The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มนโยบาย สพฐ.ปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nutty on tour, 2019-11-30 03:24:31

เล่มนโยบาย สพฐ.ปี 2562

เล่มนโยบาย สพฐ.ปี 2562

นโยบาย

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

Office of the Policy Fiscal Year 2019

Basic Education Commission

นโยบาย

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

จดั พมิ พ์โดย กลุ่มวิจัยและพัฒนานโยบาย
สำ�นักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ปีทพี่ ิมพ์ พ.ศ. ๒๕๖๒

จ�ำ นวนพมิ พ์ ๓๕,๐๐๐ เลม่

พมิ พท์ ่ี โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กัด
๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร
กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสวุ รรณ ผพู้ มิ พ์ผู้โฆษณา

คำ�นำ�

สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานได้ตระหนักถงึ ภารกิจ
ท่ีสำ�คัญในการพัฒนาประชากรของชาติให้เป็น “คนไทยในอนาคตจะต้อง
มคี วามพร้อมท้ังกาย ใจ สติปญั ญา มีพฒั นาการทด่ี ีรอบดา้ นและมสี ขุ ภาวะท่ดี ี
ในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม
โอบออ้ มอารี มวี นิ ยั รกั ษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมอื งดขี องชาติ มหี ลกั คดิ ทถี่ กู ตอ้ ง
มที ักษะทจ่ี ำ�เป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสอื่ สารภาษาองั กฤษและภาษาท่ี ๓
และอนรุ กั ษภ์ าษาทอ้ งถนิ่ มนี สิ ยั รกั การเรยี นรแู้ ละการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ
เกษตรกรยคุ ใหม่ และอืน่ ๆ โดยมสี มั มาชพี ตามความถนดั ของตนเอง”
ปงี บประมาณพ.ศ.๒๕๖๒ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
โดยคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เห็นชอบกำ�หนดนโยบายสำ�นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สอดคล้องกบั
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เพ่ือขบั เคลื่อนการด�ำ เนนิ งาน
ตามเอกสารฉบับนี้ ขอขอบคุณคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกท่าน
ท่ีมีส่วนให้ข้อเสนอแนะและผลักดันให้นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�เรจ็ ลุลว่ งตามวัตถปุ ระสงค์
ทกุ ประการ

ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบญั

หน้า
ค�ำ นำ�

สว่ นที่ ๑ บทน�ำ ๑
๑. การนอ้ มนำ�ศาสตร์พระราชาสกู่ ารปฏิบตั ิ ๓
๒. พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา ๑๓
ของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐

ส่วนท่ี ๒ นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๕
ก. บทนำ� ๑๖
ข. วิสัยทศั น ์ ๑๙
ค. พนั ธกิจ ๑๙
ง. เป้าหมาย ๒๐
จ. นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ๒๑
ฉ. กลยุทธ์เชงิ นโยบาย ๒๒
นโยบายท่ี ๑ จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง ๒๒
นโยบายท่ี ๒ พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น ๒๘
นโยบายท่ี ๓ พฒั นาผูบ้ รหิ าร ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา ๔๖
นโยบายท่ี ๔ สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษา
ทมี่ ีคุณภาพ มีมาตรฐาน
และลดความเหลื่อมลาํ้ ทางการศึกษา ๕๒
นโยบายที่ ๕ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ ๕๙

สารบัญ (ตอ่ )

ภาคผนวก หนา้
๑. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ๖๙
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ๗๐
๒. คำ�สัง่ หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ
ฉบับท่ี ๒๘/๒๕๕๙ เรือ่ ง ให้จดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ๗๒
๑๕ ปี โดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย ๗๕
๓. ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ๗๗
๔. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๗๙
๕. นโยบายของรัฐบาลด้านการศกึ ษา ๘๔
๖. นโยบายของรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ๙๐
๗. การวิเคราะหส์ ภาพองคก์ ร (SWOT) ๙๗
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
๘. คณะท�ำ งาน

๑สบท่วนนำ�ที่

2 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

การน้อมนำ�ศาสตรพ์ ระราชา
สูก่ ารปฏบิ ัติ

“ศาสตร์พระราชา” ตำ�ราแหง่ ชีวติ
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการ
“ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” เม่ือวันศุกร์ที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๙
ดังนี้ “ด้วยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้รัฐมนตรี ซึ่งได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งใหม่เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าท่ี
เม่อื วนั ท่ี ๒๐ ธนั วาคม ทผ่ี า่ นมา ณ พระทน่ี ั่งอัมพรสถาน พระราชวังดสุ ติ
ในโอกาสนผ้ี มขออญั เชญิ กระแสพระราชด�ำ รสั ของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร อันมีใจความสำ�คัญ เป็นสิริมงคล
แก่คณะรัฐมนตรี และปวงพสกนิกรทุกหมู่เหล่า ผมเห็นว่าพวกเราทุกคนควร
ไดร้ ะลกึ และรับใสเ่ กล้าใสก่ ระหม่อม นอ้ มนำ�ไปสกู่ ารปฏิบัติ สรปุ ใจความไดว้ า่ ...
“...ขอให้น้อมนำ�ศาสตร์พระราชา” แห่งองค์พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ โดยใหศ้ กึ ษาวเิ คราะหพ์ ระราชดำ�ริ
และแนวทางพระราชทานนานัปการ ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปีท่ีผ่านมา รวมท้ัง
พระราชกรณยี กจิ ทท่ี รงปฏบิ ตั มิ าส�ำ หรบั ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
การประกอบกิจการ และการปฏิบัติหน้าท่ีต่าง ๆ ในความรับผิดชอบ รวมท้ัง
ยดึ ถือเป็นแบบอยา่ งที่ดีในกจิ วตั รประจ�ำ วนั อันจะเป็นสิรมิ งคล เปน็ พระคมุ้ ครอง
และเป็น “แสงสว่างนำ�ทาง” ให้แก่ปวงชนชาวไทยทุกคนตลอดไป เพื่อสนอง

3นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชปณธิ าน และเพอื่ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนชาวไทยทงั้ ปวง อยา่ งไรกต็ าม
การปฏิบัติงานใด ๆ ย่อมมีปัญหา ย่อมมีอุปสรรค ก็ขอให้ปรึกษากัน หาข้อมูล
ที่ถูกต้อง และปฏิบัติด้วยความรอบคอบ ทันกาล เหมาะสมกับสถานการณ์และ
มเี หตผุ ล ทั้งน้ี ปัญหาและอปุ สรรคเหล่าน้ัน นอกจากจะเปน็ เสมอื น “บททดสอบ
บทเรียน” แล้ว ยังจะเป็นสิ่งที่ช่วย “เพ่ิม” ความสามารถให้กับเราทุกคนด้วย
ดังนั้น ต้องมีความต้ังใจ มีขันติ มีความอดทน ตลอดจนมีความกระตือรือร้น
ทจี่ ะศกึ ษาปญั หาและแกไ้ ขใหร้ อบคอบ กจ็ ะไดผ้ ลตอ่ ประเทศ และเปน็ บญุ เปน็ กศุ ล
กับตนเองดว้ ย...” นะครบั
“ศาสตร์พระราชา” ถือว่าเป็น “ตำ�ราแห่งชีวิต” เพราะบันทึกจาก
ประสบการณ์ จากการทรงงาน ทท่ี �ำ ใหป้ ระเทศไทยสามารถผา่ นวกิ ฤตการณต์ า่ ง ๆ
มาไดท้ กุ มติ ิผมขอชน่ื ชมสอื่ ทกุ แขนงทไ่ี ดน้ �ำ เสนอในรปู แบบตา่ งๆสสู่ ายตาประชาชน
และเยาวชนรนุ่ ใหมใ่ หร้ บั รเู้ ขา้ ใจไดล้ กึ ซงึ้ และถอ่ งแทม้ ากยงิ่ ขน้ึ เพอ่ื สามารถนอ้ มน�ำ
ไปสกู่ ารปฏิบัติได้เปน็ อย่างดี

๒๓ หลกั การทรงงานพระบาทสมเดพ็ ระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๙
ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ท่ีนอกจากจะทรงด้วย
ทศพิธราชธรรมแลว้ ทรงยงั เปน็ พระราชาทเี่ ป็นแบบอยา่ งในการดำ�เนนิ ชวี ิต และ
การท�ำ งานแก่พสกนิกรของพระองคแ์ ละนานาประเทศอีกดว้ ย ผู้คนต่างประจักษ์
ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ และมีความสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ
เปน็ ลน้ พน้ อนั หาทส่ี ดุ มไิ ด้ ซงึ่ แนวคดิ หรอื หลกั การทรงงานของในหลวงรชั กาลที่ ๙
มีความน่าสนใจท่ีสมควรนำ�มาประยุกต์ใช้กับชีวิตการทำ�งานเป็นอย่างย่ิง
หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาท ท่านสามารถนำ�หลักการ
ทรงงานของพระองคไ์ ปปรบั ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้ ดงั นี้

4 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๑) จะท�ำ อะไรต้องศกึ ษาขอ้ มลู ใหเ้ ป็นระบบ
ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบื้องต้น
ทั้งเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพ้ืนท่ีให้ได้
รายละเอียดที่ถูกต้อง เพ่ือนำ�ข้อมูลเหล่าน้ันไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่างถูกต้อง
รวดเร็ว และตรงตามเปา้ หมาย
๒) ระเบดิ จากภายใน
จะท�ำ การใด ๆ ต้องเริ่มจากคนท่เี ก่ียวข้องเสยี กอ่ น ต้องสร้างความ
เขม้ แขง็ จากภายในให้เกดิ ความเขา้ ใจและอยากท�ำ ไมใ่ ชก่ ารสง่ั ใหท้ ำ� คนไมเ่ ขา้ ใจ
ก็อาจจะไม่ทำ�ก็เป็นได้ ในการทำ�งานนั้นอาจจะต้องคุยหรือประชุมกับลูกน้อง
เพ่ือนร่วมงาน หรือคนในทมี เสยี ก่อน เพือ่ ให้ทราบถงึ เปา้ หมายและวธิ กี ารต่อไป
๓) แกป้ ัญหาจากจุดเลก็
ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เมื่อจะลงมือแก้ปัญหานั้น
ควรมองในส่ิงท่ีคนมักจะมองข้าม แล้วเริ่มแก้ปัญหาจากจุดเล็ก ๆ เสียก่อน
เมอื่ ส�ำ เรจ็ แลว้ จงึ คอ่ ย ๆ ขยบั ขยายแกไ้ ปเรอื่ ย ๆ ทลี ะจดุ เราสามารถเอามาประยกุ ต์
ใชก้ ับการท�ำ งานได้ โดยมองไปทเ่ี ป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละช้นิ แล้วเริม่ ลงมอื ท�ำ
จากจุดเลก็ ๆ กอ่ น คอ่ ย ๆ ทำ� ค่อย ๆ แกไ้ ปทลี ะจุด งานแตล่ ะชิน้ กจ็ ะลลุ วงไปได้
ตามเป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวน้ีก่อน
มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปัญหาที่ทำ�ให้เราปวดหัวให้ได้เสียก่อน
เพื่อจะใหอ้ ยู่ในสภาพที่ดไี ด้…”

5นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๔) ท�ำ ตามลำ�ดับขัน้
เริ่มต้นจากการลงมือทำ�ในสิ่งท่ีจำ�เป็นก่อน เม่ือสำ�เร็จแล้ว
ก็เร่ิมลงมือส่ิงที่จำ�เป็นลำ�ดับต่อไป ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทำ�ตาม
หลักน้ีได้ งานทุกส่ิงก็จะสำ�เร็จได้โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ทรงเริ่มต้นจาก
ส่งิ ทจ่ี �ำ เป็นทสี่ ดุ ของประชาชนเสยี ก่อน ได้แก่ สขุ ภาพสาธารณสขุ จากนนั้ จงึ เป็น
เร่ืองสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน และส่ิงจำ�เป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน
แหล่งนํ้าเพ่ือการเกษตร การอุปโภคบริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ที่ราษฎรสามารถนำ�ไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนาประเทศ
จำ�เป็นต้องทำ�ตามลำ�ดับข้ัน ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของ
ประชาชนสว่ นใหญเ่ ปน็ เบอ้ื งตน้ ก่อน ใชว้ ธิ กี ารและอุปกรณท์ ่ปี ระหยัด แต่ถูกต้อง
ตามหลกั วชิ า เมอ่ื ไดพ้ น้ื ฐานทม่ี นั่ คงพรอ้ มพอสมควร สามารถปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ลว้ จงึ คอ่ ย
สรา้ งเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกจิ ขน้ั ทส่ี ูงข้นึ โดยลำ�ดบั ต่อไป…” พระบรม
ราโชวาทของในหลวงรชั กาลท่ี ๙ เม่อื วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗
๕) ภูมสิ ังคม ภมู ิศาสตร์ สังคมศาสตร์
การพัฒนาใด ๆ ต้องคำ�นึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้น
วา่ เป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเก่ียวกับลักษณะนิสัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรม
ประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไปตาม
ภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือ
นิสยั ใจคอของคนเรา จะไปบังคบั ใหค้ นอน่ื คิดอยา่ งอ่นื ไม่ได้ เราต้องแนะน�ำ เข้าไป
ดูว่าเขาต้องการอะไรจริง ๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้
กจ็ ะเกดิ ประโยชน์อย่างย่ิง”

6 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๖) ทำ�งานแบบองคร์ วม
ใชว้ ธิ คี ดิ เพอ่ื การท�ำ งาน โดยวธิ คี ดิ อยา่ งองคร์ วม คอื การมองสง่ิ ตา่ ง ๆ
ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบวงจร ทุกสิ่งทุกอย่างมีมิติเชื่อมต่อกัน มองสิ่งท่ีเกิดขึ้น
และแนวทางแก้ไขอย่างเช่ือมโยง
๗) ไมต่ ิดตำ�รา
เมื่อเราจะทำ�การใดนั้น ควรทำ�งานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและ
สถานการณน์ นั้ ๆไมใ่ ชก่ ารยดึ ตดิ อยกู่ บั แคใ่ นต�ำ ราวชิ าการ เพราะบางทคี วามรทู้ ว่ มหวั
เอาตัวไม่รอด บางครั้งเรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจนทำ�อะไรไม่ได้เลย
สิ่งท่ีเราทำ�บางครั้งต้องโอบอ้อมต่อสภาพธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม สังคม และ
จติ วิทยาดว้ ย
๘) รู้จักประหยดั เรียบง่าย ไดป้ ระโยชนส์ ูงสุด
ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงใช้
หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทำ�ได้เอง
หาไดใ้ นทอ้ งถน่ิ และประยกุ ตใ์ ชส้ งิ่ ทมี่ อี ยใู่ นภมู ภิ าคนน้ั มาแกไ้ ข ปรบั ปรงุ โดยไมต่ อ้ ง
ลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีท่ียุ่งยากมากนัก ดังพระราชดำ�รัสตอนหนึ่งว่า
“…ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ข้ึนเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัด
งบประมาณ…”
๙) ทำ�ใหง้ ่าย
ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศ
ตามแนวพระราชดำ�ริไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และที่สำ�คัญอย่างยิ่งคือ
สอดคลอ้ งกบั สภาพความเปน็ อยขู่ องประชาชนและระบบนเิ วศโดยรวม “ท�ำ ใหง้ า่ ย”

7นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๐) การมีสว่ นรว่ ม
ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน
ประชาชนหรอื เจา้ หนา้ ทที่ กุ ระดบั ไดม้ ารว่ มแสดงความคดิ เหน็ “ส�ำ คญั ทสี่ ดุ จะตอ้ ง
หัดทำ�ใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งการวิพากษ์
วิจารณจ์ ากผ้อู นื่ อย่างฉลาดนัน้ แท้จริงคอื การระดมสติปญั ญาและประสบการณ์
อันหลากหลายมาอำ�นวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสำ�เร็จท่ีสมบูรณ์
น่ันเอง”
๑๑) ต้องยึดประโยชนส์ ว่ นรวม
ในหลวงรชั กาลที่ ๙ ทรงระลกึ ถงึ ประโยชนข์ องสว่ นรวมเปน็ ส�ำ คญั
ดงั พระราชด�ำ รสั ตอนหนง่ึ วา่ “…ใครตอ่ ใครบอกวา่ ขอใหเ้ สยี สละสว่ นตวั เพอ่ื สว่ นรวม
อันน้ฟี งั จนเบอื่ อาจรำ�คาญดว้ ยซ้าํ ว่า ใครตอ่ ใครมาก็บอกวา่ ขอใหค้ ดิ ถึงประโยชน์
สว่ นรวม อาจมานกึ ในใจวา่ ให้ ๆ อยเู่ รอ่ื ยแลว้ สว่ นตวั จะไดอ้ ะไร ขอใหค้ ดิ วา่ คนทใ่ี ห้
เปน็ เพือ่ ส่วนรวมนัน้ มไิ ด้ใหส้ ว่ นรวมแต่อยา่ งเดียว เปน็ การใหเ้ พื่อตวั เองสามารถ
ท่ีจะมีส่วนรวมที่จะอาศยั ได…้ ”
๑๒) บริการท่ีจดุ เดียว
ทรงมีพระราชดำ�ริมากว่า ๒๐ ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษา
การพัฒนาหลายแห่งทั่วประเทศโดยใช้หลักการ “การบริการรวมท่ีจุดเดียว :
One Stop Service” โดยทรงเนน้ เรอื่ งรรู้ กั สามคั คแี ละการรว่ มมอื รว่ มแรงรว่ มใจกนั
ด้วยการปรับลดชอ่ งวา่ งระหว่างหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง

8 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๑๓) ใชธ้ รรมชาติชว่ ยธรรมชาติ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ ทรงเขา้ ใจถงึ ธรรมชาติ
และต้องการให้ประชาชนใกล้ชดิ กับทรพั ยากรธรรมชาติ ทรงมองปญั หาธรรมชาติ
อยา่ งละเอยี ด โดยหากเราตอ้ งการแกไ้ ขธรรมชาตจิ ะตอ้ งใชธ้ รรมชาตเิ ขา้ ชว่ ยเหลอื
เราด้วย
๑๔) ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม
ทรงนำ�ความจริงในเร่ืองธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ
มาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงสภาวะท่ีไม่ปกติ
เข้าสู่ระบบท่ีปกติ เช่น การบำ�บัดน้ําเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซ่ึงมีตามธรรมชาติ
ใหด้ ูดซึมสิ่งสกปรกปนเปือ้ นในน้ํา
๑๕) ปลูกป่าในใจคน
การจะท�ำ การใดสำ�เรจ็ ต้องปลกู จติ ส�ำ นึกของคนเสยี กอ่ น ต้องให้
เหน็ คณุ คา่ เหน็ ประโยชนก์ บั สง่ิ ทจ่ี ะท�ำ …. “เจา้ หนา้ ทป่ี า่ ไมค้ วรจะปลกู ตน้ ไมล้ งในใจ
คนเสยี กอ่ น แลว้ คนเหลา่ นนั้ กจ็ ะพากนั ปลกู ตน้ ไมล้ งบนแผน่ ดนิ และจะรกั ษาตน้ ไม้
ด้วยตนเอง”
๑๖) ขาดทุนคอื กำ�ไร’
หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ท่ีมีต่อ
พสกนกิ รไทย “การให้” และ “การเสยี สละ” เป็นการกระท�ำ อันมผี ลเปน็ ก�ำ ไร คอื
ความอยดู่ มี ีสุขของราษฎร

9นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๗) การพงึ่ พาตนเอง
การพัฒนาตามแนวพระราชด�ำ ริ เพอื่ การแกไ้ ขปญั หาในเบ้อื งต้น
ด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพ่ือให้มีความแข็งแรงพอที่จะดำ�รงชีวิตได้ต่อไป
แลว้ ขน้ั ตอ่ ไปกค็ อื การพฒั นาใหป้ ระชาชนสามารถอยใู่ นสงั คมไดต้ ามสภาพแวดลอ้ ม
และสามารถพึ่งตนเองไดใ้ นท่สี ดุ
๑๘) พออยพู่ อกนิ
ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน
แล้วจึงค่อยขยบั ขยายให้มขี ีดสมรรถนะทกี่ ้าวหนา้ ต่อไป
๑๙) เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เป็นปรัชญาที่ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ พระราชทานพระราชดำ�รัส
ช้ีแนะแนวทางการดำ�เนินชีวิตให้ดำ�เนินไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้รอดพ้น
และสามารถดำ�รงอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และ
การเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ซึ่งปรัชญาน้ีสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ได้ท้ังระดับบุคคล
องคก์ ร และชมุ ชน
๒๐) ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ จรงิ ใจตอ่ กัน
ผู้ท่ีมีความสุจริตและบริสุทธ์ิใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อม
ทำ�ประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต
ไมม่ คี วามบรสิ ทุ ธ์ิใจ

10 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๒๑) ท�ำ งานอยา่ งมีความสุข
ทำ�งานต้องมีความสุขด้วย ถ้าเราทำ�อย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้
แตถ่ า้ เรามคี วามสขุ เราจะชนะ สนุกกับการท�ำ งานเพยี งเทา่ นัน้ ถือวา่ เราชนะแลว้
หรือจะทำ�งานโดยคำ�นึงถึงความสุขที่เกิดจากการได้ทำ�ประโยชน์ให้กับผู้อื่น
กส็ ามารถท�ำ ได้ “…ท�ำ งานกบั ฉนั ฉนั ไมม่ อี ะไรจะให้ นอกจากการมคี วามสขุ รว่ มกนั
ในการท�ำ ประโยชนใ์ ห้กบั ผู้อืน่ …”
๒๒) ความเพียร
การเร่ิมต้นทำ�งานหรือทำ�ส่ิงใดน้ันอาจจะไม่ได้มีความพร้อม
ต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งม่ัน ดังเช่น พระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก”
กษตั รยิ ผ์ เู้ พยี รพยายามแมจ้ ะไมเ่ หน็ ฝง่ั กจ็ ะวา่ ยนา้ํ ตอ่ ไป เพราะถา้ ไมเ่ พยี รวา่ ยกจ็ ะ
ตกเปน็ อาหารปู ปลา และไม่ได้พบกบั เทวดาที่ช่วยเหลือมิใหจ้ มนํ้า
๒๓) รู้ รกั สามคั คี
l รู้ คอื รู้ปญั หาและรวู้ ิธแี ก้ปญั หานน้ั
l รัก คือ เม่ือเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก
ทีจ่ ะลงมอื ทำ� ลงมือแก้ไขปญั หานัน้
l สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ไม่สามารถลงมือทำ�
คนเดียวได้ ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื ร่วมใจกนั

11นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

12 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา
ของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐

การศกึ ษาตอ้ งมงุ่ สรา้ งพื้นฐานให้แกผ่ ูเ้ รียน ๔ ดา้ น
๑. มีทัศนคติที่ถกู ต้องตอ่ บ้านเมือง
๒. มีพ้ืนฐานชีวติ ทม่ี ่นั คง
๓. มงี านท�ำ มีอาชีพ
๔. เปน็ พลเมืองดี
๑. มที ศั นคติทถี่ ูกตอ้ งต่อบ้านเมอื ง
๑. มคี วามรู้ความเข้าใจท่ีมตี อ่ ชาตบิ า้ นเมือง
๒. ยึดมั่นในศาสนา
๓. มัน่ คงในสถาบนั พระมหากษตั ริย์
๔. มีความเออ้ื อาทรตอ่ ครอบครวั และชมุ ชนของตน
๒. มพี ื้นฐานชวี ิตที่มั่นคง
๑. รจู้ กั แยกแยะส่งิ ทีผ่ ดิ -ชอบ/ชว่ั -ดี
๒. ปฏบิ ตั ิแต่สิ่งที่ชอบทีด่ งี าม
๓. ปฏิเสธสิ่งที่ผดิ สิ่งที่ช่วั
๔. ชว่ ยกันสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง

13นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓. มงี านท�ำ มอี าชีพ
๑ การเล้ียงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝกฝนอบรม
ในสถานศกึ ษาตองมงุ ใหเด็กและเยาวชนรกั งาน สูงาน ทำ�จนงานสำ�เรจ็
๒. การฝกฝนอบรมท้ังในหลักสูตรและนอกหลักสูตรตอง
มจี ุดมงุ หมายใหผ เู รียนทำ�งานเปน และมงี านท�ำ ในท่สี ดุ
๓. ตอ งสนบั สนนุ ผสู �ำ เรจ็ หลกั สตู รมอี าชพี มงี านท�ำ จนสามารถ
เล้ยี งตวั เองและครอบครวั
๔. เปน็ พลเมอื งดี
๑. การเปนพลเมืองดี เปน หนา ทข่ี องทุกคน
๒. ครอบครวั -สถานศกึ ษาและสถานประกอบการ ตอ งสง เสรมิ
ใหทกุ คนมีโอกาสท�ำ หนา ท่ีเปนพลเมืองดี
๓. การเปนพลเมืองดีคือ
“เหน็ อะไรทจ่ี ะท�ำ เพอ่ื บา นเมอื งไดก ต็ อ งท�ำ ”เชน งานอาสาสมคั ร
งานบำ�เพ็ญประโยชน งานสาธารณกุศล ใหทำ�ดวยความมีน้ําใจ และ
ความเออ้ื อาทร”

14 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

ส่วนที่ ๒นโยบายปสำ�งี นบกัปงราะนมคาณณะพกร.ศร.ม๒กา๕ร๖ก๒ารศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

นปโยีงบบายปสร�ำ นะกัมงาานณคณะพกร.รศม.กา๒รก๕าร๖ศ๒กึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

ก. บทน�ำ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๕๔ ว่า “รัฐตอ้ งด�ำ เนินการให้เดก็ ทุกคนได้รบั การศกึ ษาเปน็ เวลาสบิ สองปี
ตงั้ แตก่ อ่ นวยั เรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย”
และค�ำ สงั่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๒๘/๒๕๕๙ เรอื่ ง ใหจ้ ดั การศกึ ษา
ขั้นพน้ื ฐาน ๑๕ ปี โดยไม่เกบ็ ค่าใชจ้ ่าย ไดม้ คี ำ�สง่ั ไว้ในขอ้ ๓ วา่ “ให้สว่ นราชการ
ที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานดำ�เนินการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
๑๕ ปี ใหม้ ีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เกบ็ ค่าใช้จ่าย”

16 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้ตระหนักถึงภารกิจ
ทส่ี �ำ คญั ในการพฒั นาประชากรของชาตใิ หเ้ ปน็ “คนไทยในอนาคตจะตอ้ งมคี วามพรอ้ ม
ท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย
มจี ิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผอู้ น่ื มัธยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวนิ ัย
รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำ�เป็น
ในศตวรรษท่ี ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓ และอนุรักษ์
ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
สกู่ ารเปน็ คนไทย ทม่ี ที กั ษะสงู เปน็ นวตั กร นกั คดิ ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่
และอนื่ ๆ โดยมสี มั มาชพี ตามความถนดั ของตนเอง” นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยไดท้ ำ�การศึกษา วเิ คราะห์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของรัฐบาลจากยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐)ซง่ึ จะตอ้ งน�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหป้ ระเทศไทยบรรลวุ สิ ยั ทศั น์
“ประเทศไทย มคี วามม่ันคง มงั่ คงั่ ย่งั ยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ไดก้ ำ�หนดทิศทางของแผนพฒั นาเศรษฐกิจ
และสงั คมแห่งชาติ ในระยะ ๕ ปี ด้านการศกึ ษาไว้ ดังน้ี
๑) ให้มีการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ
เท่าเทียมและทัว่ ถงึ
๒) การพัฒนาศักยภาพคนในทุกช่วงวัยให้สนับสนุนการเจริญเติบโต
ของประเทศ
๓) การพัฒนาผลิตภาพแรงงาน เป็นการสร้างความร่วมมือระหว่าง
ภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาก�ำ ลังคนและแรงงาน แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
ซึ่งแนวคิดการจัดการศึกษา โดยยึดหลักสำ�คัญในการจัดการศึกษา
ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All)
หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education)
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง(SufficiencyEconomy)และหลกั การมสี ว่ นรว่ ม

17นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) อีกท้ังยึดตามเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs, 2030)
ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) เช่น คุณภาพของคนทุกช่วงวัย
การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหล่ือมล้ําของการกระจายรายได้
และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยนำ�ยุทธศาสตร์ชาติ (National Strategy)
มาเป็นกรอบความคิดสำ�คัญในการจัดทำ�แผนการศึกษาแห่งชาติ และการปฏิรูป
การศึกษาตามแนวทางของคณะกรรมการอสิ ระเพื่อปฏริ ูปการศึกษา
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กำ�หนดนโยบาย
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
เพอ่ื เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มทจี่ ะเขา้ สยู่ คุ ของการเปลยี่ นแปลงการจดั การศกึ ษา
ของประเทศครง้ั ส�ำ คญั ทจ่ี ะพฒั นาประชากรในวยั เรยี นทกุ คนและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย
ซ่ึงหมายรวมถึง กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ กลุ่มชาติพันธ์ุ
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร ให้มีความพร้อมทั้ง
กาย ใจ สติปญั ญา มีสุขภาวะที่ดใี นทกุ ชว่ งวัย มีจติ สาธารณะ รบั ผดิ ชอบต่อสังคม
และผู้อืน่ มธั ยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ัย รกั ษาศีลธรรม และเป็นพลเมอื งดี
ของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจำ�เป็นในศตวรรษ
ท่ี ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓ และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน
มนี สิ ยั รกั การเรยี นรแู้ ละการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ติ สกู่ ารเปน็ คนไทย
และพลโลกทีม่ ีทกั ษะการคดิ ขั้นสงู เปน็ นวตั กร นกั คิด ผู้ประกอบการ เกษตรกร
ยคุ ใหม่ โดยมสี มั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง โดยได้กำ�หนดนโยบาย วิสยั ทศั น์
พันธกิจ กลยทุ ธ์ เปา้ ประสงค์ และแนวทางในการดำ�เนินการ ดังน้ี

18 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

ข. วสิ ัยทัศน์
สร้างคุณภาพทนุ มนษุ ย์ สู่สังคมอนาคตทยี่ ั่งยืน

ค. พนั ธกจิ
๑. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ
และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
๒. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
โดยพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ
คณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี ๒๑
๓. สง่ เสรมิ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมอื อาชีพ
๔. สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลอื่ มล้ํา ใหผ้ เู้ รียนทุกคนได้
รับบริการทางการศกึ ษาอยา่ งทั่วถึงและเทา่ เทียม
๕. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมายการพัฒนา
ทยี่ ง่ั ยืน (Sustainalbe Development Goals : SDGs, 2030)

19นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ และส่งเสริมให้
ทกุ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา
ง. เป้าหมาย
๑. ผ้เู รยี นเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ คิดริเรม่ิ และสร้างสรรคน์ วตั กรรม
มคี วามรู้ มที กั ษะและคณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ มสี ขุ ภาวะทเ่ี หมาะสม
ตามวัย มีความสามารถในการพึ่งพาตนเอง และปรับตัวต่อการเป็นพลเมืองและ
พลโลกทด่ี ี
๒. ผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจ�ำ เปน็ พเิ ศษกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส
และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลทุรกันดารได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึง เท่าเทียม
และมีคณุ ภาพ พร้อมก้าวสู่สากล ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๓. ครูเป็นผู้เรียนรู้ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความแม่นยำ�
ทางวิชาการ และมีทักษะการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายตอบสนองผู้เรียน
เป็นรายบุคคล เป็นผ้สู รา้ งสรรคน์ วัตกรรม และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี

20 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๔. ผู้บริหารสถานศึกษามีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์
และนวตั กรรม มภี าวะผนู้ �ำ ทางวชิ าการ มสี �ำ นกึ ความรบั ผดิ ชอบ (Accountability)
และการบริหารแบบรว่ มมอื
๕. สถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารงานและจัดการเรียนรู้
ร่วมมือกับชุมชน ภาคเอกชน และผู้เก่ียวข้องในการจัดการศึกษาระดับพื้นที่
จัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ในทุกมิติ เป็นสถานศึกษานำ�ร่อง
ในพื้นท่ีนวตั กรรมการศกึ ษา
๖. สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีการบริหารงานเชิงบูรณาการ
เป็นสำ�นักงานแห่งนวัตกรรมยุคใหม่ ใช้ข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยและพัฒนา
ในการขบั เคลอื่ นคณุ ภาพ กำ�กับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลอยา่ งเปน็ ระบบ
๗. ส�ำ นกั งานสว่ นกลางปรบั เปลยี่ นวฒั นธรรมการท�ำ งาน โดยกระจาย
อำ�นาจการบริหารงานและการจัดการศึกษาให้สถานศึกษา บริหารเชิงบูรณาการ
มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ กำ�กับ ติดตาม ประเมินผล และการ
รายงานผลอย่างเป็นระบบ ใช้วิจัยและนวตั กรรมในการขบั เคลื่อนคณุ ภาพ
จ. นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
นโยบายท่ี ๑ จัดการศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คง
นโยบายท่ี ๒ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
นโยบายที่ ๓ พฒั นาผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
นโยบายท่ี ๔ สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ
มีมาตรฐาน และลดความเหลือ่ มลํ้าทางการศกึ ษา
นโยบายท่ี ๕ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ

21นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ฉ. กลยทุ ธเ์ ชิงนโยบาย
นโยบายท่ี ๑ จดั การศึกษาเพอื่ ความมั่นคง
๑. บทนำ�
การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคง จะเน้นการจัดการศึกษาเพื่อ
พฒั นาคุณภาพผู้เรยี นในเขตพ้นื ทีพ่ ิเศษเฉพาะ ทีม่ คี วามยากล�ำ บากในการบรหิ าร
จัดการ เช่น การจัดศึกษาของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ และการจดั การศกึ ษาเพอื่ เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพของประชากรวยั เรยี น
กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มท่ีด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร เช่น
พื้นที่สงู ชายแดน ชายฝงั่ ทะเล และเกาะแก่ง เพ่ือสรา้ งความมนั่ คงของประเทศ
ในระยะยาว
๒. เปา้ ประสงค์
๑. ผู้เรียนทุกคนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ัน
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มที ศั นคติ
ท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง และเป็นพลเมืองดีของชาติ และ
การพลเมอื งโลกท่ดี ี (Global Citizen)
๒. ผู้เรียนทุกคนมีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมท่ีพึงประสงค์
มจี ิตสาธารณะ รบั ผิดชอบต่อสังคมและผูอ้ น่ื มธั ยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ัย
รกั ษาศลี ธรรม

22 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๓. ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
และเขตพ้ืนที่พิเศษเฉพาะ ได้รับการบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีมีคุณภาพ
เหมาะสมกับสังคมพหวุ ัฒนธรรม
๔. เสริมสร้างคุณภาพประชากรวัยเรียนกลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มที่
ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพื้นท่ีห่างไกลทุรกันดาร เช่น พ้ืนที่สูง ชายแดน
ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง เพอื่ สรา้ งความมั่งคงของประเทศในระยะยาว
๓. ประเด็นกลยทุ ธ์
๓.๑ พัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ
และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ
และพลเมืองโลกทด่ี ี มีคณุ ธรรม จริยธรรม
๓.๑.๑ ตัวชว้ี ัด
(๑) ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีพฤติกรรมที่แสดงออก
ถึงความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มัน่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี
พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ
(๒) ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออก
ถึงการมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ
มีคุณธรรม จริยธรรม
(๓) ร้อยละของสถานศึกษาที่ปรับปรุงหลักสูตร
จัดบรรยากาศส่ิงแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออกถึง
ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง
เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม
(๔) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทน่ี อ้ มน�ำ พระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามทก่ี �ำ หนดไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

23นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.๑.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาปรบั ปรงุ
หลักสูตร จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
แสดงออกถงึ ความรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มน่ั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ บา้ นเมอื ง มหี ลกั คดิ ทถ่ี กู ตอ้ ง
เป็นพลเมอื งดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม
(๒) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน้อมนำ�
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ และหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามท่ีกำ�หนด
๓.๒ พฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะ
กิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้
๓.๒.๑ ตวั ชี้วดั
(๑) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนสงู ขึ้น
(๒) ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ จัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยการบูรณาการ
หลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งกับสงั คม วฒั นธรรม และภาษาของท้องถ่นิ

24 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๓) ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใตไ้ ด้รับบรกิ ารการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานท่ีมีคุณภาพ
๓.๒.๒ แนวทางการดำ�เนนิ การ
ด�ำ เนนิ การตามยทุ ธศาสตรก์ ารศกึ ษาเขตพฒั นาพเิ ศษ
เฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ของกระทรวง
ศึกษาธกิ าร ๖ ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่
(๑) การศึกษาเพอ่ื เสรมิ สร้างความมน่ั คง
(๒) การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ ง
สงั คมแหง่ การเรียนรู้
(๓) การผลิตและพัฒนากำ�ลังคนให้มีสมรรถนะ
ในการแข่งขนั
(๔) การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียม
กันทางการศึกษา
(๕) การศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ ร
กบั ส่งิ แวดล้อม
(๖) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา
ทั้งนี้ดำ�เนินการในลักษณะบูรณาการร่วมกันของ
หนว่ ยงานกระทรวงศกึ ษาธิการ และหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดน
ภาคใต้
๓.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนในเขตพื้นที่เฉพาะ
กลมุ่ ชาติพันธ์ุ กลุ่มทีด่ ้อยโอกาส และกล่มุ ท่ีอยใู่ นพืน้ ท่หี า่ งไกลทรุ กันดาร เชน่
พ้ืนทส่ี ูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแกง่ ได้รับการบรกิ ารดา้ นการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐาน ทม่ี คี ณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ
๓.๓.๑ ตัวชวี้ ดั
(๑) จำ�นวนผู้เรียนบ้านไกลได้รับโอกาสทางการ
ศึกษาจากการได้เข้าพักในโรงเรียนที่มีหอพักนอน หรือการสนับสนุนการเดินทาง
จากบ้านถงึ โรงเรยี นอย่างปลอดภัย

25นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๒) จำ�นวนสถานศึกษาได้รับการสนับสนุน
งบประมาณเพ่ือใช้ในการประกอบอาหาร การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนา
สภาพหอพักนอนให้มคี ุณภาพทดี่ อี ยา่ งเหมาะสม
(๓) จำ�นวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพ
ทั้งดา้ นทกั ษะวชิ าการ ทักษะชวี ติ และทักษะอาชพี ทเ่ี หมาะสมกบั บริบท
(๔) จ�ำ นวนผบู้ รหิ ารครูในสถานศกึ ษา/หอ้ งเรยี นสาขา
และท่ีดูแลหอพักนอนที่มีนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มที่ด้อยโอกาส กลุ่มที่อยู่ใน
พนื้ ทหี่ า่ งไกลทรุ กันดาร ได้รับการพฒั นาและสวสั ดิการที่เหมาะสมกบั บริบท
(๕) จ�ำ นวนผู้เรยี นกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ กล่มุ ท่ีด้อยโอกาส
และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
และเกิดจติ สำ�นึกรกั ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
(๖) การบริหารจัดการศึกษาในสถานศึกษาท่ีมี
ผู้เรียนกลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร
ไดร้ บั การปรบั ปรงุ และมีรปู แบบที่มปี ระสทิ ธภิ าพ
(๗) ผู้เรียนกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มที่ด้อยโอกาส และ
กลุม่ ท่อี ยูใ่ นพื้นท่หี ่างไกลทรุ กันดาร มผี ลสมั ฤทธส์ิ งู ขน้ึ
๓.๓.๒ แนวทางการดำ�เนนิ การ
(๑) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครูและ
บุคลากรทางการศึกษาในพ้ืนท่ีสูงในถ่ินทุรกันดาร ชายแดน ชายฝ่ัง ทะเล และ
เกาะแก่ง ตามความจ�ำ เป็นและ เหมาะสมกบั บรบิ ท
(๒) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษาท่ีดูแลหอพักนอนตามความจำ�เป็น และเหมาะสม
กบั บริบท
(๓) จัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมให้สถานศึกษา
ในกลุ่มโรงเรียนพื้นท่ีสูงในถ่ินทุรกันดาร ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแก่ง
ให้จัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และเกิดจิตสำ�นึกรักในสถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์

26 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๔) สร้างเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็น
“การพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับสภาพบริบทของพ้ืนที่สูงใน
ถนิ่ ทรุ กนั ดาร ชายแดน ชายฝ่งั ทะเล และเกาะแกง่ ควรทำ�อย่างไร” ผ่านช่องทาง
จดั เวทเี สวนา การแสดงนทิ รรศการ การติดต่อส่ือสารผ่านช่องทางออนไลน์ตา่ ง ๆ
เชน่ การสร้าง Website Facebook และ Line เป็นตน้
(๕) พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้
ส่ือการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมสำ�หรับการพัฒนาศักยภาพ
สูงสุดของผู้เรียนกลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล
ทรุ กนั ดาร
(๖) พฒั นาครใู หม้ ที กั ษะการสอนภาษาไทย ส�ำ หรบั
เดก็ ทใ่ี ช้ภาษาไทยเปน็ ภาษาท่ี ๒
(๗) สง่ เสริมการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชช้ ุมชนเป็นฐาน
ในการพฒั นาทกั ษะวิชาการ ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะอาชพี และภาษาท่ี ๓ ทส่ี อดคลอ้ ง
และเหมาะสมกบั สงั คมพหวุ ฒั นธรรม

27นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

นโยบายที่ ๒ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
๑. บทนำ�
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มุ่งเน้นพัฒนาประชากรวัยเรียนทุกคน
และทุกกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงหมายรวมถึง กลุ่มผู้เรียนที่มีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ
กล่มุ ชาติพันธุ์ กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส และกล่มุ ท่อี ยู่ในพืน้ ทีห่ ่างไกลทรุ กันดารในทุกมติ ิ
โดยมเี ปา้ หมาย เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มน่ั การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้อง
ต่อบ้านเมือง เป็นพลเมืองดีของชาติและเป็นพลโลกท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม
มีทักษะท่ีจำ�เป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ มีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีทักษะวิชาชีพ
และมีทักษะชีวิตท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน โดยการพัฒนาระบบ
การเรียนรทู้ ตี่ อบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๒. เปา้ ประสงค์
๑. ผเู้ รยี นทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาและสรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพในแตล่ ะ
ช่วงวัยอย่างมีคุณภาพ มีทักษะท่ีจำ�เป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีความเป็นเลิศทาง
ด้านวชิ าการ มีทักษะส่อื สารภาษาองั กฤษและภาษาท่ี ๓ มีนิสัยรักการเรียนร้แู ละ
การพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต และมีทักษะอาชีพตามความต้องการ
และความถนัด

28 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๒. ผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจ�ำ เปน็ พเิ ศษ มพี ฒั นาการตามศกั ยภาพ
ของแต่ละบุคคล ทั้งในด้านท่ีมีพัฒนาการปกติและด้านท่ีมีความบกพร่องหรือ
ความแตกต่างทางการเรียนรู้หรือความสามารถพิเศษ ตามที่ระบุไว้ในแผน
การจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลหรือแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
ซง่ึ จัดท�ำ ขึน้ บนพ้นื ฐานความต้องการจ�ำ เป็นเฉพาะของผู้เรียน
๓. ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ มีความพร้อมสามารถ
เข้าสู่บริการช่วงเช่ือมต่อ (Transitional Services) หรือการส่งต่อ (Referral)
เข้าสู่การศึกษาในระดับเดียวกันและระดับที่สูงขึ้น หรือการอาชีพหรือการดำ�เนินชีวิต
ในสงั คมได้ตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล
๔. ผู้เรียนทุกคนมีทักษะชีวิต มีสุขภาวะท่ีเหมาะสมตามวัย
มีความเข้มแข็ง อดทน และสามารถพึ่งตนเองได้ในสังคมอนาคตท่ีซับซ้อนและ
การป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ สามารถป้องกันตนเองจากปัญหา
ยาเสพตดิ ได้

29นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓. ประเด็นกลยุทธ์
๓.๑ ปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สตู รทกุ ระดบั การศกึ ษา ใหเ้ ออื้ ตอ่
การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษท่ี ๒๑
น�ำ ไปสูก่ ารจัดการศึกษาเพ่อื การมงี านทำ� (Career Education)
๓.๑.๑ ตวั ชี้วดั
(๑) ร้อยละของสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร
การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ให้สอดคลอ้ งกบั ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยเนน้
การพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมหี ลกั คดิ ทถ่ี กู ตอ้ ง
รักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมอื งโลกทด่ี ี
มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามความต้องการ
และมที ักษะในการปอ้ งกันตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่
(๒) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทมี่ กี ารพฒั นาหลกั สตู ร
สถานศึกษาให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผ้เู รียนและพ้ืนท่ี

30 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๓.๑.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) พัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะ
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีหลักคิดท่ีถูกต้อง รักในสถาบันหลัก
ของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเปน็ ประมุข และเป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมอื งโลกทด่ี ี มคี วามเปน็ เลิศ
ทางดา้ นวชิ าการ มที กั ษะชวี ติ และทกั ษะอาชพี ตามความตอ้ งการ และมที กั ษะชวี ติ
ในการปอ้ งกนั ตนเองจากภัยคกุ คามรปู แบบใหม่
(๒) ปรับปรุงหลักสูตรปฐมวัยเพื่อให้เด็กได้รับ
การพัฒนาทง้ั ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกับทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑
(๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาหลกั สตู ร
สถานศึกษาและปรับเปล่ียนการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองต่อความต้องการของ
ผูเ้ รยี นและบรบิ ทของพ้ืนที่
(๔) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา จัดทำ�แผน
การจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลหรือแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
ซ่ึงจัดทำ�ข้ึนบนพ้ืนฐานความต้องการจำ�เป็นเฉพาะของผู้เรียนที่มีความต้องการ
จำ�เปน็ พเิ ศษ หรอื ความสามารถพิเศษ

31นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.๒ พฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี น ใหม้ ที กั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษ
ท่ี ๒๑ มีความเป็นเลิศ ด้านวิชาการ นำ�ไปสู่การสร้างขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขัน
๓.๒.๑ ตัวชีว้ ัด
(๑) ด้านผู้เรียน
๑) ร้อยละของผู้เรียนระดับปฐมวัย ได้รับ
การพัฒนาร่างกาย จิตใจ วนิ ัย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา และมีความพร้อม
ทจ่ี ะเขา้ รับการศกึ ษาในระดับทีส่ งู ขนึ้
๒) รอ้ ยละของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ไดร้ ับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มพี ฒั นาการ
ที่ดรี อบด้าน
๓) ร้อยละของผู้เรียนที่อ่านออกเขียนได้
คิดเลขเปน็ และมีนสิ ยั รักการอา่ น
๔) รอ้ ยละของผเู้ รยี นทมี่ ที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์
๕) ร้อยละของผู้เรียนท่ีผ่านการประเมิน
สมรรถนะท่ีจ�ำ เป็นดา้ นการรู้เร่อื งการอา่ น (Reading Literacy)

32 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๖) ร้อยละของผู้เรียนท่ีผ่านการประเมิน
สมรรถนะทจี่ �ำ เปน็ ด้านการรเู้ รอ่ื งคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy)
๗) ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมิน
สมรรถนะท่จี ำ�เป็นด้านการรเู้ รอ่ื งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
๘) รอ้ ยละของผเู้ รยี นทม่ี ที กั ษะสอื่ สารองั กฤษ
และส่อื สารภาษาที่ ๓ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๙) ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะด้าน Digital
Literacy ในการเรียนรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๑๐) ร้อยละของผ้เู รียนทมี่ คี วามรู้ และทกั ษะ
ในการปอ้ งกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่

33นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๑) รอ้ ยละของผเู้ รยี นทมี่ คี ะแนนผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ ๕๐ ในแต่ละวิชา
เพิม่ ขึน้ จากปกี ารศึกษาที่ผ่านมา
๑๒) รอ้ ยละ ๖๐ ของผเู้ รยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา
ตอนตน้ มสี มรรถนะการเรยี นรเู้ รอ่ื งการอา่ นตงั้ แตร่ ะดบั ขน้ั พน้ื ฐานขนึ้ ไป (ระดบั ๒)
ตามแนวทางการประเมนิ PISA
๑๓) ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียนท้ังหมดได้รับ
การประเมนิ ทกั ษะการคิดแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ PISA
(๒) ด้านสถานศึกษา
๑) ร้อยละของสถานศึกษาจัดการเรียนรู้
ท่ใี หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกิจกรรม การปฏบิ ัติจริง (Active Learning)

34 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๒) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทม่ี กี ารจดั การเรยี นรู้
ให้ผูเ้ รียนในลักษณะของ STEM ศึกษา
๓) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทก่ี ารจดั การเรยี นรู้
ตามกระบวนการ ๕ ข้นั ตอน หรอื บนั ได ๕ ขน้ั (Independent Study : IS)
๔) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรู้
และบรรยากาศส่ิงแวดล้อมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะ
ด้านภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๓.๓.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) พัฒนาผู้เรียนระดับปฐมวัยมีความพร้อม
ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา เพื่อที่จะเข้ารับการพัฒนาการเรียนรู้
ในระดับที่สงู ข้นึ
(๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอ้ ม
ท้งั ในและนอกห้องเรยี นใหเ้ อ้ือตอ่ การพฒั นาการเรยี นร้ขู องเด็กปฐมวัย

35นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๓) ส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศึกษาจัดการเรียนรู้
ระดับปฐมวัยในรูปแบบทห่ี ลากหลาย
(๔) ส่งเสริมการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่พ่อแม่
ผู้ปกครองเก่ียวกับการเลย้ี งดเู ดก็ ปฐมวัยทีถ่ กู ตอ้ งตามหลกั จติ วทิ ยาพฒั นาการ
(๕) จดั ใหม้ โี รงเรยี นตน้ แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั
ให้สามารถพัฒนาเด็กก่อนประถมให้มีพัฒนาการความพร้อม เพื่อเตรียมตัวไปสู่
การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑
(๖) พัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ
โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะท่จี ำ�เปน็ ๓ ดา้ น
๑) การรูเ้ รอื่ งการอา่ น (Reading Literacy)

36 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๒) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical
Literacy)
๓) การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific
Literacy)
(๗) พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะดา้ นดจิ ทิ ลั (Digital
Competence) และสมรรถนะดา้ นการสื่อสารภาษาองั กฤษ และภาษาที่ ๓
(๘) มีความรู้ และทักษะในการป้องกันตนเอง
จากภยั คุกคามรูปแบบใหม่
(๙) ส่งเสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษาจดั การเรยี นรู้
ที่ให้ผ้เู รียนไดเ้ รียนร้ผู า่ นกิจกรรมการปฏิบัติจรงิ (Active Learning)
(๑๐) ส่ ง เ ส ริ ม ส นั บ ส นุ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ที่ มี
การจัดการเรียนรใู้ ห้ผเู้ รยี นในลกั ษณะของ STEM ศึกษา
(๑๑) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาจดั การเรยี นรู้
ตามกระบวนการ ๕ ขัน้ ตอน หรือบันได ๕ ขัน้ (Independent Study : IS)
(๑๒) ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้
อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นการใช้ฐานความรู้และระบบความคิดในลักษณะ
สหวทิ ยาการ เช่น
๑) ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละการตงั้ ค�ำ ถาม
๒) ความเข้าใจและความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
๓) ความรู้ทางวิศวกรรม และการคิดเพ่ือ
หาทางแกป้ ญั หา
๔) ความรู้และทักษะในด้านศิลปะ
๕) ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ และระบบคิด
ของเหตุผลและการหาความสมั พนั ธ์

37นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๑๓) ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาประเมิน
สมรรถนะตามแนวทางการประเมิน PISA ด้วยระบบการสอบ แบบ Online
ให้กบั ผเู้ รียนทกุ คนตงั้ แต่ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาจนถงึ มัธยมศึกษาตอนตน้
(๑๔) ส่งเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในทางการ
ประเมนิ ทกั ษะการคดิ แกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ PISA ใหแ้ กศ่ กึ ษานเิ ทศก์
และครูผ้สู อน
(๑๕) ให้บริการเครื่องมือการวัดและประเมิน
อิงสมรรถนะตามแนวทางการประเมินผลผู้เรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA)
ด้วยระบบ Online Testing
(๑๖) ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ส ถ า น ศึ ก ษ า จั ด ห ลั ก สู ต ร
และแผนการเรียนน�ำ ไปสู่ความเป็นเลิศในแตล่ ะด้าน
(๑๗) ส่งเสริมผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ
ด้านศลิ ปะดนตรีและกฬี าโดยจดั เปน็ ห้องเรียนเฉพาะด้าน
(๑๘) พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตามความถนัด
และเปน็ นวัตกร ผ้สู รา้ งนวัตกรรม

38 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๓.๔ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที กั ษะอาชพี และทกั ษะชวี ติ มสี ขุ ภาวะทดี่ ี
สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ
๓.๔.๑ ตวั ชวี้ ดั
(๑) ร้อยละของผู้เรยี น มี ID plan และ Portfolio
เพือ่ การศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ
(๒) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้
และบรรยากาศสง่ิ แวดล้อมท่เี ออ้ื ต่อการพัฒนาทกั ษะอาชีพตามความถนดั
(๓) ร้อยละของผเู้ รยี นที่มีสขุ ภาวะท่ดี ที กุ ชว่ งวัย
(๔) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบป้องกัน
และแก้ไขปัญหาในสถานศึกษา

39นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.๔.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษา
เพอื่ สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรอู้ งิ สมรรถนะและเตรยี มความพรอ้ มสกู่ ารประกอบ
สัมมาอาชพี
(๒) พัฒนารายวิชาที่ส่งเสริมการศึกษาต่อและ
การประกอบอาชีพ
(๓) สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาจดั หลกั สตู รทกั ษะอาชพี
ควบค่กู บั วชิ าสามญั เชน่ ทวศิ กึ ษาหลกั สตู รระยะส้นั
(๔) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั การเรียนรู้
แก่ผู้เรียนตามความสนใจในทักษะอาชีพท่ีตนเองถนัด เพ่ือเตรียมความพร้อม
กอ่ นเข้าส่ตู ลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ
(๕) ส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคนได้รับประทานอาหาร
ตามหลักโภชนาการ และเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานของอนามัย
(๖) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์
และสงั คม (Social and Emotional Learning : SEL) ในทุกช่วงวัย
(๗) สถานศกึ ษามรี ะบบการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา
ในสถานศกึ ษา

40 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๓.๕ การจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนา
อย่างย่ังยืน (SDGs) เพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๓.๕.๑ ตวั ชว้ี ัด
(๑) ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมแสดงออกถึง
การด�ำ เนนิ ชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม และการประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
(๒) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดสภาพ
แวดลอ้ มทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสงิ่ แวดลอ้ ม สงั คม และเศรษฐกจิ เพอื่ การพฒั นา
ทีย่ ่ังยืน (Environmental Education Sustainable Development : EESD)
(๓) ทุกสถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือให้บรรลุ
เป้าหมายการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs,
2030)
๓.๕.๒ แนวทางการด�ำ เนนิ การ
(๑) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาจดั การเรียนรู้
เพือ่ พัฒนาผู้เรยี นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

41นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๒) ส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาจดั การศึกษา
เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development
Goals : SDGs, 2030)
(๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงาน
ทุกสังกัดจดั สิ่งแวดลอ้ ม สังคม และเศรษฐกจิ ให้สอดคล้องกับหลกั Zero waste
และมาตรฐานสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน (Environmental Education
Sustainable Development : EESD)
(๔) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรม
การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อยา่ งตอ่ เน่ือง
๓.๖ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนท่ีมีความต้องการจ�ำ เป็นพิเศษ
๓.๖.๑ ตัวช้ีวัด
(๑) รอ้ ยละของผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจ�ำ เปน็ พเิ ศษ
มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานของแตล่ ะระดบั
(๒) รอ้ ยละของผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจ�ำ เปน็ พเิ ศษ
ได้รับการพัฒนาด้านทกั ษะอาชพี ทักษะการดำ�รงชวี ิต มีคุณธรรม จริยธรรม และ
มีจติ สาธารณะ

42 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๓) ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ผู้ เรี ย น ที่ มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
จำ�เป็นพิเศษ ได้รับการส่งเสริมให้มีความสามารถพิเศษด้านต่างๆ อาทิ ดนตรี
กีฬา ศลิ ปะ และเทคโนโลยี เป็นต้น
๓.๖.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) ใ ห้ บ ริ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ร ะ ย ะ แ ร ก เ ร่ิ ม
(Early Intervention : EI) ท่ีศูนย์การศึกษาพิเศษ หน่วยบริการและท่ีบ้าน
อย่างมีประสทิ ธิภาพ
(๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาการจดั การศกึ ษา
ส�ำ หรับผู้เรยี นท่ีมีความตอ้ งการจำ�เป็นพเิ ศษ ดว้ ยระบบและรูปแบบที่หลากหลาย
(๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาในสถานศกึ ษา
แบบเรียนรวมและศนู ยก์ ารเรยี นเฉพาะความพกิ าร
(๔) ปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการวดั และประเมนิ ผล
ตามสภาพจริง
(๕) ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนา
ทักษะการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำ�นวณ การคิดวิเคราะห์ และ
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
(๖) ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ทักษะการดำ�รงชีวิต ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
จิตสาธารณะและการดำ�รงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
(๗) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ตามโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รฯิ
(๘) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นมที ศั นคตทิ ี่ถกู ตอ้ ง
ต่อการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
(๙) ส่งเสริม สนับสนุนการใช้สื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือ่ สารอย่างถกู ต้อง เหมาะสม และสรา้ งสรรค์

43นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒


Click to View FlipBook Version