The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มนโยบาย สพฐ.ปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nutty on tour, 2019-11-30 03:24:31

เล่มนโยบาย สพฐ.ปี 2562

เล่มนโยบาย สพฐ.ปี 2562

(๑๐) ส่งเสริม สนับสนุน เทคโนโลยี สิ่งอำ�นวย
ความสะดวก สือ่ บริการ และความชว่ ยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษา
(๑๑) ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความต้องการ
จำ�เป็นพเิ ศษ ทม่ี คี วามสามารถพิเศษในด้านวชิ าการ ดนตรี กฬี า ศิลปะ และอนื่ ๆ
เพอ่ื ยกระดบั สคู่ วามเป็นเลศิ พรอ้ มกา้ วสูส่ ากล
(๑๒) ส่งเสริม สนับสนุนการนำ�ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
(๑๓) จดั ใหม้ รี ะบบการนเิ ทศก�ำ กบั ตดิ ตามประเมนิ ผล
การจดั การศกึ ษาเชิงบูรณาการ
(๑๔) จดั ใหม้ กี ลมุ่ งานระบบประกนั คณุ ภาพในส�ำ นกั
บริหารงานการศึกษาพิเศษ เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบประกัน
คุณภาพภายในท่ีเข้มแขง็
(๑๕) ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานและ
สถานศึกษาจัดทำ� รวบรวม ผลิต พัฒนา และเผยแพร่ สื่อ นวัตกรรม งานวิจัย
ทางการศกึ ษา
(๑๖) สำ�รวจสภาพอาคารสถานที่ และส่ิงแวดล้อม
ในสถานศึกษา จัดทำ�ผงั บริเวณ จดั ทำ�แบบรูปและรายการสงิ่ กอ่ สรา้ ง
(๑๗) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีแนวทางปฏิบัติ
และมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
(๑๘) ส่งเสริม สนับสนุนให้เครือข่ายส่งเสริม
ประสทิ ธภิ าพและกล่มุ สถานศกึ ษา ขบั เคล่อื นการจดั การศกึ ษาให้มปี ระสิทธภิ าพ

44 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๑๙) ส่งเสริม สนับสนุน การดำ�เนินงานของ
คณะอนกุ รรรมการสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาสำ�หรับคนพกิ ารจงั หวดั
(๒๐) ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาร่วมมือกับ
ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรปกครองในพื้นท่ี พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี นและระบบแนะแนวให้มีประสทิ ธิภาพ
(๒๑) ส่งเสริม สนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อม
และแหลง่ เรยี นร้ใู หเ้ ออื้ ตอ่ การจดั การศกึ ษา
๓.๗ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษา น�ำ Digital Technology
มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรใู้ หแ้ กผ่ เู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลตามสมรรถนะ ความตอ้ งการ
และความถนัด สร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge-Based Society)
เพือ่ การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชีวิต
๓.๗.๑ ตวั ช้ีวดั
(๑) รอ้ ยละของผเู้ รยี นทเี่ รยี นรผู้ า่ นDigitalPlatform
(๒) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้เพื่อให้
พัฒนาตนเองผ่าน Digital Platform
๓.๗.๒ แนวทางการดำ�เนินการ
(๑) พัฒนาระบบคลังข้อมูล องค์ความรู้ เพื่อให้
บรกิ าร Digital Textbook ตามเนอื้ หาหลกั สตู รทก่ี �ำ หนด สอื่ วดิ โี อ และองคค์ วามรู้
ประเภทตา่ ง ๆ และใหบ้ รกิ ารแกผ่ เู้ รยี นใหก้ ารพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ติ
(๒) พัฒนา Digital Platform เพ่ือตอบสนองต่อ
การพัฒนาการเรียนรขู้ องผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล
(๓) สถานศกึ ษาสนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเรยี นรู้
ดว้ ยตนเองผ่าน Digital Platform

45นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

นโยบายที่ ๓ พฒั นาผูบ้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
๑. บทน�ำ
การปรบั เปลยี่ นระบบการผลติ และพฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากร
ทางการศึกษาทุกประเภท ตั้งแต่การจูงใจ คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามา
เปน็ ครคู ณุ ภาพ มรี ะบบการพฒั นาศกั ยภาพและสมรรถนะอยา่ งตอ่ เนอ่ื งครอบคลมุ
ทงั้ เงนิ เดอื น เสน้ ทางสายอาชพี ปรบั เปลยี่ นบทบาทครใู หเ้ ปน็ ครยู คุ ใหมท่ ม่ี คี ณุ ภาพ
และประสิทธิภาพตรงตามความต้องการ เป็นมืออาชีพ มีทักษะวิชาชีพข้ันสูง
โดยปรับบทบาทจาก “ครูสอน” เป็น “โค้ช” หรือ “ผู้อำ�นวยการการเรียนรู้”
สร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างกัน รวมถึงการพัฒนา
ครูท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ
และวัดผลงานจากการพัฒนาผู้เรียนโดยตรง นอกจากนี้มีการออกแบบ วางแผน
การผลิตและพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การกำ�หนดมาตรฐานวิชาชีพข้ันสูง
เงนิ เดอื นคา่ ตอบแทนและสวัสดกิ ารตา่ ง ๆ ใหส้ ามารถจงู ใจบคุ คลทีเ่ กง่ ดี มคี วามรู้
มาเปน็ ครู มกี ารวางแผนอตั ราก�ำ ลงั ระยะยาว (๒๐ ป)ี รว่ มมอื กบั สถาบนั การศกึ ษา
ในการผลิตครู และมีการวางแผนการพัฒนาครูอย่างต่อเน่ือง โดยนำ� Digital
Platform มาเป็นเครื่องมือท้ังการพัฒนา อบรมครู และการจัดทำ�ฐานข้อมูล
กำ�ลังคน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลประวัติครู ประวัติการพัฒนา ฝึกอบรม นำ�ไปสู่
การวเิ คราะห์ วางแผนกำ�ลงั คนไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง

46 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๒. เป้าประสงค์
ผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท เป็นบคุ ลากร
ท่ีมีคุณภาพ มีประสิทธภิ าพ เป็นมืออาชพี และมที ักษะวิชาชีพขน้ั สูง
๓. ประเด็นกลยุทธ์
๓.๑ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันทางการศึกษา
ที่ผลิตครู ในการผลิตและพัฒนาครูให้ตรงกับสาขาวิชา และสอดคล้องกับ
การพฒั นาในศตวรรษที่ ๒๑
๓.๑.๑ ตวั ชว้ี ดั
(๑) สถานศกึ ษามแี ผนความตอ้ งการครรู ะยะ ๒๐ ปี
(๒) สถานศึกษามีกรอบสมรรถนะครูที่สอดคล้อง
กับการพัฒนาในศตวรรษท่ี ๒๑ และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพนื้ ท่ี
(๓) สถานศกึ ษาทกุ แหง่ มจี �ำ นวนครอู ยา่ งเหมาะสม
และพอเพียงตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี น
๓.๑.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา
ในการวิเคราะหค์ วามขาดแคลน และความต้องการครู
(๒) ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา
ในการก�ำ หนดสมรรถนะครูให้สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาในศตวรรษที่ ๒๑

47นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๓) ประสานความร่วมมือ ในการวางแผน
การผลิตครทู ง้ั ระบบ
(๔) สถาบันการศึกษาผลิตครูตามความต้องการ
และความขาดแคลนครู ระยะ ๒๐ ปี
(๕) ประสานความร่วมมือ ติดตาม ประเมินผล
การผลิตครู
๓.๒ พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ ประเภท
ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชีพ มศี ักยภาพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม
๓.๒.๑ ตัวชว้ี ดั
(๑) ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ทกุ ประเภท มศี กั ยภาพในการปฏบิ ตั งิ านครบตามความจ�ำ เปน็ ในการจดั การเรยี นรู้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
(๒) ผบู้ รหิ ารครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาสามารถ
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผลอย่างมี
คุณภาพในรูปแบบทหลากหลาย ตามศักยภาพของผู้เรยี นแตล่ ะบุคคล
๓.๒.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการจำ�เป็นในการ
พัฒนาตนเอง (Need Assessment) ของผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
เพือ่ วางแผนการพฒั นาอย่างเปน็ ระบบและครบวงจร

48 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๒) ก�ำ หนดกรอบและวเิ คราะหห์ ลกั สตู รเพอ่ื พฒั นา
ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั ความกา้ วหนา้ ในวิชาชีพ
(Career Path)
(๓) ประสานกบั สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั ครุ พุ ฒั นา
หรือหน่วยงานอื่น ๆ จัดทำ�หลักสูตรที่มีคุณภาพให้สอดคล้องกับกรอบหลักสูตร
ท่ีก�ำ หนด
(๔) สนับสนุนให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทาง
การศึกษา วางแผนและเข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตรที่กำ�หนดที่เช่ือมโยง
ความก้าวหนา้ ในวชิ าชีพ (Career Path)
(๕) ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในรูปแบบชุมชน
แห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
(๖) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้ออกแบบการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการวัดประเมินผลที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง
(Higher Order Thinking) ผา่ นกิจกรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning)
(๗) ส่งเสรมิ และพัฒนาผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากร
ทางการศึกษาทุกประเภท ให้มีความรู้ทักษะด้าน Digital Literacy, Digital
Pedagogy ทกั ษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษ ทักษะสื่อสารภาษาที่ ๓

49นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๘) สง่ เสรมิ พฒั นาและยกระดบั ความรภู้ าษาองั กฤษ
ของครูที่สอนภาษาอังกฤษ โดยใช้ระดับการพัฒนาทางด้านภาษา (CEFR)
ตามเกณฑ์ท่ีกำ�หนด
(๙) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะ
ในการจดั การเรยี นรสู้ �ำ หรบั ผเู้ รยี นทม่ี คี วามแตกตา่ ง (Differentiated Instruction)
(๑๐) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะ
ในการสร้างเครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการคิดข้ันสูง
(Higher Order Thinking)
(๑๑) สง่ เสรมิ และพฒั นาครแู ละผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
โรงเรียนขนาดเล็ก ให้มีความรู้ความสามารถจัดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และ
การสอนแบบคละชนั้
(๑๒) ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้
ส�ำ หรับผู้เรียนที่มคี วามตอ้ งการจ�ำ เป็นพิเศษ ตามศักยภาพของผเู้ รียนแตล่ ะบคุ คล
และตามสภาพและประเภทของความพิการ
(๑๓) ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูพัฒนาตนเอง
ผ่านระบบ Online และแบบ Face-to-Face Training
(๑๔) ปรับเปล่ียนกระบวนการวิธีการประเมินครู
โดยเนน้ การประเมนิ สมรรถนะในการจดั การเรยี นการสอนโดยผลสมั ฤทธข์ิ องผเู้ รยี น
เป็นหลัก และประเมินจรรยาบรรณของครู ทุก ๆ ๕ ปี (ประเมิน ๓๖๐ องศา)

50 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๓.๓ น�ำ Digital Technology มาใชใ้ นการพัฒนาผู้บริหาร ครู
และบุคลากรทางการศกึ ษาทุกประเภทท้งั ระบบ
๓.๓.๑ ตวั ชวี้ ัด
(๑) สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดทุกแห่ง
มีระบบฐานข้อมูลผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพอื่ วางแผนการผลติ
และพัฒนาครทู ้งั ระบบ
(๒) ร้อยละของบุคลากรในสังกัดท่ีพัฒนาตนเอง
ผ่านระบบ Digital Technology
(๓) ร้อยละของ Digital Content เก่ียวกับ
องคค์ วามรใู้ นสาขาทีข่ าดแคลน
๓.๓.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) พฒั นา Digital Platform เพื่อใชใ้ นการพฒั นา
ผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภททง้ั ระบบ
(๒) พัฒนา Digital Platform ระบบบรหิ ารจัดการ
ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภททง้ั ระบบ
(๓) พฒั นา Digital Content ในองค์ความรกู้ ารจดั
การศกึ ษาในสาขาทขี่ าดแคลน เชน่ การพฒั นาทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู การจดั การศกึ ษา
สำ�หรับผเู้ รยี นที่มีความตอ้ งการจ�ำ เปน็ พเิ ศษ และผู้เรยี นท่มี คี วามแตกตา่ ง เป็นตน้
(๔) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ บู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาทกุ ประเภทพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื งผา่ นระบบ Digital Technology

51นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

นโยบายท่ี ๔ สรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมี
คณุ ภาพ มมี าตรฐาน และลดความเหลอ่ื มลํ้า
ทางการศกึ ษา
๑. บทนำ�
การสร้างโอกาสทางการศึกษา เพื่อให้ประชากรในวัยเรียนทุกคน
และทุกกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งหมายรวมถึง กลุ่มผู้เรียนที่มีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ
กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ กล่มุ ผู้ด้อยโอกาส และกลุม่ ท่ีอยใู่ นพนื้ ที่หา่ งไกลทุรกันดาร ไดเ้ ขา้ ถึง
การบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ และมมี าตรฐาน โดย
๑) เน้นการสร้างความร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี
ภาคเอกชน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องระดับพ้ืนที่ เพ่ือวางแผนการจัดการศึกษา
ทั้งระบบต้ังแต่การสำ�มะโนประชากรวัยเรียน การรับเด็กเข้าเรียน การตรวจสอบ
ติดตามการเข้าเรียน การติดตามเด็กนักเรียนออกกลางคัน ตลอดจนการพัฒนา
หลักสูตรใหส้ อดคล้องกับพื้นท่ี และการระดมทุนเพ่ือพฒั นาการศึกษา
๒) ปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศกึ ษาทกุ แหง่ ใหม้ มี าตรฐานในดา้ นตา่ ง ๆ
สอดคล้องกับบริบทเชิงพ้ืนที่ เช่น มาตรฐานด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำ�นวย
ความสะดวก ไดแ้ ก่ อาคารเรียน อาคารประกอบ หอประชมุ สนามกีฬา ห้องเรียน
ห้องพิเศษ วัสดุ ครุภัณฑ์ เป็นต้น มาตรฐานด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานดา้ นการบรหิ ารจัดการ มาตรฐานดา้ นระบบงบประมาณ มาตรฐานดา้ น
ความปลอดภัย และมาตรฐานด้าน Digital Technology เป็นต้น

52 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๓) สร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการศึกษาสำ�หรับผู้เรียน
ท่มี คี วามต้องการจ�ำ เป็นพิเศษ
๔) ปรบั เปลย่ี นกระบวนการงบประมาณตง้ั แตก่ ารจดั สรรงบประมาณ
อุดหนนุ ตรงไปยงั ผ้เู รียนและสถานศกึ ษาโดยตรง และมีความเหมาะสม เพยี งพอ
๕) นำ� Digital Technology มาเป็นเคร่ืองมือในการลดความ
เหล่ือมล้ําและสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ การบรกิ ารการเรียนรู้ทมี่ ีประสิทธิภาพ
๒. เป้าประสงค์
ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงการบริการการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ
มมี าตรฐานเสมอกนั และเข้าถึงบริการการเรียนร้ทู ่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
๓. ประเดน็ กลยทุ ธ์
๓.๑ ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ ภาคเอกชน
หน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งในการจดั การศึกษาใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทของพ้ืนที่
๓.๑.๑ ตวั ชี้วัด
(๑) ร้อยละของเด็กวัยเรียนท่ีเข้ารับการศึกษา
ในแต่ละระดับการศกึ ษา
(๒) ร้อยละของนักเรยี นออกกลางคนั
(๓) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทมี่ รี ะบบการดแู ลชว่ ยเหลอื
และคมุ้ ครองนกั เรยี นและการแนะแนวทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
(๔) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีระบบฐานข้อมูล
ประชากรวัยเรียนและสามารถนำ�มาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

53นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.๑.๒ แนวทางการดำ�เนนิ การ
(๑) สถานศึกษาร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี
ภาคเอกชน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง วางแผนการจัดการศึกษาให้สอดคล้อง
เหมาะสมกับบริบทของพืน้ ที่
(๒) สถานศึกษาร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี
จดั ท�ำ ส�ำ มะโนประชากรวยั เรยี น (อายุ ๐ - ๖ ปี)
(๓) สถานศกึ ษารว่ มมอื กบั องคก์ รปกครองระดบั พน้ื ที่
ชมุ ชน เอกชน และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งระดบั พนื้ ท่ี จดั ท�ำ แผนการนกั เรยี นทกุ ระดบั
(๔) สถานศึกษาร่วมกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนท่ี
ติดตาม ตรวจสอบ เด็กวัยเรียนได้เข้าถึงการบริการการเรียนรู้ได้อย่างท่ัวถึง
ครบถ้วน
(๕) สถานศึกษาจัดทำ�ฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน
เพื่อเก็บรวบรวม เช่ือมโยงข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ เพ่ือวางแผนการจัดบริการ
การเรยี นรใู้ ห้แกผ่ ูเ้ รียน
๓.๒ ยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับ และทุกประเภท
ใหม้ มี าตรฐานตามบริบทของพื้นท่ี เพอื่ ให้พัฒนาผเู้ รียน มีคุณภาพ มีมาตรฐาน
เสมอกนั
๓.๒.๑ ตวั ชี้วดั
(๑) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
มกี รอบมาตรฐานสถานศกึ ษา
(๒) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีผ่านการประเมิน
มาตรฐานสถานศกึ ษาตามทก่ี �ำ หนด

54 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๓.๒.๒ แนวทางการด�ำ เนินการ
(๑) จัดทำ�มาตรฐานสถานศึกษาโดยพิจารณา
จากปัจจัย หรือองค์ประกอบข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือสร้างโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงบริการ
การเรียนรู้ที่จะพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีมาตรฐานเสมอกัน ตามบริบทเชิงพ้ืนท่ี
ได้แก่
๑) ปจั จยั ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานและสง่ิ อ�ำ นวย
ความสะดวก เช่น อาคารเรยี น อาคารประกอบ หอประชมุ สนามกฬี า หอ้ งเรียน
หอ้ งพิเศษ วสั ดุ ครุภณั ฑ์ เปน็ ต้น
๒) ดา้ นครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๓) ดา้ นการบรหิ ารจัดการ
๔) ด้านงบประมาณ
๕) ด้านความปลอดภยั
๖) ดา้ น Digital Technology
(๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศกึ ษา
ใหม้ มี าตรฐานตามทก่ี ำ�หนด
๓.๓ สร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการศึกษาสำ�หรับ
ผเู้ รยี นท่มี ีความตอ้ งการจำ�เปน็ พเิ ศษ
๓.๓.๑ ตัวช้วี ดั
(๑) มีข้อมูลสารสนเทศของการจัดการศึกษาพิเศษ
ทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั หน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งทกุ ระดบั

55นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๒) สำ�นักงานบริหารงานการศึกษาพิเศษ
มยี ทุ ธศาสตร์ แผนการดำ�เนนิ งาน และแผนปฏบิ ตั กิ ารทีต่ อบสนองสำ�หรบั ผูเ้ รยี น
ทมี่ คี วามตอ้ งการจ�ำ เปน็ พเิ ศษ ตามศกั ยภาพของผเู้ รยี นแตล่ ะบคุ คล และตามสภาพ
และประเภทของความพกิ าร
(๓) ทุกสถานศึกษาในสังกัดมีความพร้อมทั้งระบบ
เพื่อสามารถจัดการศกึ ษาแบบเรียนรวม
๓.๓.๒ แนวทางการด�ำ เนนิ การ
(๑) จัดทำ�ระบบข้อมูลสารสนเทศของการจัด
การศึกษาพิเศษ ท่ีเชื่อมโยงกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ และนำ�มาใช้
อย่างมปี ระสิทธิภาพ
(๒) สง่ เสริม สนบั สนุน ส�ำ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษา
พิเศษ จัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ แผนการดำ�เนินงาน และแผนปฏิบัติการเชิงรุก
เนน้ การใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการทำ�งานแบบมีส่วนรว่ ม
(๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ระบบการจดั การศกึ ษาพเิ ศษ
ทผ่ี เู้ รยี นสามารถเขา้ สบู่ รกิ ารชว่ งเชอื่ มตอ่ (Transitional Services) หรอื การสง่ ตอ่
(Referral) เข้าสู่การศึกษาในระดับเดียวกันและระดับที่สูงข้ึน การอาชีพ หรือ
การด�ำ เนนิ ชวี ิตในสงั คมได้ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล
(๔) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ทุกสถานศกึ ษาในสงั กัด
มีความพร้อมท้งั ระบบ เพ่อื สามารถการจัดการศกึ ษาแบบเรียนรวม

56 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๕) จัดให้มีศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบการจัด
การศกึ ษาพเิ ศษ ในการตดิ ตาม ช่วยเหลือ และสนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาด�ำ เนนิ การ
จัดการศึกษาพิเศษไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๓.๔ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนผู้เรียน และสถานศึกษา
อย่างเหมาะสม เพยี งพอ
๓.๔.๑ ตวั ชี้วดั
(๑) มรี ปู แบบหรอื แนวทางในการจดั สรรงบประมาณ
ใหก้ ับผู้เรียน และสถานศึกษาโดยตรงอยา่ งเหมาะสม
(๒) ผเู้ รยี นทกุ คน และสถานศกึ ษาไดร้ บั การจดั สรร
งบประมาณสนบั สนนุ การเรยี นรอู้ ยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษา
(๓) จ�ำ นวนโครงการหรอื กจิ กรรมทไี่ ดร้ บั ความรว่ มมอื
จากกองทนุ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา
๓.๔.๒ แนวทางการด�ำ เนินงาน
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ วิธีการจัดสรรงบประมาณ
ใหก้ บั ผเู้ รยี น และสถานศึกษา ทง้ั ด้านความเหมาะสม เพียงพอ
(๒) จัดสรรงบประมาณให้ผู้เรียน และสถานศึกษา
โดยตรง
(๓) ประสานความร่วมมือกับกองทุนเพ่ือความ
เสมอภาคทางการศึกษา เพื่อลดความเหล่ือมลํ้าทางการศึกษา เพ่ือสนับสนุน
งบประมาณ เพ่อื สนับสนุนการจดั การเรยี นรใู้ ห้แกผ่ เู้ รียน

57นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.๕ ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา หน่วยงานทุกระดับ
น�ำ Digital Technology มาใชเ้ ป็นเครอ่ื งมอื ในการพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรียน
๓.๕.๑ ตวั ชีว้ ัด
(๑) สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบโครงข่ายสื่อสาร
โทรคมนาคมท่ีสามารถเช่ือมต่อกับโครงข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และปลอดภยั
(๒) สถานศึกษามี Digital Device เพ่ือใช้เป็น
เคร่ืองมือในการเรียนรู้ของผู้เรียน และเป็นเคร่ืองมือในการจัดการเรียนรู้ได้อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ
๓.๕.๒ แนวทางการด�ำ เนนิ งาน
(๑) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษามีโครงข่าย
สือ่ สารโทรคมนาคมทมี่ ปี ระสิทธภิ าพและปลอดภยั
(๒) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษามีระบบ
คอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ท่ีใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื ในพฒั นาทักษะดา้ น Digital Literacy
แกผ่ ู้เรียน
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาปรับปรุง
พัฒนาหอ้ งเรยี นให้เปน็ หอ้ งเรยี น Digital
(๔) ส่งเสริม สนับสนุน Digital Device สำ�หรับ
ผู้เรียนทุกระดับอย่างเหมาะสม เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาการเรียนรู้
ของตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต

58 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๕) ส่งเสริม สนับสนุน Digital Device และ
พัฒนา Digital Pedagogy สำ�หรับครูอย่างเหมาะสม เพอ่ื เป็นเครอ่ื งมือในการจัด
กระบวนการเรียนรู้เพ่อื พัฒนาผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
(๖) โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาทางไกลผา่ น
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Information Technology : DLIT)
(๗) โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย
เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม

นโยบายท่ี ๕ เพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การ
๑. บทนำ�
การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การ ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
จะเน้นการพัฒนาหน่วยงานในสังกัด ให้เป็นหน่วยงานที่มีขนาดท่ีเหมาะสม
กบั บทบาทภารกจิ สามารถใหบ้ รกิ ารไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ แยกแยะ
บทบาทหน่วยงานแต่ละระดับอย่างชัดเจน เช่น ระดับปฏิบัติ ระดับท่ีทำ�หน้าท่ี
ในการกำ�กับติดตาม เป็นหน่วยงานที่มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล
และโปรง่ ใส เป็นองคก์ รที่ปราศจากการทจุ ริตคอรัปชน่ั ปรบั วัฒนธรรมการท�ำ งาน

59นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ใหม้ ่งุ ผลสมั ฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มคี วามทันสมัย และพร้อมท่จี ะปรบั ตวั
ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนำ�
นวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำ�งานท่ีเป็น Digital เข้ามา
ประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ และปฏบิ ตั งิ านเทยี บไดก้ บั มาตรฐานสากล รวมทง้ั มลี กั ษณะ
เปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม
เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนได้อยา่ งสะดวกและรวดเรว็
๒. เป้าประสงค์
สถานศึกษา และหน่วยงานระดับภูมิภาคมีความอิสระในการ
จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ มีมาตรฐานสอดคล้องกับบริบท
ของพน้ื ท่ี
๓. ประเดน็ กลยทุ ธ์
๓.๑ เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาของ
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และสถานศกึ ษา
๓.๑.๑ ตัวช้วี ัด
(๑) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
มผี ลการด�ำ เนนิ งานผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ สว่ นราชการทส่ี �ำ นกั งานคณะกรรมการ
พฒั นาระบบราชการก�ำ หนด
(๒) ร้อยละของสำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพมาตรฐานสำ�นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา

60 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๓) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีผลการประเมิน
ภายนอก ในระดับดขี ้นึ ไป
(๔) ร้อยละของหน่วยงานผ่านการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity &
Transparency Assessment : ITA)
๓.๑.๒ แนวทางการด�ำ เนนิ การ
(๑) กำ�กับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
เพื่อการบริหารจัดการทมี่ ปี ระสิทธิภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล
(๒) ส่งเสริมระบบประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษาใหเ้ ขม้ แข็ง
(๓) ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตสิ �ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
สำ�นักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สถานศึกษา และองค์คณะบุคคลท่ีมีผลงาน
เชงิ ประจักษ์

61นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๔) กำ�หนดให้หน่วยงานในสังกัดทุกหน่วยงาน
ใช้ระบบการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นคุณธรรมและความโปร่งใสในการทำ�งาน
ตามหลักการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงาน
ภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
๓.๒ สร้างเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วน
ของสังคมเข้ามามสี ว่ นร่วมบริหารจัดการศกึ ษา
๓.๒.๑ ตัวชี้วัด
รอ้ ยละของสถานศกึ ษาหนว่ ยงานมกี ารบรหิ ารจดั การ
แบบมสี ่วนรว่ ม
๓.๒.๒ แนวทางการด�ำ เนินงาน
(๑) ส่งเสริมการบริหารจัดการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
โดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน (Area-based Management) รูปแบบการบริหารแบบ
กระจายอ�ำ นาจ “CLUSTERs”

62 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๒) ส่งเสริม การมีส่วนร่วม จัดทำ�แผนบูรณาการ
จดั การศึกษา ในระดับพืน้ ที่
(๓) สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพ
การศกึ ษารูปแบบเครือข่าย เช่น เครอื ขา่ ยสง่ เสริมประสิทธภิ าพการจดั การศึกษา
ศนู ยพ์ ัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้ สหวิทยาเขต กลุ่มโรงเรียน
(๔) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษาแบบบูรณาการที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน
และพ้นื ท่ี
(๕) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ผปู้ กครอง ชมุ ชน สงั คม และ
สาธารณชน ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมสี ว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบ (Accountability)
ในการบริหารจัดการศึกษา
(๖) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามา
มีสว่ นร่วมสนบั สนุนทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา
๓.๓ ยกระดับการบริหารงานของสถานศึกษาให้มีอิสระ
นำ�ไปสู่การกระจายอำ�นาจ ๔ ด้าน ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางในการจัด
การศึกษาตามบริบทของพื้นท่ี
๓.๓.๑ ตัวชวี้ ัด
(๑) มีรูปแบบและแนวทางในการบริหารจัดการ
ของสถานศกึ ษาใหเ้ กิดคุณภาพ

63นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๒) มีข้อเสนอเชิงนโยบายในการกระจายอำ�นาจ
ทัง้ ระบบ
(๓) มีรูปแบบและแนวทางในการบริหารจัดการ
โรงเรียนขนาดเล็กให้เกิดคุณภาพ
(๔) รอ้ ยละของสถานศกึ ษามคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน
(มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน/ปฐมวัย/ศูนย์การศึกษาพิเศษ)
และพัฒนาส่รู ะดับสากล
(๕) จำ�นวนโรงเรยี นขนาดเลก็ ลดลง
(๖) ร้อยละของผู้เรียนท่ีอยู่ในโรงเรียนขนาดเล็ก
มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน
๓.๓.๒ แนวทางการดำ�เนนิ การ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรงุ เปลีย่ นแปลง ระบบ
การบริหารงานของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่ท้ังระดับปฏิบัติ และรับการกำ�กับ
ตดิ ตาม

64 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๒) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนารปู แบบ
การกระจายอำ�นาจการจัดการศกึ ษา ๔ ดา้ น ใหส้ ถานศกึ ษา โดยในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒ ใหศ้ ึกษานำ�ร่องรปู แบบการกระจายอำ�นาจ เช่น
๑) พื้นทน่ี วัตกรรมการศกึ ษา
๒) โรงเรยี นรว่ มพฒั นา (Partnership School)
๓) Autonomous School
(๓) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างของ
สถานศึกษา (Enterprise Architecture) ในฐานหน่วยงานระดับปฏิบัติ และ
หนว่ ยงานระดบั ก�ำ กบั ตดิ ตามใหเ้ หมาะกบั บรบิ ทการเปลยี่ นแปลงของโลกปจั จบุ นั
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา Digital
Technology ใชใ้ นการจัดการศึกษาท้งั ระบบ (Digital Transformation)
(๕) สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาจดั หาเจา้ หนา้ ที่
เพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ครูสายผู้สอนปฏิบัติหน้าท่ี
เฉพาะด้านทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การเรียนรู้ให้แกผ่ ู้เรียนเท่าน้นั
(๖) ยกระดับสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ตลอดชวี ิต เป็นศูนย์กลางในการพฒั นาทกั ษะ และคุณภาพชวี ิตของชมุ ชน
(๗) สร้างความเข้มแข็ง และยกระดับคุณภาพ
สถานศึกษาตามบรบิ ทของพ้ืนที่ เชน่ โรงเรยี นมาตรฐานสากล สถานศกึ ษาน�ำ รอ่ ง
ในพน้ื ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษา โรงเรยี นรว่ มพฒั นา โรงเรยี นประชารฐั โรงเรยี นคณุ ธรรม
โรงเรียนห้องเรียนกฬี า
(๘) นำ�ผลการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้
ในการวางแผนการปฏิบัติ การตรวจสอบติดตามเพื่อการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษา
ใหม้ ีคุณภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษา
(๙) สรา้ งมาตรฐานและก�ำ หนดแนวทางในการเพมิ่
ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็

65นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๑๐) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี นขนาดเลก็ มรี ะบบ
การบรหิ ารจดั การทห่ี ลากหลาย เชน่ การบรหิ ารจดั การแบบกลมุ่ โรงเรยี น การสอน
แบบคละช้ัน
(๑๑) พิจารณาแต่งต้ังผู้บริหารท่ีมีศักยภาพ
ในโรงเรียนขนาดเล็ก พิจารณาค่าตอบแทนพิเศษและสวัสดิการอ่ืน ๆ สำ�หรับ
ผู้ปฏิบัติงานในโรงเรยี นขนาดเล็ก
(๑๒) ปรับปรุงกฎหมายระเบียบข้อปฏิบัติ
ใหส้ อดคล้องกับการกระจายอ�ำ นาจ
(๑๓) สถานศึกษามีอิสระในการบริหารงาน
และจัดการเรยี นรู้ เพือ่ พัฒนาผ้เู รยี นใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานคุณภาพผู้เรยี น สอดคล้อง
กับความต้องการท้องถ่ิน นำ�ไปสู่การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพของผู้เรียน
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
๓.๔ ปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเพ่ือสนับสนุนผู้เรียนและ
สถานศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม เพียงพอ
๓.๔.๑ ตวั ชวี้ ัด
(๑) มรี ปู แบบหรอื แนวทางในการจดั สรรงบประมาณ
ใหก้ ับผเู้ รียนและสถานศกึ ษาโดยตรงอย่างเหมาะสม
(๒) ผู้เรียนทุกคนและสถานศึกษาได้รับการจัดสรร
งบประมาณสนบั สนนุ การเรยี นรอู้ ยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษา
(๓) จำ�นวนโครงการ/กิจกรรมที่ได้รับความร่วมมือ
จากกองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาคทางการศึกษา
๓.๔.๒ แนวทางการด�ำ เนินงาน
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ วิธีการจัดสรรงบประมาณ
ให้กับผ้เู รียนและสถานศกึ ษา ทง้ั ด้านความเหมาะสม เพยี งพอ
(๒) จัดสรรงบประมาณให้ผู้เรียนและสถานศึกษา
โดยตรง

66 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๓) ประสานความรว่ มมอื กบั กองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาค
ทางการศึกษา เพ่ือลดความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษา เพ่ือสนับสนุนงบประมาณ
เพ่อื สนับสนุนการจัดการเรียนรใู้ ห้แก่ผู้เรียน
๓.๕ สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษา หน่วยงานทุกระดับน�ำ
Digital Technology มาใชใ้ นการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารอยา่ งเปน็ ระบบ
น�ำ ไปสู่การน�ำ เทคโนโลยี Big Data เพือ่ เช่อื มโยงขอ้ มลู ดา้ นตา่ ง ๆ ต้ังแต่ข้อมูล
ผเู้ รยี น ขอ้ มลู ครู ขอ้ มลู สถานศกึ ษา ขอ้ มลู งบประมาณ และขอ้ มลู อน่ื ๆ ทจี่ �ำ เปน็
มาวิเคราะห์เพื่อให้สถานศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียน
เป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนัด สามารถวิเคราะห์เป็นข้อมูล
ในการวางแผนการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศต่อไป
๓.๕.๑ ตัวชวี้ ดั
(๑) สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบข้อมูลสารสนเทศ
ที่สามารถใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
(๒) สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล
ท่ีสามารถเชื่อมโยงกับข้อมูลต่าง ๆ นำ�ไปสู่การวิเคราะห์เพื่อวางแผนการจัด
การเรียนรู้ใหผ้ ้เู รยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
๓.๕.๒ แนวทางการด�ำ เนนิ งาน
(๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรมนุษย์
ดา้ นการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ทสี่ ามารถเชอื่ มโยง และบรู ณาการขอ้ มลู ดา้ นการพฒั นา
ทรัพยากรมนุษย์ระหว่างกระทรวง หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง โดยการเชอ่ื มโยงข้อมูล
รายบุคคลที่เกี่ยวกับการศึกษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพ และการพัฒนาอาชีพ
ในตลอดช่วงชีวิต เป็นฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทย
ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล สามารถประเมินจุดออ่ น จดุ แข็ง และศักยภาพ
บคุ คลของประเทศ น�ำ ไปสกู่ ารตัดสินใจระดบั นโยบายและปฏบิ ตั ิ
(๒) พัฒนา Digital Platform ด้านการเรียนรู้
ผู้เรียนและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือให้สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัด
ใช้ในการปฏิบัตงิ านตามภารกิจ

67นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(๓) พัฒนา Digital Platform ดา้ นการบรหิ ารงาน
เพื่อสนองตอบต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรตามภารกิจที่รับผิดชอบ นำ�ไปสู่
การพัฒนาฐานข้อมูลบุคลากร ท่ีเช่ือมโยงกันทั้งระบบตั้งแต่การคัดสรร บรรจุ
แต่งต้ัง ตลอดจนเช่ือมโยงถึงการพัฒนาครู เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้า
ในอาชีพ
(๔) พัฒนา Digital Platform ระบบข้อมูล
สารสนเทศของผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวยั จนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ทสี่ ามารถเชอื่ มโยงกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง น�ำ ไปสกู่ ารพฒั นาฐานขอ้ มลู ประชากร
ดา้ นการศกึ ษาของประเทศ
(๕) พฒั นา Big Data เพอ่ื เชื่อมโยง วิเคราะหข์ ้อมลู
ทุกมิติ นำ�ไปสกู่ ารวางแผนการจดั การเรียนรใู้ หแ้ ก่ผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล

68 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

ภาคผนวก

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

หมวดท่ี ๕ หนา้ ทข่ี องรฐั
มาตรา ๕๔ รัฐต้องดำ�เนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา
สิบสองปี ตง้ั แต่กอ่ นวัยเรียนจนจบการศกึ ษาภาคบังคบั อยา่ งมคี ุณภาพโดยไม่เกบ็
ค่าใช้จา่ ย
รัฐต้องดำ�เนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับ
การศึกษาตามวรรคหน่ึง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดำ�เนินการด้วย
และในหมวดที่ ๑๖ การปฏิรปู ประเทศ
สำ�หรับด้านการศึกษาได้บัญญัติไวใ้ นขอ้ จ. ดา้ นการศกึ ษา ดงั นี้
“จ. ดา้ นการศกึ ษา
(๑) ให้สามารถเร่ิมดำ�เนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา
ก่อนเขา้ รบั การศึกษา ตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพอื่ ใหเ้ ด็กเล็กได้รับการพัฒนา
ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาให้สมกับวยั โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย
(๒) ให้ดำ�เนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา ๕๔
วรรคหก ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในหนึง่ ปีนับแตว่ นั ประกาศใช้รฐั ธรรมนูญน้ี

70 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

(๓) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบ
วชิ าชพี ครแู ละอาจารย์ ใหไ้ ดผ้ มู้ จี ติ วญิ ญาณของความเปน็ ครู มคี วามรคู้ วามสามารถ
อย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับ ความสามารถและประสิทธิภาพ
ในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของ
ผู้ประกอบวิชาชพี ครู
(๔) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถ
เรยี นไดต้ ามความถนดั และปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเพอื่ บรรลุ
เปา้ หมายดังกลา่ ว โดยสอดคล้องกนั ท้งั ในระดบั ชาติ และระดับพืน้ ท่ี”

71นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ค�ำ ส่งั หัวหน้าคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ
ฉบับท่ี ๒๘/๒๕๕๙

เรอ่ื ง ใหจ้ ัดการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ๑๕ ปี โดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ า่ ย



อาศยั อ�ำ นาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั ร
ไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
โดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จงึ มีค�ำ สั่งดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในค�ำ ส่งั นี้
“คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา” หมายความวา่ งบประมาณท่ี
รัฐจัดสรรให้แก่หรือผ่านทางสถานศึกษาหรือผู้จัดการศึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย
ในการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๑๕ ปี
“การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๑๕ ปี” หมายความวา่ การศกึ ษาตัง้ แต่
ระดบั กอ่ นประถมศึกษา (อนบุ าล) (ถา้ มี) ระดบั ประถมศกึ ษา จนถงึ มธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี ๖ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. ๓) หรือเทียบเท่า และ
ใหห้ มายความรวมถึงการศกึ ษาพเิ ศษและการศึกษาสงเคราะห์ดว้ ย
“การศกึ ษาพเิ ศษ” หมายความวา่ การจดั การศกึ ษาใหแ้ กบ่ คุ คล
ซ่ึงมีความผิดปกติอย่างหนึ่งอย่างใด ซึ่งจำ�เป็นต้องจัดการศึกษาให้เป็นรูปแบบ
โดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการสอนตามลักษณะความต้องการ
และความจ�ำ เปน็ ของแต่ละบคุ คล

72 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

“การศกึ ษาสงเคราะห”์ หมายความวา่ การจดั การศึกษาใหแ้ ก่
เดก็ ท่ตี กอยู่ในภาวะยากลำ�บาก หรืออยใู่ นสถานภาพท่ดี อ้ ยกว่าเด็กทั่วไป หรอื ทม่ี ี
ลักษณะเปน็ การกศุ ล เพอื่ ใหม้ ีชีวิตและความเปน็ อย่ทู ีด่ ีขึ้น
มีพฒั นาการทถ่ี ูกตอ้ งและเหมาะสมกับวัย
ข้อ ๒ ใหส้ ว่ นราชการทเ่ี กยี่ วขอ้ งตามทค่ี ณะรฐั มนตรกี �ำ หนดเตรยี มการ
เพื่อจัดให้เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย
อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ และภาคเอกชนเขา้ มสี ่วนรว่ มในการดำ�เนินการดว้ ย
ขอ้ ๓ ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ดำ�เนนิ การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๑๕ ปี ให้มีมาตรฐานและคณุ ภาพ โดยไม่เกบ็
คา่ ใชจ้ ่าย
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยความเห็นชอบของ
คณะรฐั มนตรกี �ำ หนดอตั ราคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาส�ำ หรบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
๑๕ ปี เพ่ือเสนอตามกระบวนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี
ค่าใชจ้ ่ายตามวรรคสอง ได้แก่
(๑) คา่ จัดการเรยี นการสอน
(๒) คา่ หนงั สือเรยี น
(๓) ค่าอุปกรณ์การเรียน
(๔) ค่าเครอ่ื งแบบนักเรียน
(๕) ค่ากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน
(๖) ค่าใชจ้ ่ายอ่นื ตามท่ีคณะรฐั มนตรีเห็นชอบ
ขอ้ ๔ ใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารจดั ท�ำ หรอื ปรบั ปรงุ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
เพ่ือนำ�มาใช้แทน และขยายผลต่อจากคำ�ส่ังนี้แล้วเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา
ภายในหกเดือนนบั แต่วนั ที่คำ�สง่ั นใ้ี ชบ้ งั คับ
ข้อ ๕ ในกรณมี ปี ญั หาเกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ติ ามค�ำ สง่ั นใี้ หร้ ฐั มนตรวี า่ การ
กระทรวงศกึ ษาธิการ มีอ�ำ นาจวนิ จิ ฉัยชี้ขาด

73นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๖ ให้อัตราค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล
จนจบการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีมีผลใช้อยู่ในวันก่อนวันท่ีคำ�ส่ังน้ีใช้บังคับ ยังคง
มผี ลใชบ้ งั คบั ตอ่ ไปจนกวา่ จะมกี ารก�ำ หนดอตั ราคา่ ใชจ้ า่ ยส�ำ หรบั การจดั การศกึ ษา
ข้ันพืน้ ฐาน ๑๕ ปี ตามข้อ ๓
ขอ้ ๗ คำ�สั่งน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ต้นไป

74 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)

วิสยั ทศั นป์ ระเทศไทย
“ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”
เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี ๒๕๘๐
“ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”
โดยมเี ปา้ หมายการพฒั นาประเทศ คอื “ประเทศชาติม่นั คง ประชาชน
มคี วามสขุ เศรษฐกจิ พฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาติ
ย่ังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ
และในทกุ ช่วงวยั ใหเ้ ป็นคนดี เกง่ และมคี ณุ ภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสงั คม สร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม และมภี าครฐั
ของประชาชนเพอ่ื ประชาชนและประโยชนส์ ว่ นรวม
๖ ประเดน็ ยุทธศาสตรช์ าติ
๑. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความมั่นคง
๒. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
๓. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

75นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๔. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
๕. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ ร
กับสงิ่ แวดล้อม
๖. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จดั การภาครัฐ

76 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙

วิสยั ทศั น์
“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
ดำ�รงชีวติ อย่างเปน็ สุข สอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการ
เปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑”
วตั ถุประสงค์
๑. เพ่อื พัฒนาระบบและกระบวนการ จดั การศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ และ
มปี ระสทิ ธภิ าพ
๒. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและ
สมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ
๓. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม
จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกำ�ลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และ
๔. เพ่ือนำ�ประเทศไทยก้าวข้ามกับดัก ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง
และความเหลอ่ื มลา้ํ ภายในประเทศลดลงเป้าหมาย


77นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าว
ข้างตน้ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาตไิ ด้วางเป้าหมายไว้ ๒ ด้าน คือ
๑. ดา้ นผู้เรียน (Learner Aspirations)
๒. ดา้ นการจัดการศกึ ษา (Aspirations)
เป้าหมายของการจดั การศึกษา
๑. ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน
อยา่ งทวั่ ถงึ (Access)
๒. ผู้เรยี นทกุ คน ทกุ กล่มุ เปา้ หมายไดร้ บั บรกิ ารการศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ
ตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม (Equity)
๓. ระบบการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ สามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหบ้ รรลขุ ดี ความ
สามารถเตม็ ตามศักยภาพ (Quality)
๔. ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุน
ทางการศึกษาทค่ี ุม้ คา่ และบรรลเุ ป้าหมาย (Efficiency)
๕. ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลก
ทเ่ี ป็นพลวัตและบริบททเ่ี ปลี่ยนแปลง (Relevancy)

78 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

นโยบายของรัฐบาลด้านการศกึ ษา

ในคำ�แถลงนโยบายของรัฐบาล โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ วันศุกร์ที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
นโยบายด้านการศึกษากำ�หนดไว้ในข้อที่ ๔ การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบำ�รุง
ศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรม และนโยบายดา้ นวจิ ยั ขอ้ ที่ ๘ การพฒั นาและสง่ เสรมิ
ในการใชป้ ระโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นา และนวตั กรรม
จากนโยบายรฐั บาล ๑๑ ดา้ น คอื
๑) การปกป้องและเชดิ ชูสถาบนั พระมหากษตั ริย์
๒) การรกั ษาความม่ันคงของรัฐและการต่างประเทศ

79นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓) การลดความเหล่ือมล้ําของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึง
บรกิ ารของรฐั
๔) การศกึ ษาและเรยี นรู้ การทะนบุ ำ�รงุ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม
๕) การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพ
ของประชาชน
๖) การเพม่ิ ศักยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ
๗) การสง่ เสริมบทบาทและการใชโ้ อกาสในประชาคมอาเซียน
๘) การพฒั นาและสง่ เสรมิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การวิจยั และพฒั นา และนวัตกรรม
๙) การรักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุล
ระหวา่ งการอนุรกั ษ์ กบั การใชป้ ระโยชน์อย่างยั่งยนื
๑๐) การส่งเสรมิ การบริหารราชการแผ่นดินที่มธี รรมาภิบาล และการ
ป้องกนั ปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบในภาครฐั
๑๑) การปรบั ปรุงกฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม

80 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

นโยบายดา้ นการศกึ ษา ขอ้ ท่ี ๔ การศกึ ษาและเรยี นรู้ การทะนบุ �ำ รงุ
ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือสร้างสังคมให้เข้มแข็งอย่างมี
คณุ ภาพ และคณุ ธรรมควบคกู่ ัน ดังนี้
- จดั ใหม้ กี ารปฏริ ปู การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ทงั้ ในระบบ และการศกึ ษา
ทางเลือกไปพรอ้ มกนั
- ปรับเปล่ียนการจัดสรรงบประมาณและการเรียนรู้ สนับสนุนการ
ศกึ ษาใหส้ อดคล้องกบั ความจำ�เปน็ ของผ้เู รียน และลักษณะของพื้นที่ของโรงเรยี น
ปรบั ปรงุ และบรู ณาการระบบการกู้ยมื เพือ่ การศกึ ษาให้มปี ระสิทธิภาพ
- ใหอ้ งค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
และประชาชนทัว่ ไป มโี อกาสจดั การศึกษาทมี่ ีคุณภาพ ทว่ั ถึง และรว่ มปฏิรปู การ
ศกึ ษาและเรียนรู้ กระจายอำ�นาจการบริหารจดั การศึกษา สสู่ ถานศกึ ษา เขตพ้นื ที่
การศกึ ษา และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
- พัฒนาคนในทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สร้างความรู้และทักษะใหม่ท่ีสามารถประกอบอาชีพได้อย่างหลากหลาย รองรับ
การเปลีย่ นแปลงในอนาคต

81นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

- ส่งเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน เพ่ือสร้าง
แรงงานท่ีมีทักษะตรงตามความต้องการท้องถนิ่ และตลาดแรงงาน
- พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพและมีจิตวิญญาณ
ของความเป็นครู ส่งเสริมให้ครูมีวุฒิตามวิชาท่ีสอน ให้สามารถนำ�เทคโนโลยี
และเครื่องมือมาใช้เป็นเครื่องมือชว่ ยครูหรอื เพ่ือการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
- ทะนบุ �ำ รงุ และอปุ ถมั ภพ์ ระพทุ ธศาสนาและศาสนาอนื่ ๆ สนบั สนนุ ให้
ทกุ องคก์ รมบี ทบาทในการปลูกฝังคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
- อนรุ กั ษฟ์ นื้ ฟแู ละเผยแพรม่ รดกทางวฒั นธรรมของประเทศเพอ่ื นบา้ น
และวัฒนธรรมสากล และการสร้างสรรค์งานศิลปะและวัฒนธรรมที่เป็นสากล
เพ่ือเขา้ สเู่ สาหลกั วฒั นธรรมของอาเซยี นและประชาคมโลก
- ปลูกฝังค่านิยม และจิตสำ�นึกท่ีดี รวมทั้งสนับสนุนการผลิตสื่อ
คุณภาพ เปิดพ้ืนที่สาธารณะให้เยาวชนและประชาชนได้มีโอกาสแสดงออกอย่าง
สรา้ งสรรค์

82 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

นโยบายด้านการศึกษา ข้อที่ ๘ การพัฒนาและส่งเสริมการใช้
ประโยชน์จากวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นา และ
นวตั กรรม เพอื่ นำ�ไปสกู่ ารผลติ และบริการทที่ ันสมยั
- สนับสนุนการเพ่ิมค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาของประเทศ
เพ่ือมุ่งไปสู่เป้าหมายให้ไม่ต่ำ�กวา่ รอ้ ยละ ๑ ของรายได้ประชาชาติและมสี ดั ส่วน
รัฐต่อเอกชน ๓๐ : ๗๐ เพ่ือให้ประเทศสามารถแข่งขันและก้าวหน้าทัดเทียม
ประเทศอื่น
- เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอน
ที่เช่ือมโยงระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์
ผลิตกำ�ลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เช่ือมโยงระหว่างการเรียนรู้กับการท่องจำ�
อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม มีช่องทางในการใช้เทคโนโลยีระหว่าง
หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา

83นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

นโยบายของ
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

- การปฏิรูประบบให้สิ่งจูงใจ ระเบียบและกฎหมายท่ีเป็นอุปสรรค
ต่อการทำ�งานวิจัยและพัฒนา ไปต่อยอดหรือใช้ประโยชน์ ส่งเสริมการจัดทำ�
แผนพัฒนาการวิจัยและพัฒนาในระดับภาค หรือกลุ่มจังหวัดให้สอดคล้อง
ความต้องการของท้องถ่นิ และนำ�ไปใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ พาณชิ ยไ์ ด้
- ส่งเสริมให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของประเทศ ใช้ประโยชน์จาก
ผลการศึกษาวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรมของไทยตามความเหมาะสม โดยให้
มนี โยบายจดั ซื้อจดั จา้ งภาครฐั ทเ่ี ออื้ อำ�นวย สรา้ งโอกาสการพัฒนาเทคโนโลยขี อง
ประเทศ
- ปรับปรุงและจัดเตรียมให้มีโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ด้านการวิจัยและพัฒนา และด้านนวัตกรรมซึ่งเป็นโครงสร้างพ้ืนฐาน
ทางปัญญาในการตอ่ ยอดสกู่ ารใชเ้ ชงิ พาณชิ ยข์ องภาคอุตสาหกรรม
นายธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ไดม้ อบนโยบายและจดุ เนน้ นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร เมือ่ วนั ท่ี ๒๐ ธนั วาคม
๒๕๕๙ โดยมสี าระสำ�คญั ดังน้ี
๑. น้อมนำ�แนวพระราชดำ�ริ สืบสานพระราชปณิธานและ
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มาขับเคล่ือนงานด้านการศึกษาให้เกิดเป็นรูปธรรม เพราะพระราชปณิทาน

84 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

ของพระองค์ท่านถือเป็นพรอันสูงสุด และมอบเป็นนโยบาย เพื่อเป็นแนวทาง
ในการปฏิบตั แิ ก่หนว่ ยงานในสังกดั ดังน้ี
๑.๑ พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร
“การศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐานให้แก่ผู้เรียนใน ๒ ด้าน
คอื ๑) สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมที ัศนคติท่ถี กู ต้อง ๒) การศกึ ษาต้องมุ่งสร้างพ้นื ฐาน
แก่ชีวิตหรืออุปนิสัยที่ม่ันคงเข้มแข็ง อาทิ การสร้างบุคลิกและอุปนิสัยท่ีดีงาม
(Character Education)”
๑.๒ สืบสานพระราชปณิทานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทที่ รงมแี นวพระราชกระแสฯ ทรงพระราชทาน
ในวโรกาสตา่ งๆ เก่ียวกับนักเรยี น ครู และการศึกษา
๑.๒.๑ นกั เรียน
“ครตู ้องสอนใหน้ ักเรียนมีนํา้ ใจ เชน่ คนเรียนเกง่
ชว่ ยตวิ เพอื่ นทเี่ รียนล้าหลงั มใิ ชส่ อนให้คิดแต่จะแข่งขนั (Compete) กับเพือ่ น
เพอื่ ใหค้ นเกง่ ไดล้ �ำ ดับดี ๆ เชน่ สอบไดท้ ่หี น่ึงของชน้ั แตต่ อ้ งใหเ้ ดก็ แข่งขนั กบั
ตนเอง” (๑๑ มิ.ย. ๒๕๕๕)
“ครูไม่จำ�เป็นต้องมีความรู้ทางเทคโนโลยีมาก
แตต่ อ้ งมงุ่ ปลูกฝังความดใี ห้นักเรยี นช้นั ตน้ ตอ้ งอบรมบม่ นสิ ัยใหเ้ ป็นพลเมืองดี
เด็กโตก็ตอ้ งท�ำ เชน่ กัน” (๖ มิ.ย. ๒๕๕๕)
“เราต้องฝึกหัดให้นักเรียนรู้จักทำ�งานร่วมกัน
เป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะมากขึ้น จะได้มีความสามัคคี รู้จักดูแลช่วยเหลือซึ่งกัน
และกนั เอ้อื เฟอ้ื เผอื่ แผค่ วามรแู้ ละประสบการณแ์ กก่ นั ” (๕ ก.ค. ๒๕๕๕)
“ทำ�เป็นตัวอย่างให้นักเรียนเป็นคนดี นักเรียน
รกั ครู ครูรักนกั เรียน” (๙ ก.ค. ๒๕๕๕)

85นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๑.๒.๒ ครู
“เรอื่ งครมู คี วามส�ำ คญั ไมน่ อ้ ยกวา่ นกั เรยี นปญั หาหนง่ึ
คอื การขาดครู เพราะจ�ำ นวนไม่พอ และครูยา้ ยบอ่ ย ดงั นน้ั ก่อนคดั เลือกเดก็
ทจ่ี ะพฒั นาตอ้ งพฒั นาครกู อ่ น ใหพ้ รอ้ มกอ่ นทจี่ ะสอนเดก็ ใหไ้ ดผ้ ลตามทตี่ อ้ งการ
จึงจะต้องคัดเลือกครูและพัฒนาครู ต้องตั้งฐานะในสังคมของครูให้เหมาะสม
และปลูกจิตสำ�นึกโดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิธีการคือ การให้ทุน
และอบรม กล่าวคือ ต้องมีความรู้ทางวิชาการในสาขาท่ีเหมาะสมที่จะสอน
ตอ้ งอบรมวิธีการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพ มีความเปน็ ครูท่ีแทจ้ รงิ คอื มีความรกั
ความเมตตาต่อเด็ก ควรเปน็ ครทู ้องท่ีเพื่อจะได้มีความผูกพันและคทิ ี่จะพฒั นา
ท้องถ่ินทเ่ี กดิ ของตนไม่คดิ ยา้ ยไปย้ายมา” (๑๑ มิ.ย. ๒๕๕๕)
“ต้องปรับปรุงครู ครูจะอายุ ๔๐ - ๕๐ ปี
ก็ต้องเรียนใหม่ ต้องปฏวิ ตั ิครอู ยา่ งจริงจงั ” (๖ มิ.ย. ๒๕๕๕)
“ปัญหาปัจจุบันคือ ครูมุ่งเขียนงานวิทยานิพนธ์
เขียนตำ�ราส่งผู้บริหารเพ่ือให้ได้ตำ�แหน่งและเงินเดือนสูงข้ึน แล้วบางทีก็ย้าย
ไปที่ใหม่ ส่วนครูท่ีมุ่งเน้นการสอนหนังสือกลับไม่ได้อะไรตอบแทนระบบ
ไม่ยุติธรรม เราต้องเปล่ียนระเบียบตรงจุดน้ี การสอนหนังสือต้องถือว่า
เป็นความดีความชอบหากคนใดสอนดี ซ่ึงส่วนมากคือมีคุณภาพและปริมาณ
ตอ้ ง reward” (๕ ก.ค. ๒๕๕๕)
“ครูบางส่วนเวลาสอนนักเรียนสอนไม่หมด
แต่เก็บบางส่วน หากนักเรียนตอ้ งการรู้ท้ังหมดของวิชา ก็ตอ้ งเสยี เงินไปสมคั ร
เรียนพิเศษกับครูท่านนั้น จะเป็นการสอนในโรงโรงเรียนหรือเป็นการสอน
สว่ นตัวก็ตาม” (๕ ก.ค. ๒๕๕๕)

86 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๒. การด�ำ เนนิ การตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
๒.๑ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจะด�ำ เนนิ การตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน
เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ซึ่งกำ�หนดไว้ในรัฐธรรมนูญฯ โดยยึดยุทธศาสตร์ชาติเป็นจุดเน้นด้านการศึกษา
ทจ่ี ะดำ�เนนิ การ ๖ ดา้ น ดงั นี้
๑) ยทุ ธศาสตรส์ ร้างความม่ันคงใหก้ ับประเทศ
๒) ยทุ ธศาสตรส์ รา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
๓) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
๔) ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและความ
เทา่ เทียมกันทางสังคม
๕) ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สิง่ แวดลอ้ ม
๖) ยุทธศาสตร์การปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหาร
จัดการภาครัฐ

87นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓. จุดเนน้ การด�ำ เนนิ งานของกระทรวงศึกษาธิการ
๓.๑ ด�ำ เนนิ อยภู่ ายใตก้ รอบยทุ ธศาสตรช์ าติ (๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
๓.๒ ทุกโครงการของกระทรวงศึกษาธิการต้องเน้นความโปร่งใส
และต่อต้านทจุ รติ คอรปั ชัน่
๓.๓ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารตอ้ งมคี ณุ ลกั ษณะ MM = Modernized
MOE มีการดำ�เนินการสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
๓.๔ ดำ�เนินการเร่งด่วนตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี
ให้เห็นผลการด�ำ เนนิ การเป็นรูปธรรม
๔. การขับเคล่ือน กำ�กับและการติดตามการนำ�จุดเน้นนโยบาย
รัฐมนตรีวา่ กระทรวงศกึ ษาธิการสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
๔.๑ ให้ส่วนราชการ หน่วยในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดทำ�
แผนปฏิบตั กิ ารตามนโยบายรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารระดับกระทรวง
และระดับหน่วยงานท่สี อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๖ ด้าน
๔.๒ สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานหลัก
และกำ�หนดกรอบการติดตาม ประเมินผล และรายงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ศึกษาธกิ าร
๔.๒.๑ จดั ตง้ั คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
การนำ�นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการสู่การปฏิบัติ เพื่อเป็นกลไก
ในการขับเคลอ่ื นและตดิ ตาม ประเมินผลการดำ�เนินงานตามนโยบาย
๔.๒.๒ ติดตามการนำ�นโยบายสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย
การประชมุ ติดตามรายไตรมาสรอบ ๖ เดือน และ ๑๒ เดือน ซึ่งการรายงานขอ้ มลู
เปน็ เอกสาร/e-report และการตรวจราชการ

88 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

๔.๒.๓ จัดทำ�รายงานและสรุปผลการปฏิบัติตามนโยบาย
ทเี่ ปน็ จดุ เนน้ ท่ีต้องเร่งรัดให้ปรากฏผลโดยเรว็ ในทุกเดอื น
๔.๒.๔ จัดทำ�รายงานและสรุปผลการปฏิบัติตามนโยบาย
ทกุ นโยบายเป็นรายไตรมาสรอบ ๖ เดือน และรอบ ๑๒ เดอื น
๔.๒.๕ การรายงานและสรปุ ผลการปฏบิ ัตติ ามขอ้ ๔.๒.๑ -
๔.๒.๔ อาจมีการเปล่ียนแปลงซึ่งจะมีการส่ังการ ให้ทราบเพ่ือให้ดำ�เนินการ
เกดิ ความเหมาะสมต่อไป

89นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

การวเิ คราะห์สภาพองคก์ ร (SWOT)

สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้ระดมความคิดเห็น
และขอ้ เสนอแนะในการวเิ คราะหส์ ภาพขององคก์ ร (SWOT) จากผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี
และผูม้ ีส่วนเก่ยี วขอ้ ง พบว่า มจี ดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส และอปุ สรรค ดงั นี้
จุดแขง็
๑. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นองค์กรภาครัฐ
ขนาดใหญ่ ทมี่ คี วามพรอ้ มทง้ั ทางดา้ นก�ำ ลงั คน งบประมาณ และโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
และสง่ิ อำ�นวยความสะดวกในการจัดการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
๒. สถานศึกษาในสังกัดกระจายท่ัวทุกภูมิภาคสามารถให้บริการ
การจดั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานให้แกป่ ระชากรของประเทศได้อยา่ งครอบคลุม ท่ัวถึง
๓. มเี ครอื ขา่ ยองคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ เอกชน และภาคสงั คมทเี่ ขม้ แขง็
พร้อมจะร่วมในการจัดการศึกษาใหแ้ ก่ประชากรของชาติ

90 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

จุดออ่ น
๑. การบริหารงานที่ไม่มีประสิทธิภาพไม่สามารถจัดสรรทรัพยากร
ท่ีมีอยู่เป็นจำ�นวนมากทั้งบุคลากร งบประมาณ โครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอำ�นวย
ความสะดวกต่าง ๆ ท่ีมีใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการจัดการศึกษาได้
๒. สถานศึกษาในสังกัด ในฐานะหน่วยปฏิบัติขาดความเป็นอิสระ
ในการบรหิ ารงานและการจดั การเรยี นรู้ให้ผ้เู รยี น
๓. มีความเหล่ือมล้ําในการได้รับการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ
และมมี าตรฐานเสมอกัน
๔. มโี รงเรยี นขนาดเลก็ จ�ำ นวนมาก ท�ำ ใหไ้ มส่ ามารถจดั สรรทรพั ยากร
เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเตม็ ที่
๕. ผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ ประเภท ขาดการพฒั นา
อย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ขาดทักษะการจัดการเรียนรู้ ขาดทักษะท่ีจำ�เป็นในศตวรรษ
ท่ี ๒๑ เช่น ทักษะการส่อื สารภาษาองั กฤษ และทกั ษะด้านดิจทิ ัล เป็นต้น

91นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖. ระบบข้อมูลสารสนเทศยังขาดความสมบูรณ์ ไม่ครอบคลุม
ไม่สามารถเชื่อมโยงกบั หน่วยงาน ภายในและภายนอกได้
๗. ระบบการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผล ยังขาดประสิทธิภาพ
และไม่มีการนำ�ผลการประเมนิ มาใชใ้ นการพัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
๘. คุณภาพการศึกษาของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานต่ํากว่า
มาตรฐาน ซง่ึ มผี ลมาจากมผี เู้ รยี นจ�ำ นวนมากขาดทกั ษะในการอา่ น ทกั ษะในการคดิ
เชงิ วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ และขาดทกั ษะในการเขยี น
๙. ผู้เรียนขาดทักษะ ความรู้ ความสามารถ ด้านการคิดวิเคราะห์
การให้เหตุผลและการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑
๑๐. ผเู้ รยี นสว่ นใหญย่ งั มปี ญั หาดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และไมต่ ระหนกั
ถงึ ความส�ำ คญั ของการมีวนิ ยั ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต และการมีจิตสาธารณะ

92 Policy Fiscal Year 2019 Office of the Basic Education Commission

โอกาส

๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๕๔ วา่ “รฐั ต้องด�ำ เนนิ การใหเ้ ดก็ ทุกคนได้รบั การศกึ ษาเปน็ เวลาสิบสองปี
ตง้ั แตก่ อ่ นวยั เรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย”
และค�ำ สงั่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๒๘/๒๕๕๙ เรอื่ ง ใหจ้ ดั การศกึ ษา
ขัน้ พื้นฐาน ๑๕ ปี โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ ่าย ไดม้ คี ำ�ส่ังไว้ในข้อ ๓ ว่า “ใหส้ ่วนราชการ
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานด�ำ เนนิ การจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๑๕ ปี
ใหม้ ีมาตรฐานและคณุ ภาพ โดยไม่เก็บคา่ ใช้จ่าย”
๒. ประเทศไทยมียุทธศาตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นกรอบ
การพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ชาติ
ดา้ นการการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพของทรพั ยากรมนษุ ย์ ท่ีเนน้ การพฒั นา
ทกุ ช่วงวัย โดยรฐั บาลมีนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษาอย่างชัดเจน
๓. ความเปล่ียนแปลงจากโลกาภิวัตน์ และความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้รับการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด ก่อให้เกิด
นวตั กรรมอยา่ งพลกิ ผนั เชน่ เทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ อนิ เทอรเ์ นต็ ในทกุ สรรพสงิ่
การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ หุ่นยนต์และโดรน เทคโนโลยีพันธุกรรมสมัยใหม่
และเทคโนโลยีทางการเงิน ซ่ึงตัวอย่างแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยี
อยา่ งก้าวกระโดดเหล่าน้ี คาดวา่ จะเปน็ ปจั จยั สนบั สนุนหลกั ทชี่ ่วยท�ำ ใหเ้ ศรษฐกิจโลก
และเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มท่ีจะกลับมาขยายตัวได้เข้มแข็งขึ้น แนวโน้มสำ�คัญ
ทจ่ี �ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารตดิ ตามอยา่ งใกลช้ ดิ เชน่ การรวมกลมุ่ ทางการคา้ และการลงทนุ
ที่จะมีความหลากหลายเพ่ิมมากขึ้น การแข่งขันท่ีคาดว่าจะรุนแรงข้ึนในการเพิ่ม
ผลิตภาพและสร้างความหลากหลายของสินค้าและบริการท่ีตอบโจทย์รูปแบบ
ชีวติ ใหม่

93นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒


Click to View FlipBook Version