The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เแนวทางขับเคลื่อนภาษาไทย ปี 2564 โรงเรียนบ้านจำปาทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jintana Bunma, 2022-05-09 00:31:17

เแนวทางขับเคลื่อนภาษาไทย ปี 2564 โรงเรียนบ้านจำปาทอง

เแนวทางขับเคลื่อนภาษาไทย ปี 2564 โรงเรียนบ้านจำปาทอง

โรงเรียนบา้ นจ้าปาทอง กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนน้าโสม
ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานีเขต ๔

สา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพนื ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

โรงเรยี นบ้านจาปาทอง สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ ได้จัดทา
แนวทางการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ประจาปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ตามนโยบาย มาตรการ จุดเน้นการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาล
กระทรวงศกึ ษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สาหรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน ของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาและนโยบายของโรงเรยี นบ้านจาปาทอง โดยเริ่มปฏิบัติงานต้ังแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔
เป็นต้นไป เพื่อสนับสนุน กระตุ้น ส่งเสริม ประสานงาน กากับ ติดตาม นิเทศ ให้คาปรึกษา และ
ข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านจาปาทอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔

ขอขอบคุณผู้บังคับบัญชา ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรโรงเรียนบ้านจาปาทองทุกท่านที่
ร่วมมือ ร่วมพลังทางความคิดในการจัดทาแนวทาง ฉบับนี้ และนาไปใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อความ
สอดคล้องและประสานกันอย่างเป็นกระบวนการ อันจะส่งผลให้ สามารถตอบสนองต่อทิศทางการ
ขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานได้อย่างมี
คณุ ภาพและประสิทธิภาพ

โรงเรยี น บ้านจาปาทอง
กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนน้าโสม
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔

มีนาคม ๒๕๖๔


แนวทางการขบั เคลือ่ นพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

สารบญั หนา้

เนอื หา ก

ค้าน้า ๑
สารบญั ๗
บทที่ ๑ บทน้า ๒๑
บทที่ ๒ นโยบาย มาตรการ แนวทางดา้ เนนิ งาน ๓๕
บทที่ ๓ วิธีการด้าเนนิ งาน ๔๒
บทที่ ๔ แนวทางพัฒนา ๕๐
บทที่ ๕ การนเิ ทศติดตามและประเมินผล ๖๘
ภาคผนวก
คณะกรรมการจัดท้า


แนวทางการขับเคล่อื นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

๑. ความเป็นมาและความสา้ คัญ

ภาษาไทยมีความสาคญั ในฐานะเป็นภาษาประจาชาติ เป็นเครื่องมือในการติดต่อสอ่ื สาร
และเป็นมรดกทางวัฒนธรรม เปน็ เครื่องมือในการเรียนรู้และพนื้ ฐานทส่ี าคญั ของการเรียนในวิชา
ต่าง ๆ ปจั จุบันพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กาหนดไว้ในแนวทางการจัดการศึกษาไว้ในมาตรา ๒๓ (๔) หมวด ๔ เน้นเรื่อง
การใช้ภาษาไทยอย่างถกู ต้อง และบรู ณาการอย่างเหมาะสมในแตล่ ะระดับการศึกษา ซึ่ง
สอดคลอ้ งกับปจั จุบนั ที่ทางกระทรวงศกึ ษาธิการมีนโยบายในการปฏิรปู การศึกษา โดย
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน โดยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
ดร.สเุ ทพ ชติ ยวงษ์ ไดม้ อบนโยบายและแนวทางการขับเคลอ่ื นคุณภาพการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน แก่
ผู้อานวยการสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาทวั่ ประเทศ จานวน ๒๒๕ คน เมื่อวันพธุ ที่ ๒๙
พฤษภาคม ๒๕๖๒ ในการประชมุ สัมมนาผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ครง้ั ที่ ๑ /
๒๕๖๒ เรื่อง “ทิศทางการขบั เคลื่อนคณุ ภาพการศึกษาขนั พืนฐาน” ณ วิทยาลยั การ
อาชีวศึกษาปทุมธานี จงั หวดั ปทุมธานี ซึง่ นโยบายและแนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขน้ั
พืน้ ฐาน ได้แบ่งออกเปน็ ๓ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ ภายใน ๑ เดอื น (มิถนุ ายน ๒๕๖๒) ระยะที่ ๒
ภายใน ๒ เดอื น (มิถุนายน – กรกฎาคม ๒๕๖๒) และระยะที่ ๓ ภายใน ๔ เดอื น (มิถุนายน -
กนั ยายน ๒๕๖๒) มีจดุ เน้นในการมอบอานาจ การกระจายอานาจ การสร้าง ความรว่ มมือ และ
การสร้างเครือข่ายการทางานทีย่ ึดพืน้ ที่เปน็ ฐาน จาแนกเปน็ ๔ ระดับ ดังนี้

๑. ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานให้ยึดโรงเรยี นเปน็ ฐาน : ๑S
(School Based Management : SBM)

๒. ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษายึดโรงเรียนและนักเรยี นเป็นฐาน : ๒S (School
Based Management : SBM) และ (Student Based Management : SBM)

๓. ระดบั สถานศึกษา (ผู้บริหาร) ยึดนกั เรยี น-ห้องเรียน, และผลลพั ธ์การบริหารจัดการ
เป็นฐาน : Student และ Classroom (Student Based Management : SBM) และ
(Classroom Based Management : CBM)



แนวทางการขบั เคล่ือนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

๔. ระดับห้องเรียน (คร)ู ยึดนักเรยี นเป็นฐาน : (Student Based Management : SBM)
โดยผลลัพธ์รวมสดุ ทา้ ยของการบรหิ ารและการจัดการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน คือ ผู้เรยี น เปน็ คนเก่ง ดี
มีสุข และมีสมรรถนะสาคัญตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ได้แก่ ความสามารถใน
การส่อื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะ
ชีวิต และความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีของผู้เรียน ในการพฒั นาหลักสูตรและกระบวนการ
เรียนรู้ โดยเฉพาะในวิชาภาษาไทย ถอื เปน็ จุดเน้นทีส่ าคญั ประการหน่งึ ทีส่ านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ให้ความสาคญั กาหนดเปน็ แนวทาง/เป้าหมายการดาเนินงานมาตั้งแต่ปี
๒๕๕๘ โดยกาหนดให้ “ปี ๒๕๕๘ เปน็ ปีปลอดนกั เรยี นอ่านไมอ่ อกเขียนไมไ่ ด้”และกาหนดให้
นักเรยี นเมื่อจบช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ตอ้ งอ่านออกเขียนได้ และมีมาตรการประเมินผลอยา่ งเป็น
รูปธรรม โดยมีเป้าหมายสาคญั คือ ให้สถานศึกษาลดปญั หาการอ่านไมอ่ อกเขียนไมไ่ ด้ อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดให้
กาหนดให้ สถานศึกษาทกุ แห่งดาเนินการพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทย โดยกาหนดเป้าหมาย
ให้นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทุกคน อ่านออก เขียนได้ และนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ ขนึ้
ไป อ่านคล่องเขียนคล่องและสือ่ สารเข้าใจได้ ในการนขี้ อความรว่ มมือให้ทุกโรงเรียนรายงานผลการ
ประเมินการอ่านการเขียนของนกั เรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ผ่าน ระบบ e-MES โดยให้
โรงเรยี นใช้ user password เขา้ กรอกโดยตรง ที่ http://210.1.20.62 มีกาหนดการรายงาน ผล
การพฒั นาในปีการศึกษา ๒๕๕๙ ดังนี้ ภาคเรียนที่ ๑ ครงั้ ที่ ๑ รายงานผลภายในวนั ท่ี ๓๐
มิถนุ ายน ๒๕๕๙ ครงั้ ที่ ๒ รายงานผลภายในวนั ที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๕๙ ภาคเรียนที่ ๒ ครง้ั ที่ ๑
รายงานผลภายในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ครงั้ ที่ ๒ รายงานผลภายในวันที่ ๓๑ มกราคม
๒๕๖๐ ครง้ั ที่ ๒ รายงานผลภายในวนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๙ โดยในการวดั และประเมินผลครั้งที่
๑ ของแตล่ ะภาคเรียน ให้ใช้เครือ่ งมือวดั และประเมินผลของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาหรือของโรงเรียนและ
การวัดและประเมินผลครง้ั ที่ ๒ ของแต่ละภาคเรียน ให้ใช้เคร่อื งมอื วัดและประเมินผลของสานกั
วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

ปีการศึกษา ๒๕๖๐ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ได้ประกาศจุดเน้น
สาคญั ที่เกีย่ วเนื่องกับกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไว้ ๒ ประการ คือ การยกระดับผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนให้เพิ่มข้ึนอย่างน้อยร้อยละ ๓ และนกั เรยี นระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทกุ คนต้อง
อ่านออกเขียนได้ สว่ นระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ขนึ้ ไปอ่านคล่องเขียนคล่อง ปีการศึกษา
๒๕๖๑ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กาหนดให้ สถานศึกษาทุกแห่งดาเนินการ
พฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทย โดยขอความรว่ มมือให้ทุกโรงเรียนรายงานผลการประเมินการ
อ่านการเขียนของนักเรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และรายงานประเมินนกั เรยี น ม.๑-๓ ตามผล
ประเมินความสามารถในการรู้เรอ่ื งการอ่าน (Reading Literacy) แนว PISA ผ่าน ระบบe-MES โดย
ให้โรงเรียนใช้ user password ของแตล่ ะโรงเรียน เข้ากรอก
โดยตรง ที่ http://203.159.164.62



แนวทางการขบั เคล่อื นพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

สาหรับปีการศึกษา ๒๕๖๔ สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ ได้กาหนดนโยบาย
“เดนิ หน้าและพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ : นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ทุกคนอ่านออกเขียนได้” และได้
จดั ทาโปรแกรมบนั ทึกผลการอ่านการเขียนนกั เรยี นเป็นรายบุคคลให้สถานศึกษาดาเนินการเปน็ ระยะอย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งสอดคลอ้ งกับการประเมินตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐานกาหนด
มีกาหนดการรายงาน ผลการพัฒนาในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ดงั นี้

ภาคเรียนที่ ๑ ครง้ั ที่ ๑ รายงานผลภายในวนั ที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ ครงั้ ที่ ๒ รายงานผลภายในวนั ที่
๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

ภาคเรียนที่ ๒ ครงั้ ที่ ๑ รายงานผลภายในวนั ที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ครงั้ ที่ ๒ รายงานผลภายใน
วนั ท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๖๔

สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔ การดาเนนิ งานพัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี น
ดา้ นภาษาไทย ต้ังแต่ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ โดยดาเนนิ งานสอดคล้องกบั นโยบาย สพฐ.และจุดเนน้ พฒั นา
คุณภาพของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง เช่น พัฒนาครูด้านเทคนิคการสอนอย่างหลากหลาย ครูจัด
กิจกรรมสอนแจกลกู สะกดคา พฒั นาส่อื นวัตกรรม จดั กิจกรรม Active Learning กบั นักเรยี นทุก
กลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมและพฒั นาความสามารถด้านการอ่าน การเขียนตามโครงการรกั ษ์ภาษาไทยประจาปี
สง่ เสริมนิสยั รกั การอ่านทีห่ ลากหลาย สง่ เสริมการอ่านค้นคว้าสารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนตามโครงการ
ตอบคาถามสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนประจาปี จากผลการดาเนินงานพัฒนาดา้ นการอ่านการเขียน
ภาษาไทยต่อเนือ่ งทกุ ปี ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนภาษาไทยด้านการอ่าน ป.๑ ผลการทดสอบระดบั ชาติ NT
ผล O-NET เพิม่ ขึน้ ๓ ต่อเนื่อง(อ้างอิงรายงานผลการขับเคล่อื นคุณภาพการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ปีการศึกษา ๒๕๖๑) แตย่ งั ไมเ่ ป็นทีน่ ่าพอใจ เนื่องจากมีนกั เรยี นที่ยงั มีปัญหาดา้ นการอ่านไมอ่ อก
เขียนไมไ่ ด้ อ่านไมค่ ล่องเขียนไมค่ ล่อง อยู่ในระดบั ปรับปรุงจงึ จาเปน็ จะต้องหาแนวทาง รปู แบบ วิธีการใน
การขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการศึกษากลุ่มสาระภาษาไทยในปี ๒๕๖๔ เพื่อให้ปรากฏเปน็ รปู ธรรมต่อไป


แนวทางการขับเคล่ือนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

การดาเนินงานพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทยตามนโยบายของ สพฐ. "เดินหน้าและพฒั นาการ
อ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา ๒๕๖๔” สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔
ตระหนักและให้ความสาคญั กับการเร่งรดั พฒั นาการอ่านออกเขียนไดข้ องนักเรยี น จึงไดก้ าหนดแผนงาน
โครงการเร่งรัดพฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี นท้ังดา้ นการอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และส่อื สาร
ได้ ที่สอดคล้องกับนโยบายการดาเนนิ งานพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทยตามนโยบาย จึงประกาศ
นโยบายเร่งด่วน “สพป.อดุ รธานี เขต ๔ เดนิ หน้าและพฒั นาการอ่านออกเขียนได้ปีการศึกษา ๒๕๖๔“
๒. วตั ถปุ ระสงค์

๒.๑ เพื่อเรง่ รดั พฒั นาคณุ ภาพการอ่านการเขียน ของนกั เรยี นในสังกัดชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ให้
สามารถอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และส่อื สารได้ ตามเกณฑ์ทีก่ าหนด

๒.๓ เพือ่ ดาเนนิ การตามนโยบาย มาตรการ และแนวทางขบั เคลอ่ื นคุณภาพการศึกษาของเขตพนื้ ที่
การศึกษา ในการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ในระดบั ประถมศึกษา ให้เกิดการพฒั นา
อย่างต่อเนือ่ ง

๒.๓ เพือ่ ให้สถานศึกษามีแนวทาง คู่มือในการขับเคลอ่ื นพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามนโยบาย
มาตรการ จุดเน้นในการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทย นักเรยี นในระดบั ประถมศึกษา
สอดคลอ้ งตามบริบทของสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาและ สพฐ. กระทรวงศกึ ษาธิการ
๓. เปา้ หมาย

๓.๑ เชิงปรมิ าณ
๑) เร่งรดั พฒั นาคุณภาพการอ่านการเขียนนกั เรยี น ชั้น ป.๑ – ๖ ของโรงเรียนในสงั กดั ทุกแห่ง

จานวน ๑๔๓ โรงเรียน
๒) โรงเรียนในสังกัดทกุ แห่ง นานโยบาย มาตรการ และแนวทางการขบั เคล่อื นพฒั นาคุณภาพ

การศึกษาตามนโยบาย มาตรการ จดุ เน้นในการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยของเขต
พนื้ ที่การศึกษาไปใช้ในการดาเนินงาน (๑๐๐ %)

๓) นกั เรยี นที่มีปญั หาดา้ นการอ่านการเขียน ได้รบั การแก้ไขปญั หาและพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง
(๑๐๐ %)

๓.๒ เชิงคุณภาพ
๑) โรงเรียนสามารถเรง่ รัดพฒั นาคุณภาพดา้ นการอ่านการเขียนของนกั เรยี นได้อย่างเปน็

รูปธรรม สง่ ผลให้นักเรยี นมีทักษะด้านการอ่านการเขียน ที่ดีข้นึ นักเรยี นทีอ่ ่านไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ อ่านไม่
คลอ่ ง เขยี นไม่คล่อง ลดลง

๒) โรงเรียนสามารถนามาตรการ แนวทางการดาเนินงานของเขตพืน้ ที่ ไปใช้ในการ
ดาเนนิ งานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

๓) นักเรยี นสามารถอ่านออก เขียนได้ และผ่านเกณฑ์การประเมินการอ่านการเขียน ของ
สพฐ.



แนวทางการขบั เคล่อื นพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

ผลที่คาดวา่ จะได้รับ
๑. โรงเรียนมีมาตรการ แนวทางในการแก้ปญั หา พฒั นาการอ่านการเขียน ทีช่ ัดเจน เป็น

รปู ธรรม
๒. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน จากการทดสอบและการประเมินระดบั ชาติในกลุ่มสาระการ

เรียนรู้ภาษาไทย เพิ่มสูงขนึ้ ร้อยละ ๓

นายยงยทุ ธ แพงน้อย
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งทอง
รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านจาปาทอง


แนวทางการขบั เคล่ือนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

การดาเนนิ งานพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทยตามนโยบายของ สพฐ. "เดนิ หน้าและพฒั นาการ
อ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา ๒๕๖๔” สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔
ตระหนักและให้ความสาคัญกับการเร่งรัดพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน จึงได้กาหนดแผนงาน
โครงการเร่งรัดพฒั นาคณุ ภาพนักเรยี นทั้งดา้ นการอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และส่อื สาร
ได้ ที่สอดคล้องกบั นโยบายการดาเนนิ งานพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยตามนโยบาย จึงประกาศ
นโยบายเร่งด่วน “สพป.อุดรธานี เขต ๔ เดนิ หน้าและพฒั นาการอ่านออกเขียนได้ปีการศึกษา ๒๕๖๔“
๒. วัตถุประสงค์

๒.๑ เพือ่ เร่งรัดพัฒนาคุณภาพการอ่านการเขยี น ของนักเรียนในสังกดั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ให้
สามารถอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และสอ่ื สารได้ ตามเกณฑ์ที่กาหนด

๒.๓ เพื่อดาเนนิ การตามนโยบาย มาตรการ และแนวทางขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการศึกษาของเขตพืน้ ที่
การศึกษา ในการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ในระดบั ประถมศึกษา ให้เกิดการพฒั นา
อย่างต่อเนื่อง

๒.๓ เพือ่ ให้สถานศึกษามีแนวทาง คู่มือในการขับเคลอ่ื นพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามนโยบาย
มาตรการ จุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย นักเรียนในระดบั ประถมศึกษา
สอดคลอ้ งตามบริบทของสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาและ สพฐ. กระทรวงศกึ ษาธิการ
๓. เปา้ หมาย

๓.๑ เชิงปรมิ าณ
๑) เรง่ รดั พัฒนาคุณภาพการอ่านการเขียนนักเรยี น ชน้ั ป.๑ – ๖ ของโรงเรียนในสังกดั ทกุ แห่ง

จานวน ๑๔๓ โรงเรยี น
๒) โรงเรยี นในสงั กัดทุกแห่ง นานโยบาย มาตรการ และแนวทางการขับเคลอ่ื นพัฒนาคณุ ภาพ

การศึกษาตามนโยบาย มาตรการ จุดเน้นในการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทยของเขต
พืน้ ที่การศึกษาไปใช้ในการดาเนนิ งาน (๑๐๐ %)

๓) นกั เรยี นทีม่ ีปัญหาดา้ นการอ่านการเขียน ได้รับการแก้ไขปัญหาและพฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง
(๑๐๐ %)

๓.๒ เชิงคณุ ภาพ
๑) โรงเรียนสามารถเรง่ รดั พฒั นาคุณภาพดา้ นการอ่านการเขียนของนักเรยี นได้อย่างเป็น

รปู ธรรม สง่ ผลให้นักเรยี นมีทักษะด้านการอ่านการเขียน ทีด่ ีข้นึ นักเรยี นทีอ่ ่านไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ อ่านไม่
คล่อง เขียนไมค่ ล่อง ลดลง

๒) โรงเรียนสามารถนามาตรการ แนวทางการดาเนินงานของเขตพนื้ ที่ ไปใช้ในการ
ดาเนินงานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

๓) นกั เรยี นสามารถอ่านออก เขียนได้ และผ่านเกณฑ์การประเมินการอ่านการเขียน ของ
สพฐ.



แนวทางการขบั เคลือ่ นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

บทที่ ๒
นโยบาย มาตรการ และด้าเนินงานแนวทางการด้าเนินงาน

นโยบาย มาตรการของกระทรวงศึกษาธกิ าร

นโยบาย “ทิศทางการขับเคล่อื นคุณภาพการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน” ของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โดยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน (ดร.สุเทพ ชิตยวงษ์) ได้
กาหนดนโยบายในการจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐานและให้ความสาคัญกบั การจัดการศึกษาระดบั
ประถมศึกษา โดยเนน้ คณุ ภาผู้เรยี น ในดา้ นการส่อื สาร การใช้ภาษาไทย และการอ่านออกเขียนได้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐานกาหนดจุดเน้นตามยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยในปี ๒๕๖๒ กาหนดเปน็ นโยบายเร่งด่วนคือ "เดนิ หน้าและพัฒนาการอ่าน
ออกเขยี นได้ ปีการศึกษา ๒๕๖๒” จุดเน้นการศึกษาระดบั ประถมศึกษา : “อ่านออก เขยี นได้ คิดเลข
เปน็ ” ทิศทางการพฒั นา มี ๔ ระยะ คือ

ระยะที่ ๑ ด้าเนินการภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ ๒๕๖๔
- จัดทาแผนงาน โครงการกิจกรรมเพือ่ สง่ เสริมพฒั นาภาษาไทย ๓ ระยะ คือ ๑) ระยะ ๒
เดอื น (มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๖๔) ๒) ระยะ ๔ เดอื น (มิถุนายน - กนั ยายน ๒๕๖๔) ๓) ส้นิ ปี
การศึกษา ๒๕๖๒ (มิถุนายน ๒๕๖๔ – มีนาคม ๒๕๖๕)
- สร้างความรคู้ วามเข้าใจในนโยบาย มาตรการ และแนวทางการดาเนินงานเพื่อพฒั นา
ภาษาไทย แก่ผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรในสังกัด
ระยะที่ ๒ (มิถุนายน – กรกฎาคม ๒๕๖๔) ดาเนนิ งานขบั เคล่อื นการพัฒนาภาษาไทยเน้น
โครงการ อ่านออก เขียนได้
ระยะที่ ๓ (มิถนุ ายน - กันยายน ๒๕๖๔) ดาเนนิ งานขับเคลอ่ื นและพัฒนาผู้เรยี นอ่านออก
เขยี นไดต้ ่อเนือ่ ง
ระยะที่ ๔ (ส้นิ ปีการศึกษามิถุนายน ๒๕๖๔ - มีนาคม ๒๕๖๕) ดาเนนิ การต่อเนือ่ งจาก
ระยะที่ ๒ และระยะที่ ๓
นโยบาย มาตรการของส้านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

๑. ประกาศนโยบายให้ทุกเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ดาเนนิ การเร่งรัดการอ่านออกเขียนได้

อ่านคลอ่ งเขียนคลอ่ งและส่อื สารได้

๒.คัดกรองนักเรยี นดา้ นการอ่านการเขียนทุกระดบั ช้ันปีละ ๒ ครง้ั (มิ.ย,และ พ.ย.)

๓. สง่ เสริม สนบั สนุนช่วยเหลอื สพป. ทั้งดา้ นนวัตกรรม สอ่ื วิธีสอน แก้ปัญหาแยก

ตามระดับช้ัน เผยแพร่อย่างกว้างขวางรวมทั้งพัฒนาวิทยากรแกนนาเร่งรดั การอ่านออกเขียนได้ ทุก

เขตพืน้ ที่การศึกษา

๔. ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดาเนินงาน สพป.ทุกระยะ



แนวทางการขบั เคล่ือนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

นโยบาย มาตรการของสา้ นกั งานเขตพนื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔
สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ ตระหนักและให้ความสาคัญกับการ

เร่งรดั พฒั นาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรยี นจึงไดก้ าหนดแผนงาน โครงการเร่งรัดพัฒนาคุณภาพ
นกั เรยี นทั้งดา้ นการอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และสอ่ื สารได้ ทีส่ อดคล้องกับนโยบาย
การดาเนินงานพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยตามนโยบาย “สพป.อุดรธานีเขต ๔ เดินหน้าและ
พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ปีการศึกษา ๒๕๖๔” การประเมินที่เปน็ รปู ธรรม และให้มีการสง่ เสริม
สนบั สนุนให้ครูในโรงเรียนทกุ แห่งพฒั นาการจดั การเรียนรู้ด้วยเทคนิค วิธีการต่างๆ เพือ่ ให้นักเรยี นทุก
ระดบั ชั้น สามารถอ่านเขียนได้ ตามความสามารถของนักเรียนทีจ่ บในแตล่ ะชั้นปี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
นักเรยี นทีจ่ บชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ต้องอ่านออก เขียนได้


แนวทางการขบั เคลอ่ื นพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

จากผลการการประเมินการอ่านการเขียนของนักเรียนช้ัน ป.๑ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ยงั มีนกั เรยี น
ที่มีผลการอ่านการเขียนในระดับปรบั ปรงุ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ จึงได้
กาหนดนโยบายขับเคล่อื นอ่านออกเขียนได้เรง่ ด่วน ๘ ประการของสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔ เพื่อขับเคล่อื นให้ผู้เรยี นทุกคนอ่านออกเขียนได้ ตามนโยบาย “สพป.อุดรธานี
เขต ๔ เดินหน้าพฒั นาอ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา ๒๕๖๔” ดังนี้

๑. ประกาศนโยบาย /มาตรการอ่านออกเขียนได้ให้เป็นวาระสาคญั ของเขตพนื้ ที่
๒. จัดทา MOU (สตั ยาบนั /ข้อตกลงร่วมกบั สถานศึกษา)
๓.ปูพ้นื ฐาน ดา้ นภาษา การอ่านออกเขียนได้ ต้ังแต่ระดับปฐมวยั ด้วยนโยบาย “สพป.อุดรธานี เขต
๔ เดนิ หนา้ พฒั นาอ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา ๒๕๖๔”
๔. พัฒนาครู/ดา้ นเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรู้
๕. ขับเคลื่อนนโยบาย ตามมาตรการ แนวทางของเขตพนื้ ทีแ่ บบเขม้ ขน้
๖. ผู้บริหารสถานศึกษา/ครูนิเทศภายในเข้มแข็ง เข้มข้น ๑๐๐%
๗. สง่ เสริมสนับสนนุ ให้สถานศึกษานากระบวนการ PLC มาใช้ในการแก้ปัญหา
๘. นิเทศ กากบั ตดิ ตามโรงเรียน/ห้องเรียนเปน็ ฐานโดยทีมนิเทศฯ ก.ต.ป.น./อ.ก.ต.ป.น.

นโยบายเรง่ ด่วน ๘ ประการเรง่ รดั พัฒนาอา่ นออกเขียนได้ สพป.อดุ รธานี เขต ๔

๒.จัดทา ๓.ปูพนื้ ฐาน
MOU อ่านเขยี น

๑.ประกาศ ปฐมวัย

นโยบาย/ ๔.พฒั นา

มาตรการ ครู/นร.สู่

๘.นิเทศ มาตรการ ความเป็น
ร.ร./ เรง่ ด่วน เลศิ
ห้องเรยี น
เป็นฐาน ๕.ขับเคลอ่ื น
นโยบาย/
๗.นา ๖.นิเทศ มาตรการเข้ม
กระบวนการ ภายใน
๑๐๐% ขัน
PLC สู่
ห้องเรยี น


แนวทางการขบั เคลื่อนพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

มาตรการดาเนนิ งานตามนโยบาย “สพป.อุดรธานี เขต ๔ เดนิ หน้าพฒั นาอ่านออกเขียนได้”ระดับเขตพนื้ ที่

สรส้ารงา้ คงคววาามม สร้าง สสถถาานนศศึกกึษษา/าผ/ผปู้ ู้ปกกคครอรงอง/ช/มุชชุมนช/นอ/งอคง์กคร์กตรา่ ตงๆ่าง/เๆค/เรคือรขือ่าขย่าคยวาคมวรา่วมมรม่วือมมือ
ตรตะรหะหนนกั กั // เครือข่าย/
ปรปะรกะากศาศ ด้านการอ่านการเขียนทกุ ระดับช้ัน
นโนยโบยาบยาย MOU รายงานในระบบ (e-MES) ครั้งที่ ๑ เดือน ม.ิ ย /ครั้งที่ ๒ เดือน พ.ย.
ก.ค.๒๕๖๔ นร. ป.๑ อ่านเขียนคาแม่ ก กา ประสมสระเสียงยาว
คัดกรอง จดั ทา สระอา อี อู เอ และ แอ
นกั เรียน ข้อมลู
สารสนเทศ

ครจู ดั ก.ย.๒๕๖๔ นร. ป.๑ อ่านเขียนคามา ก กา ประสมสระเสียง
กิจกรรม ยาวและมีรูปวรรณยุกต์
ส่งเสริม
พฒั นา ธ.ค.๒๕๖๔ นร. ป.๑ อ่านเขียนคาที่ประสมสระเสียงส้ันและ
สระเสียงยาวมีรปู วรรณยกุ ต์

ก.พ.๒๕๖๔ นร. ป.๑ อ่านเขยี นคาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
และไม่ตรงตามมาตรา พยญั ชนะควบกล้า คาอกั ษรนา

จดั กิจกรรมอ่านเขียนแจกลูกสะกดคาทุกระดบั ชั้นเน้น นร. ป.๑
จดั กิจกรรมเขียนตามคาบอกทุกวนั เน้นคาตามบญั ชีพืน้ ฐานระดบั ชั้น

จดั กิจกรรมแต่งประโยค เขียนเรื่องจากคา หรือภาพที่กาหนด ที่สนใจ

เร่งรัดพฒั นาการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง อ่านจับ
ใจความสาคัญและการอ่านคิดวิเคราะหเ์ ขียนตามมาตรฐานหลกั สูตร

จดั กิจกรรมอืน่ ๆ ตามบริบท เช่น สอนซ่อมเสริมจดั ค่ายการอ่านการ
รเขับียกนารนิเทศตามปฏิทิน ระหว่างเดือน ก.ค. ๒๕๖๔ ถึงเดือน มี.ค.๒๕๖๕

นเิ ทศ รายงานผลการดาเนินงานพฒั นาการอ่านการเขียนของนักเรียน
ติดตาม ทกุ ระดับช้ัน ภายในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๕

๑๐
แนวทางการขับเคล่อื นพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

แนวปฏิบตั ิตามมาตรการ ระดับ สพป.อุดรธานี เขต ๔

๑. สร้างความตระหนกั MOU และสร้างเครือข่ายผู้ปกครอง ชมุ ชน เพื่อสง่ เสริมการอ่านออกเขียนได้
๒. สร้างความตระหนกั แก่ครูผู้สอน เน้นครผู ู้สอนช้ัน ป. ๑ ทุกคน ให้นกั เรยี นอ่านออกเขียนได้
๓. คดั กรองการอ่านการเขียนของนักเรยี นทุกระดบั ช้ัน เน้นนกั เรยี นช้ัน ป.๑ รายงานในระบบ

อิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-MES) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ครง้ั ที่ ๑ ภายในเดอื นมิถุนายน และคร้ังที่ ๒
ภายในเดือนพฤศจิกายน
๔. จดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการอ่านการเขียนของนักเรียนทุกระดบั ชั้น
๕. ครูจดั กิจกรรมให้นกั เรยี นช้ัน ป.๑ อ่านและเขียนคาแม่ ก กา ที่ประสมสระเสยี งยาว คือ สระอา อี อู
เอ และ แอ ภายในเดอื นกรกฎาคม ๒๕๖๔
๖. ครจู ดั กิจกรรมให้นักเรยี นช้ัน ป.๑ อ่านและเขียนคาแม่ ก กา ที่ประสมสระเสยี งยาวและมีรูป
วรรณยกุ ต์ได้ภายในเดือนกนั ยายน ๒๕๖๔
๗. ครูจดั กิจกรรมให้นักเรยี นช้ัน ป.๑ อ่านและเขียนคาที่ประสมดว้ ยสระเสยี งส้ันและเสยี งยาวมีรปู
วรรณยกุ ต์ได้ ภายในเดอื นธันวาคม ๒๕๖๔
๘. ครูจัดกิจกรรมให้นกั เรยี นชั้น ป.๑ อ่านและเขียนคาทีม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง
ตามมาตรา คาทีม่ ีพยญั ชนะควบกล้า และคาทีม่ อี กั ษรนาได้ ภายในเดอื นกมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔
๙. ครูจัดกิจกรรมการอ่านการเขียนแจกลกู สะกดคาทุกระดบั ชั้น เน้นนักเรยี นชั้น ป.๑ ทุกคน
๑๐. ครูจัดกจิ กรรมเขียนตามคาบอกทกุ วนั โดยใช้คาพนื้ ฐานระดับช่วงชั้น ตามความเหมาะสม
๑๑. ครูจดั กิจกรรมให้นักเรยี นฝึกแตง่ ประโยค เขียนเรือ่ ง จากคาหรือภาพที่กาหนดหรอื ที่สนใจ
๑๒. สาหรบั นักเรียนชั้นอื่น ๆ ให้ดาเนนิ การเร่งรดั พฒั นาการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง
อ่านจับใจความสาคญั และอ่านคิดวิเคราะห์ไดต้ ามมาตรฐานของหลักสูตร
๑๓. สถานศึกษาจัดกิจกรรมอื่น ๆ ตามบริบทที่สถานศึกษาเหน็ สมควร เช่น สอนซ่อมเสริม จดั ค่ายการอ่าน
การเขยี น เป็นต้น
๑๔. สถานศึกษารับการนิเทศติดตามการดาเนินงานตามปฏิทินการดาเนินงาน ระหว่างเดอื นกรกฎาคม
๒๕๖๔ ถึงเดอื นมีนาคม ๒๕๖๕
๑๕. สถานศึกษาจัดทารายงานการพฒั นาการอ่านการเขียนของนกั เรยี นทกุ ระดบั ช้ัน สง่ สานักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ ภายในวนั ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๕

๑๑
แนวทางการขับเคล่ือนพัฒนาคุณภาพการศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

มาตรการด้าเนนิ งานตามนโยบาย “สพป.อุดรธานี เขต ๔ เดินหนา้ พฒั นาอ่านออกเขียน” ระดบั โรงเรยี น

สรา้ งความ สร้าง ผู้ปกครอง /ชมุ ชน/องคก์ รต่างๆ
ตระหนกั / เครอื ขา่ ย/ ครูผสู้ อน เนน้ ครู ป.๑/ นร.
ประกาศ จดั ระบบบริหารจดั การ
นโยบาย MOU จดั ทาแนวปฏบิ ัติในการพัฒนาภาษาไทยทห่ี ลากหลายรูปแบบ
คัดกรองนกั เรยี นด้านการอ่านการเขยี น เดอื น มิ.ย.และ พ.ย.
ร.ร.คดั กรอง จดั ทาขอ้ มูล
นักเรียน สารสนเทศ

นาสู่ปฏบิ ัติ/ ดาเนินการจัดกลมุ่ /จดั ระดบั ปญั หา
ครจู ัด
กจิ กรรม จดั ทาข้อมลู สารสนเทศนักเรียนรายคน

วางแผนแกป้ ญั หานักเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย
จัดกิจกรรมแก้ปญั หาตามกลุ่มยอ่ ยรวมท้ังเด็กพิเศษตามมาตรการ
เขตพน้ื ท/่ี สพฐ.
จดั กจิ กรรมเขยี นตามคาบอกทุกวัน เนน้ คาตามบัญชพี น้ื ฐานระดับชั้น

ใชส้ ่อื /นวตั กรรมท่เี หมาะสม

ัจด ิกจกรรมพัฒนา รับการนิเทศ ตดิ ตามอยา่ งเปน็ ระบบจากคณะกรรมการนเิ ทศฯ

นเิ ทศ

ตดิ ตาม ตรวจสอบ/ประเมนิ ทกุ เดือน

สรปุ /รายงานผลการดาเนนิ งาน ทุกเดือน

เดก็ สรุป/ เด็ก จดั กจิ กรรมสง่ เสริมความเปน็ เลิศดา้ นภาษาไทย
อ่อน รายงานผล เกง่

๑๒
แนวทางการขับเคลอื่ นพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

แนวปฏิบัตติ ามมาตรการ ระดับโรงเรยี น

๑. โรงเรียนประกาศนโยบายนักเรยี น ป.๑ อ่านออกเขียนได้ ป.๒ ขนึ้ ไปอ่านคล่องเขียนคล่อง แก่
คณะครู กรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐานและผู้ปกครองตลอดท้ังผู้เกี่ยวข้องทุกภาคสว่ น
๒. ให้จัดทาบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) ระหว่าง ผู้อานวยการโรงเรียน กับครูประจาช้ัน
ทกุ คนเพื่อพัฒนาการอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และสอ่ื สารได้ โดยประกาศว่า
“นกั เรยี นชั้น ป. ๑ ทกุ คนอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.๒ ขนึ้ ไปทุกระดบั ช้ันอ่านคล่อง เขียนคล่อง”
๓. ให้โรงเรยี นพิจารณาจัดหาครทู ีม่ ีความรู้ ความสามารถ ใจดี รักเด็กเสยี สละ ทุ่มเท ขยันสอน ไม่
ทิ้งห้องเรียน ให้สอนนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ เพื่อให้นกั เรยี นสามารถอ่านออก เขียนได้ทุกคน
โดยให้ดาเนนิ การก่อนเปิดเรยี นในภาคเรียนที่ ๑ ของทุกปีการศึกษา
๔. ให้โรงเรียนดาเนนิ การคดั กรองนกั เรยี นที่มีความบกพร่องหรือเดก็ พิเศษ โดยใช้เครือ่ งมือ
มาตรฐานท่สี ว่ นกลางกาหนด โดยครูประจาชน้ั เริม่ คดั แยกนกั เรยี นภายในช้ันดว้ ยการสังเกต แล้ว
ร่วมกับครูการศึกษาพิเศษทีผ่ ่านการอบรมการคัดกรอง
๕. ให้โรงเรียนวิเคราะห์หาสาเหตแุ ละระดบั ของปญั หาพร้อมจัดกลุ่มนักเรยี นทีอ่ ่านไมอ่ อก เขียน
ไมไ่ ด้ตามระดบั ของปัญหา อาทิ ยงั ไมร่ ู้จกั พยัญชนะ สระประสม และหรือวรรณยกุ ต์บางรปู ผัน
วรรณยุกต์ไม่ได้ ยังสะกดคาไมไ่ ด้ อ่านคาทีป่ ระสมในแม่ ก กา ไมไ่ ด้ คาที่มีตวั สะกดตรงตาม
มาตราตัวสะกด คาทีม่ ีตัวสะกดไมต่ รงตามมาตรา คาที่มีสระลดรูป คาควบกลา้ คาทีม่ ีอกั ษรนา
คาทีม่ ตี ัวการันต์ เป็นต้น กลุ่มที่อ่านไม่คล่อง เขยี นไม่คล่อง และกลุ่มสือ่ สารไม่ได้

๖. ให้โรงเรียนกาหนด/มอบหมายให้มคี รผู ู้รบั ผิดชอบนกั เรียนกลุ่มที่มีปญั หา ตามอาการหรอื
สาเหตุทีพ่ บ เพื่อวางแผน กาหนดปฏิทิน กิจกรรม รวมทั้งจดั ทา จัดหาสอ่ื นวัตกรรม เทคนิควิธีการ
ทีเ่ หมาะสม อาทิ กิจกรรมห้องเรียนคุณภาพ กิจกรรมเขียนตามคาบอก กิจกรรมสอนซอ่ มเสริม
กิจกรรมฝึกหัดอ่านและเขียน กิจกรรมการท่องบทอาขยาน เพื่อแก้ปญั หานักเรียนกลุ่มเป้าหมายให้
พัฒนาสงู ข้นึ อย่างน้อย ๑ กลุ่มระดบั โดยเริม่ ดาเนินการทันทีหลังทาการคดั กรองนักเรยี น หรือ
ดาเนินการแก้ไขทนั ทีทีท่ ราบสาเหตุและระดบั ของปัญหา
๗. ให้โรงเรียนจดั ทาขอ้ มลู สารสนเทศนักเรยี นรายบุคคล รายกลุ่มตามปญั หาและระดบั ของปญั หา
ตลอดท้ังรายชื่อนักเรียนกลุ่มเป้าหมายทีอ่ ่านไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ อ่านไมค่ ล่อง เขียนไมค่ ล่อง อ่าน
เขียนคล่องแต่สื่อสารไมไ่ ด้ รวมทั้งปฏิทิน กิจกรรม เทคนิควิธีการ ส่อื นวัตกรรม ทีใ่ ช้ในการ
แก้ปญั หา แล้วรายงานสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ ตามแบบรายงาน
ทีก่ าหนด

๑๓
แนวทางการขบั เคล่ือนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

แนวปฏบิ ัตติ ามมาตร ระดบั โรงเรยี น (ต่อ)

๘.กาหนดเป้าหมายในการพัฒนาการอ่านการเขียนนกั เรียนชั้น ป.๑ สอดคลอ้ งกับมาตรการเขต
พนื้ ที่
๙. ผู้บริหารโรงเรยี นดาเนินการ กากบั นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครงั้
๑๐. ให้โรงเรียนรายงานผลการพฒั นานกั เรียนกลมุ่ เป้าหมายตามแบบรายงานที่สานกั งานเขต
พนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ กาหนด
๑๑. ให้โรงเรียนประกาศความส้าเร็จระดบั ห้องเรยี นทีม่ ีนกั เรยี นอ่านออก เขียนได้ทกุ คนเป็น
รายห้อง
๑๒. ให้โรงเรยี นที่มีนกั เรียนอ่านออกเขียนได้ทุกคน แจ้งรับการตรวจสอบท้าพสิ จู น์ไปที่
สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ เพื่อดาเนนิ การ ตรวจสอบรบั เกียรติ
บัตรห้องเรียนปลอดนักเรยี นอ่านไมอ่ อกเขียนไมไ่ ด้

๑๓. ให้โรงเรียนจัดกิจกรรมสง่ เสริมความเป็นเลศิ ดา้ นภาษาไทยเพือ่ เตรียมเข้าประกวดแข่งขันใน
งานวันภาษาไทยแห่งชาติ และงานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น

๑๔. ให้โรงเรยี นจดั ทาแนวปฏิบัติในการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาไทยเพิ่มเติม อาทิ การเขียน
ตามค้าบอก ท่องบทอาขยาน กิจกรรมอ่านขา่ วหน้าเสาธง วางทกุ งานอ่านทกุ คน ส่งเสริม
การเขียนจดหมาย ส่งเสริมการเขียนเรยี งความ ยอ่ ความ สรุปความ ตลอดทั้งออกข้อสอบ
อตั นยั ทดสอบนกั เรียนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๗๐ โดยให้นักเรยี นทุกคนมีโอกาสไดฝ้ ึกบ่อย ๆ

๑๕. ให้ทกุ โรงเรียนร่วมกันเอาใจใสใ่ นการพฒั นานกั เรียนกลมุ่ เป้ามาย และเด็กพิเศษอย่าง
จริงจงั จริงใจและตอ่ เน่อื ง

๑๔
แนวทางการขับเคล่อื นพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

มาตรการการดา้ เนนิ งานตามนโยบาย “สพป.อดุ รธานี เขต ๔ เดินหน้าพัฒนาอ่านออกเขียน”ระดบั หอ้ งเรยี น

สร้างความ สร้าง ผู้ปกครอง /ชุมชน/องคก์ รต่างๆ
ตระหนัก/ เครอื ขา่ ย/ ครูผสู้ อน เน้น ครู ป.๑/ นร.
ประกาศวาระ ศึกษาทาความเข้าใจนโยบายของ ศธ./สพฐ.
หอ้ งเรียน MOU ศึกษาแนวปฏิบตั ิ/มาตรการระดบั สพป./ร.ร.
กาหนดแนวปฏบิ ัตใิ นการพัฒนาระดบั ห้องเรียนตามมาตรการเขตฯ
จดั ทาขอ้ มูล
สารสนเทศ

ดาเนนิ การจดั กลุม่ /จัดระดับปญั หา

จดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศนักเรยี นรายคน

คดั กรอง นาสู่ปฏบิ ตั ิ/ วางแผนแก้ปญั หานกั เรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย
นักเรยี น ครูจัด
กิจกรรม

ใชส้ ่อื นวตั กรรมท่เี หมาะสม

จดั กิจกรรมสง่ เสริมให้นักเรยี นมคี วามเปน็ เลิศดา้ นภาษาไทย

จัดกิจกรรมสาหรบั เดก็ พเิ ศษด้วยวิธกี ารที่เหมาะสม

ัจด ิกจกรรมพัฒนา นิเทศ ตดิ ตามอยา่ งเป็นระบบและต่อเนือ่ งทกุ เดือน

นิเทศ

ตดิ ตาม ตรวจสอบ/ประเมนิ ทุกเดอื น

สรปุ /รายงานผลการดาเนินงาน ทกุ เดอื น

เดก็ สรุป/ เด็ก จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศดา้ นภาษาไทย
ออ่ น รายงานผล เกง่

๑๕
แนวทางการขับเคลอื่ นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

แนวปฏิบัตติ ามมาตรการ ระดับห้องเรยี น

๑. จดั ทาประกาศวาระสาคัญระดับห้องเรียน โดยระบวุ ่า “นักเรียนช้ัน ป. ๑ ทุกคนอ่านออกเขียนได้
ช้ันป.๒ ขนึ้ ไปทกุ ระดบั ช้ันอ่านคล่อง เขียนคล่อง”
๒. ครูประจาชนั้ ร่วมกับครูทีม่ ีความรู้ความสามารถดา้ นการคัดกรองการอ่านการเขียนเพ่อื เปน็
ฐานข้อมูลในการพัฒนา โดยใช้เครือ่ งมือมาตรฐานทก่ี าหนด แล้วจัดทาข้อมลู สารสนเทศนักเรยี น
เปน็ รายบคุ คล
กาหนดเป้าหมายในการพัฒนาการอ่านการเขยี นนักเรียนชั้น ป.๑

ระยะ ๒ เดือน (มิ.ย.- ก.ค. )
- นักเรยี นอ่านและเขียนแม่ ก .กา ที่ประสมดว้ ยสระ อา อิ อู เอ และแอ ได้

ระยะ ๔ เดือน (ส.ค. - ก.ย. )
- นักเรยี นอ่านและเขียนคาง่ายๆได้มากข้นึ (แม่ก.กา ทีป่ ระสมดว้ ยสระเสยี งยาวและมีรูป
วรรณยกุ ต์)
- เดอื นธนั วาคม นักเรยี นอ่านและเขียนคาทีป่ ระสมสระเสยี งสั้นและเสยี งยาวที่มวรรณยกุ ต์ได้
- เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ นักเรยี นควรอ่านและเขียนคาทีม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตราและ
ไมต่ รงมาตรา คาที่มีพยัญชนะควบกล้าและคาทีม่ ีอักษรนาได้ส่วนนกั เรยี นช้ันอื่นๆให้ดาเนินงาน
เร่งรัดพัฒนา/ซ่อมเสริมการอ่านการเขียนเพื่อให้สามารถอ่านออกเขียนได้ตามมาตรฐานหลักสูตร
๓. ครูประจาชน้ั ทดสอบการอ่าน และแบบทดสอบการเขียน ซึง่ เขตพนื้ ที่สง่ ให้ และ ของ สพฐ
(จะแจ้งให้ทราบลว่ งหน้า) จะใช้เกณฑ์นักเรียนสามารถอ่านออกร้อยละ ๖๐ และเขียนได้ร้อยละ ๕๐
ขนึ้ ไป หากพบว่า มีนกั เรยี นที่อ่านไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ ให้วิเคราะห์นกั เรยี นเป็นรายบุคคลว่ามีปญั หา
อะไรและปญั หานนั้ อยู่ระดบั ใด เช่น ไมร่ ู้พยญั ชนะ สระ สระประสม สระเกิน วรรณยกุ ต์
ตวั สะกด ตวั สะกดไมต่ รงตามมาตรา คาควบกลา้ อกั ษรนา คาทีม่ ีตวั การนั ต์ หรือสะกดคายัง
ไมไ่ ด้ และวิเคราะห์หาสาเหตุของปญั หาว่า มาจากอะไร เช่น มีพัฒนาการไม่เปน็ ไปตามวัย ขาด
เรียนบ่อย ย้ายโรงเรยี นบ่อย ป่วยเรอื้ รงั อาศยั อยู่กบั ตายาย ฯลฯ แลว้ รวบรวมรายชือ่ จัดกลุ่ม
นักเรยี น สาหรับนกั เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้หรือเดก็ พิเศษไม่ต้องนบั รวมเปน็ เดก็
กลุ่มเป้าหมาย
๔ . จัดทาและมีขอ้ มูลสารสนเทศนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล/รายกลุ่ม ท้ังกลุ่มอ่านและกลมุ่ เขียน และ
รายกลุ่มตามระดบั ของปัญหา
๕. จัดหา/ จัดทานวตั กรรม ทีม่ ีความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ปัญหาของแต่ละคนหรอื แตล่ ะกลุ่ม
และกาหนดปฏิทินในการพัฒนาอย่างเปน็ ระบบและต่อเนือ่ ง

๑๖

แนวทางการขบั เคล่อื นพฒั นาคุณภาพการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

แนวปฏิบัติตามมาตรการ ระดับห้องเรียน(ต่อ)

๖. จัดกิจกรรมเพื่อพฒั นาให้นักเรยี นสามารถอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และ
สามารถสื่อสารได้โดยวิธีแจกลกู สะกดคา
๗. สงั เกต ตรวจสอบ ประเมินพัฒนาการนักเรยี นกลุ่มเป้าหมายทุกเดอื น
๘. บันทึก สรุปรายงานผลต่อผู้อานวยการโรงเรียนทกุ เดือนอยา่ งตอ่ เน่อื ง
๙. รายงานความสาเรจ็ ต่อผู้บริหารโรงเรยี น หากนกั เรียนสามารถอ่านออก เขยี นได้ทุกคนแลว้ ให้
แจ้งผู้บรหิ ารเพือ่ ตรวจสอบรับมอบเกียรติบัตร
๑๐. จัดกิจกรรมสง่ เสริมให้นกั เรยี นมีความเป็นเลศิ ดา้ นภาษาไทยเพื่อเข้าแข่งขนั ในระดบั กลมุ่
เครอื ข่ายฯ หรือระดบั เขตพืน้ ที่การศึกษาต่อไป
๑๑. จัดกิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ภาษาไทยเพิม่ เตมิ อาทิ การเขียนตามคาบอก ท่องจาอกั ษร
สามหมู่ สระ และวรรณยุกต์ และกฎเกณฑ์ทางภาษาอืน่ ๆที่จาเปน็ ครจู ดั กจิ กรรมให้นักเรียนรู้จัก
ไตรยางค์ คืออกั ษรสามหมู่ สอนให้นกั เรยี นรู้จักรูปและเสยี งพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ท่องบท
อาขยานทุกวัน วางทุกงานอ่านทุกคน สง่ เสริมการเขียนจดหมาย สง่ เสริมการเขียนเรียงความ ย่อ
ความ การเขียนเรือ่ งจากภาพ การสรุปความ หรือกิจกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ หมาะสมกับระดบั ชั้น โดยให้
นักเรียนทกุ คนมีโอกาสได้ฝึกบ่อย ๆ
๑๒. จัดกิจกรรมสาหรับเด็กพิเศษดว้ ยวิธกี ารทีเ่ หมาะสม และเอาใจใสใ่ นพัฒนาการการเรียนรู้
ของเดก็ อย่างต่อเนือ่ ง พร้อมรายงานผบู้ รหิ ารโรงเรียนทกุ เดอื น

๑๓. ฝึกให้นกั เรยี นคดั ลายมือ คดั เลขไทยทุกระดับช้ัน
- ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ฝึกคัดลายมือและเลขไทยด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั รูปแบบ

อักษรกระทรวงศกึ ษาธิการ
- ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ฝึกคัดลายมือและเลขไทยด้วยตัวบรรจงคร่งึ บรรทัด รูปแบบ

อักษรกระทรวงศกึ ษาธิการ

๑๗
แนวทางการขบั เคลอ่ื นพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

แนวปฏิบัติตามมาตรการ ระดบั หอ้ งเรยี น(ต่อ)

๑๔. จัดกิจกรรมสง่ เสริมนิสยั รกั การอ่านทุกระดับช้ัน โดยจดั กิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้นกั เรยี นมี
นสิ ยั รกั การอ่าน ดว้ ยกจิ กรรมที่หลากหลาย

รายละเอียดการจัดกิจกรรมตามตัวชีวัดของหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

โรงเรยี นควรการจดั กจิ กรรมตามตัวช้วี ดั ของหลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยดงั นี้ ๑๘
๑. จดั ครูผู้สอนภาษาไทยทีม่ ีความรคู้ วามสามารถ ความเชย่ี วชาญและมีประสบการณ์การสอน
การอ่านและการเขียนและมีความรบั ผิดชอบสงู สาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ แลว้ ควร
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นกั เรยี นอ่านออก เขียนได้ โดยวิธีแจกลกู สะกดคา ในระดบั ช้ัน
ป.๑ – ๓ (ครูควรสอนภาษาไทยดว้ ยการอ่านแจกลกู สะกดคา หมายถึง สอนให้รู้รูปและเสยี ง
ของพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ กรณีพยัญชนะเมือ่ ประสมสระให้นกั เรียนรู้สระควบคู่กันไป สอน
แยกเปน็ สว่ น ๆ แล้วให้รู้การผสมเป็นคา โดยเน้นให้เดก็ จาพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ ตวั สะกด
เข้าใจหลักวิธีการประสมคา โดยใช้หนงั สือแบบเรียนเร็วใหม่ หรือหนังสือมานะ มานี วรรณคดี
ลานา เอกสารการอ่านแจกลกู สะกดคาของสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาที่ สพป.
อุดรธานี เขต ๔ สง่ ให้นกั เรยี นจัดทาสาเนาไว้ประจาห้องเรียนเพือ่ เป็นคู่มอื การจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนภาษาไทย ครสู ามารถนาหนงั สือ แบบเรียนตามหลกั สูตรสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย มาบรู ณาการในการจัดกิจกรรมสอนอ่าน เขียนแก่นกั เรยี น

แนวทางการขบั เคล่อื นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

รายละเอียดการจดั กิจกรรมตามตวั ชีวดั ของหลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย(ตอ่ )

๒. ครผู ู้สอนภาษาไทยจัดกิจกรรมที่สง่ เสริมและพัฒนาทกั ษะภาษาไทย ดงั นี้
๒.๑ การอ่าน : การอ่านออกเสยี งคา และประโยค การอ่านบทรอ้ ยแก้ว คาประพนั ธช์ นิด

ต่าง ๆ การอ่านในใจ เพือ่ สร้างความเข้าใจ และการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิง่ ที่
อ่าน เพือ่ นาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวนั

๒.๒ การเขียน : การเขียนสะกดคาตามอักขรวิธี การเขียนส่อื สาร โดยใช้ถอ้ ยคาและรูปแบบ
ต่าง ๆ ของการเขียน รวมท้ังการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตาม
จินตนาการ วิเคราะห์ วิจารณแ์ ละการเขียนเชิงสร้างสรรค์

๒.๓ การฟงั การดู และการพูด : การฟงั และการดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ การพดู แสดงความ
คิดเหน็ ความรสู้ กึ พูดลาดบั เรื่องราวต่าง ๆ อย่างเปน็ เหตเุ ปน็ ผล การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ทั้ง
เป็นทางการ และไมเ่ ป็นทางการ และการพูดเพือ่ โน้มน้าวจิตใจ

๒.๔ หลกั การใช้ภาษาไทย : ศึกษาธรรมชาตแิ ละกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้
ถกู ต้อง เหมาะสมกบั โอกาส บคุ คล การแตง่ บทประพนั ธ์ประเภทตา่ ง ๆ และอิทธิพลของ
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

๒.๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม : วิเคราะห์วรรณคดี และวรรณกรรม เพื่อศึกษาขอ้ มลู
แนวความคิด คณุ ค่าของงานประพันธ์ และความเพลดิ เพลนิ การเรียนรู้และทาความเข้าใจบท
เห่ บทร้องเลน่ ของเดก็ เพลงพืน้ บ้าน และทีเ่ ป็นภูมปิ ัญญาที่มคี ณุ ค่าของไทย ซึง่ ไดถ้ ่ายทอด
ความรสู้ กึ นึกคิด ค่านยิ ม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสงั คมในอดตี และความงดงาม
ของภาษา เพือ่ ให้เกิดความซาบซึง้ และภูมใิ จในบรรพบรุ ษุ ที่ได้สั่งสมสืบทอดมาจนถงึ ปจั จุบัน
๓. ครผู ู้สอนจดั กิจกรรมสง่ เสริมให้นักเรยี นท่องจาอกั ษรสามหมู่ สระ วรรณยุกต์ และกฎเกณฑ์
ทางภาษาอืน่ ๆ ที่จาเปน็ โดยมีสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน เช่น บัตรคา บตั รภาพ
กระดานแม่เหลก็ สอ่ื และนวตั กรรมทีเ่ หมาะสมกบั นกั เรยี นในแตล่ ะระดบั ชั้น

๓.๑ ครผู ู้สอนจัดกิจกรรมให้นักเรยี นได้เรยี นรู้ไตรยางค์ คือ อกั ษรสามหมู่ ได้แก่ อกั ษรสูง
อักษรกลาง อกั ษรต่า และการผันวรรณยกุ ต์

๓.๒ ครูผสู้ อนจดั กจิ กรรมให้นกั เรียน รู้จักพยญั ชนะมี ๔๔ ตัว สอนให้รู้จกั สระ มีทั้งหมด
๓๒ รปู ๒๑ เสยี ง แยกวรรณยกุ ต์ และกฎเกณฑ์ทางภาษาอื่น ๆ
๔. ครผู ู้สอนจดั กิจกรรมที่ฝึกเขียนตามคาบอกโดยใช้คาพนื้ ฐาน ของสานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน และเอกสารที่สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔
แจกให้ทกุ ระดับช้ัน ทกุ วัน

๔.๑ ช้ัน ป.๑-๓ ฝึกให้นกั เรียนเขยี นตามคาบอกอยา่ งน้อยวนั ละ ๑๐-๑๕ คา
๔.๒ ชั้น ป.๔–๖ ฝึกให้นักเรยี นเขียนตามคาบอกอย่างน้อยวันละ ๑๕-๒๐ คา

๑๙

แนวทางการขบั เคลื่อนพฒั นาคุณภาพการศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

รายละเอียดกิจกรรมการด้าเนินงาน(ต่อ)

๔.๓ ครูจัดกจิ กรรมเพ่มิ เตมิ เช่น ให้นักเรียนแตง่ ประโยค เขยี นเรือ่ งจากภาพ กจิ กรรม
พฒั นาทักษะการคิด เขียนเรียงความ การอ่านเอาเรือ่ ง เปน็ ต้น
๕. โรงเรียนจัดทาแผนซ่อมเสริมนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑–๖ ทกุ คน
ที่มีปัญหาอ่านไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ และดาเนนิ การซ่อมเสริมให้นกั เรยี นอ่านออก เขียนได้ และอ่าน
คล่อง เขียนคล่อง พร้อมทั้งประสานผู้ปกครอง โดยเฉพาะนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑–๖ ให้มี
ส่วนร่วมแก้ไขปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของบุตรหลาน และการสนับสนุนช่วยเหลือนักเรียน
๖. ครผู ู้สอนจดั กิจกรรมที่สง่ เสริมฝึกท่องบทอาขยานภาษาไทยตามหลกั สูตรการศึกษา
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
และบทอาขยานอืน่ ๆตามความเหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน
๗. ครผู ู้สอนจัดกิจกรรมทีพ่ ฒั นาทักษะการคดั ลายมือ และเลขไทยทกุ ระดับชั้น ได้แก่ ตวั หนงั สือ
ของกระทรวงศึกษาธิการ และตวั หนงั สือแบบอาลักษณ์ เป็นต้น

๗.๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ป.๑–ป.๓ ฝึกให้นกั เรยี นคัดลายมือ และเขียนเลขไทยตวั บรรจงเตม็
บรรทัด

๗.๒ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ป.๔–ป.๖ ฝึกให้นกั เรยี นคัดลายมือ และเขียนเลขไทยตวั บรรจงเต็ม
บรรทดั และครึ่งบรรทดั

๘. โรงเรียนจัดกิจกรรมสง่ เสริมนิสยั รกั การอ่านทกุ ระดบั ช้ัน โดยจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทีส่ ่งเสริมให้
นักเรียนมีนิสยั รกั การอ่านด้วยกจิ กรรมที่หลากหลายเช่น กจิ กรรม วางทุกงานอ่านทุกคน ท่องให้
คิดสะกิดให้จา สารานกุ รมอดุ มปญั ญา ยอดนักอ่าน ภาษาไทยวันละคา พาเหรดหนงั สือ ต้นไม้
พูดได้ และสปั ดาห์รกั การอ่าน เป็นต้น

๙. โรงเรียนจัดกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมพัฒนาทกั ษะความสามารถด้านภาษาไทย และกิจกรรม

๑๐. การจัดประสบการณ์ทางภาษาให้กับเดก็ ตั้งแต่ระดับปฐมวยั เพื่อเตรียมความพร้อมดา้ น
ภาษา
๑๑. การประกาศสัตยาบันร่วมกนั เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย เพื่อให้มาตรการและแนวทางการ
ดาเนนิ งานพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น สามารถนาไปสู่การปฏิบตั ไิ ด้อย่างชดั เจน เห็นผลความสาเรจ็
อย่างเป็นรปู ธรรม จึงไดม้ ีการประกาศสตั ยาบัน เพือ่ ยนื ยนั เจตนารมณ์ ทีจ่ ะร่วมมือรว่ มใจในการ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา เพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนให้สูงข้ึน และให้เป็นไป
ตามเป้าหมาย

๒๐
แนวทางการขบั เคลอื่ นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

สว่ นท่ี ๓
วธิ ีการดา้ เนินงาน

เพื่อให้มาตรการและแนวทางการดาเนินงานของสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา สามารถ
นาไปสกู่ ารปฏิบัตไิ ด้อยา่ งชัดเจน เปน็ รูปธรรม โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมตามนโยบาย มาตรการ
และแนวทางการดาเนินงาน เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ จึงมกี ารดาเนนิ การตามข้ันตอน ดงั ต่อไปนี้

ระดบั เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

๑. ประกาศนโยบาย จุดเน้นการดาเนนิ งานด้านการอ่านการเขียนภาษาไทยและนโยบาย
ขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการศึกษาของเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา

๒. จัดทาแผนพัฒนาระยะเร่งด่วน ตามมาตรการเร่งรดั การอ่านการเขียนและการอ่านรู้
เรือ่ ง ๘ ประการ โดยกาหนดเป้าหมายในปี ๒๕๖๔ นกั เรยี นทุกคนในชั้น ป.๑ ต้องอ่านออก เขียนได้
ป.๒ ข้ึนไปต้องอ่านคลอ่ ง เขยี นคลอ่ ง และสื่อสารได้

๓. ประชมุ ชีแ้ จงนโยบาย มาตรการ และแนวทางการขบั เคล่อื นคณุ ภาพการศึกษาของเขต
พนื้ ทีก่ ารศึกษา สร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาในสงั กดั ๑๔๓ แห่ง (๑๔๓ คน)
รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ผู้อานวยการกลุ่มทุกกลุ่ม และศึกษานิเทศก์ (๑๔
คน) และบคุ ลากรในสงั กดั (คร)ู ทกุ คน โดยผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ณ หอประชมุ
เมตตาธรรมและกลุ่มเครอื ขา่ ยโรงเรยี นในสงั กัด

๔. โรงเรียนนานโยบาย มาตรการ และแนวทางการดาเนินงานขับเคลอ่ื นคุณภาพการศึกษา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และคู่มอื การดาเนนิ งานตามนโยบาย และมาตรการ การขบั เคล่อื นคุณภาพ
การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔ นาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนนิ งาน

๕. จัดทาบนั ทึกข้อตกลง และสตั ยาบนั ร่วมกัน เพื่อยนื ยันเจตนารมณ์ ความรว่ มมือในการ
พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา และยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน โรงเรยี นให้สงู ข้ึน และ
เป็นไปตามเป้าหมายทีก่ าหนด

๖. แตง่ ต้ังคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.)
และอนคุ ณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) เพือ่ ลงพืน้ ที่
ตรวจเยี่ยมและให้กาลงั ใจคณะครนู ักเรยี นครบทุกโรงเรียน

๗. สร้างขวัญ และกาลงั ใจ ยกย่องเชิดชเู กียรติ ผู้บริหาร ครู นักเรยี น ๒๑

แนวทแานงวกทาารงขกับาเรคขลับื่อเนคพล่ือฒั นนพาฒัคณุนาภคาุณพกภารพศกึกาษรศากึ ลษ่มุ าสกาลรมุ่ ะสกาารระเกรยีารนเรภู้ยี านษราู้ภไาทษยาไโทรงยเรโียรนงเบรียา้ นจบาา้ ปนานทาอลงอ้ ม

๘. สารวจและจดั ทาฐานขอ้ มลู นักเรียนอ่านไม่ออก เขยี นไม่ได้ และอ่าน
ไมค่ ล่อง เขียนไมค่ ล่อง ทกุ ระดบั ชั้น โดยให้โรงเรียนดาเนนิ การคัดกรอง และจดั กลมุ่
นักเรยี น ๕ ประเภท เพื่อจดั ระบบดูแลนักเรยี นและพัฒนาการอ่านการเขียน ดังภาพ

๑.อ่านไม่ออก รู้จกั นร.รายบุคคล

คัดกรอง/ จัด ๒.เขียนไม่ได้ รู้จัก นร.รายบคุ คล ระบบ
กลุ่ม ๓.อ่านไม่คล่อง รู้จกั นร.รายบคุ คล ดแู ล
๔.เขียนไม่คล่อง รู้จกั นร.รายบุคคล ชว่ ยเหลือ
เครื่องมือ นักเรียน

๕.อา่ นคลอ่ ง รู้จกั นร.รายบุคคล
เขียนคล่องแต่

จบั ใจความไมไ่ ด้

ส่งเสรมิ /พัฒนา
ต่อเนอ่ื ง

ภาพวงจรระบบดูแลช่วยแหลือนกั เรียนดา้ นการอ่านการเขียน สพป.อุดรธานี เขต ๔

๙. สง่ เสริมการจดั การเรียนรู้ โดยให้มีการบูรณาการด้านการอ่านการเขียนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒๒

โดยความร่วมมือของครูทกุ คนในโรงเรยี น
๑๐. เร่งรดั การแกป้ ัญหานักเรียนทีอ่ ่านไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ อ่านไมค่ ล่อง เขียนไมค่ ล่อง โดยให้
โรงเรียนดาเนนิ การอย่างเข้มข้น ดังนี้
๑๐.๑ วิเคราะห์สาเหตุ นกั เรยี นเป็นรายบคุ คล
๑๐.๒ พฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ทีเ่ หมาะสม
๑๐.๓ สอนซ่อมเสริมท้ังในและนอกเวลาเรยี น ช่วงระหว่างปิดภาคเรียน
๑๐.๔ ศึกษา วิจัยในช้ันเรียน
๑๑. ระดมทรัพยากร จากทุกภาคสว่ นเข้ามามีส่วนร่วม ในการพฒั นาสนบั สนนุ การดาเนินการอย่าง
จริงจงั เช่น องค์คณะบคุ คลของเขตพืน้ ที่ หนว่ ยงานภาครัฐ เอกชน องค์การบริหารส่วนจังหวดั

แนวทางการขบั เคลอ่ื นพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

๑๒. สง่ เสริม พฒั นาครู ดา้ นเทคนิค วิธีการสอนให้นักเรยี นอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง ได้แก่
การสอนแบบแจกลกู สะกดคา เร่งพฒั นาทกั ษะด้านการเขียนรูปแบบต่าง ๆ

๑๓. สนับสนนุ ส่อื นวัตกรรมเพื่อแก้ปญั หาการอ่านการเขียน ส่อื สง่ เสริมทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ช้ัน
ป. ๑-๖

- หนงั สือแบบเรียนเรว็ ใหม่
- บัญชีคาพืน้ ฐาน
- สอ่ื เสริมทกั ษะการเรยี นรู้
สาหรบั นกั เรียน ช้ัน ป.๑-๖
- คู่มือสอนแจกลูกสะกดคา ของ สพฐ.

๑๔. กากบั ติดตาม นิเทศ และให้ความชว่ ยเหลือสถานศึกษา อย่างเตม็ พิกดั ทุกโรงเรยี น

๑๕. สร้างขวญั และกาลังใจ มอบป้ายและเกียรติบตั รยกย่องเชิดชูเกียรติ ให้แก่ โรงเรียนที่มีนักเรยี น
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ นักเรยี นอ่านออกเขียนได้ทกุ คนและนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ อ่านคล่อง
เขียนคล่อง รวมถึงครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

๑๖. สง่ เสริมให้โรงเรียนมีการคัดกรองความสามารถด้านการอ่าน การเขียนของนักเรยี น ปี ๒๕๖๔
เป็นระยะ ต่อเนื่อง และนาผลท่ไี ด้มาพัฒนานกั เรียน

- การคดั กรองตามปฏิทินที่ สพฐ.กาหนด จานวน ๒ ครง้ั ดงั นี้

ครงั้ ที่ ระยะเวลา นักเรยี น/ชั้น แบบประเมิน
๑ ภายในวนั ที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๔ ป.๑-๖ ของสานักวิชาการ
และมาตรฐานการศึกษา
๒ ภายในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ป.๑-๖ ของสานักวิชาการ
๒๕๖๔ และมาตรฐานการศึกษา

๒๓
แนวทแานงวกทาารงขกบั าเรคขลบั อื่ เนคพลื่อฒั นนพาัฒคณุนาภคาุณพกภารพศกกึ าษรศากึ ลษุ่มาสกาลรุ่มะสกาารระเกรียารนเรภู้ียานษราู้ภไาทษยาไโทรงยเรโียรนงเบรยีา้ นจบาา้ ปนานทาอลง้อม

ระดับสถานศกึ ษา

๑. นานโยบาย มาตรการและแนวทางการเร่งรัดพัฒนาการอ่านการเขียน ลงสู่การปฏิบัติ กระตุ้นและ
สร้างความตระหนัก การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาจากทกุ ภาคสว่ น
๒. จดั ทาแผนงาน โครงการเพื่อแก้ปญั หาการอ่าน และการเขียนทุกระดบั ช้ัน เช่น การสอนซ่อมเสริมทั้ง
ในและนอกเวลาเรยี น
๓. จัดหาครผู ู้สอนภาษาไทยที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ในการสอน การอ่านและการ
เขียน สาหรบั นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาตอนต้น เช่น ป.๑-๓
๔. ให้ครผู ู้สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เน้นการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนอ่านออก
และเขียนได้ เช่น การสอนแบบแจกลูกสะกดคา ใช้หนงั สือแบบเรียนเร็วใหม่ หนังสือเรียนมานะ มานี และ
หนงั สือเสริมทกั ษะการอ่านการเขียน ทีเ่ ขตพนื้ ทีส่ นบั สนนุ
๕. จัดกระบวนการเรียนรู้ส่งเสริมนักเรยี นทุกคนให้มีความรคู้ วามสามารถด้านภาษาตามมาตรฐานช้ันปี
ช่วงอายุ และศักยภาพ โดยเฉพาะนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ อ่านออกเขียนได้ ป.๒ ข้ันไปอ่านคล่อง
เขยี นคลอ่ ง มีความสามารถด้านการสื่อสาร อ่านรู้เรือ่ ง (อ่านเขา้ ใจ) และมที ักษะดา้ นการเขยี นรปู แบบ
ต่าง ๆ
๖. มีแผนซอ่ มเสริมนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ทุกคนทีม่ ีปญั หาอ่านไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ และ
ดาเนนิ การซ่อมเสริม ให้นกั เรยี นอ่านออก เขียนได้ และอ่านคล่อง เขียนคล่อง
๗. ประสานผปู้ กครอง โดยเฉพาะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ให้มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาอ่านไม่
ออกเขียนไม่ได้ของบตุ รหลาน และสนบั สนุนช่วยเหลือนักเรียน
๘. กากบั ติดตาม นิเทศ และช่วยเหลอื ครภู าษาไทย รวมทั้งให้ครทู กุ คน ทุกกลุ่มสาระมสี ว่ นร่วม
พัฒนาการอ่านออก เขียนได้ และอ่านคล่อง เขียนคล่อง
๙. สถานศึกษาสารวจและรายงานความก้าวหน้าการอ่านออกเขียนได้ และอ่านคล่อง เขียนคล่อง
ต่อสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา ภาคเรียนละ ๑ ครงั้

๒๔
แนวทางการขับเคล่อื นพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

ระดบั สถานศึกษา (ตอ่ )

โรงเรียนบ้านนาลอ้ ม กลุ่มโรงเรียนมหาธาตเุ จดยี ์ อาเภอบ้านผือ จังหวัด อดุ รธานี สังกดั
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔

มีพืน้ ที่เขตบรกิ ารทางการศึกษา จานวน ๒ หมู่บ้าน คือ บ้านนาลอ้ ม หมู่ที่ ๕ และบ้านนาลอ้ ม
น้อย หมู่ที่ ๖ จดั การศึกษาใน ระดับอนุบาล ๒ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

ชื่อผู้บรหิ ารโรงเรียน นายเปรม มีภเู วียง โทร๐๘๙ –๘๔๓๘๕๔๙ จานวนนกั เรยี น ๗๖ คน
ผู้บรหิ าร ๑ คน

ครู ๕ คน ครธู ุรการ ๑ คน ช่างไม้ ๓ จานวน ๑ คน รวมจานวน ๘ คน

๒.๑.๑ ขอ้ มลู หอ้ งเรยี น

ชนั จา้ นวน ชาย หญิง รวม จา้ นวน หมาย

หอ้ ง ครู เหตุ

อนบุ าล ๒ ๑ 3 4 7

อนุบาล ๓ ๑ 2 2 4๑

ป.๑ ๑ 5 4 9

ป.๒ ๑ 0 5 5 ๑

ป.๓ ๑ 6 4 10 1

ป.๔ ๑ 3 2 5

ป.๕ ๑ 2 1 3 ๑

ป.๖ ๑ 4 3 7

รวม ๘ 25 25 50 4

๒๕
แนวทางการขบั เคล่อื นพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

ระดบั สถานศึกษา (ต่อ)

ข้อมลู ครูผ้ภู าษาไทย

ชัน ชื่อ-สกลุ ครสู อน วิชาเอก ประสบการณ์ หมายเลข
ภาษาไทย ภาษาไทย การสอน โทรศัพท์

ป.๑ นางจินตนา โสมาศรี ภาษาไทย(ป)ี
ป.๒ นางสาวรตั ยา ผลเรอื ง
ป.๓ นางจนิ ตนา โสมาศรี ๗
ป.๔ นางสาวรัตยา ผลเรอื ง
ป.๕ นางอถุ าพร คาสนุ ทร ภาษาอังกฤษ ๑
ป.๖ นางอถุ าพร คาสนุ ทร
ภาษาไทย ๗

ภาษาองั กฤษ ๑

คณิตศาสตร์ ปี

คณิตศาสตร์ ปี

๒๖
แนวทางการขับเคล่อื นพฒั นาคุณภาพการศึกษากลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

ระดับสถานศึกษา (ตอ่ )

ข้อมลู ด้านการอ่าน การเขียน
ข้อมูลสรปุ ผลการอา่ น การเขียนจากการประเมินนักเรยี นในระดบั ชัน ป. ๑ – ๖

สรุปการประเมินการอา่ น การเขียน รายบคุ คล ประจ้าปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นบา้ นจา้ ปาทอง เครือข่ายโรงเรยี นน้าโสม

สา้ นกั งานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานีเขต 4
ชนั ประถมศึกษาปีที่ 1

ท่ี ชือ่ -สกลุ ผลการประเมินการอา่ น การเขียน

1 เด็กหญงิ นรินดา ศรีรุ่งรตั นาภา ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
2 เดก็ ชาย วงศกร อาจสมดี
3 เด็กชาย ธนพล ภิญโญ ✓
4 เดก็ ชาย พีรพงศ์ บรู ณเทศะ ✓
5 เดก็ หญงิ ณัฐธดิ า จันทร์แก้ว ✓
6 เด็กหญงิ ปพิชญา ประทุมรตั น์ ✓
7 เดก็ หญงิ กัญญารตั น์ ชัยคา ✓
8 เดก็ ชาย วชั รากร สุครีพ
9 เดก็ ชาย สหรัฐ พิมโสดา ✓

รวม


332 1

๒๗
แนวทางการขบั เคลอื่ นพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

ระดบั สถานศึกษา (ตอ่ )

สรุปการประเมินการอ่าน การเขียน รายบคุ คล ประจา้ ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นบา้ นจ้าปาทอง เครอื ขา่ ยโรงเรยี นน้าโสม

สา้ นกั งานเขตพนื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต 4
ชนั ประถมศึกษาปีที่ ๒

ที่ ชื่อ-สกลุ ผลการประเมินการอา่ น การเขียน

1 เด็กหญงิ จุฑามาศ นิลสนธิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
2 เดก็ หญงิ ปรณี ันญา กุศลช่วย ✓
3 เด็กหญงิ พิมพ์นิภา ชาวสวน ✓
4 เด็กหญงิ ศิรินภาวรรณ ผิวสว่าง ✓
5 เด็กหญงิ อัมพิกา จนั ทรต์ รี ✓

รวม 5

๒๘
แนวทางการขบั เคลือ่ นพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

ระดับสถานศึกษา (ตอ่ )

สรปุ การประเมินการอา่ น การเขียน รายบคุ คล ประจ้าปีการศึกษา 2564
โรงเรียนบ้านจ้าปาทอง เครือข่ายโรงเรียนนา้ โสม

ส้านกั งานเขตพืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานีเขต 4
ชนั ประถมศึกษาปีที่ 3

ท่ี ชื่อ-สกุล ผลการประเมินการอ่าน การเขียน

ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

1 เด็กชาย ทินณภัทร นานาชิน ✓

2 เดก็ ชาย อตเิ ทพ เนตรวงษ์ ✓

3 เดก็ หญงิ นชิ าดา ป้องภกั ดี ✓

4 เดก็ หญงิ สายฝน บุญมา ✓

5 เด็กหญงิ วนั วิสา ม่มกลาง ✓

6 เดก็ หญงิ ปิยะฉัตร แก้วสนั เทียะ ✓

7 เด็กชายกิตตศิ ักดิ์ อรุณภฤการ ✓

8 เด็กชายกฤษฎา อนนั ตภักดี ✓

9 เดก็ ชายกนั ต์กวี ชัยคา ✓

10 เดก็ ชายอศั นัย ชัยฤทธ์ิ ✓

รวม 3 6 - 1

๒๙
แนวทางการขบั เคลอ่ื นพฒั นาคณุ ภาพการศึกษากลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

ระดับสถานศึกษา (ต่อ)

สรุปการประเมินการอา่ น การเขียน รายบคุ คล ประจ้าปีการศึกษา 2564
โรงเรียนบา้ นจ้าปาทอง เครือข่ายโรงเรียนนา้ โสม

สา้ นักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต 4
ชันประถมศึกษาปีที่ 4

ท่ี ชื่อ-สกลุ ผลการประเมินการอ่าน การเขียน

ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง

1 เดก็ หญงิ วาสนา แพงสมศรี ✓

2 เดก็ ชาย ภูรภทั ร บ่วงพิมาย ✓

3 เดก็ ชาย ปรเมศวร์ ประทุมรตั น์ ✓

4 เด็กหญงิ อัฐภิญญา หินชดั ✓

5 เด็กชาย พิชญะ ช่วยนาเขตร์ ✓

รวม 23- -

๓๐
แนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

ระดบั สถานศึกษา (ตอ่ )

สรปุ การประเมินการอ่าน การเขียน รายบุคคล ประจ้าปีการศึกษา 2564

โรงเรยี นบา้ นจ้าปาทอง เครือขา่ ยโรงเรยี นน้าโสม

สา้ นกั งานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต 4
ชันประถมศึกษาปีที่ 5

ที่ ชื่อ-สกุล ผลการประเมินการอ่าน การเขียน
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
1 เดก็ ชายพสธร แทนโนนงิว้
2 เดก็ ชายนันทพงค์ บรุ ะณะ ✓
3 เด็กหญงิ สริ ิรัตน์ คาภา ✓

รวม 11 1

๓๑
แนวทางการขบั เคลอื่ นพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

ระดับสถานศึกษา (ตอ่ )

สรปุ การประเมินการอ่าน การเขียน รายบุคคล ประจา้ ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นบ้านจ้าปาทอง เครือข่ายโรงเรยี นนา้ โสม

ส้านักงานเขตพนื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต 4
ชันประถมศึกษาปีที่ 6

ที่ ชื่อ-สกุล ผลการประเมินการอ่าน การเขียน

1 เดก็ ชาย ทวีโชค บวั ทอง ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
2 เด็กชาย ปิยะราช ปญั ญาดี
3 เด็กชาย อลงกรณ์ แก้วมณีโชติ ✓
4 เดก็ หญงิ อภิชญา ภิญโญ ✓
5 เด็กชาย เจษฎา ผิวสว่าง
6 เด็กหญงิ น้าหนึ่ง บญุ ประเสริฐสกลุ ✓





7 เด็กหญงิ วิริยาภรณ์ แทนโนนงิว้ ✓ -
รวม 43 -

๓๒
แนวทางการขับเคล่ือนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

ระดับสถานศึกษา (ตอ่ )

ข้อมลู รายชื่อนกั เรยี นชันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ที่มีผลการอา่ น การเขียนต้า่ กว่า
มาตรฐาน (เฉพาะการสอบ ๒๕๖4) ( ให้นับตงั้ แตร่ ะดบั ปรบั ปรงุ ปรับปรงุ เรง่ ด่วนและอ่านไมอ่ อก
เขียนไมไ่ ด้ และไมน่ ับรวมเด็กพิเศษ)

ที่ ปัญหาดา้ นการอา่ น ปัญหาด้านการเขียน หมายเหตุ

ระดับชัน ปรบั ปรงุ ปรับปรุง อ่านไม่ ปรับปรงุ ปรบั ปรุง เขียน

เร่งด่วน ออก เร่งด่วน ไม่ได้

๑ ช้ัน ป. ๑ 1 ๐ ๐ 1๐ ๐

๒ ช้ัน ป. ๒ ๐๐ ๐๐

๓ ชั้น ป. ๓ 1 ๐ ๐ 1๐ ๐

๔ ชั้น ป. ๔ ๐๐ ๐๐

๕ ช้ัน ป. ๕ ๐๐ ๐๐

๖ ช้ัน ป. ๖ ๐๐ ๐๐

หมายเหตุ ใหใ้ สจ่ ้านวนนักเรยี นลงในแต่ละช่อง

๓๓
แนวทางการขับเคล่ือนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

ระดับสถานศึกษา (ตอ่ )

ร้อยละของจา้ นวนนกั เรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน
ชันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จา้ แนกตามระดบั คุณภาพ

ชัน ดีมาก(ร้อยละ) ดี(ร้อยละ) พอใช้(ร้อยละ) ปรับปรงุ (ร้อยละ)

การอ่าน การเขียน การอ่าน การเขียน การอ่าน การเขียน การอ่าน การเขียน

ป๑ 33.33 22.22 22.22 11.11 11.11
0 0 0๐ ๐
33.33 33.33 33.33 0 0 10.00
ป๒ 60.00 0 00 10.00
60.00 0
1๐๐.๐๐ 100.00 0 33.33 33.33 33.33 0 0
ป๓ 42.85 0 00 0

3๐.๐๐ ๓๐.๐๐ 60.00
ป๔

40.00 40.00 60.00
ป๕

33.33 33.33 33.33
ป๖

57.14 57.14 42.85

๓๔
แนวทางการขับเคลือ่ นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

บทที่ ๔
แนวทางการพัฒนา

โรงเรียนบา้ นจ้าปาทองพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาไทย ดว้ ยบันได ๕ ขัน ดังนี

บันไดขันที่ ๑ เรยี นรู้พยญั ชนะ สระใหส้ นกุ การสอนภาษาไทยข้ันแรกจะต้องสอนให้เดก็ รู้จัก
พยญั ชนะทั้ง ๔๔ ตวั ก่อน เช่นสอนให้เหน็ รูปโดยครใู ช้ “บัตรพยญั ชนะ” เป็นรายตัว ให้เด็กได้เห็น
รปู รา่ งลกั ษณะของพยญั ชนะแต่ละตัว ( ครอู าจจะใช้วิธเี ขียนพยญั ชนะในกระดาน หรือดูจากบัตรคา
ก็ได)้ เชน่ ก อ่านว่า กอ ข อ่านว่า ขอ สอนพยัญชนะจนครบ นกั เรยี นดูรูปพยัญชนะทีล่ ะตวั แลว้
อ่านออกเสียงตามครู (โดยคัดตัวบรรจงเต็มบรรทดั และลากเสน้ ให้ถูกต้องตามหลักการเขียน
พยัญชนะ) ออกเสยี งดัง ๆ และชดั เจน แลว้ จึงสอนให้รู้จกั สระให้สนกุ สระมีทั้งหมด ๒๑ รปู ๓๒
เสยี ง ต้องสอนให้รู้จัก “รูปและ“เสียง” ของสระแต่ละตวั เริม่ ที่ สระ อะ อา อิ อี ฯลฯ จนครบ โดย
ใช้เพลงประกอบการสอนให้สนกุ

๓๕
แนวทางการขบั เคลื่อนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

แนวทางพัฒนาการเรียนสอนภาษาไทยดว้ ยบนั ได ๕ ขนั
โรงเรียนบ้านจ้าปาทอง(ต่อ)

บันไดขนั ที่ ๒ ฝึกแจกลูก สะกดคา้
การแจกลกู เป็นการแตกแขนงออกไปในการฝึกประสมคา ให้เกิดความคลอ่ งในการ

อ่าน โดยการแจกลูกนั้น จะมี ๒ ลกั ษณะ คือ สว่ นประสมทีค่ งที่และส่วนที่แปรเปลย่ี นไป แล้วแต่
วัตถปุ ระสงค์ในการฝึก เช่น ถา้ ต้องการฝึกคาทีป่ ระสมด้วยสระ -า กใ็ ห้สระ -า เป็นส่วนคงที่ แลว้ ให้แปร
เปลย่ี นตวั พยญั ชนะทีจ่ ะมาประสมไปเรือ่ ยๆ เป็น กา จา ตา อา ขา ชา สา คา นา มา กาง จาน
ตาก ช้าง ฯลฯ

การสะกดค้า คือ การแยกแยะสว่ นประกอบของคาออกมาว่า คานั้น ๆ ประกอบดว้ ย
พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์และตัวสะกด อะไรบ้าง การสอนใหเ้ หน็ รูปโดยครูใช้ “บัตรคา้ ” แล้วฝึกออก
เสียง คาทีต่ ้องการสอน ให้เดก็ ได้เหน็ รปู ร่างลกั ษณะของพยัญชนะ สระ ทีป่ ระสมเป็นคานนั้ ๆ เช่น เดก็ ดู
บตั รคาว่า สะกดคา้ ว่า “ชอ - อา -ชา –ชา- งอ - ชาง - ชาง – โท - ช้าง”
ให้เริม่ ต้นที่การสอนอ่านสะกดคาก่อน เมื่อเหน็ ว่าสามารถอ่านสะกดคาได้ถกู ต้องแลว้ จึงค่อยฝึกให้แจก
ลูก เพื่อให้เกิดความคลอ่ งในการอ่านคาวิธีทีด่ ีทีส่ ุดในการสอนภาษาไทยให้อ่านออกเขียนได้ คือ การสอน
แจกลูก สะกดคา โดยการสอนให้สะกดคาแจกลูกคาในแม่ ก กา ก่อนการสอนอ่านสอนเขียนภาษาไทย

การสอนแจกลกู สะกดค้า
การสอนแจกลกู สะกดคา้ เป็นขั้นตอนทีส่ าคญั ที่สุด ดังน้ันจึงต้องให้เวลากับการสอน
สะกดคาแจกลูกอย่างเตม็ ที่ และสอนตามขั้นตอน อย่าเรง่ รัด อย่ารีบร้อน จนเด็กตามไมท่ นั เพราะจะทา
ให้เกิดปญั หาเดก็ อ่านไมอ่ อกเขียนไมไ่ ด้ในทีส่ ดุ

บนั ไดขนั ที่ ๓ เนน้ ย้า ซา้ ทวน
ครูควรสอนให้ฝึกอ่าน ฝึกเขียน อย่างช้าๆ อย่ารีบร้อน อย่ารวบรัด แตใ่ ห้ฝึก ซ้า ยา้ ทวน

จนเดก็ เข้าใจแม่นยา และม่ันใจ อย่าเอาแต่เวลามาเป็นเกณฑ์ แตใ่ ห้เอาความรู้ความเข้าใจความสามารถ
ของเดก็ เป็นเกณฑ์ แล้ว ฝึก“เขียนตามคาบอก” และ “คดั ลายมอื ” เป็นกิจกรรมที่สามารถใช้ฝึกฝนให้เกิด
ความแม่นยา และคงทนในการอ่านการเขียน จึงควรนามาใช้หลงั การอ่านเขียนสะกดคาแจกลูกทุกครง้ั

๓๖
แนวทางการขบั เคลอื่ นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

แนวทางพฒั นาการเรียนสอนภาษาไทยดว้ ยบนั ได ๕ ขนั
โรงเรียนบ้านจา้ ปาทอง(ต่อ)

บนั ไดขันที่ ๓ เนน้ ย้า ซา้ ทวน สอนให้ฝึกอ่าน ฝึกเขียน อย่างช้าๆ อย่ารีบร้อน อย่ารวบรดั แต่ให้ฝึก
ซ้า ย้า ทวน จนนักเรยี นเข้าใจแม่นยา และมั่นใจ อย่าเอาแต่เวลามาเปน็ เกณฑ์ แตใ่ ห้เอาความรู้ความ
เข้าใจความสามารถของเดก็ เปน็ เกณฑ์
บันไดขันที่ ๔ รู้จักคา้ ฝึกเขียนอ่าน ควรให้เดก็ ฝึกคดั ลายมือ ฝึกเขียนพยัญชนะ สระ คา ประโยค
ข้อความ เขียนเรือ่ งจากภาพ เขียนตามจินตนาการ การฝึกคัดอ่านคาที่เขียนทุกวันจะทาให้เด็กมที กั ษะใน
การคัด อ่าน เขียนภาษไทยไดอ้ ย่างถกู ต้อง
บันไดขันที่ ๕ สร้างผลลงานการแต่งประโยค เมอื่ นักเรียนเขยี นได้อย่างถูกต้องแล้วก็นาไปสู่การแตง่
ประโยค เพือ่ ให้นักเรยี นได้มจี ินตนาการในการแตง่ ประโยค และรู้จักการนาเอาคาหลาย ๆ คามาเรียงต่อ
กันเปน็ กลมุ่ คา เป็นประโยคที่มคี วามหมายถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ทั้งในดา้ นรูปแบบและความหมาย
ทีม่ ีท้ังภาคประธานและภาคแสดง อีกทง้ั ครคู วรจดั ทาสอ่ื ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้เด็กไดเ้ ลน่ ได้
สมั ผสั เช่น บัตรคา บัตรภาพ สอ่ื เกม เพลง ฯลฯ และใช้นาเทคโนโลยีมาประกอบการสอนให้เด็กสนใจ
เรียนภาษาไทยให้เกิดประโยชน์ทาให้เดก็ สามารถอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่องจะทาสามารถ
เรียนรู้วิชาอื่นได้อย่างมคี วามสุข

๓๗
แนวทางการขบั เคล่ือนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

แนวทางพัฒนาเขตพนื ทีก่ ารศึกษาอดุ รธานี เขต ๔

เพือ่ ให้มาตรการ และแนวทางการดาเนินงาน พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น สามารถนาไปสกู่ าร
ปฏิบัติได้อย่างชัดเจน เหน็ ผลความสาเรจ็ เชงิ ประจกั ษ์ ให้โรงเรยี นจัดกจิ กรรมตามแนวทางการ
ดาเนนิ งาน เพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมาย ดังนี้
๑. จดั การเรียนรู้ภาษาไทยให้สอดคลอ้ ง ตรงตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัดของหลกั สตู ร ดว้ ยกจิ กรรมการ
สอนทกั ษะที่สมั พนั ธ์กนั ท้ังดา้ นการฟงั ดู พดู อ่านและเขียนโดยการบรู ณาการเชื่อมโยงกิจกรรมการ
เรียนการสอนให้นักเรยี นฝึกทกั ษะต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
๒. จดั การเรียนรู้ให้นักเรียนอ่านออก เขยี นได้ ดว้ ยวิธีการแจกลกู สะกดคา (ซึ่งมีวิธีสอนหลายรปู แบบ
ครูอาจยึดวิธีใดวิธหี นึ่ง หรือการผสมผสานหลายวิธี จนสามารถทาให้นักเรยี นอ่านออก เขียนได้) สอน
แจกลกู โดยการเทียบเสยี ง สอนให้จาและออกเสียงคา แล้วนารูปคาที่เปรียบเสมอื นแม่มากระจาย
หรือแจกลกู โดยเปลย่ี นพยัญชนะ สระ พยญั ชนะตน้ หรือเปลย่ี นพยญั ชนะท้าย (ตวั สะกด)

สอนสะกดคา โดยการนาพยญั ชนะตน้ สระ วรรณยกุ ต์ และตัวสะกด มาประสมเปน็ คาอ่าน เพื่อ
เปน็ เครือ่ งมือในการอ่านคาใหม่ ซึง่ ต้องให้นักเรยี นสังเกตรูปคา พร้อมกบั การอ่าน การเขียน เมื่อสะกด
คาจนจาคาอ่านได้แล้ว กส็ ามารถอ่านเปน็ คาได้

๓. เร่งรดั การอ่านคล่อง เขียนคล่อง อ่านรู้เรอ่ื ง (อ่านเข้าใจ) และสอ่ื สารได้ โดยวิธีการเพิม่ ขดี
ความสามารถในการอ่าน การเขียนของนักเรยี น ให้ถกู ต้อง แม่นยา รวดเร็ว และมีความเข้าใจในเรื่องที่
อ่าน สามารถอธิบาย ถ่ายทอดเรื่องราว ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ในแตล่ ะระดบั ชั้น)

๔. ฝึกนักเรยี นท่องจากฎเกณฑ์ทางหลกั ภาษาทีต่ ้องรู้ เช่น เสยี งและอักษรไทย (สระ พยญั ชนะและ
วรรณยุกต์) การผนั วรรณยุกต์ ไตรยางค์ หรอื อักษรสามหมู่ รวมถึงกฎเกณฑท์ างภาษาอืน่ ๆ ที่จาเปน็

๔.๑ ครจู ดั กิจกรรมให้นกั เรยี นได้เรยี นรู้ เรื่องรูปและเสยี งอักษรไทย ได้แก่ สระ พยัญชนะ
วรรณยกุ ต์ การอ่านการผนั วรรณยุกต์ ไตรยางศ์ หรืออักษรสามหมู่ (อกั ษรกลาง อักษรสงู และอกั ษร
ต่า)

๔.๒ การจดั การเรียนรู้เร่อื งการอ่าน และเขียนคาภาษาไทยการใช้และกฎเกณฑ์ทางภาษาอืน่ ๆ
เช่น คาควบกล้า อักษรนา คาทีม่ ตี วั การันต์ คาที่มตี วั ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ และอื่น ๆ เป็นต้น

๕. ฝึกเขียนตามคาบอก จากคาพืน้ ฐาน คาในบทเรียน และคาที่นักเรยี นควรรู้ในชีวิตประจาวนั ในแต่
ละระดบั ช้ัน ทุกวัน

๓๘
แนวทางการขับเคลือ่ นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

๕.๑ ฝึกเขียนตามคาบอก จากบัญชีคาพนื้ ฐานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน ระดบั ชนั้ ป.๑-๖ ทกุ ระดับชั้น ทกุ วนั โดยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ วันละ ๑๐-๑๕ คา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖วนั ละ ๑๕-๒๐ คา

๕.๒ ฝึกเขียนคาในบทเรียน คาที่นกั เรียนควรรู้ในชีวิตประจาวนั เพิม่ เติม ทกุ ระดับช้ัน
วนั ละ ๕-๑๐ คา
๖. ฝึกให้นกั เรยี นท่องอาขยานภาษาไทย ท้ังบทหลัก บทเลอื ก และบทเพิ่มเตมิ ทกุ ระดบั ช้ัน

๖.๑ ให้นักเรยี นฝึกท่องอาขยานภาษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยพิจารณาจากบทหลัก บทเลือก ทีก่ าหนดให้ตามความเหมาะสมกับระดับชั้นของ
นักเรยี น

๖.๒ ให้นักเรยี นท่องบทอาขยานเพิ่มเตมิ โดยคัดเลอื กวรรณกรรม บทกวี คาประพนั ธ์ทีม่ ผี ู้
แตง่ ไว้ ให้นักเรยี นท่องเพิม่ เตมิ ได้
๗. ฝึกทกั ษะการคดั ลายมือ การเขียนเลขไทยและแก้ไขปญั หาลายมือนกั เรียนทกุ ระดบั ช้ัน โดย
ฝึกเขียนตวั อักษรไทย ให้ถกู ต้องตามหลักเกณฑ์ อย่างประณีต สวยงาม สะอาด เปน็ ระเบียบ
และอ่านเข้าใจง่าย ดังนี้

๗.๑ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ฝึกคัดลายมือ และเลขไทย ดว้ ยตัวบรรจง เต็มบรรทดั ตาม
รูปแบบของกระทรวงศกึ ษาธิการ

๗.๒ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ฝึกคดั ลายมือและเลขไทย ดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทดั และครง่ึ
บรรทดั ด้วยรูปแบบของกระทรวงศึกษาธิการและรปู แบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม

๗.๓ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑-๓ เน้นย้าเรอ่ื งการเขียนลายมือทีส่ วยงาม ถูกต้อง ตาม
หลักเกณฑ์การเขียน ทั้งตวั เต็มบรรทดั และครึ่งบรรทดั และตวั หวัดแกมบรรจง
๘. ฝึกทักษะการเขียน และเขียนเชงิ สร้างสรรค์ ในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น การเขียนจดบันทึก เขียน
เรือ่ งจากภาพ เขียนเรียงความ ย่อความ คาคล้องจอง เป็นต้น ทุกระดบั ชั้น โดยสอดแทรกทักษะ
การคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ในงานเขยี นทุกชนิด
๙. จดั กิจกรรมส่งเสริมนสิ ยั รกั การอ่าน ทกุ ระดับชั้น โดยจดั กิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้
นกั เรยี นมีนิสัยรกั การอ่าน การศึกษาค้นคว้าที่หลากหลาย ทั้งกิจกรรมตามหลกั สูตร และ
กิจกรรมเสริมหลกั สูตร เช่น ยอดนักอ่าน หนนู ้อยนกั อ่าน Read Thailand (อ่านเถิดเด็กไทย อ่าน
ถวายเจ้าฟ้านกั อ่าน) เป็นต้น

๓๙
แนวทางการขบั เคล่ือนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

โครงการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายของส้านกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ดงั นี

โครงการ : อ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเปน็
วตั ถุประสงค์

๑. เพือ่ สนบั สนุนให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคลอ่ งเขียนคลอ่ ง และรู้เรือ่ งการอ่านตามช่วงวยั
๒. เพือ่ ยกระดบั ผลการทดสอบความสามารถของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) ดา้ นภาษา และการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) วิชาภาษาไทยให้เพิม่ ข้นึ ร้อยละ ๓ จากฐานเดมิ
เปา้ หมาย
๑. เชิงปริมาณ
๑.๑ ร้อยละของนกั เรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคลอ่ งเขียนคลอ่ งเพิ่มขึน้
๑.๒ ผลการทดสอบความสามารถของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ดา้ นภาษา และการทดสอบทาง
การศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) วิชาภาษาไทย เพิม่ ข้นึ ร้อยละ ๓ จากฐานเดมิ
๒. เชิงคุณภาพ

๒.๑ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาดาเนนิ การเร่งรัดพัฒนานกั เรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียน
คลอ่ ง

๒.๒ ศึกษานิเทศก์ผรู้ บั ผิดชอบสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ดาเนนิ การพัฒนารปู แบบวิธกี ารสอน และ
ส่อื /นวัตกรรมดา้ นภาษาไทย และให้ความช่วยเหลอื ครูภาษาไทยให้สามารถจัดการเรียนการสอนการอ่าน
การเขียนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

๒.๓ ครผู ู้สอนภาษาไทยสามารถจัดการเรียนการสอนภาษาไทยอย่างมีประสทิ ธิภาพ เพื่อยกระดบั
ผลการทดสอบความสามารถของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) ดา้ นภาษา และการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาต(ิ O-NET) วิชาภาษาไทยให้เพิม่ ขนึ้

๒.๔ นักเรยี นอ่านออกเขียนได้ อ่านคลอ่ งเขียนคล่องอย่างเหมาะสมตามชว่ งวยั
ตวั ชีวดั ความส้าเร็จ

๑. ร้อยละของนกั เรยี นอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่องเพิม่ ข้นึ
๒. ผลการทดสอบความสามารถของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ดา้ นภาษา และการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติ (O-NET) วิชาภาษาไทย เพิม่ ขึน้ ร้อยละ ๓ จากฐานเดมิ

๔๐
แนวทางการขับเคลอ่ื นพฒั นาคณุ ภาพการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

โครงการตามนโยบายของสา้ นกั งานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔
ดงั นี

โครงการ : อา่ นออก เขียนได้
วตั ถปุ ระสงค์

๑. เพื่อสนับสนนุ ให้นกั เรยี นอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง และรู้เรอ่ื งการอ่านตามชว่ งวัย
๒. เพื่อยกระดับผลการทดสอบความสามารถของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ดา้ นภาษา และการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) วิชาภาษาไทยให้เพิ่มข้นึ ร้อยละ ๓ จากฐานเดมิ
เป้าหมาย
๑. เชิงปริมาณ
๑.๑ ร้อยละของนักเรยี นอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่องเพิม่ ข้นึ
๑.๒ ผลการทดสอบความสามารถของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ด้านภาษา และการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติ (O-NET) วิชาภาษาไทย เพิม่ ข้นึ ร้อยละ ๓ จากฐานเดมิ
๒. เชิงคุณภาพ

๒.๑ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาดาเนนิ การเร่งรัดพัฒนานกั เรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคลอ่ งเขียน
คล่อง

๒.๒ ศึกษานเิ ทศก์ผู้รับผิดชอบสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ดาเนนิ การพฒั นารูปแบบวิธีการสอน และ
สือ่ /นวัตกรรมด้านภาษาไทย และให้ความชว่ ยเหลือครภู าษาไทยให้สามารถจดั การเรียนการสอนการอ่าน
การเขียนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

๒.๓ ครผู ู้สอนภาษาไทยสามารถจดั การเรยี นการสอนภาษาไทยอย่างมีประสทิ ธิภาพ เพื่อยกระดบั ผล
การทดสอบความสามารถของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ดา้ นภาษา และการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ
(O-NET) วิชาภาษาไทยให้เพิม่ ข้ึน

๒.๔ นักเรยี นอ่านออกเขียนได้ อ่านคลอ่ งเขียนคลอ่ งอย่างเหมาะสมตามชว่ งวัย
ตัวชีวัดความส้าเรจ็

๑. ร้อยละของนักเรยี นอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่องเพิ่มข้นึ
๒. ผลการทดสอบความสามารถของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ดา้ นภาษา และการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติ (O-NET) วิชาภาษาไทย เพิม่ ข้ึนร้อยละ ๓ จากฐานเดมิ

๔๑
แนวทางการขับเคล่อื นพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

ส่วนท่ี ๕
การนิเทศติดตามและประเมนิ ผล

เพือ่ ให้การดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา สามารถนาไปสกู่ ารปฏิบัตไิ ด้อยา่ งชัดเจน
เป็นรูปธรรม โรงเรยี นสามารถจดั กจิ กรรมตามนโยบาย มาตรการและแนวทางการดาเนินงาน เพื่อให้
บรรลุเป้าหมายทีว่ างไว้ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ จึงมกี ระบวนการ
นิเทศติดตามและประเมินผล คู่มือนเิ ทศ/เคร่อื งมือนเิ ทศติดตามการดาเนินงานพฒั นาภาษาไทย ปฏิทิน
ดาเนนิ งาน สาหรบั การขบั เคล่อื นคณุ ภาพการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และแจ้งผู้บริหาร ครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา ผู้เกี่ยวข้อง ทกุ ฝ่าย โดยมีประเด็นการนิเทศติดตาม ดังนี้
๑. ประเด็นการเตรียมความพรอ้ มเปิดภาคเรยี น

๑.๑ ดา้ นกายภาพ
๑.๒ ดา้ นครผู ู้สอน
๑.๓ ดา้ นเอกสารหลักฐานสถานศึกษา
๑.๔ ดา้ นการขับเคล่อื นคณุ ภาพการศึกษา
๒. ประเดน็ การนเิ ทศติดตามนโยบาย มาตรการ และแนวทางการดา้ เนนิ การขับเคลือ่ น
คุณภาพการศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ปีการศึกษา ๒๕๖๔
๒.๑ สง่ เสริมให้นกั เรยี นอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง อ่านรู้เรื่อง (อ่านเข้าใจ) สามารถ
ส่อื สาร และแสดงทรรศนะ (ความเหน็ ) ได้
๒.๒ สง่ เสริมนกั เรยี นให้ท่องจากฎเกณฑ์ทางภาษาที่ต้องรู้ เช่น เสยี งและอกั ษรไทย (สระ พยัญชนะ
และวรรณยุกต์) การผันวรรณยกุ ต์ ไตรยางศ์ (อกั ษรสามหมู่) รวมถึงกฎเกณฑ์ทางภาษาอื่น ๆ ที่จาเป็น
๒.๓ ส่งเสริมการอ่าน การเขยี น เรียนรู้คาและความหมาย จากคาพนื้ ฐาน คาในบทเรียน คาที่
นกั เรยี นควรรู้ คาในชีวิตประจาวนั เช่น ฝึกเขียนตามคาบอก ฝึกเขียนคายาก คาที่มกั เขียนผิด คาศพั ท์
บัญญตั ิต่าง ๆ เป็นต้น
๒.๔ สง่ เสริมให้นักเรยี นท่องอาขยานภาษาไทยท้ังบทหลัก บทเลอื ก หรือบทเพิม่ เตมิ ทุกระดบั ชั้น
๒.๕ สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการ เรือ่ ง ศาสตร์พระราชา ในการจดั กิจกรรมการเรียน
การสอนภาษาไทย ทกุ ระดับชั้น
๒.๖ สง่ เสริมพฒั นาทกั ษะการเขียนลายมือ การเขียนเลขไทยและแก้ไขปัญหาลายมือนักเรียนทุก
ระดบั ช้ัน
๒.๗ สง่ เสริมการฝึกทกั ษะการเขียนและเขียนเชิงสร้างสรรค์ ในรปู แบบต่าง ๆ เช่น เขียนจดบันทึก
เขียนเรือ่ งจากภาพ เขียนเรียงความ ย่อความ เขียนแสดงความคิดเห็น เขียนคาคล้องจอง คาประพนั ธ์
ทุกระดับชั้น
๒.๘ สง่ เสริมการจดั กิจกรรมสง่ เสริมนิสยั รกั การอ่าน การศึกษาค้นคว้าทุกระดับช้ัน เช่น
การศึกษาค้นคว้าสารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน การสง่ เสริมให้มมี มุ รักการอ่านในห้องเรียน เปน็ ต้น ๔๒

แนวทางการขบั เคลอ่ื นพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

๒.๙ สง่ เสริมการเรียนรู้ทักษะอาชีพ โดยบรู ณาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย ทุก
ระดับชั้น

๒.๑๐ สง่ เสริม สนับสนนุ นักเรยี นให้เข้าร่วมประกวด แข่งขัน ทักษะทางวิชาการ ดา้ นภาษาไทย
ในระดับตา่ ง ๆ อย่างหลากหลาย

๒.๑๑ ส่งเสริมให้ครูใช้กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ในการแก้ปัญหา
พัฒนา การเรยี นการสอนภาษาไทย

กระบวนการนิเทศติดตามและประเมินผล

สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔ ได้กาหนดแนวทางในการ
พัฒนาการอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และสอ่ื สารได้รวมทั้งยกผลสัมฤทธิท์ างการ
เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้สงู ขึน้ ซึ่งเป็นการดาเนนิ การเพือ่ สง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพ
การจัดการเรียนการสอนกลมุ่ สาระภาษาไทยดว้ ยวิธีการเชิงระบบ ท้ังนกี้ ารดาเนนิ งานตามนโยบาย
มาตรการ จดุ เน้น จะสาเร็จตามเป้าหมายด้วยการนิเทศติดตาม ส่งเสริมสนบั สนุน อานวยความ
สะดวกในการดาเนนิ งาน จึงไดม้ ีรปู แบบและกระบวนการในการนิเทศทีช่ ดั เจน เป็นรูปธรรม โดยใช้
รูปแบบในการพฒั นาภาษาไทย ดว้ ย ๘ กลยุทธ์ ๖ ยุทธวิธี ๔ ข้ันตอน

๔๓
แนวทางการขบั เคล่ือนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

โดยน้าเสนอเป็นแผนภาพ ดังนี กลยทุ ธท์ ี่ ๑ สรา้ งความตระหนกั
สพป.อุดรธานี เขต ๔ ปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ด้วย ๘ กลยุทธ์ ๖ ยุทธ ิวธี กลยุทธท์ ี่ ๒ ขอ้ มูลสารสนเทศครบ
กลยุทธ์ที่ ๓ มีกระบวนการทีด่ ี
๔ ัขนตอน กลยทุ ธท์ ี่ ๔ มเี ครือขา่ ย
รว่ มพฒั นา
รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนา ุคณภาพการอ่านการเขียน ๘ กลยุทธ์ กลยุทธท์ ี่ ๕ น้าพานวตั กรรม
กลยทุ ธ์ที่ ๖ ดา้ เนนิ การตอ่ เนอ่ื ง
แผนภาพท่ี ๑
กลยุทธ์ที่ ๗ ร่วมชื่นชมยินดี
กลยทุ ธ์ที่ ๘ เผยแพร่และประชาสมั พันธ์

๔๔
แนวทางการขับเคล่ือนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

สพป. ุอดรธานี เขต ๔ ปลอด ันกเรียน ่อานไ ่มออกเ ีขยนไ ่มไ ้ด ด้วย ๘ กล ุยท ์ธ ๖ ุยทธวิ ีธ ๔ วิธีที่ ๑ การนิเทศโดยการฝึกอบรม

ขันตอน วิธีที่ ๒ การนิเทศโดยใชส้ ื่อเอกสารการนิเทศ
วิธที ี่ ๓ การนิเทศโดยสือ่ อีเล็กทรอนิกส์
รูปแบบการนิเทศเ ่ืพอ ัพฒนา ุคณภาพการอ่านการเ ีขยน
วิธีที่ ๔ การนเิ ทศภายใน
๖ ุยทธวิ ีธ
แผนภาพที่ ๒ วิธที ี่ ๕ การนิเทศโดยใชเ้ ครือข่าย
ร่วมพัฒนา

วิธที ี่ ๖ การนิเทศโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
(PLC)

๔๕
แนวทางการขบั เคล่อื นพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

สพป. ุอดรธา ีน เขต ๔ ปลอดนักเรียน ่อานไม่ออกเขียนไม่ไ ้ด ๘ กลยุทธ์ ๖ ยุทธ ิวธี ๔ ้ขันตอน

ูรปแบบการนิเทศ ๔ ้ัขนตอน เพื่อพัฒนาการ ิวจัยป ิฏบั ิตการ (Action Research)
๔ ้ัขนตอน

แผนภาพท่ี ๓
ข้นั ที่ ๑ การวางแผน (Plan)
ข้ันที่ ๒ การปฏิบตั ิ (Action)

ขน้ั ท่ี ๓ การสังเกตและประเมินผล
(Observe)

ข้ันท่ี ๔ การสะท้อนผลการปฏบิ ตั ิ
(Reflex)

๔๖
แนวทางการขบั เคลือ่ นพฒั นาคณุ ภาพการศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

รปู แบบการนิเทศเพือ่ พฒั นาการอ่านการเขียน หมายถึง วธิ กี ารที่ผู้นิเทศนาไปช่วยเหลอื แนะนาเพื่อพฒั นา
คุณภาพการจัดการเรียนการรู้ ใหก้ บั ครูผู้สอนเพือ่ นาไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหน้ ักเรียนอ่าน
ออกเขียนได้ ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาภาษาไทย ด้วย ๘ กลยทุ ธ์ ๖ ยทุ ธวิธี ๔ ข้ันตอน อธบิ าย
ได้ดงั นี้

๘ กลยุทธ์ หมายถงึ กลยุทธ์การพฒั นาคณุ ภาพครสู ู่คณุ ภาพผู้เรียน นกั เรียนอ่านออก
เขียนได้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาภาษาไทยสงู ขนึ้ ๘ กลยทุ ธ์ ดงั น้ี

กลยทุ ธ์ที่ ๑ สร้างความตระหนัก หมายถึง การแจ้ง ประชาสมั พันธ์ บอกเล่า ประชุม
ปลูกจติ สานึกท่ดี ี ให้เหน็ ความสาคัญในนโยบาย กลยทุ ธ์ จดุ เน้น ดา้ นการส่งเสริมการอ่าน ให้เห็น
คุณค่าของของภาษาไทย การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง บนพืน้ ฐานการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่อง
เขียนคล่อง อ่านจบั ใจความสาคญั สกู่ ารคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ทาให้ครูและบคุ คลที่
เกย่ี วข้องรู้ เขา้ ใจ ปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ อย่างจริงจงั และต่อเนือ่ ง
กลยทุ ธ์ที่ ๒ ข้อมลู สารสนเทศครบ หมายถึง การทาให้มีขอ้ มลู รอบดา้ นของบุคคลที่เกีย่ วข้อง
กบั บทบาทหน้าที่ เช่น ครูมขี ้อมูลของนักเรียนทกุ คนอย่างละเอียด ผู้บริหารโรงเรียนรู้ขอ้ มลู ครูทกุ
คน ศึกษานิเทศก์รู้ขอ้ มลู ผบู้ รหิ ารโรงเรียนและครูครบทุกคน เป็นต้น
กลยทุ ธท์ ี่ ๓ มีกระบวนการทีด่ ี หมายถึง การที่ครูมีแผนและวิธกี ารสอนทีต่ รงกบั ความ
แตกต่างความตอ้ งการและศักยภาพของผู้เรยี น หรือผู้บรหิ ารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ มีแผนและ
วิธกี ารนิเทศที่สนองความแตกต่างความตอ้ งการและศกั ยภาพของครผู ู้สอน นักเรียนมีวิธีการ
เรียนรู้ทีส่ นองตอบการทางานของสมอง เปน็ ต้น

กลยุทธ์ที่ ๔ มีเครอื ขา่ ยรว่ มพฒั นา หมายถึง การดาเนนิ การจากข้อมลู ในกลยทุ ธ์ที่
2 มาดาเนินการจัดระบบให้ขับเคลอ่ื นไปอย่างเหมาะสม ตามสภาพบรบิ ทของโรงเรียน มี
ประสิทธิผล และเกิดประสิทธิภาพโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพฒั นา ทั้ง ๒ ระบบ คือ ระบบการ
การเรียนการสอน และระบบการนิเทศ เป็นต้น

กลยุทธท์ ี่ ๕ น้าพานวตั กรรม หมายถงึ การดาเนินการให้มเี คร่อื งมอื คู่มือ เทคนิค
วิธีการ รปู แบบพัฒนาวิธปี ฏิบตั ทิ ี่ดีทีเ่ ปน็ แบบอย่างไดเ้ พื่อให้ผู้ท่เี กี่ยวข้องกับการพฒั นาคุณภาพ
การเรียนการสอนภาษาไทยได้นาไปใช้พัฒนาเป้าหมายคือ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของ
นกั เรยี น

กลยทุ ธท์ ี่ ๖ ดา้ เนนิ การต่อเนอ่ื ง หมายถึง การดาเนนิ การพัฒนาครู พฒั นาผู้เรียนอย่าง
ต่อเนือ่ งดว้ ยรปู แบบ กระบวนการที่ดี มีเครือข่ายพฒั นาตอ่ เนือ่ ง ครมู คี ณุ ภาพ โรงเรียนยกระดบั
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรียนได้เป็นผลสาเร็จ ได้

๔๗

แนวทางการขับเคล่ือนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง


Click to View FlipBook Version