The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการสอนวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น

แผนการสอนวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนกั เรียน

- ขั้นสาธิตได้สาธิตตามขั้นตอนท่ีจัดเตรียมไว้โดย - ศึกษาข้ันตอนจากการสาธิตโดยการซัก-ถาม

ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย เช่น มีการถาม ข้อสงสัยต่างๆ ที่ดูไม่ทันหรือไม่เข้าใจ และมีส่วน

เกี่ยวกับเคร่ืองเจาะ เคร่ืองมือต่างท่ีนามาใช้ในการ ร่วมในการสาธิตด้วยกรณีผู้สอนเลือกให้ร่วมสาธิต

เจาะรู การผายปากรู การตาปเกลียวว่ารู้จักหรือไม่ ด้วย

มีชื่อเรียกว่าอะไร มีประโยชน์ในการใช้งานอย่างไร

ในขณะสาธติ จะใหผ้ ู้เรียนลงมอื ปฏิบตั ติ ามในบางช่วง

เพ่ือเป็นการกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนท้ังผู้ท่ี

ได้รับเลือกให้ร่วมสาธิตและผู้ร่วมสังเกตดูการสาธิต

ในขณะสาธิตได้เน้นย้าเรื่องความปลอดภัยในการใช้

เคร่อื งเจาะตลอดเวลา

- หลังสาธิต เม่ือทาการสาธิตการใช้เคร่ืองเจาะ - ผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอนในการสาธิตการใช้
การเจาะงาน การผายปากรู การรีมเมอร์ การตาป เคร่ืองเจาะ การเจาะงาน การผายปากรู การรีม
เกลยี วเรยี บร้อยแลว้ ไดใ้ หผ้ เู้ รียนชว่ ยกนั สรปุ ข้ันตอน เมอร์ การตาปเกลียว พร้อมท้ังสรุปเร่ืองความ
ต่างๆ ในการสาธิตโดยผู้สอนคอยควบคุมถามนาให้ ปลอดภัยในการปฏิบัติงานและการบารุงรักษา
ผู้เรียนสรุปได้ตรงตามขั้นตอนท่ีสาธิตมา พร้อมท้ัง เครอ่ื งเจาะ
คอยถามย้าถึงเรื่องความปลอดภัย การทาความ
สะอาดและการบารงุ รกั ษาเครอ่ื งเจาะหลังจากเลิกใช้
งาน
4. ข้นั ตอนใหผ้ เู้ รยี นลงมือปฏบิ ัติงาน

- ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานใช้ - ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติการเจาะรู การผายปาก
เคร่ืองเจาะเจาะรู การผายปากรู การรีมเมอร์ การ รูการรีมเมอร์ และการตาปเกลียวตามใบงานที่
ตาปเกลียว ตามแบบงานท่ีได้รับโดย ผู้สอนคอย ได้รับมอบหมาย ใบงานที่ 3-1 และ ใบงานท่ี 3-2
ควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อคอยแนะนาในขั้นตอน
ที่ ผู้ เ รี ย น บ า ง ค น ยั ง ท า ไ ม่ ถู ก ข้ั น ต อ น แ ล ะ เ ป็ น ก า ร
ควบคุมดูแลเรื่องความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงาน
ดว้ ย
5. ข้นั ตรวจผลการปฏบิ ตั ิงาน

- ตรวจช้ินงานท่ีผู้เรียนปฏิบัติงานเสร็จทันทีเพ่ือ - รับทราบผลการประเมินจากผู้สอนจากใบ
เปน็ การแจ้งให้ผู้เรียนทราบผลจากการปฏิบัติงานว่า ประเมนิ ท่ี 3-1 และ ใบประเมินที่ 3-2
ควรจะต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ขหรอื ไมอ่ ย่างไร

งานท่ีมอบหมาย

ก่อนเรยี น
- ใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาขนั้ ตอนการทางานในการปฏิบัตงิ านในการรา่ งแบบงานเจาะ งาน เจาะ

รู งานผายปากรู งานรมี เมอรแ์ ละงานตาปเกลยี ว จากใบความรหู้ นว่ ยท่ี 3 ดงั นคี้ อื
- ศึกษาใบงานและใบประเมินผลปฏิบตั งิ านในหน่วยท่ี 3 ใบงานท่ี 3-1
- ศกึ ษาใบงานและใบประเมินผลปฏิบตั งิ านในหน่วยที่ 3 ใบงานที่ 3-2

ขณะเรียน
- ใหศ้ กึ ษา สังเกต จากการสาธติ และมสี ่วนรว่ มในการสาธิต

หลงั เรียน
- ให้ผู้เรียนช่วยกันสรปุ ขนั้ ตอนตา่ งในการปฏิบตั ิงาน
- มอบหมายให้ผูเ้ รียนทุกคนลงมือปฏิบัตกิ ารรา่ งแบบงานเจาะ เจาะรู ผายปากรู

รีมเมอร์และตาปเกลียว

ส่อื การเรียนการสอน

สื่อส่ิงพิมพ์
- หนังสือเรียนวชิ างานเครอ่ื งมอื กลเบ้ืองตน้ 2100-1008 หนว่ ยท่ี 3 เรื่องเครื่องเจาะ

และงานเจาะ งานรมี เมอร์ งานตาปเกลียว เรยี บเรียงโดย อ.ชลอ การทวี

สอ่ื โสตทศั น์
-

หนุ่ จาลองหรือของจรงิ
- เคร่ืองเจาะ
- เครื่องมือร่างแบบ
- ดอกสว่าน

- ดอกตาปเกลียว

การประเมนิ ผล

ก่อนเรยี น
- จากการถาม-ตอบ เรือ่ งการร่างแบบ การเจาะงาน การผายปากรู การรีมเมอร์ และการ

ตาปเกลียว วา่ มผี เู้ รียนคนใดเคยปฏิบัตมิ าก่อนบ้าง

ขณะเรียน
- จากการสังเกต จากความสนใจ และความต้ังใจในขณะทาการสาธติ ใหด้ ู และจากการ

ให้มสี ว่ นร่วมในการสาธิต
- จากการถาม-ตอบ ในระหวา่ งการสาธิต
- ประเมินผลจากการใหล้ งมอื ปฏิบัติการรา่ งแบบ การเจาะงาน การผายปากรู การรมี

เมอร์ และการตาปเกลียว

หลงั เรยี น
- ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ใบงานท่ี 3-1
- ใบประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน ใบงานท่ี 3-2

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 สปั ดาห์ท่ี 9
รหัส 20100-1007 วชิ า งานเครอ่ื งมอื กลเบื้องตน้ หน่วยท่ี 4
ช่ือหน่วย เครอ่ื งกลึงและงานกลงึ ชั่วโมงรวม 20
ช่อื เรื่อง เคร่ืองกลงึ (ทฤษฎ)ี จานวนชว่ั โมง 4

สาระสาคัญ
เครื่องกลึงเป็นเครื่องจักรกลท่ีสาคัญของช่างกลโรงงาน มีหลายชนิดมีรูปร่างและ

ส่วนประกอบแตกต่างกันไป เครื่องมือที่ใช้กับเครื่องกลึงก็มีมากมายหลายชนิด เนื่องจากเคร่ืองกลึงเป็น
เครื่องจักรกลที่ต้องการความละเอียดสูงจึงต้องมีการบารุงรักษาท่ีถูกต้องเป็นอย่างดี ในการปฏิบัติงานก็
ตอ้ งคานงึ ถึงความปลอดภัยไมใ่ ห้เกิดอบุ ัติเหตุ โดยปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บของโรงงาน

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. บอกชนิดของเครอ่ื งกลึงได้
2. บอกสว่ นประกอบท่ีสาคัญของเครือ่ งกลึงได้
3. บอกเคร่ืองมือและอุปกรณ์ทีใ่ ช้กับเครื่องกลึงได้
4. อธบิ ายขั้นตอนการทางานของเครื่องกลงึ ได้
5. บอกวธิ กี ารบารงุ รักษาเครอื่ งกลึงได้
6. อธบิ ายความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งกลงึ ได้
7. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ที่ผสู้ อนสามารถ
สงั เกตเห็นได้ ในด้านความมีมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ ความมีวินัย ความรับผดิ ชอบ ความเชอ่ื ม่ันใน
ตนเอง ความสนใจใฝร่ ู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที

เนื้อหาสาระ
1. ชนดิ ของเคร่ืองกลงึ
2. รูปร่างการบอกขนาดและสว่ นประกอบท่สี าคัญของเครื่องกลึง
3. เคร่อื งมือและอุปกรณ์ที่ใชก้ บั เครอ่ื งกลึง
4. ขัน้ ตอนการทางานของเคร่ืองกลึง
5. การบารงุ รกั ษาเครื่องกลึง
6. ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองกลึง

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ในการเรียนการสอนของหน่วยท่ี 4 ได้ทาการสอนในส่วนของเน้ือหาของเครื่องกลึง เพื่อให้รู้จักชนิด

ส่วนประกอบที่สาคัญ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่ใช้กับเคร่ืองกลึง ขั้นตอนการใช้ การบารุงรักษาและความ

ปลอดภัยในการใชเ้ คร่อื งกลึงเพอ่ื ทาให้ผเู้ รยี นมีความรู้ก่อนปฏบิ ตั งิ าน

กจิ กรรมของครู กิจกรรมของนกั เรียน

1. ขัน้ นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1. ขั้นสนใจปัญหา

- ใหผ้ เู้ รียนดเู ครื่องกลึง จากสอื่ Power point - ให้ผเู้ รยี นช่วยกันตอบว่ารูปเคร่ืองจักรกลท่ีเห็น

- ให้ผูเ้ รียนสรุปหวั ข้อเรอ่ื งตา่ งๆ เสนอมาเพื่อให้ เปน็ เคร่อื ง อะไรมีประโยชนอ์ ยา่ งไร

ตรงกบั เรอื่ งทจี่ ะสอน - ผู้เรียนสรุปหัวข้อเรื่องต่างๆ เพ่ือนาคาตอบ

2. ขน้ั ให้เนือ้ หาความรู้ ต่างๆ มาสรปุ เป็นเน้ือหาท่ีจะสอน

- ให้ผู้เรียน ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือเรียน วิชา 2. ขน้ั ศึกษาขอ้ มลู

งานเคร่อื งมือกลเบ้อื งต้น และจากสื่อ Power point - ค้นคว้าจากหนงั สือเรียน วิชางานเคร่อื งมือกล

ในหน่วยท่ี 4 เครื่องกลึงและงานกลึง โดยศึกษาใน เบื้องต้น และจากสื่อ Power point ที่ผู้สอน

ส่วนที่เป็นเนื้อหาความรู้ในจากท่ีผู้สอนอธิบาย อธิบายใหฟ้ งั

เพมิ่ เติม

- ผสู้ อนคอยถามนาให้ผู้เรียนช่วยกันตอบเป็นการ - ผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาหน่วยท่ี 4 พร้อมท้ัง

กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษาตรงวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ ช่วยกันสรุปพร้อมผู้สอนเพ่ือให้ได้เนื้อ หาครบถ้วน

และเปน็ การวดั ผลและประเมินผล จากการตอบของ ตรงตามวัตถุประสงคท์ ตี่ ้องการ

ผู้เรยี น

- ผูส้ อนมอบใหผ้ ูเ้ รยี นร่วมกันสรุปในเน้อื หาของ

เครอื่ งกลึง

- ผู้สอนร่วมกับผู้เรียนสรุปในส่วนท่ียังไม่ครบ

หรือเพิม่ เตมิ ใหช้ ัดเจน

3. ข้ันให้แบบฝึกหดั 3. ขั้นพยายาม

- มอบหมายให้ผ้เู รียนทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ - ผู้เรยี นทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่

หน่วยท่ี 4 ตอนที่ และ ตอนที่ 2 4 ตอนที่ 1 หนา้ และ ตอนที่ 2

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนกั เรยี น

4. ขัน้ ตรวจผลการฝกึ หดั 4. ขน้ั สาเรจ็ ผล

- ตรวจแบบประเมินตนเอง หน่วยที่ 4 ร่วมกับ - ผู้เรียนร่วมกับผู้สอนในการเฉลยและตรวจ

ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเฉลยแบบ แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ด้วยตนเอง

ประเมินผลการเรียนรู้ โดยฝึกให้ผู้เรียนมีความ พร้อมทง้ั ให้ประเมนิ ตนเองดว้ ยจากแบบประเมิน

ซ่ือสัตย์ โดยให้ผู้เรียนประเมินตนเองจากแบบ

ประเมินตนเอง

งานทมี่ อบหมาย

ก่อนเรียน
- เตรยี มหนงั สอื เรยี น วชิ างานเครอ่ื งมอื กลเบอ้ื งต้น 2100-1008 หนว่ ยท่ี 4 เรื่อง

เครอื่ งกลงึ และงานกลึง เรียบเรียงโดย อ. ชลอ การทวี

ขณะเรียน
- ใหศ้ ึกษา ค้นคว้า จากหนงั สือเรยี น งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน้ 2100-1008 หน่วย

ที่ 4 เร่อื งเคร่ืองกลงึ และงานกลงึ เรยี บเรยี งโดย อ. ชลอ การทวี และฟังผสู้ อนอธบิ ายเพิ่มเติมจาก
สื่อ Power point

หลังเรยี น
- มอบหมายให้ผู้เรยี นคน้ ควา้ และลงมือทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยท่ี 4

ตอนท่ี 1 จานวน 10 ข้อและตอนท่ี 2 จานวน 20 ขอ้
- ผ้เู รยี นและผสู้ อนร่วมกนั เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้ ท้งั 2 ตอน

สื่อการเรยี นการสอนหน่วยที่ 4 คร้งั ท่ี 1

สอื่ สง่ิ พิมพ์
- หนังสอื เรียนวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น 2100-1008 หนว่ ยที่ 4 เครื่องกลงึ และงาน

กลึง
เรยี บเรียงโดย อ.ชลอ การทวี

สื่อโสตทศั น์
- Power point เร่อื งเคร่ืองกลึงและงานกลึง

หุ่นจาลองหรือของจรงิ
- เครอ่ื งกลงึ
- อปุ กรณต์ ่างๆของเคร่ืองกลงึ

การประเมนิ ผล

ก่อนเรยี น
- จากความกระตอื รือร้น

ขณะเรยี น
- จากการสงั เกต
- ถาม-ตอบ
- แบบประเมินผลผลคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

หลงั เรยี น
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 4 ตอนท่ี 1 เปน็ แบบเขียนตอบ จานวน 10 ข้อ
- แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 4 ตอนท่ี 2 เปน็ แบบเลอื กตอบ จานวน 20 ข้อ



แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 สัปดาหท์ ี่ 10
รหสั 20100-1007 วชิ า งานเครือ่ งมือกลเบ้ืองตน้
ชื่อหน่วย เครอ่ื งกลึงและงานกลึง หน่วยท่ี 4
ชอ่ื เรอื่ ง ปฏบิ ัติงานกลึงปาดหน้า-กลึงปอก
ชั่วโมงรวม 20

จานวนชว่ั โมง 4

สาระสาคัญ
เปน็ ที่ทราบกนั อยู่แล้วว่าเคร่ืองกลึงเป็นเคร่ืองจักรกลที่สาคัญของช่างกลโรงงาน มีหลายชนิด

มีรปู ร่างและส่วนประกอบแตกต่างกันไป เครื่องกลึงสามารถทางานได้หลากหลาย ในส่วนที่ต้องปฏิบัติอยู่
เปน็ ประจาและจะต้องทาเบือ้ งต้น ได้แก่ การกลงึ ปาดหนา้ และการกลงึ ปอก

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. สามารถกลึงปาดหน้าได้
2. สามารถกลึงปอกได้
3. ตรงตอ่ เวลาในการเข้าปฏบิ ัติงานและการสง่ ชิ้นงานได้
4. มกี ารแตง่ กายถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงฝึกงานได้
5. ทาความสะอาดเครอื่ งกลงึ หลังจากใช้งานเสร็จ
6. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ทผ่ี ูส้ อนสามารถ
สงั เกตเห็นได้ ในด้านความมีมนุษย์สัมพันธ์ ความมวี ินยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมั่นใน
ตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที

เนื้อหาสาระ
1. การกลึงปาดหน้า
2. การกลงึ ปอก

กิจกรรมการเรียนการสอน

ในการสอนของหน่วยที่ 4 เคร่ืองกลึงและงานกลึง เป็นส่วนท่ีเป็นการปฏิบัติงานเก่ียวกับการ

กลึงปาดหน้าขวา การกลึงปอกขวา ซึ่งเป็นส่วนของทางด้านทักษะอีกด้านหนึ่ง ดังนั้นจึงใช้วิธีการสอน

แบบสาธติ โดยเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ ให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการสาธิตด้วย โดยมขี นั้ ตอนดังต่อไปนี้

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนักเรยี น

1. ขน้ั ตอนกาหนดวัตถปุ ระสงค์

- ได้กาหนดวัตถุประสงค์ ในการสาธิตใน

หน่วยท่ี 4 คือขัน้ ตอนการกลึงปาดหน้าขวา การกลึง

ปอกขวา การกลงึ ตกร่อง และการกลึงเกลียว

2. ข้นั เตรียมการสาธิต

- ข้าพเจ้าได้จัดเตรียม เคร่ืองจักรกล วัสดุ - ผ้เู รียนได้รับมอบหมายให้ศึกษาเคร่ืองกลึงและ
เครื่องมือและอุปกรณ์ ไว้ก่อนทาการสาธิต ได้แก่ งานกลึง จากหนังสือเรียนวิชางานเคร่ืองมือกล
เครื่องกลึง มีดกลึง พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือ เบือ้ งตน้ จากใบงานที่ 4-1 , 4-2
ต่างๆ ตามท่ีระบุไว้ในใบงาน ซ่ึงได้ตรวจสอบความ

พรอ้ มไวเ้ รยี บรอ้ ย เพือ่ เตรยี มพรอ้ มสาหรบั การสาธติ

3. ข้ันทาการสาธิต

- ขั้นตอนการแจ้งวัตถุประสงค์ของการ

สาธิต ในข้ันตอนน้ีจะใหผ้ ู้เรียน ดชู ิน้ งานท่สี าเร็จแล้ว - ผู้เรียนศึกษาจากช้ินงานท่ีผู้สอนจัดเตรียมมา
ทจี่ ดั เตรียมมาโดยสอบถามผู้เรียนว่าจะทาได้อย่างไร นาเสนอ และจาก ใบงานและช่วยกันแสดงความ
และจะใช้เคร่ืองจักรกลชนิดใด เมื่อผู้เรียนตอบได้ คดิ เหน็ ตอบ คาถามของผู้สอนท่ีถามตั้งคาถามไว้ให้
ตรงวัตถปุ ระสงค์ที่จะสาธิต กจ็ ะช่วยกนั สรปุ และแจ้ง คิดและรับทราบวัตถุประสงค์ ของการสาธิตในครั้ง
ให้ ผู้เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ในการสาธิตใน นี้
คร้ังนี้

กิจกรรมของครู กิจกรรมของนกั เรยี น

- ขั้นสาธิตได้สาธิตตามข้ันตอนท่ีจัดเตรียมไว้โดย - ศึกษาขั้นตอนจากการสาธิตโดยการซัก-ถาม

ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย เช่น มีการถาม ข้อสงสัยต่างๆ ที่ดูไม่ทันหรือไม่เข้าใจ และมีส่วน

เก่ียวกับเคร่ืองกลึง เคร่ืองมือต่างท่ีนามาใช้ในการ ร่วมในการสาธิตด้วยกรณีผู้สอนเลือกให้ร่วมสาธิต

กลึงว่ารู้จักหรือไม่ มีชื่อเรียกว่าอะไร มีประโยชน์ใน ด้วย

การใช้งานอย่างไร ในขณะสาธิตจะให้ผู้เรียนลงมือ

ปฏิบัติตามในบางช่วง เพ่ือเป็นการกระตุ้นความ

สนใจของผู้เรียนท้ังผู้ที่ได้รับเลือกให้ร่วมสาธิตและผู้

ร่วมสังเกตดูการสาธิต ในขณะสาธิตได้เน้นย้าเรื่อง

ความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องกลึงตลอดเวลา

- หลังสาธิต เมื่อทาการสาธิตการใช้เครื่องกลึง
เรียบร้อยแล้ว ได้ให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปข้ันตอนต่างๆ - ผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอนในการสาธิตการใช้
ในการสาธิตโดยผู้สอนคอยควบคุมถามนาให้ผู้เรียน เคร่อื งกลงึ พรอ้ มทงั้ สรุปเรอื่ งความปลอดภัยในการ
สรุปได้ตรงตามข้ันตอนที่สาธิตมา พร้อมท้ังคอยถาม ปฏบิ ัติงานและการบารงุ รักษาเครื่องกลงึ
ย้าถึงเร่ืองความปลอดภัย การทาความสะอาดและ
การบารุงรักษาเครื่องกลึงหลังจากเลิกใช้งานเพื่อให้
เครอ่ื งกลึงมอี ายุการใชง้ านทยี่ าวนาน
4. ขั้นตอนใหผ้ ูเ้ รียนลงมอื ปฏิบัตงิ าน

- ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานใช้

เครื่องกลึง ตามแบบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมี -ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติการกลึงปาดหน้าขวา

ผู้สอนคอยควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อคอยแนะนา การกลึงปอก ตามใบงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ใบงาน

ในข้ันตอนท่ีผู้เรียนบางคนยังทาไม่ถูกขั้นตอนและ ที่ 4-1 และ 4-2

เป็นการควบคุมดูแลเรื่องความปลอดภัยในขณะ

ปฏิบตั งิ านด้วย

5. ข้ันตรวจผลการปฏบิ ัตงิ าน

- ตรวจชิ้นงานท่ีผู้เรียนปฏิบัติงานเสร็จทันทีเพ่ือ

เป็นการแจ้งให้ผู้เรียนทราบผลจากการปฏิบัติงานว่า - รับทราบผลการประเมินจากผสู้ อนจากใบ

ควรจะตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไขหรอื ไม่อยา่ งไร ประเมินที่ 4-1 และ 4-2

งานทีม่ อบหมาย

กอ่ นเรียน
- ใหผ้ ู้เรียนศึกษาขน้ั ตอนการทางานในการปฏิบัติงานในการกลึงปาดหนา้ กลงึ ปอกจาก

ใบงานและใบประเมนิ ผลปฏบิ ัตงิ านหน่วยท่ี 4 ดงั นีค้ ือ
- ศกึ ษาใบงานและใบประเมินผลปฏิบัติงานในหน่วยท่ี 4 ใบงานที่ 4-1
- ศกึ ษาใบงานและใบประเมินผลปฏบิ ัติงานในหน่วยที่ 4 ใบงานที่ 4-2

ขณะเรยี น
- ให้ศึกษา สังเกต จากการสาธิต และมีสว่ นรว่ มในการสาธิต

หลังเรยี น
- ใหผ้ เู้ รยี นชว่ ยกนั สรุปขน้ั ตอนตา่ งในการปฏบิ ัติงาน
- มอบหมายให้ผเู้ รียนทกุ คนลงมอื ปฏิบัตกิ ารกลงึ ปาดหน้าขวา กลงึ ปอกขวา การ

กลึง ตกรอ่ งและกลงึ เกลยี วสามเหล่ียม

สือ่ การเรียนการสอน

สอื่ ส่งิ พิมพ์
- หนังสือเรียนวิชางานเคร่ืองมือกลเบื้องต้น 2100-1008 หน่วยท่ี 4 เร่ืองเครื่องกลึง

และ
งานกลงึ เรยี บเรียงโดย อ.ชลอ การทวี

สื่อโสตทศั น์
-

หนุ่ จาลองหรือของจริง
- เครอื่ งกลงึ
- เครือ่ งมือและอุปกรณ์ท่ีใชก้ ับเครอื่ งกลึงตามใบงาน

การประเมนิ ผล

ก่อนเรยี น
- จากการถาม-ตอบ เรือ่ งการกลึงปาดหน้า การกลงึ ปอกว่ามผี ้เู รียนคนใดเคยปฏิบัตมิ าบา้ ง

ขณะเรียน
- จากการสังเกต จากความสนใจ และความตั้งใจในขณะทาการสาธิตใหด้ ู และจากการ

ใหม้ สี ่วนร่วมในการสาธติ
- จากการถาม-ตอบ ในระหวา่ งการสาธิต
- ประเมินผลจากการใหล้ งมอื ปฏิบัติการกลึงปาดหนา้ การกลงึ ปอก

หลังเรยี น
- ใบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ใบงานที่ 4-1
- ใบประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน ใบงานที่ 4-2

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 11 สปั ดาหท์ ่ี 11
รหัส 20100-1007 วิชา งานเคร่ืองมอื กลเบื้องต้น หนว่ ยที่ 4
ช่ือหน่วย เครื่องกลงึ และงานกลงึ ชัว่ โมงรวม 20
ชอื่ เร่ือง ปฏิบตั ิงานกลงึ ตกร่องและกลึงเกลยี วสามเหล่ียม จานวนชัว่ โมง 4

สาระสาคัญ
เคร่ืองกลึงนอกจากจะกลึงปาดหน้าและกลึงปอกแล้วยังสามารถกลึงข้ึนรูปได้อีกมากมายหลาย

แบบ แตใ่ นทนี่ ีจ้ ะฝึกปฏิบัตใิ นการกลึงตกรอ่ งและการกลึงเกลียวสามเหลีย่ ม

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. สามารถกลึงตกร่องได้
2. สามารถกลงึ เกลียวสามเหลยี่ มได้
3. ตรงต่อเวลาในการเขา้ ปฏบิ ตั ิงานและการสง่ ช้นิ งานได้
4. มีการแตง่ กายถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงฝกึ งานได้
5. ทาความสะอาดเคร่อื งกลึงหลังจากใช้งานเสรจ็
6. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ทผ่ี ้สู อนสามารถ
สังเกตเหน็ ได้ ในดา้ นความมีมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ ความมวี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ความเชอ่ื มั่นในตนเอง
ความสนใจใฝร่ ู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที

เนือ้ หาสาระ
1. การกลึงตกรอ่ ง
2. การกลึงเกลยี วสามเหลี่ยม

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ในการสอนของหน่วยท่ี 4 เคร่ืองกลึงและงานกลึง เป็นส่วนท่ีเป็นการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ

การ การตกร่องและ การกลึงเกลียวสามเหลี่ยม ซ่ึงเป็นส่วนของทางด้านทักษะอีกด้านหนึ่ง ดังน้ันจึงใช้

วิธีการสอนแบบสาธิตโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย โดยมีขั้นตอน

ดงั ต่อไปน้ี

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนกั เรยี น

1. ขัน้ ตอนกาหนดวตั ถุประสงค์

- ได้กาหนดวัตถปุ ระสงค์ ในการสาธิตใน

หนว่ ยที่ 4 คือขน้ั ตอนการกลึงตกร่อง และการกลงึ

เกลยี ว

2. ขั้นเตรียมการสาธิต

- ข้าพเจ้าได้จัดเตรียม เคร่ืองจักรกล วัสดุ - ผู้เรียนได้รับมอบหมายให้ศึกษาเคร่ืองกลึง
เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ไว้ก่อนทาการสาธิต ได้แก่ และงานกลึง จากหนงั สือเรียนวิชางานเคร่ืองมือกล
เคร่ืองกลึง มีดกลึง พร้อมอุปกรณ์และเคร่ืองมือ เบอ้ื งตน้ จากใบงานท่ี 4-3
ต่างๆ ตามท่ีระบุไว้ในใบงาน ซ่ึงได้ตรวจสอบความ

พร้อมไวเ้ รียบรอ้ ย เพ่ือเตรยี มพร้อมสาหรับการสาธติ

3. ขั้นทาการสาธติ

- ขั้นตอนการแจ้งวัตถุประสงค์ของการ - ผู้เรียนศึกษาจากช้ินงานท่ีผู้สอนจัดเตรียมมา
สาธติ ในขน้ั ตอนนี้จะให้ผูเ้ รียน ดชู ้ินงานท่ีสาเร็จแล้ว นาเสนอ และจาก ใบงานและช่วยกันแสดงความ
ทีจ่ ัดเตรียมมาโดยสอบถามผู้เรียนว่าจะทาได้อย่างไร คดิ เหน็ ตอบ คาถามของผู้สอนที่ถามตั้งคาถามไว้ให้
และจะใช้เคร่ืองจักรกลชนิดใด เมื่อผู้เรียนตอบได้ คิดและรับทราบวัตถุประสงค์ ของการสาธิตในครั้ง
ตรงวัตถปุ ระสงค์ท่จี ะสาธติ ก็จะชว่ ยกนั สรปุ และแจ้ง นี้
ให้ ผู้เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ในการสาธิตใน

ครัง้ นี้

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนกั เรยี น

- ข้ันสาธิตได้สาธิตตามขั้นตอนที่จัดเตรียมไว้โดย - ศึกษาขั้นตอนจากการสาธิตโดยการซัก-ถาม

ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย เช่น มีการถาม ข้อสงสัยต่างๆ ท่ีดูไม่ทันหรือไม่เข้าใจ และมีส่วน

เกี่ยวกับเคร่ืองกลึง เคร่ืองมือต่างที่นามาใช้ในการ ร่วมในการสาธิตด้วยกรณีผู้สอนเลือกให้ร่วมสาธิต

กลึงว่ารู้จักหรือไม่ มีชื่อเรียกว่าอะไร มีประโยชน์ใน ด้วย

การใช้งานอย่างไร ในขณะสาธิตจะให้ผู้เรียนลงมือ

ปฏิบัติตามในบางช่วง เพื่อเป็นการกระตุ้นความ

สนใจของผู้เรียนทั้งผู้ที่ได้รับเลือกให้ร่วมสาธิตและผู้

ร่วมสังเกตดูการสาธิต ในขณะสาธิตได้เน้นย้าเร่ือง

ความปลอดภัยในการใช้เครอ่ื งกลึงตลอดเวลา

- หลังสาธิต เม่ือทาการสาธิตการใช้เครื่องกลึง
เรียบร้อยแล้ว ได้ให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปข้ันตอนต่างๆ - ผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอนในการสาธิตการใช้
ในการสาธิตโดยผู้สอนคอยควบคุมถามนาให้ผู้เรียน เครือ่ งกลึง พรอ้ มทง้ั สรุปเรือ่ งความปลอดภัยในการ
สรุปได้ตรงตามข้ันตอนที่สาธิตมา พร้อมทั้งคอยถาม ปฏิบตั งิ านและการบารงุ รักษาเคร่ืองกลึง
ย้าถึงเรื่องความปลอดภัย การทาความสะอาดและ
การบารุงรักษาเคร่ืองกลึงหลังจากเลิกใช้งานเพื่อให้
เคร่ืองกลงึ มอี ายกุ ารใชง้ านทีย่ าวนาน
4. ขน้ั ตอนใหผ้ เู้ รยี นลงมอื ปฏบิ ตั งิ าน

- ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานใช้

เครื่องกลึง ตามแบบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมี -ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติการกลึง การกลึงตกร่อง

ผู้สอนคอยควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อคอยแนะนา และกลึงเกลียว ตามใบงานที่ไดร้ ับมอบหมาย

ในขั้นตอนท่ีผู้เรียนบางคนยังทาไม่ถูกขั้นตอนและ ใบงานท่ี 4-3

เป็นการควบคุมดูแลเรื่องความปลอดภัยในขณะ

ปฏิบัตงิ านด้วย

5. ขน้ั ตรวจผลการปฏบิ ตั ิงาน

- ตรวจชิ้นงานที่ผู้เรียนปฏิบัติงานเสร็จทันทีเพื่อ

เปน็ การแจ้งให้ผู้เรียนทราบผลจากการปฏิบัติงานว่า - รับทราบผลการประเมินจากผูส้ อนจากใบ

ควรจะต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ขหรือไม่อยา่ งไร ประเมนิ ที่ 4-3

งานทมี่ อบหมาย

ก่อนเรยี น
- ใหผ้ ู้เรียนศึกษาขั้นตอนการทางานในการปฏบิ ัติงานในกลงึ ตกร่องและกลงึ เกลยี ว

สามเหลย่ี มจากใบงานและใบประเมนิ ผลปฏบิ ัติงานหนว่ ยที่ 4 ดงั น้ีคือ
- ศกึ ษาใบงานและใบประเมินผลปฏิบัติงานในหนว่ ยท่ี 4 ใบงานท่ี 4-3

ขณะเรียน
- ให้ศึกษา สังเกต จากการสาธิต และมีส่วนรว่ มในการสาธติ

หลงั เรยี น
- ให้ผเู้ รียนชว่ ยกันสรปุ ขนั้ ตอนตา่ งในการปฏบิ ัติงาน
- มอบหมายให้ผเู้ รียนทกุ คนลงมอื ปฏบิ ัตกิ ารการกลงึ ตกร่องและกลึงเกลยี ว

สามเหลยี่ ม

สื่อการเรยี นการสอน

ส่อื ส่งิ พิมพ์
- หนงั สอื เรียนวชิ างานเครื่องมือกลเบื้องตน้ 2100-1008 หน่วยท่ี 4 เครื่องกลึงและงาน

กลงึ เรยี บเรียงโดย อ.ชลอ การทวี

ส่ือโสตทศั น์
-

หนุ่ จาลองหรือของจริง
- เคร่อื งกลงึ
- เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ที่ใช้กบั เคร่ืองกลึงตามใบงาน

การประเมินผล

ก่อนเรียน
- จากการถาม-ตอบ เรอื่ งการกลึงตกร่องและการกลงึ เกลยี วสามเหลย่ี มว่ามผี เู้ รยี นคนใด

เคยปฏบิ ตั ิมาก่อนบา้ ง

ขณะเรียน
- จากการสงั เกต จากความสนใจ และความต้ังใจในขณะทาการสาธติ ใหด้ ู และจากการ

ให้มีส่วนร่วมในการสาธติ
- จากการถาม-ตอบ ในระหวา่ งการสาธิต
- ประเมนิ ผลจากการให้ลงมอื ปฏบิ ตั ิการกลงึ การกลึงตกร่องและ การกลึงเกลียว

สามเหลีย่ ม

หลังเรยี น
- ใบประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ใบงานท่ี 4-3

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 12 สัปดาห์ที่ 12
รหสั 20100-1007 วิชา งานเคร่อื งมือกลเบ้ืองตน้
ช่อื หน่วย เครือ่ งกลงึ และงานกลงึ หนว่ ยที่ 4
ชอื่ เรอ่ื ง ปฏิบัติงานกลึงตกร่องและกลึงเกลียวสามเหลี่ยม(ตอ่ )
ชวั่ โมงรวม 20

จานวนชวั่ โมง 4

สาระสาคญั
เคร่ืองกลึงนอกจากจะกลึงปาดหน้าและกลึงปอกแล้วยังสามารถกลึงขึ้นรูปได้อีกมากมาย

หลายแบบ แตใ่ นท่นี ีจ้ ะฝึกปฏิบัติในการกลงึ ตกร่องและการกลึงเกลียวสามเหล่ยี ม

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. สามารถกลงึ ตกร่องได้
2. สามารถกลงึ เกลยี วสามเหลย่ี มได้
3. ตรงตอ่ เวลาในการเข้าปฏิบัตงิ านและการสง่ ช้นิ งานได้
4. มกี ารแต่งกายถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงฝึกงานได้
5. ทาความสะอาดเคร่อื งกลึงหลังจากใช้งานเสร็จ
6. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ท่ีผู้สอนสามารถ
สังเกตเหน็ ได้ ในด้านความมีมนุษยส์ ัมพันธ์ ความมวี ินยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมั่นใน
ตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตญั ญูกตเวที

เน้ือหาสาระ
1. การกลงึ ตกร่อง
2. การกลึงเกลียวสามเหลย่ี ม

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ในการสอนของหน่วยที่ 4 เคร่ืองกลึงและงานกลึง เป็นส่วนที่เป็นการปฏิบัติงานเก่ียวกับ

การ การตกร่องและ การกลึงเกลียวสามเหลี่ยม ซึ่งเป็นส่วนของทางด้านทักษะอีกด้านหนึ่ง ดังนั้นจึงใช้

วิธีการสอนแบบสาธิตโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย โดยมีข้ันตอน

ดงั ต่อไปนี้

กิจกรรมของครู กิจกรรมของนกั เรียน

1. ขนั้ ตอนกาหนดวตั ถุประสงค์

- ได้กาหนดวัตถุประสงค์ ในการสาธิตใน

หน่วยที่ 4 คือข้ันตอนการกลึงตกร่อง และการกลึง

เกลียว

2. ขน้ั เตรยี มการสาธติ

- ข้าพเจ้าได้จัดเตรียม เคร่ืองจักรกล วัสดุ - ผู้เรียนได้รับมอบหมายให้ศึกษาเครื่องกลึง
เครื่องมือและอุปกรณ์ ไว้ก่อนทาการสาธิต ได้แก่ และงานกลึง จากหนังสือเรียนวิชางานเครื่องมือกล
เคร่ืองกลึง มีดกลึง พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือ เบ้ืองตน้ จากใบงานที่ 4-3
ต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในใบงาน ซึ่งได้ตรวจสอบความ

พรอ้ มไวเ้ รยี บรอ้ ย เพือ่ เตรียมพรอ้ มสาหรบั การสาธิต

3. ขัน้ ทาการสาธิต

- ขั้นตอนการแจ้งวัตถุประสงค์ของการ

สาธติ ในขนั้ ตอนน้ีจะให้ผเู้ รยี น ดูชิน้ งานท่ีสาเร็จแล้ว - ผู้เรียนศึกษาจากช้ินงานท่ีผู้สอนจัดเตรียมมา
ทีจ่ ดั เตรยี มมาโดยสอบถามผู้เรียนว่าจะทาได้อย่างไร นาเสนอ และจาก ใบงานและช่วยกันแสดงความ
และจะใช้เคร่ืองจักรกลชนิดใด เม่ือผู้เรียนตอบได้ คดิ เหน็ ตอบ คาถามของผู้สอนที่ถามต้ังคาถามไว้ให้
ตรงวตั ถุประสงค์ทจี่ ะสาธิต กจ็ ะช่วยกันสรุปและแจ้ง คิดและรับทราบวัตถุประสงค์ ของการสาธิตในครั้ง
ให้ ผู้เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ในการสาธิตใน น้ี
ครง้ั นี้

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนักเรียน

- ข้ันสาธิตได้สาธิตตามข้ันตอนที่จัดเตรียมไว้โดย - ศึกษาข้ันตอนจากการสาธิตโดยการซัก-ถาม

ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย เช่น มีการถาม ข้อสงสัยต่างๆ ท่ีดูไม่ทันหรือไม่เข้าใจ และมีส่วน

เกี่ยวกับเครื่องกลึง เคร่ืองมือต่างที่นามาใช้ในการ ร่วมในการสาธิตด้วยกรณีผู้สอนเลือกให้ร่วมสาธิต

กลึงว่ารู้จักหรือไม่ มีชื่อเรียกว่าอะไร มีประโยชน์ใน ด้วย

การใช้งานอย่างไร ในขณะสาธิตจะให้ผู้เรียนลงมือ

ปฏิบัติตามในบางช่วง เพื่อเป็นการกระตุ้นความ

สนใจของผู้เรียนทั้งผู้ท่ีได้รับเลือกให้ร่วมสาธิตและผู้

ร่วมสังเกตดูการสาธิต ในขณะสาธิตได้เน้นย้าเร่ือง

ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งกลงึ ตลอดเวลา

- หลังสาธิต เม่ือทาการสาธิตการใช้เครื่องกลึง
เรียบร้อยแล้ว ได้ให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปข้ันตอนต่างๆ - ผู้เรียนช่วยกันสรุปข้ันตอนในการสาธิตการใช้
ในการสาธิตโดยผู้สอนคอยควบคุมถามนาให้ผู้เรียน เครอ่ื งกลงึ พรอ้ มทง้ั สรุปเรอ่ื งความปลอดภัยในการ
สรุปได้ตรงตามขั้นตอนท่ีสาธิตมา พร้อมท้ังคอยถาม ปฏิบตั งิ านและการบารุงรกั ษาเคร่ืองกลงึ
ย้าถึงเร่ืองความปลอดภัย การทาความสะอาดและ
การบารุงรักษาเคร่ืองกลึงหลังจากเลิกใช้งานเพ่ือให้
เคร่ืองกลึงมีอายกุ ารใชง้ านทยี่ าวนาน
4. ขน้ั ตอนให้ผูเ้ รียนลงมอื ปฏบิ ตั งิ าน

- ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานใช้

เครื่องกลึง ตามแบบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมี - ให้ผู้เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิการกลึง การกลึงตกร่อง

ผู้สอนคอยควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดเพ่ือคอยแนะนา และกลงึ เกลยี ว ตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย

ในข้ันตอนท่ีผู้เรียนบางคนยังทาไม่ถูกข้ันตอนและ ใบงานที่ 4-3

เป็นการควบคุมดูแลเร่ืองความปลอดภัยในขณะ

ปฏบิ ัติงานด้วย

5. ขน้ั ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน

- ตรวจช้ินงานที่ผู้เรียนปฏิบัติงานเสร็จทันทีเพ่ือ

เปน็ การแจ้งให้ผู้เรียนทราบผลจากการปฏิบัติงานว่า - รบั ทราบผลการประเมินจากผู้สอนจากใบ

ควรจะตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ขหรอื ไม่อย่างไร ประเมินท่ี 4-3

งานทมี่ อบหมาย

ก่อนเรยี น
- ใหผ้ ู้เรียนศึกษาขั้นตอนการทางานในการปฏบิ ัติงานในกลงึ ตกร่องและกลงึ เกลยี ว

สามเหลย่ี มจากใบงานและใบประเมนิ ผลปฏบิ ัติงานหนว่ ยที่ 4 ดงั น้ีคือ
- ศกึ ษาใบงานและใบประเมินผลปฏิบัติงานในหนว่ ยท่ี 4 ใบงานท่ี 4-3

ขณะเรียน
- ให้ศึกษา สังเกต จากการสาธิต และมีส่วนรว่ มในการสาธติ

หลงั เรยี น
- ให้ผเู้ รียนชว่ ยกันสรปุ ขนั้ ตอนตา่ งในการปฏบิ ัติงาน
- มอบหมายให้ผเู้ รียนทกุ คนลงมอื ปฏบิ ัตกิ ารการกลงึ ตกร่องและกลึงเกลยี ว

สามเหลยี่ ม

สื่อการเรยี นการสอน

สือ่ ส่งิ พิมพ์
- หนังสือเรียนวิชางานเครือ่ งมือกลเบื้องตน้ 2100-1008 หน่วยที่ 4 เครอื่ งกลึงและงาน

กลงึ เรยี บเรียงโดย อ.ชลอ การทวี

ส่ือโสตทัศน์
-

หนุ่ จาลองหรือของจริง
- เครือ่ งกลงึ
- เคร่อื งมือและอุปกรณ์ทีใ่ ช้กบั เครื่องกลงึ ตามใบงาน

การประเมินผล

ก่อนเรียน
- จากการถาม-ตอบ เรอื่ งการกลึงตกร่องและการกลงึ เกลยี วสามเหลย่ี มว่ามผี เู้ รยี นคนใด

เคยปฏบิ ตั ิมาก่อนบา้ ง

ขณะเรียน
- จากการสงั เกต จากความสนใจ และความต้ังใจในขณะทาการสาธติ ใหด้ ู และจากการ

ให้มีส่วนร่วมในการสาธติ
- จากการถาม-ตอบ ในระหวา่ งการสาธิต
- ประเมนิ ผลจากการให้ลงมอื ปฏบิ ตั ิการกลงึ การกลึงตกร่องและ การกลึงเกลียว

สามเหลีย่ ม

หลังเรยี น
- ใบประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ใบงานท่ี 4-3

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 สัปดาหท์ ่ี 13
รหสั 20100-1007 วิชา งานเคร่อื งมอื กลเบื้องตน้
ชือ่ หน่วย เครือ่ งกลงึ และงานกลงึ หน่วยที่ 4
ชื่อเร่อื ง ปฏบิ ัตงิ านกลงึ ตกร่องและกลึงเกลียวสามเหลีย่ ม(ต่อ)
ชวั่ โมงรวม 20

จานวนช่วั โมง 4

สาระสาคญั
เคร่ืองกลึงนอกจากจะกลึงปาดหน้าและกลึงปอกแล้วยังสามารถกลึงขึ้นรูปได้อีกมากมาย

หลายแบบ แต่ในทีน่ ีจ้ ะฝึกปฏิบัตใิ นการกลงึ ตกร่องและการกลึงเกลียวสามเหลย่ี ม

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. สามารถกลึงตกรอ่ งได้
2. สามารถกลงึ เกลยี วสามเหลี่ยมได้
3. ตรงต่อเวลาในการเขา้ ปฏบิ ตั งิ านและการสง่ ช้ินงานได้
4. มกี ารแต่งกายถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงฝกึ งานได้
5. ทาความสะอาดเคร่อื งกลึงหลังจากใชง้ านเสร็จ
6. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ทผ่ี ้สู อนสามารถ
สังเกตเหน็ ได้ ในดา้ นความมีมนุษย์สัมพนั ธ์ ความมีวนิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ ความเชื่อม่ันใน
ตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรกั สามัคคี ความกตัญญูกตเวที

เนอื้ หาสาระ
1. การกลึงตกร่อง
2. การกลึงเกลียวสามเหลีย่ ม

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ในการสอนของหน่วยที่ 4 เครื่องกลึงและงานกลึง เป็นส่วนท่ีเป็นการปฏิบัติงานเก่ียวกับ

การ การตกร่องและ การกลึงเกลียวสามเหลี่ยม ซ่ึงเป็นส่วนของทางด้านทักษะอีกด้านหนึ่ง ดังน้ันจึงใช้

วิธีการสอนแบบสาธิตโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย โดยมีขั้นตอน

ดงั ต่อไปน้ี

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนักเรียน

1. ขัน้ ตอนกาหนดวตั ถปุ ระสงค์

- ได้กาหนดวัตถุประสงค์ ในการสาธิตใน

หน่วยท่ี 4 คือข้ันตอนการกลึงตกร่อง และการกลึง

เกลยี ว

2. ข้นั เตรยี มการสาธติ

- ข้าพเจ้าได้จัดเตรียม เครื่องจักรกล วัสดุ - ผู้เรียนได้รับมอบหมายให้ศึกษาเคร่ืองกลึง
เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ไว้ก่อนทาการสาธิต ได้แก่ และงานกลึง จากหนงั สือเรียนวิชางานเครื่องมือกล
เคร่ืองกลึง มีดกลึง พร้อมอุปกรณ์และเคร่ืองมือ เบอ้ื งต้นจากใบงานท่ี 4-3
ต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในใบงาน ซึ่งได้ตรวจสอบความ

พร้อมไว้เรียบรอ้ ย เพอื่ เตรยี มพรอ้ มสาหรบั การสาธติ

3. ขั้นทาการสาธติ

- ข้ันตอนการแจ้งวัตถุประสงค์ของการ

สาธติ ในข้นั ตอนน้ีจะใหผ้ ู้เรยี น ดชู น้ิ งานทส่ี าเร็จแล้ว - ผู้เรียนศึกษาจากชิ้นงานที่ผู้สอนจัดเตรียมมา
ที่จดั เตรยี มมาโดยสอบถามผู้เรียนว่าจะทาได้อย่างไร นาเสนอ และจาก ใบงานและช่วยกันแสดงความ
และจะใช้เคร่ืองจักรกลชนิดใด เมื่อผู้เรียนตอบได้ คิดเห็นตอบคาถามของผู้สอนท่ีถามตั้งคาถามไว้ให้
ตรงวัตถุประสงค์ท่ีจะสาธิต กจ็ ะช่วยกนั สรปุ และแจ้ง คิดและรับทราบวัตถุประสงค์ ของการสาธิตในครั้ง
ให้ ผู้เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ในการสาธิตใน นี้
ครัง้ นี้

กจิ กรรมของครู กิจกรรมของนักเรียน

- ข้ันสาธิตได้สาธิตตามข้ันตอนที่จัดเตรียมไว้โดย - ศึกษาข้ันตอนจากการสาธิตโดยการซัก-ถาม

ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย เช่น มีการถาม ข้อสงสัยต่างๆ ที่ดูไม่ทันหรือไม่เข้าใจ และมีส่วน

เก่ียวกับเครื่องกลึง เคร่ืองมือต่างที่นามาใช้ในการ ร่วมในการสาธิตด้วยกรณีผู้สอนเลือกให้ร่วมสาธิต

กลึงว่ารู้จักหรือไม่ มีชื่อเรียกว่าอะไร มีประโยชน์ใน ดว้ ย

การใช้งานอย่างไร ในขณะสาธิตจะให้ผู้เรียนลงมือ

ปฏิบัติตามในบางช่วง เพื่อเป็นการกระตุ้นความ

สนใจของผู้เรียนทั้งผู้ท่ีได้รับเลือกให้ร่วมสาธิตและผู้

ร่วมสังเกตดูการสาธิต ในขณะสาธิตได้เน้นย้าเร่ือง

ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งกลงึ ตลอดเวลา

- หลังสาธิต เม่ือทาการสาธิตการใช้เครื่องกลึง
เรียบร้อยแล้ว ได้ให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปข้ันตอนต่างๆ - ผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอนในการสาธิตการใช้
ในการสาธิตโดยผู้สอนคอยควบคุมถามนาให้ผู้เรียน เครอื่ งกลงึ พร้อมท้งั สรุปเร่ืองความปลอดภัยในการ
สรุปได้ตรงตามขั้นตอนท่ีสาธิตมา พร้อมท้ังคอยถาม ปฏิบตั งิ านและการบารงุ รักษาเคร่ืองกลงึ
ย้าถึงเร่ืองความปลอดภัย การทาความสะอาดและ
การบารุงรักษาเคร่ืองกลึงหลังจากเลิกใช้งานเพ่ือให้
เครอื่ งกลึงมีอายกุ ารใชง้ านทยี่ าวนาน
4. ขน้ั ตอนให้ผูเ้ รียนลงมอื ปฏบิ ตั งิ าน

- ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานใช้

เคร่ืองกลึง ตามแบบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมี - ใหผ้ เู้ รยี นลงมือปฏบิ ัติการกลึง การกลึงตกร่อง

ผู้สอนคอยควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดเพ่ือคอยแนะนา และกลึงเกลียว ตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย ใบ

ในข้ันตอนท่ีผู้เรียนบางคนยังทาไม่ถูกข้ันตอนและ งานท่ี 4-3

เป็นการควบคุมดูแลเร่ืองความปลอดภัยในขณะ

ปฏิบัติงานด้วย

5. ขน้ั ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน

- ตรวจช้ินงานที่ผู้เรียนปฏิบัติงานเสร็จทันทีเพ่ือ

เปน็ การแจ้งให้ผู้เรียนทราบผลจากการปฏิบัติงานว่า - รับทราบผลการประเมนิ จากผู้สอนจากใบ

ควรจะตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ขหรอื ไม่อย่างไร ประเมินที่ 4-3

งานทมี่ อบหมาย

ก่อนเรยี น
- ใหผ้ ู้เรียนศึกษาขั้นตอนการทางานในการปฏบิ ัติงานในกลงึ ตกร่องและกลงึ เกลยี ว

สามเหลย่ี มจากใบงานและใบประเมนิ ผลปฏบิ ัติงานหนว่ ยที่ 4 ดงั น้ีคือ
- ศกึ ษาใบงานและใบประเมินผลปฏิบัติงานในหนว่ ยท่ี 4 ใบงานท่ี 4-3

ขณะเรียน
- ให้ศึกษา สังเกต จากการสาธิต และมีส่วนรว่ มในการสาธติ

หลงั เรยี น
- ให้ผเู้ รียนชว่ ยกันสรปุ ขนั้ ตอนตา่ งในการปฏบิ ัติงาน
- มอบหมายให้ผเู้ รียนทกุ คนลงมอื ปฏบิ ัตกิ ารการกลงึ ตกร่องและกลึงเกลยี ว

สามเหลยี่ ม

สื่อการเรยี นการสอน

สือ่ ส่งิ พิมพ์
- หนังสือเรียนวิชางานเครือ่ งมือกลเบื้องตน้ 2100-1008 หน่วยที่ 4 เครอื่ งกลึงและงาน

กลงึ เรยี บเรียงโดย อ.ชลอ การทวี

ส่ือโสตทัศน์
-

หนุ่ จาลองหรือของจริง
- เครือ่ งกลงึ
- เคร่อื งมือและอุปกรณ์ทีใ่ ช้กบั เครื่องกลงึ ตามใบงาน

การประเมินผล

ก่อนเรียน
- จากการถาม-ตอบ เรอื่ งการกลึงตกร่องและการกลงึ เกลยี วสามเหลย่ี มว่ามผี เู้ รยี นคนใด

เคยปฏบิ ตั ิมาก่อนบา้ ง

ขณะเรียน
- จากการสงั เกต จากความสนใจ และความต้ังใจในขณะทาการสาธติ ใหด้ ู และจากการ

ให้มีส่วนร่วมในการสาธติ
- จากการถาม-ตอบ ในระหวา่ งการสาธิต
- ประเมนิ ผลจากการให้ลงมอื ปฏบิ ตั ิการกลงึ การกลึงตกร่องและ การกลึงเกลียว

สามเหลีย่ ม

หลังเรยี น
- ใบประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ใบงานท่ี 4-3

ช่ือเร่ือง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 14 สัปดาหท์ ี่ 14
รหัส 20100-1007 วิชา งานเคร่ืองมอื กลเบื้องตน้ หน่วยท่ี 5
ช่ือหน่วย เคร่อื งไสและงานไส ช่ัวโมงรวม 4
เครื่องไส(ทฤษฎี) จานวนช่วั โมง 4

สาระสาคัญ
เครื่องไสเป็นเครื่องจักรกลที่สาคัญอีกชนิดหนึ่งของช่างกลโรงงาน ลักษณะงานจะแตกต่าง

จากเครือ่ งกลึง เพราะจะมีลักษณะการทางานจังหวะเดียว คือ จังหวะเดินหน้าจะตัดงาน ส่วนช่วงชักกลับ
จะเป็นช่วงสูญเปล่า คือ ไม่ได้ตัดงาน ทาให้ช่วงชักกลับจะเร็วกว่าช่วงเดินหน้าตัดงาน เคร่ืองไสจะมีแบบ
Shaper และแบบ Planer ส่วนประกอบจะแตกต่างจากเคร่ืองจักรกลชนิดอื่นๆ เป็นอย่างมาก อุปกรณ์ท่ี
ใช้กับเครื่องไสที่สาคัญได้แก่ ปากกาจับงาน การบารุงรักษาและความปลอดภัยก็จะมีทั้งท่ีเหมือนกันและ
ส่วนทแี่ ตกตา่ งกนั ไป

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกชนิดของเครือ่ งไสได้
2. บอกสว่ นประกอบท่ีสาคัญของเคร่อื งไสนอนได้
3. บอกเครื่องมือและอปุ กรณ์ทใ่ี ชก้ ับเครือ่ งไสได้
4. อธบิ ายข้นั ตอนการทางานของเครอ่ื งไสได้
5. บอกวิธีการบารุงรักษาเครือ่ งไสได้
6. อธิบายความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองไสได้
7. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ที่ผสู้ อนสามารถ
สังเกตเหน็ ได้ ในดา้ นความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมวี ินัย ความรบั ผดิ ชอบ ความเชื่อม่ันใน
ตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตญั ญูกตเวที

เนื้อหาสาระ
1. ชนิดของเคร่ืองไส
2. ส่วนประกอบท่สี าคัญของเคร่ืองไสนอน
3. เครอื่ งมือและอุปกรณ์ทใ่ี ชก้ ับเครอ่ื งไส
4. ขั้นตอนการทางานของเคร่ืองไส
5. การบารุงรกั ษาเครื่องไส
6. ความปลอดภยั ในการใช้เครื่องไส

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ในการเรียนการสอนของหน่วยท่ี 5 ได้ทาการสอนในส่วนของเน้ือหาของเครื่องไส เพื่อให้รู้จักชนิด

ส่วนประกอบที่สาคัญเคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่ใช้กับเคร่ืองไส ข้ันตอนการใช้ การบารุงรักษาและความ

ปลอดภยั ในการใช้เครอื่ งไสเพ่ือทาใหผ้ เู้ รียนมคี วามรกู้ ่อนปฏิบัตงิ าน

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนกั เรียน

1. ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ขัน้ สนใจปญั หา

- ใหผ้ เู้ รียนดเู ครอื่ งไส จากสอื่ Power point - ให้ผู้เรียนช่วยกันตอบว่ารูปเคร่ืองจักรกลท่ี

- ให้ผ้เู รียนสรปุ หัวขอ้ เร่อื งตา่ งๆ เสนอมาเพอื่ ให้ เหน็ เปน็ เครื่อง อะไรมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร

ตรงกบั เรอ่ื งทจี่ ะสอน - ผู้เรียนสรุปหัวข้อเร่ืองต่างๆ เพื่อนาคาตอบ

ตา่ งๆ มาสรปุ เปน็ เนือ้ หาท่ีจะสอน

2. ขนั้ ใหเ้ นือ้ หาความรู้ 2. ขั้นศึกษาขอ้ มลู

- ให้ผู้เรียน ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือเรียนวิชา - ค้นคว้าจากหนังสือเรียน วิชางานเครื่องมือกล

งานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น และจากสื่อ Power point เบื้องตัน และจากส่ือ Power point โดยศึกษาใน

ในหน่วยท่ี 5 เครื่องไส โดยศึกษาในส่วนท่ีเป็น ส่วนที่เป็นเน้ือหาความรู้จากที่ผู้สอนอธิบาย

เนื้อหาความรู้จากทีผ่ ู้สอนอธิบายเพม่ิ เตมิ เพมิ่ เติม

- ผู้สอนคอยถามนาให้ผู้เรียนช่วย กันตอบเป็น - ผเู้ รยี นรว่ มกันสรุปเน้ือหาหน่วยที่ 5 พร้อมท้ัง

การกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาตรงวัตถุประสงค์ท่ี ช่วยกันสรุปพร้อมผู้สอนเพ่ือให้ได้เนื้อหาครบถ้วน

ต้องการและเป็นการวัดผลและประเมินผล จากการ ตรงตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีตอ้ งการ

ตอบของ ผ้เู รยี น

- ผสู้ อนมอบให้ผู้เรียนรว่ มกันสรปุ ในเนือ้ หา

หนว่ ยที่ 5

- ผสู้ อนร่วมกับผ้เู รียนสรุปในส่วนทยี่ ังไม่ครบ

หรอื เพม่ิ เตมิ ใหช้ ัดเจน

3. ขั้นให้แบบฝึกหดั 3. ขน้ั พยายาม

- มอบหมายให้ผเู้ รยี นทาแบบประเมินผลการ - ผู้เรยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรียนรหู้ นว่ ยท่ี

เรยี นรู้หนว่ ยท่ี 5 ตอนท่ี 1 และ ตอนท่ี 2 5 ตอนท่ี 1 และ ตอนที่ 2

กิจกรรมของครู กิจกรรมของนกั เรยี น

4. ขัน้ ตรวจผลการฝึกหัด 4. ข้นั สาเร็จผล

- ตรวจแบบประเมินตนเอง หน่วยที่ 5 ร่วมกับ - ผูเ้ รียนรว่ มกบั ผูส้ อนในการเฉลยและตรวจ

ผู้เรียนเพ่ือให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเฉลยแบบ แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 5 ด้วยตนเอง

ประเมินผลการเรียนรู้ โดยฝึกให้ผู้เรียนมีความ พรอ้ มทั้งให้ประเมินตนเองด้วยจากแบบประเมิน

ซ่ือสัตย์ โดยให้ผู้เรียนประเมินตนเองจากแบบ

ประเมนิ ตนเอง

งานที่มอบหมาย

ก่อนเรยี น
- เตรยี มหนังสอื เรยี น วิชางานเครอื่ งมือกลเบอ้ื งตน้ 2100-1008 หนว่ ยที่ 5 เครื่องไส

และงานไส เรียบเรียงโดย อ. ชลอ การทวี

ขณะเรยี น
- ให้ศึกษาค้นควา้ จากหนงั สือเรียน วิชางานเคร่ืองมอื กลเบ้ืองต้น 2100-1008 หนว่ ย

ท่ี 5 เรียบเรียงโดย อ. ชลอ การทวี และฟังผสู้ อนอธบิ ายเพิม่ เติมจากสอื่ Power point

หลงั เรยี น
- มอบหมายให้ผเู้ รยี นคน้ คว้าและลงมือทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 5

ตอนที่ 1 จานวน 10 ข้อและตอนที่ 2 จานวน 20 ข้อ
- ผู้เรยี นและผู้สอนรว่ มกนั เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้ ท้ัง 2 ตอน

สอ่ื การเรยี นการสอน

สือ่ สง่ิ พิมพ์
- หนงั สอื เรยี นวชิ างานเครอื่ งมือกลเบ้ืองต้น 2100-1008 หนว่ ยท่ี 5 เคร่อื งไสและงานไส

เรยี บเรียงโดย อ.ชลอ การทวี

ส่ือโสตทศั น์
- Power point เรื่อง เครื่องไสและงานไส

หนุ่ จาลองหรือของจริง
- เครอื่ งไส
- อุปกรณ์ตา่ งๆของเคร่อื งไส

การประเมินผล

ก่อนเรยี น
- จากความกระตอื รือรน้

ขณะเรยี น
- จากการสังเกต
- ถาม-ตอบ
- แบบประเมนิ ผลผลคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

หลังเรยี น
- แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่วยที่ 5 ตอนท่ี 1 เป็นแบบเขยี นตอบ
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 5 ตอนท่ี 2 เป็นแบบเลอื กตอบ

ชอื่ เร่ือง แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 15 สัปดาหท์ ่ี 15
รหสั 20100-1007 วิชา งานเครอ่ื งมือกลเบ้ืองตน้ หนว่ ยที่ 6
ชอ่ื หน่วย เครอ่ื งกดั และงานกัด ชวั่ โมงรวม 12
เครื่องกัด(ทฤษฎี) จานวนชัว่ โมง 4

สาระสาคัญ
เครือ่ งกัดเป็นเคร่ืองจกั รกลที่สาคญั อีกชนิดหนงึ่ ของช่างกลโรงงาน ลักษณะการทางานจะแตกต่าง

จากเครื่องไสและเคร่ืองกลึง เครื่องกัดดอกกัดจะเป็นตัวหมุนตัดช้ินงาน โดยชิ้นงานจับยึดอยู่บนโต๊ะงาน แล้ว
เคล่อื นท่ผี า่ นดอกกัด มีทั้งเคร่ืองกัดแนวนอนและเครื่องกัดแนวตั้ง มีส่วนประกอบและเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ี
แตกต่างจากเคร่ืองจักรกลชนิดอื่นๆ การบารุงรักษาก็จะบารุงรักษาในส่วนท่ีเคลื่อนที่ต่างๆ ในเร่ืองความ
ปลอดภัยจะต้องทางานดว้ ยความระมดั ระวงั อย่างมาก

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกชนดิ ของเครอื่ งกดั ได้
2. บอกสว่ นประกอบท่สี าคญั ของเครื่องกดั ได้
3. บอกเคร่อื งมอื และอุปกรณ์ท่ีใชก้ ับเครื่องกดั ได้
4. อธิบายขน้ั ตอนการทางานของเครื่องกดั ได้
5. บอกวธิ ีการบารงุ รักษาเคร่ืองกัดได้
6. อธบิ ายความปลอดภยั ในการใช้เครอ่ื งกดั ได้
7. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ท่ีผสู้ อนสามารถ
สังเกตเห็นได้ ในด้านความมีมนษุ ยส์ ัมพันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง
ความสนใจใฝ่รู้ ความรกั สามัคคี ความกตัญญูกตเวที

เน้อื หาสาระ
1. ชนิดของเครื่องกดั
2. สว่ นประกอบทสี่ าคัญของเคร่ืองกัด
3. เครอื่ งมือและอุปกรณ์ท่ใี ชก้ ับเครอ่ื งกดั
4. ขนั้ ตอนการทางานของเครื่องกดั
5. การบารงุ รกั ษาเครื่องกดั
6. ความปลอดภัยในการใช้เคร่ืองกัด

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ในการเรียนการสอนของหน่วยท่ี 6 ได้ทาการสอนในส่วนของเน้ือหาของเครื่องกัด เพ่ือให้รู้จักชนิด

ส่วนประกอบท่ีสาคัญเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใช้กับเครื่องกัด ขั้นตอนการใช้ การบารุงรักษาและความ

ปลอดภยั ในการใชเ้ ครอื่ งกัดเพ่ือทาใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ก่อนปฏบิ ัติงาน

กจิ กรรมของครู กิจกรรมของนกั เรียน

1. ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรียน 1. ขน้ั สนใจปัญหา

- ใหผ้ ู้เรยี นดูเครอ่ื งกัด จากสื่อ Power point - ให้ผูเ้ รยี นชว่ ยกันตอบว่ารูปเครอ่ื งจักรกลท่ี

- ให้ผู้เรียนสรุปหัวข้อเรื่องต่างๆ เสนอมาเพ่ือให้ เห็นเปน็ เครอื่ ง อะไรมีประโยชนอ์ ย่างไร

ตรงกบั เรือ่ งท่ีจะสอน - ผู้เรียนสรปุ หัวขอ้ เรือ่ งต่างๆ เพอ่ื นาคาตอบ

ต่างๆ มาสรปุ เป็นเน้ือหาทจี่ ะสอน

2. ขนั้ ให้เน้อื หาความรู้ 2. ข้ันศึกษาข้อมลู

- ให้ผู้เรียน ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือเรียนวิชา - ค้นควา้ จากหนงั สือเรยี น วิชางานเคร่ืองมือกล

งานเครอ่ื งมือกลเบ้อื งต้น และจากส่ือ Power point เบ้ืองตัน และจากสื่อ Power point หน่วยที่ 6

ในหน่วยท่ี 6 เคร่ืองกัด โดย ศึกษาในส่วนที่เป็น เครือ่ งกดั โดยศึกษาในสว่ นทีเ่ ปน็ เนื้อหาความรู้จาก

เนือ้ หาความร้จู ากท่ีผู้สอนอธิบายเพมิ่ เตมิ ทผี่ สู้ อนอธิบายเพ่มิ เติม

- ผู้สอนคอยถามนาให้ผเู้ รียนชว่ ยกันตอบเปน็ การ - ผู้ เ รี ย น ร่ ว ม กั น ส รุ ป เ น้ื อ ห า ห น่ ว ย ที่ 6

กระตุ้นใหผ้ ้เู รียนได้ศึกษาตรงวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เครอ่ื งกดั

และเป็นการวัดผลและประเมินผล จากการตอบของ พรอ้ มท้ังช่วยกันสรุปพร้อมผู้สอนเพ่ือให้ได้เนื้อ หา

ผเู้ รยี น ครบถ้วนตรงตามวตั ถุประสงคท์ ตี่ อ้ งการ

- ผู้สอนมอบใหผ้ เู้ รยี นรว่ มกันสรุปในเนอ้ื หาของ

หน่วยท่ี 6

- ผ้สู อนรว่ มกบั ผู้เรียนสรปุ ในส่วนท่ยี ังไม่ครบ

หรือเพิ่มเติมให้ชัดเจน

3. ข้นั ให้แบบฝึกหัด 3. ขั้นพยายาม

- มอบหมายให้ผู้เรียนทาแบบประเมนิ ผลการ - ผู้เรยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรียนรหู้ น่วยท่ี

เรียนรู้ หนว่ ยท่ี 6 เคร่ืองกดั ตอนท่ี 1 และ ตอนที่ 6

2 ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2

กจิ กรรมของครู กิจกรรมของนักเรยี น

4. ขัน้ ตรวจผลการฝกึ หดั 4. ขั้นสาเร็จผล

- ตรวจแบบประเมินตนเอง หน่วยที่ 6 ร่วมกับ - ผู้เรียนร่วมกับผู้สอนในการเฉลยและตรวจ

ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเฉลยแบบ แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยท่ี 6 ด้วยตนเอง

ประเมินผลการเรียนรู้ โดยฝึกให้ผู้เรียนมีความ พร้อมทงั้ ให้ประเมนิ ตนเองดว้ ยจากแบบประเมิน

ซ่ือสัตย์ โดยให้ผู้เรียนประเมินตนเองจากแบบ

ประเมินตนเอง

งานท่ีมอบหมาย

ก่อนเรียน
- เตรียมหนังสือเรียน วิชางานเคร่อื งมือกลเบ้ืองตน้ 2100-1008 หนว่ ยที่ 6 เครือ่ งกดั

และงานกัดเรยี บเรยี งโดย อ. ชลอ การทวี

ขณะเรียน
- ให้ศกึ ษาคน้ ควา้ จากหนงั สือเรยี น วิชางานเครือ่ งมอื กลเบ้ืองตน้ 2100-1008

หน่วยท่ี 6 เรยี บเรียงโดย อ. ชลอ การทวี และฟงั ผูส้ อนอธิบายเพมิ่ เตมิ จากส่อื Power point

หลงั เรียน
- มอบหมายให้ผูเ้ รียนค้นคว้าและลงมอื ทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 6

ตอนท่ี 1 จานวน 10 ขอ้ และตอนที่ 2 จานวน 20 ขอ้
- ผเู้ รยี นและผู้สอนร่วมกันเฉลยแบบประเมินผลการเรยี นรู้ ทั้ง 2 ตอน

สือ่ การเรียนการสอน

ส่ือสงิ่ พิมพ์
- หนังสือเรียนวชิ างานเครอื่ งมือกลเบื้องต้น 2100-1008 หนว่ ยที่ 6 เครอื่ งกดั และงานกดั

เรียบเรียงโดย อ.ชลอ การทวี

ส่อื โสตทัศน์
- Power point เรอื่ ง เครื่องกัดและงานกดั

ห่นุ จาลองหรือของจริง
- เครื่องกัด
- อปุ กรณต์ ่างๆของเครอ่ื งกัด

การประเมนิ ผล

ก่อนเรยี น
- จากความกระตอื รือร้น

ขณะเรยี น
- จากการสงั เกต
- ถาม-ตอบ
- แบบประเมินผลผลคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

หลงั เรยี น
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 6 ตอนท่ี 1 เปน็ แบบเขียนตอบ จานวน 10 ข้อ
- แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 6 ตอนท่ี 2 เปน็ แบบเลอื กตอบ จานวน 20 ข้อ

ชอ่ื เรอ่ื ง แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 16 สปั ดาหท์ ่ี 16
รหสั 20100-1007 วิชา งานเครอื่ งมือกลเบ้ืองตน้ หน่วยที่ 6
ชือ่ หน่วย เครื่องกัดและงานกดั ชวั่ โมงรวม 12
ปฏบิ ัตงิ านกัดราบ จานวนช่ัวโมง 4

สาระสาคญั
เคร่ืองกัดเป็นเคร่ืองจักรกลที่สามารถกัดราบได้ ในการกัดราบชิ้นงานทั้ง 6 ด้าน จะต้องมีการกัด

ชิ้นงานแต่ละด้านใหไ้ ด้ขนาดและยังจะต้องตั้งฉากและขนานซ่ึงกันและกัน ผู้ปฏิบัติงานจะต้องรู้วิธีในกัดราบ การ
ต้ังความเร็วคู่จังหวะการเดินของช้ินงาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกัด และการบารุงรักษาเคร่ืองกัด
เครื่องมอื และอุปกรณต์ ่างๆ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. สามารถกัดราบได้
2. ตรงต่อเวลาในการเข้าปฏบิ ตั งิ านและการส่งชิน้ งานได้
3. มีการแต่งกายถูกต้องตามกฎระเบยี บของโรงฝึกงานได้
4. ทาความสะอาดเครอื่ งกัดหลังจากใชง้ านเสร็จ
5. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ที่ผู้สอนสามารถ
สงั เกตเหน็ ได้ ในด้านความมีมนุษยส์ ัมพันธ์ ความมวี นิ ัย ความรับผดิ ชอบ ความเชอ่ื มั่นในตนเอง
ความสนใจใฝ่รู้ ความรกั สามัคคี ความกตัญญูกตเวที

เนอ้ื หาสาระ
1. การกัดราบ

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ในการสอนของหน่วยที่ 6 เคร่ืองกัดและงานกัด เป็นส่วนท่ีเป็นการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ

การกัดราบ ซ่ึงเป็นส่วนของทางด้านทักษะอีกด้านหน่ึง ดังนั้นจึงใช้วิธีการสอนแบบสาธิตโดยเน้นผู้เรียน

เป็นสาคญั ใหผ้ ้เู รียนมสี ว่ นร่วมในการสาธิตดว้ ย โดยมขี ัน้ ตอนดังต่อไปนี้

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนักเรยี น

1. ขัน้ ตอนกาหนดวัตถุประสงค์

- ไดก้ าหนดวัตถปุ ระสงค์ ในการสาธิตใน

หน่วยที่ 6 คือขนั้ ตอนการกัดราบ

2. ข้นั เตรยี มการสาธิต

- ข้าพเจ้าได้จัดเตรียม เครื่องจักรกล วัสดุ - ผู้เรียนได้รับมอบหมายให้ศึกษาเครื่องกัดและ

เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ไว้ก่อนทาการสาธิต ได้แก่ งานกัด จากหนังสือเรียนวิชางานเครื่องมือกล

เคร่อื งกัด ดอกกัด พร้อมอุปกรณ์และเคร่ืองมือต่างๆ เบอ้ื งตน้ จากใบงานท่ี 6-1

ตามท่ีระบุไว้ในใบงานซ่ึงได้ตรวจสอบความพร้อมไว้

เรยี บรอ้ ย เพอื่ เตรียมพร้อมสาหรับการสาธติ

3. ขั้นทาการสาธิต

- ข้ันตอนการแจ้งวัตถุประสงค์ของการ

สาธิต ในข้นั ตอนน้จี ะให้ผู้เรียน ดชู ้นิ งานท่สี าเร็จแล้ว - ผู้เรียนศึกษาจากชิ้นงานที่ผู้สอนจัดเตรียมมา

ท่ีจัดเตรยี มมาโดยสอบถามผู้เรียนว่าจะทาได้อย่างไร นาเสนอ และจาก ใบงานและช่วยกันแสดงความ

และจะใช้เคร่ืองจักรกลชนิดใด เม่ือผู้เรียนตอบได้ คิดเห็นตอบคาถามของผู้สอนที่ตั้งคาถามไว้ให้คิด

ตรงวัตถปุ ระสงค์ทจี่ ะสาธิต ก็จะชว่ ยกันสรุปและแจ้ง และรบั ทราบวตั ถุประสงค์ ของการสาธิตในคร้ังนี้

ให้ ผู้เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ในการสาธิตใน

ครง้ั นี้

กิจกรรมของครู กิจกรรมของนักเรียน

- ข้ันสาธิตได้สาธิตตามขั้นตอนท่ีจัดเตรียมไว้โดย - ศึกษาขั้นตอนจากการสาธิตโดยการซัก-ถาม

ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสาธิตด้วย เช่น มีการถาม ข้อสงสัยต่างๆ ท่ีดูไม่ทันหรือไม่เข้าใจ และมีส่วน

เกี่ยวกับเครื่องกัด เครื่องมือต่างท่ีนามาใช้ในการกัด ร่วมในการสาธิตด้วยกรณีผู้สอนเลือกให้ร่วมสาธิต

ว่ารู้จักหรือไม่ มีชื่อเรียกว่าอะไร มีประโยชน์ในการ ด้วย

ใชง้ านอย่างไร ในขณะสาธิตจะใหผ้ ู้เรียนลงมือปฏิบัติ

ตามในบางช่วง เพื่อเป็นการกระตุ้นความสนใจของ

ผ้เู รยี นท้ังผทู้ ่ีได้รับเลอื กให้ร่วมสาธิตและผู้ร่วมสังเกต

ดูการสาธิต ในขณะสาธิตได้เน้นย้าเรื่องความ

ปลอดภัยในการใช้เคร่ืองกดั ตลอดเวลา

- หลังสาธิต เมื่อทาการสาธิตการใช้เครื่องกัด
เรียบร้อยแล้ว ได้ให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปข้ันตอนต่างๆ - ผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอนในการสาธิตการใช้
ในการสาธิตโดยผู้สอนคอยควบคุมถามนาให้ผู้เรียน เคร่ืองกัด พร้อมทั้งสรุปเรื่องความปลอดภัยในการ
สรุปได้ตรงตามขั้นตอนท่ีสาธิตมา พร้อมทั้งคอยถาม ปฏบิ ตั ิงานและการบารุงรักษาเครอื่ งกดั
ย้าถึงเรื่องความปลอดภัย การทาความสะอาดและ
การบารุงรักษาเครื่องกัดหลังจากเลิกใช้งานเพ่ือให้
เครอ่ื งกดั มอี ายกุ ารใช้งานท่ยี าวนาน
4. ข้ันตอนใหผ้ ู้เรยี นลงมือปฏบิ ตั งิ าน

- ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานใช้

เครื่องกัด ตามแบบงานท่ีได้รับมอบหมายโดยมี - ให้ผู้เรียนลงมอื ปฏิบัติการกดั ราบ ตามใบงานที่

ผู้สอนคอยควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อคอยแนะนา ได้รับมอบหมาย ใบงานท่ี 6-1

ในขั้นตอนที่ผู้เรียนบางคนยังทาไม่ถูกข้ันตอนและ

เป็นการควบคุมดูแลเรื่องความปลอดภัยในขณะ

ปฏิบตั งิ านด้วย

5. ขั้นตรวจผลการปฏิบัติงาน

- ตรวจชิ้นงานท่ีผู้เรียนปฏิบัติงานเสร็จทันทีเพื่อ

เปน็ การแจ้งให้ผู้เรียนทราบผลจากการปฏิบัติงานว่า - รบั ทราบผลการประเมนิ จากผู้สอนจากใบ

ควรจะต้องปรับปรงุ แก้ไขหรอื ไมอ่ ย่างไร ประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานที่ 6-1


Click to View FlipBook Version