The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เแนวทางขับเคลื่อนภาษาไทย ปี 2564 โรงเรียนบ้านจำปาทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jintana Bunma, 2022-05-09 00:31:17

เแนวทางขับเคลื่อนภาษาไทย ปี 2564 โรงเรียนบ้านจำปาทอง

เแนวทางขับเคลื่อนภาษาไทย ปี 2564 โรงเรียนบ้านจำปาทอง

กลยทุ ธท์ ี่ ๗ รว่ มชื่นชมยินดี หมายถึง การดาเนินการยกย่อง ชมเชย ร่วมช่นื
ชม ร่วมยินดีกบั ผลสาเร็จที่เกิดมอบ โล่ รางวัล เกยี รติบตั ร แก่ครู นักเรียน โรงเรียน และ
ผเู้ ก่ยี วข้องทีด่ าเนินการได้ดี นกั เรียนอ่านออกเขียนได้ สามารถยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนสาระภาษาไทยได้เปน็ ผลสาเรจ็

กลยทุ ธท์ ี่ ๘ เผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์ หมายถึง การดาเนินการให้ครู
นักเรียนโรงเรียน ผเู้ กย่ี วข้องทีส่ ามารถยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนได้
เป็นผลสาเรจ็ ได้นาผลงานมาแสดงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับโรงเรียนอื่นๆ ในรูปแบบ
เอกสาร การจัดนิทรรศการ เป็นต้น

๖ ยทุ ธวิธี หมายถึง วิธกี ารหรือกิจกรรมการนิเทศ ๖ วิธี ดังนี้
ยทุ ธวิธี ๑ การนิเทศโดยการฝึกอบรม หมายถงึ การนิเทศทางตรงท่ผี ู้นิเทศใช้

ในการนิเทศในกรณีทีม่ ีผู้รบั การนิเทศที่มีความต้องการในการนิเทศในเรื่องเดียวกนั
ยทุ ธวิธี ๒ การนเิ ทศโดยใช้สื่อเอกสารการนิเทศ หมายถึง การนิเทศ

ทางไกล ทีอ่ าศยั เอกสารการนิเทศต่าง ๆ ทผ่ี นู้ ิเทศสร้างขนึ้ จดั หาส่งไปให้ที่โรงเรียน
ยทุ ธวิธี ๓ การนิเทศโดยสอ่ื อีเลก็ ทรอนิกส์ หมายถึง การนิเทศทางไกล โดยผู้

นิเทศใช้ โทรศพั ท์ การสนทนาแลกเปลีย่ นผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในโปรแกรมต่าง ๆ
เปน็ ต้น

ยทุ ธวิธี ๔ การนเิ ทศภายใน หมายถึง กระบวนการทางานร่วมกนั ของ
บคุ ลากรภายในประกอบด้วยผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูผสู้ อนในโรงเรียน เพือ่ ปรับปรงุ
ส่งเสริมประสิทธิภาพในด้านการเรียนการสอนให้ดีขึน้ รวมท้ังให้ครูเกดิ ความก้าวหน้าใน
วิชาชพี และก่อให้เกิดผลข้ันสดุ ท้าย คอื คุณภาพของผเู้ รียน

ยุทธวิธี ๕ การนิเทศโดยใช้เครือข่ายรว่ มพัฒนา หมายถึง การนิเทศที่
ศึกษานิเทศก์ และ กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน ทง้ั ๑๓ กลุ่มเครือข่าย ร่วมมือกันพัฒนา
คณุ ภาพครู คณุ ภาพผู้เรียน

ยุทธวิธี ๖ การนิเทศโดยการแลกเปลี่ยนเรียนร(ู้ PLC) หมายถึง การนิเทศใน
ลักษณะของการส่งเสริมสนบั สนนุ ให้กบั โรงเรียนทีป่ ระสบผลสาเรจ็ ในการพฒั นาคุณภาพ
การเรียนการสอนภาษาไทยดีเด่นประสบผลสาเรจ็ และสถานศึกษาที่นักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนหรือผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียนระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐานสูง ได้นาเสนอผล
การดาเนินงานที่ประสบผลสาเร็จในแต่ละปี กับโรงเรียนทวั่ ไปได้แลกเปลีย่ นเรียนรู้ซึ่งกนั
และกันท้ังในระดบั กลุ่มเครือข่าย ระดบั เขตพ้ืนท่ี ระดบั ภาค ระดบั ประเทศ เปน็ ต้น

๔๘

แนวทางการขบั เคลือ่ นพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

๔ ขนั ตอน หมายถึง ขันตอนของการวิจยั ปฏิบัตกิ าร (Action Research) ดังนี
ขันที่ ๑ การวางแผน (Plan) หมายถึง การเตรียมการจดั การเรียนรู้ของครูผู้สอน

การเตรียมการนิเทศของศึกษานิเทศก์
ขันที่ ๒ การปฏิบัติ (Action) หมายถึง การนาแผนทีว่ างไว้ในข้ันตอนที่ ๑ ไปสู่การปฏิบตั ิ

อย่างเปน็ ระบบ
ขนั ที่ ๓ การสังเกตและประเมินผล (Observe) หมายถงึ การกากับติดตาม และ

ประเมินผลการจัดการเรียนรู้สาระภาษาไทยของผู้สอนโดยการนิเทศภายในของผู้บรหิ ารโรงเรียน
สังเกตการณ์พฤติกรรมการอ่านการเขียนและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนโดยครผู ู้สอน
ภาษาไทย สงั เกตและประเมินผลการจดั การเรียนรู้ของครูผู้สอนภาษาไทย จานวน ๒๖โรงเรียน โดย
ศึกษานิเทศก์

ขนั ที่ ๔ การสะทอ้ นผลการปฏิบตั ิ (Reflex) หมายถึง การนาผลการสงั เกตผล
การประเมินในขน้ั ตอนที่ ๓ มาวิเคราะห์ สรุปผลและสะท้อนผลการปฏิบตั ิร่วมกันระหว่างครู ผู้บริหาร
และศึกษานิเทศก์ เพื่อปรับปรุงพัฒนาและนาไปวางแผนการดาเนนิ งานในครงั้ ต่อไป

๑. การเตรียมความพรอ้ มเปดิ ภาคเรียน กิจกรรมการนิเทศ
๑.๑ ด้านกายภาพ

๑.๒ ดา้ นครผู ู้สอน

๑.๓ ดา้ นเอกสารหลกั ฐานสถานศึกษา

๑.๔ ดา้ นการขับเคล่อื นคณุ ภาพการศึกษา

๒. นโยบาย มาตรการ และแนวทางการด้าเนินการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา

๔๙
แนวทางการขับเคล่อื นพฒั นาคณุ ภาพการศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

ภาคผนวก

Udon4 5G MODEL

๕๐
แนวทางการขบั เคลอื่ นพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

จุดเน้นพัฒนาคุณภาพการศึกษา สพป.อุดรธานี เขต ๔

การนิเทศบรู ณาการโดยใช้พืนทีเ่ ป็นฐาน เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
สา้ นกั งานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔
ปีการศกึ ษา ๒๕๖4

---------------------------------------------------------------------
หลกั การและเหตุผล

ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีกระบวนการสู่ความสาเร็จ ๓ กระบวนการ คือ
กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ซึ่งกระบวนการนิเทศ
การศึกษา เปน็ ภารกิจจาเป็นต่อการจดั การศึกษาที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ทางการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน บคุ ลากรทีเ่ กี่ยวข้องในหน่วยงานจัดการศึกษาจาเป็นต้อง
พฒั นาและปรบั ปรุงตนเองให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง
การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือ ชี้แนะและพัฒนางานให้ประสบ
ความสาเร็จ ทันต่อสภาพความเปลย่ี นแปลงที่เกิดขนึ้ อีกทั้งเป็นองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยเหลือสนับสนุนให้
กระบวนการบรหิ าร และกระบวนการเรียนการสอน ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของประเทศ

การนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน เป็นแนวทางหนึ่งของการนิเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับ
สภาวการณ์ทางการศึกษาในปัจจบุ นั โดยมุ่งเนน้ กระบวนการนิเทศอย่างเป็นระบบ สามารถพัฒนา ส่งเสริม
และสนับสนุนผู้บริหาร ให้สามารถนิเทศภายในได้อย่างเป็นระบบ ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการ
เรียนรู้ ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสอดคล้องกับ เป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียนตามนโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ด้านคณุ ภาพการศึกษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

วตั ถปุ ระสงค์

๑. เพื่อนิเทศการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับกลุ่มเครือข่ายโรงเรียน ระดับ

โรงเรยี น ในการแนะนาช่วยเหลือ การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของทกุ โรงเรยี นที่อยใู่ นสงั กดั

๒. เพือ่ พัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียน ให้เปน็ “การนิเทศภายในเปน็ โรงเรียนยคุ ใหม่ หัวใจ

ห้องเรียนคุณภาพ”

เป้าหมาย

เชิงปรมิ าณ

๑. ร้อยละของสถานศึกษาทีไ่ ด้รบั การนิเทศบรู ณาการ ตามขอบขา่ ยเนือ้ หา ๕ นโยบาย ๑๐ จุดเน้น

๒. ร้อยละของสถานศึกษาทีม่ ีการนิเทศภายในอย่างเปน็ ระบบ

๓. ร้อยละของผู้มีส่วนเกีย่ วข้องกับการนิเทศบูรณาการโดยใช้พืน้ ทีเ่ ปน็ ฐาน

๔. ร้อยละของผู้บรหิ ารโรงเรียน และครู ผู้รับการนิเทศ ๕๑

แนวทแานงวกทาารงขกับาเรคขลบั อื่ เนคพล่อืัฒนนพาัฒคุณนาภคาณุพกภารพศกึกาษรศากึ ลษุ่มาสกาลรุ่มะสกาารระเกรยีารนเรู้ภยี านษราูภ้ ไาทษยาไโทรงยเรโยีรนงเบรยีา้ นจบาา้ ปนานทาอลง้อม

นโยบาย จุดเน้นพัฒนาคุณภาพการศึกษา สพป.อุดรธานี เขต ๔

การนิเทศบรู ณาการโดยใช้พืนทีเ่ ป็นฐาน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษา

สา้ นักงานเขตพนื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

---------------------------------------------------------------------

๑๐ จุดเนน้ ประกอบด้วย

จุดเน้นที่ ๑ สถานศึกษาเสริมสร้างความมนั่ คงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

อนั มีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข

จุดเน้นที่ ๒ สถานศึกษาปลูกฝังผู้เรยี นดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทีพ่ ึงประสงค์

จดุ เน้นที่ ๓ สถานศึกษาเสริมสร้างความเข้มแขง็ ในการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพด้วยการปรับ

หลกั สตู รการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม

จุดเน้นที่ ๔ สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพกระบวนการเรยี นรู้

จดุ เน้นที่ ๕ สถานศึกษาสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขนั

จุดเน้นที่ ๖ พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน

จุดเน้นที่ ๗ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มี

ศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม นา Digital Technology มาใช้ในการบรหิ ารและการ จดั การเรียนรู้

จุดเน้นที่ ๘ สถานศึกษาลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา

จดุ เน้นที่ ๙ สถานศึกษาสรา้ งความเข้มแข็งของระบบการนิเทศภายใน

จุดเน้นที่ ๑๐ โรงเรียนแห่งความสุข

โดยมีรายละเอียด แนวทางการด้าเนนิ งานของโรงเรยี น และตัวชีวัดความสา้ เรจ็ ดา้ นภาษาไทย ดงั นี

จดุ เน้นที่ ๔ สถานศกึ ษาพฒั นาคุณภาพกระบวนการเรยี นรู้

แนวทางการด้าเนนิ งานของโรงเรยี น

ขอ้ ๒. ส่งเสริมสนบั สนุนให้ผเู้ รียนสามารถอ่านออก เขยี นได้ตามช่วงวัย

ข้อ ๓. สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ผู้เรยี นมีนิสยั รักการอ่าน

ข้อ ๔. สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบตั ิจริง (Active

Learning) เน้นทกั ษะการคิดวิเคราะห์คิดแก้ปญั หา และคิดสร้างสรรค์ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ังในและ

นอกห้องเรียน

ตวั ชีวัดความส้าเร็จ

ตัวช้วี ดั ที่ ๒. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรยี นมีทักษะ การอ่าน การเขยี น ผ่านเกณฑ์ในระดับดขี ้ึนไป

ตัวช้ีวัดที่ ๓. ร้อยละ ๑๐๐ ของครูจัดกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน

ตัวช้ีวัดที่ ๔. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรยี นมีทักษะการคิดวิเคราะห์คิดแก้ปัญหา และคิด

สร้างสรรค์จากการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบตั จิ ริง ผ่านเกณฑ์ในระดับดขี นึ้ ไป ๕๒

แนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

นโยบาย จุดเน้น ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั พืนฐาน
และนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ

การขับเคลอ่ื นนโยบาย จุดเน้น สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และนโยบาย

กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สนองตอบนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ 12

ขอ้ และ Quick win 7 ขอ้ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบาย การจดั การ

ศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 ฉบับลงวนั ที่ 25 มิถนุ ายน

2564 และประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง นโยบายและจดุ เนน้ ของ

กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ลงวนั ที่ 29 ตลุ าคม 2564 ทีเ่ กี่ยวข้อง

กับการจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน “สพฐ.วิถีใหม่ วิถี

คุณภาพ โดยใช้พนื้ ที่เป็นฐาน นวตั กรรมขบั เคลอ่ื น” มีองค์ประกอบ 4 ดา้ น คือ ดา้ นความปลอดภัย

ด้านโอกาส ด้านคณุ ภาพ และ ด้านประสิทธภิ าพ และ สพฐ. ได้กาหนดจดุ เน้น

ในการดาเนนิ งาน 9 จดุ เน้น ได้แก่

จดุ เน้นที่ 1 เร่งแก้ปัญหากลมุ่ ผู้เรียนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ

โรคโควิด – 19 โดยเพิ่มโอกาสในการเข้าถงึ การศึกษา ฟืน้ ฟภู าวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning

Loss Recovery) ให้กับผู้เรียนทกุ ระดับ รวมท้ังลดความเครยี ดและสขุ ภาพจิตของผู้เรยี น

จุดเน้นที่ 2 เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยนักเรยี น ดว้ ยระบบ

มาตรฐานความปลอดภยั กระทรวงศึกษาธิการ (MOE Safety Platform)

จดุ เน้นที่ 3 สง่ เสริมให้เด็กปฐมวยั ที่มีอายุ 3–6 ปี และผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

เข้าถงึ โอกาสทางการศึกษา และป้องกันการหลุดออกจากระบบ รวมทั้งช่วยเหลอื เดก็ ตกหลน่ เดก็

ออกกลางคัน และเด็กพิการทีค่ ้นพบจากการปกั หมุดบ้านเด็กพิการให้กลบั เข้าสู่ระบบการศึกษา

จดุ เน้นที่ 4 พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาทีเ่ น้นสมรรถนะและการจัดทากรอบหลกั สูตร

รวมทั้งจัดกระบวนการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ หน้าทีพ่ ลเมืองและศีลธรรม ให้เหมาะสมตามวยั ของ

ผู้เรียน

จุดเน้นที่ 5 จัดการอบรมครูโดยใช้พนื้ ทีเ่ ปน็ ฐาน ควบคู่กับการให้ความรดู้ า้ นการวางแผน

และการสร้างวินยั ดา้ นการเงินและการออม เพื่อแก้ไขปัญหาหนสี้ นิ ครู

จดุ เน้นที่ 6 สง่ เสริมการจดั การเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรยี นมีส่วน

ร่วมและมปี ฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบตั ทิ ี่หลากหลายรปู แบบ (Active Learning)

มีการวดั และประเมินผลในช้ันเรียน เพือ่ พฒั นาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรยี น (Assessment for

Learning) ทุกระดบั

จุดเน้นที่ 7 ยกระดบั คุณภาพของนักเรยี นประจาพักนอน สาหรับโรงเรียนที่อยู่ในพนื้ ทีส่ ูง

ห่างไกล และถิ่นทุรกนั ดาร

จดุ เน้นที่ 8 มุ่งเนน้ การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่อื การเรียนรู้ทกุ ระดับ

จดุ เน้นที่ 9 เพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการศึกษา โดยการกระจายอานาจและใช้พืน้ ที่

เปน็ ฐานเพื่อสร้างความเข้มแข็ง โดยการจดั สรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Block Grant) ตามหลกั ธรร

มาภบิ าลให้กบั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาและสถานศึกษา ๕๓

แนวทางการขบั เคลือ่ นพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบ้านจาปาทอง

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

๕๔
แนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

๕๕
แนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

๕๖
แนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

๕๗
แนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

๕๘
แนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

๕๙
แนวทางการขบั เคลื่อนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบ้านนาล้อม

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

๖๐
แนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

๖๑
แนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

นโยบายของส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

๖๒
แนวทางการขบั เคล่ือนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

นโยบายของสา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

๖๓
แนวทางการขบั เคลอ่ื นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

นโยบายของสา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

๖๔
แนวทางการขบั เคลอ่ื นพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

๖๕
แนวทางการขบั เคลอ่ื นพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

นายยงยทุ ธ แพงน้อย
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งทอง
รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านจาปาทอง

๖๖
แนวทางการขบั เคล่ือนพฒั นาคุณภาพการศึกษากลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นบ้านจาปาทอง

แบบนเิ ทศตดิ ตาม
การยกระดบั คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย

๖๗
แนวทางการขับเคลอ่ื นพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนบา้ นจาปาทอง

คณะกรรมการจัดทา้

ทีป่ รึกษา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งทอง
รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านจาปาทอง
๑. นายยงยุทธ แพงน้อย ประธานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
๒. นายทองสน คาภา

คณะทา้ งาน

๑. นายยงยทุ ธ แพงน้อย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งทอง ประธานกรรมการ

รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านจาปาทอง

๒. นางอถุ าพร คาสุนทร ครูชานาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวเกษวลี ป้องศิริ พนักงานราชการ กรรมการ

๔. นางสาวรตั ยา ผลเรอื ง ครู กรรมการ

๕. นางจินตนา โสมาศรี ครู กรรมการและเลขานุการ

๖. นางสาวธนธรณ์ ตาธุวัน ครธู ุรการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ปกและรปู เลม่ ครโู รงเรียนบ้านจาปาทอง

๑. นางจินตนา โสมาศรี

ผูจ้ ัดพิมพ์ ครโู รงเรยี นบ้านจาปาทอง

๑. นางจินตนา โสมาศรี

๖๘
แนวทางการขบั เคลอื่ นพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นบา้ นจาปาทอง

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

เอกสารวิชาการที่ ๒ /๒๕๖๔
โรงเรยี นบา้ นจ้าปาทอง กลุม่ เครอื ขา่ ยโรงเรยี นน้าโสม
สา้ นักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต ๔

สา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ


Click to View FlipBook Version