ันขอ้ มลู

การแสดงรายละเอียดของข้อมูล (Identify Feature) เป็นคาส่ังในการดูรายละเอียดของช้ันข้อมูลแบบเส้น
จุด และรปู ปิด สามารถดาเนินการได้โดยการคลกิ ท่ีปุม่ Identify Feature เพอื่ แสดงรายละเอยี ดของข้อมูลและ
ทาการคลิกเลือกตาแหน่งของข้อมูลท่ีต้องการดู จากน้ันจะปรากฏหน้าต่าง Identify Results เพื่อแสดง
รายละเอยี ด

เลอื กตาแหน่งข้อมลู ทต่ี ้องการดรู ายละเอยี ด

ค่มู ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 26

การเลอื กขอ้ มลู (Select Features by area or single click)
1. เป็นการเลือกข้อมูลที่ต้องการ โดยการคลิกท่ีปุ่มเครื่องมือ Select Features by area or single

เพอ่ื เปลี่ยนโหมดของ Curser เปน็ การเลือกข้อมลู

2. เมือ่ ตอ้ งการยกเลกิ การเลือกขอ้ มูลท้ังหมด ใหค้ ลิกท่ีปุ่ม Deselect Feature from All Layers

คมู่ อื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 27

การเลอื กข้อมูลและสง่ ออกเพ่ือน้ามาใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
1. คลิกที่ปุ่มเคร่ืองมือ Select Features by area or single คลิกตาแหน่งที่ต้องการเลือกข้อมูล

คลิกเมาส์ข้างขวาทีช่ ้นั ขอ้ มลู แล้วเลือก Export => Save Features As…

2. จะปรากฏหนา้ จอ Save Vecter layer as… ทชี่ ่อง File name คลิก เพื่อเลือกแหล่งจดั เก็บ
ไฟล์ เม่ือปรากฏหน้าต่าง Save layer As ให้ทาการต้ังชื่อช้ันข้อมูลท่ีช่อง File name เสร็จแล้วคลิก Save
เลอื ก CRS เปน็ WGS84 /UTM Zone 47N และทาเครือ่ งหมายหนา้ Save only selected features

คู่มอื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หน้า 28

โปรแกรมจะแสดงช้นั ขอ้ มูลท่ีไดท้ าการตดั เฉพาะ Feature ที่สนใจไว้ในช้ันขอ้ มลู ใหม่

ค่มู ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 29

การแสดงตารางรายละเอยี ดของข้อมลู การแสดงตารางรายละเอยี ดขอ้ มูล Attribute สามารถดาเนินการได้
โดยเพมิ่ ชนั้ ข้อมูลของโครงการทีต่ ้องการศึกษาเขา้ มาในชน้ั ข้อมลู จากนน้ั ทาการคลิกขวาบนชัน้ ขอ้ มูล แล้ว
เลือก Open Attribute Table หรอื คลิกที่ บนแถบเครื่องมอื Manage Layer Toolbars

จากน้ันจะปรากฏหนา้ ต่าง Attribute Table โดยแสดงรายละเอยี ดข้อมูลในตาราง Attribute

คมู่ ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หน้า 30

การปรับแต่งคุณสมบัติชั้นข้อมูล การเข้าสู่หน้าจอ Layer Properties เพ่ือกาหนดคุณสมบัติของช้ันข้อมูล
โดยทาได้ 3 วธิ ีดังนี้

1. โดยการคลิกขวาทชี่ ั้นข้อมูลท่ตี อ้ งการแล้วเลอื ก Properties…

2. โดยเปดิ จาก Manu bar คลกิ ท่ี Layer เลือก Properties...

3. เป็นวิธที ่สี ะดวกและรวดเรว็ โดยการดบั เบิ้ลคลกิ ทีช่ ้ันข้อมูลท่ตี ้องการปรบั แตง่ คณุ สมบัติ ซง่ึ จะเข้า
สู่หนา้ ต่าง Layer Properties ไดเ้ ชน่ เดยี วกัน

คูม่ อื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 31

แถบ Information ใช้สาหรบั บอกรายละเอียดของชนั้ ขอ้ มลู

แถบ Source ใช้สาหรับเปลี่ยนแปลงแก้ไขช่ือช้ันข้อมูล (Layer name) และค่าพิกัดของชั้นข้อมูล
(Coordinate reference system) การเปลี่ยนแปลงแก้ไขชื่อชั้นข้อมูล สามารถพิมพ์ช่ือชั้นข้อมูลท่ีต้องการ
แก้ไขใหมไ่ ด้ตามตอ้ งการและการเปลยี่ นแปลงค่าพิกดั ของช้นั ข้อมลู

การเปลยี่ นแปลงช่ือของชน้ั ข้อมลู
การเปลย่ี นแปลงค่าพิกัดของช้ันขอ้ มลู

เม่ือเปล่ียนช่ือและเปลี่ยนแปลงค่าพิกัดของช้ันข้อมูลเรียบร้อยแล้ว คลิก OK เพื่อยืนยันการ
เปลี่ยนแปลง ชอื่ ช้นั ข้อมลู ในสว่ น Map Legend จะเปล่ยี นไปตามที่ได้ทาการแก้ไข

คมู่ ือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หน้า 32

แถบ Symbology เนอื่ งจาก Symbology ของข้อมลู ต่างชนิดกัน (Point, Line, Polygon) มฟี ังก์ชัน
ให้ปรับแตง่ ไม่เหมือนกัน แต่มสี ่วนหลกั ๆ คลา้ ยกัน ดังน้นั จะยกตวั อย่างการปรับคา่ ของขอ้ มลู แบบจุด

1. Symbol layers เป็นตัวจัดการช้นั สัญลกั ษณ์ที่แสดงข้อมูล ซงึ่ QGIS รองรับการใช้สญั ลกั ษณ์หลาย
ช้ันได้ เช่น หากต้องการเส้นทางรถไฟรางคู่ เราอาจใช้สัญลักษณ์เส้นทึบคู่แนวนอน (“=”) เป็นหน่ึงชั้น และ
สญั ลกั ษณ์เสน้ ทบึ คูแ่ นวต้งั (“| |”) เปน็ อีกช้ันทับกัน จะได้รปู แบบเป็นเส้นทางรถไฟรางคู่ เปน็ ต้น

2. หน้าปรับแต่งสัญลักษณ์แต่ละช้ันจะข้ึนอยู่กับช้ันสัญลักษณ์ท่ีเลือก สามารถเลือกความโปร่งใส
ขนาดเสน้ สี และรปู แบบได้

3. สัญลักษณ์ทัง้ หมดทีเ่ ลือกจะแสดงภาพตวั อย่างในชอ่ งนี้
4. คลกิ Apply เพ่อื ดูการเปลีย่ นแปลง เม่ือปรับแตง่ ตรงความตอ้ งการแลว้ คลิก OK
จากตวั อย่างทผ่ี า่ นมาเปน็ การปรบั Symbology แบบ Single Symbol ซ่ึงหมายถงึ ใช้สญั ญักษณเ์ ดยี วกันทง้ั ช้ัน
ขอ้ มลู แตใ่ นหลายกรณี เราต้องการแสดงข้อมูลโดยแบ่งแยกข้อมูลบางส่วนให้แสดงผลออกมาต่างกนั ซ่ึง QGIS
มี Categorized และ Graduated ช่วยทางาน

คู่มอื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมนิ ผล

หนา้ 33

นอกจากน้ียังสามารถเปลี่ยนรูปสัญลักษณ์ในรูปแบบ SVG โดยการไปที่ Symbol layer type เลือก
SVG marker แล้วเลือกรูปที่ต้องการ คลิก Apply เพ่ือดูการเปลี่ยนแปลง เม่ือปรับแต่งตรงความต้องการแล้ว
คลิก OK เพอื่ ยนื ยันการเปลย่ี นแปลง

1. Symbol Layer เป็นส่วนของการปรบั แตง่ สญั ลักษณ์ และสี รูปแบบของสัญลกั ษณ์
2. ส่วนของ Symbol Layer Type เลอื กเป็น SVG marker
3. เลือกรูปภาพสัญลักษณ์ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่เรามี ในท่ีนี้ช้ันข้อมูลอาคารสงเคราะห์ กทม. จึง
เลือกสญั ลักษณร์ ูปบา้ น
4. Size สามารถปรับแต่งขนาดสัญลักษณต์ ามตอ้ งการ
5. ปรับแต่งสีของสัญลกั ษณต์ ามตอ้ งการ
6. คลกิ Apply เพอ่ื ดูการเปลย่ี นแปลง เม่ือปรับแต่งตรงความต้องการแล้ว คลกิ OK

คมู่ ือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานักยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หน้า 34

การกาหนดขนาดของ Symbol มีให้ขนาดแตกต่างกันตามข้อมูลใน Fields โดยไปท่ีปุ่ม Data
defined override อยู่ในส่วนด้านหลังของการปรับขนาดสัญลักษณ์ (Size) โดยทาเคร่ืองหมาย Fields
type : double => tot_hous ตามตัวอย่างนี้จะแสดงขนาดสัญลักษณ์ตามจานวนอาคารสงเคาะห์ กทม.
คลิก Apply เพอ่ื ดกู ารเปลี่ยนแปลง เมอื่ ปรับแต่งตรงความตอ้ งการแลว้ คลกิ OK เพือ่ ยนื ยันการเปลี่ยนแปลง

โปรแกรมจะปรากฏรปู แบบสญั ลกั ษณข์ องชนั้ ข้อมลู ที่ได้เลือกไว้ โดยไล่ขนาดตามจานวนข้อมลู ดงั ภาพ

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 35

แถบ Label นอกจากแบ่งแยกประเภทด้วยสีแล้ว หลายคร้ังเราต้องการให้ข้อมูลตัวหนังสือหรือ
ตัวเลขแสดงลงไปในแผนท่ีด้วย เราเรียกข้อมูลเหล่าน้ันว่า Label เช่น ชื่อถนน หมายเลขทางหลวง ช่ืออาคาร
สถานที่ เป็นตน้ ฟังกช์ ันแสดง Label นอ้ี ยู่ในหน้าตา่ ง Layer Properties เชน่ กัน ในทีนี้จะแสดงชื่อเขตในช้ัน
ข้อมลู district โดยเปิดหน้าต่าง Layer Properties ขนึ้ มา ดงั น้ี

ฟังกช์ นั Label นปี้ รบั แตง่ ได้หลากหลาย โดยมสี ่วนประกอบของหนา้ ต่างหลกั ๆ ดงั นี้
1. คลิกทีช่ ่อง Label เปลย่ี นจาก No Label เปน็ Single Label
2. เลอื กคอลมั นท์ ีเ่ กบ็ ข้อมลู ตัวหนงั สอื หรือตวั เลขที่ต้องการแสดง ในทีน่ เี้ ลอื ก dname
3. เลือกสิ่งที่ต้องการปรับแต่งซ่ึงมี 7 อย่างด้วยกันได้แก่ Text (ปรับ Font สี ขนาด ฯลฯ),

Formatting (การตดั คา ความห่างบรรทัด จานวนจุดทศนยิ ม), Buffer (ใส่ขอบตวั หนังสอื ปรับแตง่ สี ขนาด
ลักษณะของขอบ), Background (ใส่และปรับแต่งภาพพ้ืนหลัง), Shadow (ใส่และปรับแต่งเงา), Placement
(ตาแหน่งที่จะวาง Label), Rendering (สภาพการมองเห็น เช่นจะแสดงท่ีมาตรส่วนใดบ้าง ถ้าไม่มีพ้ืนท่ีพอให้
แสดงตัวหนังสอื จนครบ จะทาอย่างไรเป็นตน้ )

4. ช่องตัวเลอื กปรบั ค่าตา่ ง ๆ ซึ่งจะเปล่ียนไปตามหัวข้อทเ่ี ลือกจากข้อ 3.
5. ตวั อย่าง Label ทปี่ รับแตง่ อยู่
6. คลกิ Apply เพ่อื ดูการเปล่ียนแปลง เม่ือปรับแตง่ ตรงความต้องการแลว้ คลกิ OK

คมู่ ือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมนิ ผล

หนา้ 36

โปรแกรมจะปรากฏป้ายชอื่ ของชั้นขอ้ มูลตาม Field ท่ตี ้องการอ้างองิ ไว้

แถบ Diagrams บางครั้งการแสดงตัวเลขโดด ๆ เพียงอย่างเดียวก็อาจสื่อความหมายได้ไม่หมด การ
ใส่ไดอะแกรมหรือกราฟลงไปบนแผนท่ีซ่ึงแสดงตาแหน่งที่ไดอะแกรมหรือกราฟน้ันสื่อถึงไปด้วยจะทาให้
ความหมายชัดเจนขึ้นมาก QGIS สามารถสร้างไดอะแกรมจากข้อมูลใน Attribute ท้ังแบบ Pie chart , แบบ
Text diagram และแบบ Histogram คูม่ ือนจ้ี ะอธบิ ายเฉพาะแบบ Pie chart และ Text diagram เทา่ นนั้

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หน้า 37

 Diagrams แบบ Pie chart (แผนภมู วิ งกลม)

1. ที่ช่อง No Diagrams เลือกเปน็ Pie chart
2. การสรา้ ง Diagram มฟี ังก์ชนั ในการนาเข้าข้อมูลและปรบั รปู แบบ ดงั น้ี

- Attributes ใชน้ าเข้าข้อมูล Attribute ท่ีเปน็ ขอ้ มูลแสดงผลใน Diagram
- Rendering ใช้ปรับความโปร่งแสง สีเส้นขอบ ความหน้าเส้นขอบ สีพื้นหลัง ขนาด ความ
โปรง่ ใส ของ Diagram
- Size ใชก้ าหนดขนาด Pie chart ปรับขนาดใหเ้ หมาะสมและสวยงาม
- Placement ใช้กาหนดตาแหน่งในการวาง Diagram
- Options เป็นแถบตง้ั คา่ ที่ใชเ้ ฉพาะกบั Histogram ใช้วางแนวของแผนภูมิ
- Legend ใช้แสดงคาอธิบายสาหรับ Attribute ในแผนภาพ
3. เลอื ก Attribute จะรายชื่อ Attribute ทีม่ อี ยู่
4. ท่ีช่อง Available attributes จะแสดงรายชื่อ Attributes ภายในชั้นข้อมูล ส่วนช่อง Assigned
attributes จะเป็นรายช่ือ Attributes ท่ีจะนาไปใช้แสดงเป็น Pie chart ซ่ึงกรณีน้ีจะยกตัวอย่างทา Pie
chart ที่แสดงสัดส่วนระหว่างประชากรชายและประชากรหญิงของแต่ละเขต ดังนั้น ให้เลือก “no_female”
และ “no_male” จากช่อง Available attributes มาที่ช่อง Assigned attributes โดยคลิกเคร่ืองหมายบวก

คู่มือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยุทธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หนา้ 38

สีเขียว หากต้องการเปลี่ยนสีสามารถดับเบิลคลิกท่ีสีเพ่ือกาหนดสีใหม่ได้ ข้อสังเกต Attribute ที่นามาทา Pie
chart ต้องเป็นชนดิ ตวั เลข

5. คลกิ Apply เพอ่ื ดูการเปล่ียนแปลง เมอื่ ปรับแตง่ ตรงความต้องการแลว้ คลกิ OK
โปรแกรมจะปรากฏ Diagrams แบบ Pie chart (แผนภมู ิวงกลม) บนชน้ั ข้อมลู ที่ไดเ้ ลอื กไว้

 Diagrams แบบ Text diagram (ผังอกั ษร) จะใช้วิธีการเดียวกบั Pie chart แต่เลือกประเภทของ
ไดอะแกรมเป็น Text diagram กจ็ ะได้ Diagrams ดังภาพ

คู่มอื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานักยทุ ธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 39

แถบ Source Fields ใช้สาหรับแสดงข้อมูลฟิลด์ท้ังหมดที่อยู่ในช้ันข้อมูลน้ัน รวมทั้งบอกช่ือฟิลด์
ประเภท ความยาว และรายละเอียดตา่ ง ๆ ของฟลิ ดใ์ นชน้ั ขอ้ มูลน้ัน

คู่มอื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยุทธศาสตรแ์ ละประเมนิ ผล

หน้า 40

Categorized เป็นการแสดงผลสัญลักษณ์ของข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการกาหนดสัญลักษณ์แต่ละ
รูปร่างท่ีมีค่าไม่ซ้ากัน แสดงออกมาแตกต่างกันตามค่าฟิลด์ในตารางที่กาหนด เหมาะกับข้อมูลท่ีต้องการแบ่ง
ประเภทให้เห็นชัดเจน เช่น การแสดงเฉดสีตาแหน่งที่ต้ังชุมชนตามประเภทชุมชน การแสดงเฉดสีของเส้นถนน
ให้แตกตา่ งกันระหว่างถนนสายหลักและสายรอง การแสดงเฉดสีพนื้ ท่ีแขวงตามรหัสเขต เป็นต้น ส่วนมากจะใช้
กบั ข้อมูลแบบเสน้ (Line) และแบบพ้นื ทร่ี ปู ปิด (Polygon)

 การ Categorized ชน้ั ข้อมลู แบบเส้น (Line) ในทนี่ ีใ้ ช้ชน้ั ข้อมลู mainroad_line

1. ไปทีแ่ ถบเมนู Symbology เลอื กการปรับ Symbology แบบ Categorized
2. เลอื กคอลัมนท์ เ่ี กบ็ ขอ้ มูลที่ตอ้ งการจาแนกสีให้ต่างกนั ตัวอย่างน้จี าแนกตามประเภทถนน TYPE
3. คลิก Classify เพ่ือจาแนกข้อมูลตามที่กาหนดไว้ โปรแกรมจะสร้างสัญลักษณ์ให้กับประเภท
ท้งั หมดท่ีมีอยูท่ นั ที
4. ดับเบิ้ลคลิกท่ีสัญลักษณ์ที่เพิ่มข้ึนมาเพื่อปรับแต่งเป็นรูปแบบที่ต้องการ และดับเบ้ิลคลิก Legend
เพ่ือเปลี่ยนข้อความให้สอดคล้องกับการจาแนก ในกรณีน้ีเปล่ียนจาก 1 เป็น ถนนสายหลัก และจาก 2 เป็น
ถนนสายรอง
5. คลกิ Apply เพอ่ื ดกู ารเปล่ียนแปลง เมือ่ ปรับแต่งตรงความต้องการแลว้ คลกิ OK

คู่มือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานักยทุ ธศาสตร์และประเมนิ ผล

หนา้ 41

โปรแกรมจะปรากฏช้นั ขอ้ มลู ที่ได้ Categorized ดงั ภาพ

 การ Categorized ชั้นข้อมลู แบบพน้ื ทีร่ ปู ปิด (Polygon) ในตัวอย่างน้ีใชช้ น้ั ข้อมูล district

คมู่ ือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 42

1. ไปทแี่ ถบเมนู Symbology แล้วเลอื กปรับเปน็ แบบ Categorized
2. เลือกคอลมั น์ที่เก็บข้อมูลที่ต้องการจาแนกสีให้ตา่ งกัน ตวั อย่างนี้จะจาแนกตามช่ือเขตการปกครอง
กรุงเทพมหานคร (dname)
3. ปรับแต่งรูปแบบของสญั ลกั ษณ์ กาหนดการไลส่ ี
4. คลิก Classify เพ่ือจาแนกข้อมูลตามที่กาหนดไว้ จากน้ันโปรแกรมจะสร้างสัญลักษณ์ให้กับ
ประเภททง้ั หมดทม่ี ีอยทู่ นั ที ตามค่าสจี าก Color Map ท่เี ลอื ก
5. ดับเบิ้ลคลิกที่สัญลักษณ์ท่ีเพ่ิมข้ึนมาเพ่ือปรับแต่งเป็นรูปแบบที่ต้องการ และดับเบ้ิลคลิก Legend
เพอ่ื เปล่ียนขอ้ ความใหส้ อดคลอ้ งกับการจาแนก
6. คลิก Apply เพอื่ ดูการเปล่ยี นแปลง เมอ่ื ปรับแตง่ ตรงความต้องการแลว้ คลกิ OK
โปรแกรมจะปรากฏชั้นขอ้ มลู ทไี่ ด้ Categorized ดังภาพ

คู่มอื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมนิ ผล

หนา้ 43

Graduated เป็นการแสดงผลสญั ลักษณ์ของข้อมูลเชิงปริมาณ ท่ีใช้จาแนกประเภทแต่สามารถใช้กับ
ตัวเลขได้เท่านั้น โดยการลาดับเฉดสี ตามค่าของข้อมูลท่ีแบง่ เป็นกลุ่ม หรือแบ่งเป็นหมวดหมู่ ตามลาดับจากค่า
มากไปหาค่าน้อย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ในการแสดงผลเปรยี บเทียบค่าของข้อมลู ในแต่ละช่วง แต่ละพื้นที่ เช่น ความ
แตกต่างของความยาวถนน ความหนาแน่นของจานวนประชากรในแต่ละเขต เป็นต้น ส่วนมากจะใช้กับ
ข้อมลู แบบเสน้ (Line) และแบบพื้นทร่ี ูปปดิ (Polygon)

 การ Graduated ชนั้ ขอ้ มูลแบบเสน้ (Line) ในท่ีนยี้ กตัวอยา่ งโดยใช้ช้นั ข้อมลู mainroad_line

1. ไปทีแ่ ถบเมนู Symbology แล้วปรับเปน็ แบบ Graduated
2. เลือกคอลัมน์ท่ีเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขท่ีต้องการแบ่งแยก ตัวอย่างนี้จาแนกตามความยาว
ของเส้นถนน (LENGTH)
3. ทชี่ อ่ ง Color ramp เลอื กรูปแบบการไลส่ ตี ามตอ้ งการ
4. เลือกจานวน Classes ท่ตี อ้ งการแยก (จานวนช่วงชน้ั ) ตัวอยา่ งน้ีจาแนกจานวน 3 ช่วงชน้ั
5. เลอื กรูปแบบการจาแนกแบบ Equal Interval
6. คลกิ Classify โปรแกรมจะแบ่งชว่ งช้ันให้ครอบคลมุ คา่ ทม่ี อี ยทู่ ั้งหมดใหอ้ ัตโนมัติ
7. ค่าท่ีโปรแกรมแบ่งให้อัตโนมัติหากต้องการเปลี่ยนแปลง สามารถดับเบ้ิลคลิกช่วงชั้นท่ี
ต้องการเปลีย่ นได้ ท้ังค่าสี ช่วงช้ัน และคา่ ท่ีแสดงใน Map Legend
8. คลิก Apply เพอ่ื ดกู ารเปลย่ี นแปลง เมือ่ ปรับแตง่ ตรงความตอ้ งการแล้ว คลกิ OK

คูม่ ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 44

โปรแกรมจะปรากฏชน้ั ขอ้ มูลทไี่ ด้ Graduated ดงั ภาพ

 การ Graduated ชนั้ ขอ้ มลู แบบพ้ืนทร่ี ูปปดิ (Polygon) ในทนี่ ี้ใชช้ น้ั ข้อมลู district

คมู่ อื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 45

1. ไปท่แี ถบเมนู Symbology แล้วปรับเป็นแบบ Graduated
2. เลือกคอลัมน์ท่ีเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขท่ีต้องการแบ่งแยก ตัวอย่างนี้จาแนกตามจานวน
ประชากรชายในพื้นที่ กทม. (no_male)
3. ทีช่ อ่ ง Color ramp เลือกรปู แบบการไลส่ ีตามต้องการ
4. เลอื กโหมดการจาแนกแบบ Quantile (Equal Count)
5. เลอื กรูปแบบจานวน Classes ท่ีต้องการแยก ตวั อย่างนี้จาแนกจานวน 5 ชว่ งชน้ั
6. คลกิ Classify โปรแกรมจะแบ่งชว่ งช้ันใหค้ รอบคลุมค่าที่มอี ยู่ท้งั หมดใหอ้ ตั โนมัติ
7. ค่าท่ีโปรแกรมแบ่งให้อัตโนมัติหากต้องการเปล่ียนแปลง สามารถดับเบ้ิลคลิกช่วงชั้นที่
ต้องการเปล่ียนได้ ทง้ั คา่ สี ช่วงช้ัน และค่าทแ่ี สดงใน Map Legend
8. คลิก Apply เพ่ือดกู ารเปลย่ี นแปลง เมอ่ื ปรับแต่งตรงความต้องการแลว้ คลิก OK
โปรแกรมจะปรากฏชั้นข้อมลู ที่ได้ Graduated ดงั ภาพ

คู่มอื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตรแ์ ละประเมินผล

หนา้ 46

แบบฝกึ หดั การปรับแตง่ คุณสมบตั ิของชนั้ ข้อมลู
1. เพิ่มชนั้ ขอ้ มลู ดงั ภาพ

2. จดั เรยี งช้ันขอ้ มลู และปรับแต่งคุณสมบัตขิ องช้นั ขอ้ มูล ใหไ้ ด้ตามภาพนี้

คู่มือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 47

QGIS plugin

Plugin ใน QGIS ชว่ ยให้ซอฟต์แวร์มีความสามารถมากขึ้น Plugin ต่างๆ ถูกเขยี นขึ้นท้ังจากนักพัฒนา
ของ QGIS และนักพัฒนาจากภายนอกทส่ี นใจทาให้ QGIS มีความสามารถมากขน้ึ
การเปดิ – ปิดการใชง้ าน Plugin

1. ไปทีเ่ มนู Plugins => Manage and Install Plugins…
2. ปรากฏหน้าตา่ ง Plugins ขนึ้ มา แถบ All แสดง Plugin ทั้งหมดท่มี ีในโปรแกรม

3. แถบ Installed จะแสดง Plugin ทต่ี ดิ ตัง้ แล้ว จากแถบน้สี ามารถเปดิ – ปิด Plugin ทตี่ ้องการใช้
งานได้ โดยคลกิ เครอื่ งหมายกากบาททีห่ น้า Plugin นนั้ ๆ

คมู่ อื การใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยทุ ธศาสตร์และประเมนิ ผล

หนา้ 48

4. แถบ Not Installed จะแสดง Plugin ทยี่ งั ไม่ได้ตดิ ตง้ั ในโปรแกรม

5. แถบ Install from ZIP สามารถนา Plugin ที่ดาว์นโหลดมาเปน็ ไฟล์ ZIP ตดิ ต้ังลงในโปรแกรม

คูม่ ือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานักยุทธศาสตร์และประเมนิ ผล

หน้า 49

การติดตัง้ Plugin
การตดิ ตั้ง Plugin สามารถทาได้โดยการไปทแี่ ถบ All แลว้ คน้ หาช่ือของ Plugin ท่ีต้องการในช่อง

Search แล้วโปรแกรมจะคน้ หา Plugin ทต่ี รงตามเงอื่ นไขให้ หากตอ้ งการตดิ ต้ังให้คลิกที่ปุ่ม Install plugin

plugin ทีต่ ิดตั้งแล้วจะไปปรากฏทเี่ มนู plugin

คูม่ อื การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จัดทาโดย กองสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สานกั ยทุ ธศาสตร์และประเมินผล

หนา้ 50

Attribute

การส่งออกข้อมูลตารางไปยัง MS Excel
1. คลิกขวาทีช่ ั้นข้อมลู ท่ีต้องการสง่ ออกข้อมลู แลว้ เลือก Export คลกิ เลือก Save Features As…

2. โปรแกรมจะปรากฏหน้าต่าง Save vector layer as… เลือกรูปแบบไฟล์เป็น Comma
Separated Value [CSV] ค ลิ ก Browse ให้ บั น ทึ ก ไฟ ล์ ชื่ อ ว่ า district.csv ไว้ ท่ี D:/basemap/train/
district.csv เลอื ก Encoding เปน็ TIS-620 แลว้ คลิก OK

คู่มือการใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS 3.2 (Bonn)
จดั ทาโดย กองสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล


Click to View FlipBook Version