บรรยายสรุป จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2566 กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด สำนักงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี โทร. 0-7727-2926
สารบัญ หน้า คำขวัญประจำจังหวัด ก คำขวัญประจำอำเภอ ก – ข ธงประจำจังหวัด ค ต้นไม้ประจำจังหวัด ค ดอกไม้ประจำจังหวัด ค ปลาประจำจังหวัด ค ทำเนียบผู้ว่าราชการจังหวัด ง – จ บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 - 22 ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ 23 - 37 ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 38 – 44 ส่วนที่ 4 การดำเนินการภายใต้แผนงาน/โครงการจังหวัดสุราษฎร์ธานี 45 - 54
ก เมืองรอยเกาะ เงาะอรอย หอยใหญ ไขแดงแหลงธรรมะ คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำจังหวัด อำเภอเวียงสระ “ ชุมชนเมืองโบราณ สืบสานศรีวิชัย ตลาดใหญ่การค้า ยางพาราชั้นดี มากมีไม้ผล ผู้คนมีน้ำใจ ” “ หอยขาวอร่อยดี คันธุลีทุเรียนเด็ด หาดสำเร็จเที่ยวสบาย ท่ากระจายผ้าไหมงาม เลื่องลือนามระกำหวาน ไหว้อังคารพุทธทาส ชมธรรมชาติเขาประสงค์ ลืมไม่ลง........ท่าชนะ ” อำเภอท่าชนะ อำเภอกาญจนดิษฐ์ “ หอยใหญ่นางรม ชมวิทยาลัยฝึกลิง มากยิ่งกุ้งกุลาดำ งามล้ำพระไสยาสน์ พระพุทธบาทควรผดุง รุ่งเรืองเมืองท่าทอง ” อำเภอเมือง “เมืองห้าบกหกน้ำนามตาปี พระธาตุศรีฯ วัดธรรมเกาะลำพู ตลาดน้ำศูนย์ราชการสะพานใหญ่ หลวงพ่อพัฒน์พุทธิคุณบึงขุนทะเล” อำเภอบ้านนาสาร “เงาะโรงเรียนชื่อเฟื่อง รวยเหมืองแร่ แท้น้ำผึ้ง น่าทึ่งปลาเม็งยำ เลิศล้ำถ้ำผา เพลินตาน้ำตกสวย งดงามด้วยอุทยาน” อำเภอบ้านนาเดิม “ ยางพาราเขียวขจี รสดีผลไม้ หลากหลายพระดีศักดิ์ศรีเมืองเก่า เขาพลูน้ำแร่ร้อน พักผ่อนแอ่งห้วยใหญ่” อำเภอวิภาวดี " ธรรมชาติงามยิ่ง เมืองแม่หญิงกล้าหาญ มีอุทยานแก่งกรุง น้ำตกสูงวิภาวดี มหานทีคลองยัน ศูนย์พระราชทานศิลปาชีพ" อำเภอท่าฉาง “ ฟาร์มหอยแครง แหล่งกุ้งกุลาดำ แห่พระน้ำประจำปีประเพณีแข่งเรือ ล้นเหลือนาข้าว มะพร้าวหมากพลู งามหรูธารน้ำร้อน อนุสรณ์พ่อท่านแมน หมื่นแสนตาลโตนด ของโปรดเคยกุ้ง”
ข อำเภอพุนพิน “เมืองแม่น้ำสองสาย องค์นารายณ์ล้ำค่า เจ้าพระยาท่าข้าม ถิ่นงามสราญรมย์ อุดมอัญมณีศรีวิชัย เกรียงไกรสะพานจุล” อำเภอพระแสง “ แทรกเตอร์พระราชทาน มีตำนานท่านหญิง งามจริงบางสวรรค์ปาล์มน้ำมันชั้นดี ธารตาปี สัมพันธ์ มหัศจรรย์สระแก้ว ” อำเภอเกาะพะงัน “ เกาะพะงันพระจันทร์สวย สายน้ำใส หาดทรายขาว ปะการังแพรว เพ็ชรกลางอ่าว เมืองคนดี ” อำเภอเกาะสมุย “ พระใหญ่เกาะฟาน อุทยานกลางทะเล เจดีย์ล้ำค่า ตายายเป็นหิน ดินแดนมะพร้าว ก้าวสู่สากล ” อำเภอพนม “ บัวผุดสวย รวยเขาเสียบหมอก ” อำเภอคีรีรัฐนิคม “ เมืองเก่าเขาราหู สายน้ำคู่พุมดวงคลองยัน โบราณสถานสำคัญถ้ำสิงขร มีบ่อน้ำร้อนคลองน้ำใส อำเภอ บารมียิ่งใหญ่หลวงพ่อเชื่อม ” เคียนซา “ บ่อถ่านหิน ถิ่นนกน้ำ งามทุ่งทอง ส่องตาปี ไม้ดี จันทร์กะพ้อ ” อำเภอท่าฉาง “ ฟาร์มหอยแครง แหล่งกุ้งกุลาดำ แห่พระน้ำประจำปีประเพณีแข่งเรือ ล้นเหลือนาข้าว มะพร้าวหมากพลู งามหรูธารน้ำร้อน อนุสรณ์พ่อท่านแมน หมื่นแสนตาลโตนด ของโปรดเคยกุ้ง” อำเภอชัยบุรี “ เมืองชายแดน แผ่นดินปาล์ม งามถ้ำหอม แวดล้อมคุณธรรม ” อำเภอบ้านตาขุน “ภูเขาสูง เขื่อนสวย รวยผลไม้ ไร้อาชญากรรม คุณธรรมล้ำเลิศ ต้นกำเนิดเสาหลักเมือง” อำเภอดอนสัก “ เขาชะโงกเด่นสง่า แหล่งประมงล้ำค่า เทียบท่าเฟอร์รี่ น้ำตกสวยวิภาวดี บารมีหลวงพ่อจ้อย ” อำเภอไชยา “ พระบรมธาตุคู่เมือง รุ่งเรืองพุทธศาสน์ พุทธทาสปราชญ์โลก สวนโมกขพลาราม ลือนามศรีวิชัย ผ้าไหมพุมเรียง ทะเลเคียงหาดทราย แหล่งซื้อขายไข่เค็ม ”
ค ธงประจำจังหวัด ธงประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานีมี 2 แถบสีคือ แถบบนสีแสด แถบล่างสีเหลือง และมีตราประจำจังหวัด (รูปเจดีย์พระบรมธาตุไชยา) กลางผืนธง ต้นไม้ประจำจังหวัด ต้นเคี่ยม ต้นเคี่ยม เป็นไม้ยืนต้น เจริญเติบโตในที่ร้อนชื้น มีมากในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดอกไม้ประจำจังหวัด ดอกบัวผุด ดอกบัวผุด ชื่อสามัญ Sapria Himalayana ชื่อวิทยาศาสตร์ Sapria Himalayana Griff ปลาประจำจังหวัด ปลาตะพัด ปลาตะพัด หรือปลาอะโรวาน่า ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เรียกว่า “ปลาหางเข้”
ง ทำเนียบผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ลำดับ รายนาม-รายพระนาม จาก พ.ศ. ถึง พ.ศ. 1 พระยาวรฤทธิ์ฤาไชย(คออยู่ตี๋ ณ ระนอง) ร.ศ.125(2449) 2458 2 พระยาชุมพรบุรีศรีสมุทเขต 2485 2489 3 พระยาพิศาลสารเกษตร์ 2459 2461 4 พระยาวิชิตภักดีศรีสุราษฎร์ธานินทร์ 2461 2463 5 พระยาศรีมหาเกษตร 2463 2469 6 พระยาสุราษฎร์ธานี 2469 2477 7 พระบริบูรณ์วุฒิราษฎร์ 2477 2481 8 หลวงสฤษฎสาราลักษณ์ 2481 2484 9 หลวงอรรถกัลยาณวินิจ 2485 2485 10 นายชลอ จารุจินดา 2485 2486 11 หลวงเกษมประศาสน์ 2486 2487 12 ขุนสำราษราษฎร์บริรักษ์ 2487 2487 13 นายแม้น อรจันทร์ 2487 2489 14 ขุนรัฐวุฒิวิจารณ์ 2489 2492 15 นายเลื่อน ไขแสง 2492 2496 16 ขุนอักษรสารสิทธิ์ 2496 2497 17 นายจันทร์ สมบูรณ์กุล 2497 2501 18 นายฉลอง รมิตานนท์ 2501 2503 19 นายประพันธ์ ณ พัทลุง 2503 2509 20 นายพร บุญยะประสพ 2509 2511 21 นายคล้าย จิตพิทักษ์ 2511 2515 22 นายอรุณ นาถะเดชะ 2515 2517 23 นายอนันต์ สงวนนาม 2517 2519 24 นายชลิต พิมลศิริ 2519 2521 25 นายกาจ รักษ์มณี 2521 2522 26 นายสนอง รอดโพธิ์ทอง 2522 2524 27 นายไสว ศิริมงคล 2524 2526 28 นายนิพนธ์ บุญญภัทโร 2526 2530 29 นายวิโรจน์ ราชรักษ์ 2530 2532 30 นายดำริ วัฒนสิงหะ 2532 2533 31 นายอนุ สงวนนาม 2533 2535 32 นายประพัฒน์พงษ์ บำเพ็ญสิทธิ์ 2535 2537 33 นายประยูร พรหมพันธุ์ 2537 2539 34 นายปรีชา รักษ์คิด 2539 2540 35 นายนิเวศน์ สมสกุล 2540 2541 36 นายภุชงค์ รุ่งโรจน์ 2541 2543
จ ลำดับ รายนาม-รายพระนาม จาก พ.ศ. ถึง พ.ศ. 37 38 นายชาญชัย สุนทรมัฏฐ์ นายยงยุทธ ตะโกพร 2543 2544 2544 2545 39 ม.ล.ประทีป จรูญโรจน์ 2546 2547 40 นายธีระ โรจนพรพันธุ์ 2546 2547 41 นายวิจิตร วิชัยสาร 2547 2549 42 ดร.นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว 2549 2550 43 นายวินัย บัวประดิษฐ์ 2550 2551 44 นายประชา เตรัตน์ 2551 2552 45 นายดำริห์ บุญจริง 2552 2553 46 นายธีระยุทธ เอี่ยมตระกูล 2553 2555 47 นายเชิดศักดิ์ ชูศรี เม.ย.2555 ก.ย.2555 48 นายฉัตรป้อง ฉัตรภูติ พ.ย.2555 ก.ย.2558 49 นายวงศศิริ พรหมชนะ ต.ค.2558 ก.ย.2559 50 51 นายอวยชัย อินทร์นาค นายวิชวุทย์ จินโต ต.ค.2559 ต.ค.2560 ก.ย.2560 ปัจจุบัน
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประวัติเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นเมืองเก่าแก่ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ชนพื้นเมือง ได้แก่ เซมัง และมาลายูดั้งเดิม ชนพื้นเมืองเหล่านี้อาศัยอยู่ในเขตลุ่มน้ำหลวง และรอบบริเวณอ่าวบ้านดอน ก่อนที่ชาวอินเดียจะเข้า มาตั้งถิ่นฐานเผยแพร่วัฒนธรรม ดังปรากฏหลักฐานในชุมชนโบราณที่อำเภอท่าชนะและอำเภอไชยา มีหลักฐานว่าใน พุทธศตวรรษที่ 13 บริเวณนี้เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัย เมื่ออาณาจักรนี้เสื่อมลงราวพุทธศตวรรษที่ 18 จึงแยกออกเป็น 3 เมือง คือ เมืองไชยา เมืองท่าทอง และเมืองคีรีรัฐ ขึ้นตรงต่อเมืองนครศรีธรรมราช ต่อมาในสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯ ให้ย้ายเมืองท่าทองมาตั้งที่บ้านดอน (ตัวเมืองปัจจุบัน) และยกฐานะ เป็นเมืองจัตวาขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร พระราชทานนามว่า เมืองกาญจนดิษฐ์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ปรับปรุงระบบบริหารราชการแผ่นดิน ให้จัดตั้งมณฑลขึ้นโดยได้โปรดเกล้าฯ ให้รวม เมืองไชยา กาญจนดิษฐ์ หลังสวน และชุมพร เป็นมณฑล เรียกว่า มณฑลชุมพร เมื่อ พ.ศ.2441 และตั้งศาลาว่าการ มณฑลที่เมืองชุมพร ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2458 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้ ย้ายศาลาว่าการมณฑลชุมพรมาตั้งที่ บ้านดอน พร้อมทั้งพระราชทานนามให้ใหม่ว่า “เมืองสุราษฎร์ธานี” เนื่องจาก พระองค์ทรงเห็นว่าราษฎรมีกิริยามารยาทเรียบร้อย ตั้งมั่นในศีลธรรมและหลักพระพุทธศาสนา พร้อมกันนี้ได้ พระราชทานเปลี่ยนชื่อ แม่น้ำสายหลักของเมือง ซึ่งราษฎรเรียกว่า แม่น้ำบ้านดอนบ้าง แม่น้ำ หลวงบ้าง และแม่น้ำ ท่าข้ามบ้าง เป็น“แม่น้ำตาปี” เนื่องจากแม่น้ำนี้เป็นลุ่มน้ำสายใหญ่ มีน้ำตลอดปี และใหญ่กว่าแม่น้ำสายใดในเขต มณฑลปักษ์ใต้ พื้นที่ลุ่มน้ำเป็นพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ มีราษฎรตั้งบ้านเรือนประกอบการเพาะปลูกและการค้าขายจำนวน มาก นับได้ว่าเป็นแม่น้ำสายสำคัญสายหนึ่งในราชอาณาจักรสยาม จึงได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามของแม่น้ำใหม่ให้ สอดคล้องกับข้อเท็จจริงสืบไป หมายถึง พระบรมธาตุไชยา เป็นที่บรรจุพระบรม สารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นปูชนียสถานสำคัญที่สุดของจังหวัด เป็นที่เคารพสักการบูชาของชาวจังหวัด สุราษฎร์ธานี และพุทธศาสนิกชนทั่วไป
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 2 ลักษณะทางกายภาพ จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของภาคใต้ ห่างจากกรุงเทพฯโดยทางรถยนต์ประมาณ 645 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 13,079.61 ตารางกิโลเมตร หรือ 8,174,758.61 ไร่ มีเนื้อที่มากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ และมีพื้นที่มากที่สุดในภาคใต้ ฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความยาวประมาณ 156 กิโลเมตร มีเกาะ ขนาดใหญ่ ได้แก่ เกาะสมุย เนื้อที่ 227.25 ตารางกิโลเมตร เกาะพะงันมีเนื้อที่ 194.2 ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ ยังมี หมู่เกาะอ่างทอง และเกาะบริวาร 42 เกาะ เกาะสมุยเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัด ห่างจากฝั่งทะเลประมาณ 20 กิโลเมตร และห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 80 กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศประมาณร้อยละ 49 ของพื้นที่เป็นภูเขา ภูเขาสำคัญของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ เทือกเขาบรรทัด เทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งทอดยาวผ่านเนื้อที่จังหวัดใกล้เคียงหลายจังหวัด และทอดเปิดสู่อ่าวไทยเทือกเขา ภูเก็ตด้านตะวันตก เป็นต้นกำเนิดลุ่มน้ำใหญ่น้อย รวม 14 ลุ่มน้ำ จนได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งลุ่มน้ำ แม่น้ำลำคลองทุกสาย ล้วนไหลลงสู่อ่าวไทย จากฝั่งตะวันตกพื้นที่ลาดเอียงไปทางทิศตะวันออก ซึ่งมีลักษณะคล้ายกระทะหงาย ภูมิประเทศ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสรุปมีลักษณะดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดชุมพรและอ่าวไทย ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ่าวไทยและ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดพังงา และระนอง ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัด นครศรีธรรมราชและกระบี่
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 3 o ภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง ภูเขาสลับซับซ้อน ได้แก่ พื้นที่ในเขตอำเภอคีรีรัฐนิคม พระแสง พนม ท่าฉาง ไชยา ท่าชนะ เวียงสระ ชัยบุรี และอำเภอวิภาวดี o ภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงด้านตะวันออก ได้แก่ พื้นที่อำเภอเมือง ดอนสัก กาญจนดิษฐ์ เวียงสระ และ บ้านนาสาร o ภูมิประเทศที่เป็นที่ราบสูงตอนกลางส่วนใหญ่อยู่ในอำเภอเมือง พุนพิน เคียนซา พระแสง พนม บ้าน นาเดิม ท่าชนะ ท่าฉาง และไชยา o ภูมิประเทศเป็นที่ราบชายฝั่งทะเล ได้แก่ พื้นที่อำเภอเมืองและพุนพิน o ลักษณะภูมิประเทศเป็นเกาะในอ่าวไทย ได้แก่ พื้นที่อำเภอเกาะสมุย เกาะพะงัน หมู่เกาะอ่างทอง และ เกาะบริวาร รวม 42 เกาะ
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 4 ลักษณะทางภูมิอากาศ ภาคใต้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากมีแนว เทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับ อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเล จีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านอ่าวไทยและลม มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากมหาสมุทรอินเดีย จึงมีช่วงฤดูฝนยาวนานระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมกราคม โดยจังหวัด สุราษฎร์ธานี มีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 21.5 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 35.6 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้ำฝน เฉลี่ย 225.69 มิลลิเมตรต่อปี การปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็น 19 อำเภอ 131 ตำบล 1,075 หมู่บ้าน 530,712 บ้านหลังคาเรือน (ณ ธันวาคม 2565) การบริหารงานจังหวัดภายใต้การบริหารจัดการของผู้ว่าราชการจังหวัด มุ่งเน้นการบูรณาการ และ การเติบโตไปในทิศทางเดียวกัน มีส่วนราชการต่างๆ ในจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ดังนี้
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 5 o การบริหารราชการส่วนภูมิภาคมีทั้งหมด 34 หน่วยงาน แยกเป็น - สังกัดกระทรวงมหาดไทย 7 หน่วยงาน - สังกัดกระทรวง ทบวง กรมอื่นๆ 27 หน่วยงาน o หน่วยงานราชการส่วนกลาง มี 125 หน่วยงาน แยกเป็น - สังกัดกระทรวงมหาดไทย 2 หน่วยงาน - สังกัดกระทรวง ทบวง กรมอื่นๆ 123 หน่วยงาน o หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ จำนวน 21 หน่วยงาน - (สังกัดกระทรวงมหาดไทย 3 หน่วยงาน และ สังกัดกระทรวงอื่น 18 หน่วยงาน) o หน่วยงานอิสระของรัฐ 3 หน่วยงาน มีหน่วยการปกครองท้องถิ่น 3 รูปแบบ คือ o องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง o องค์การบริหารส่วนตำบล 97 แห่ง o เทศบาล 40 แห่ง (เทศบาลนคร 2 แห่ง เทศบาลเมือง 3 แห่ง เทศบาลตำบล 35 แห่ง) ประชากร . ประชากรรวม 1,073,663 คน (ข้อมูล ณ ธันวาคม 2565) ชาย 527,555 คน หญิง 546,108 คน
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 6 จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีประชากรเพิ่มขึ้นจากปี 2564 (1,072,464 คน) เป็นปี 2565 (1,073,663 คน) คิดเป็น ร้อยละ 0.11 ประกอบด้วย ชาย 527,555 คน หญิง 546,108 คน (ข้อมูล ณ ธันวาคม 2565) ประชากรส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ จำนวนบ้าน 530,712 ครัวเรือน (กรมการปกครอง, 2565) อาชีพหลักของประชากรจังหวัดสุราษฎร์ธานี คือ ด้านการเกษตร ปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม จำนวนประชากรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ช่วงเวลา 5 ปี สถานที่/พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ประเทศไทย 66,413,979 66,558,935 66,186,727 66,171,439 66,090,475 ภาคใต้ 9,454,193 9,493,757 9,467,901 9,492,267 9,496,991 กลุ่มภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย 5,092,569 5,102,074 5,079,341 5,085,364 5,080,877 จังหวัดสุราษฎร์ธานี 1,063,501 1,068,010 1,067,726 1,072,464 1,073,663 66.10% น้อยกว่า 1 ปี – 14 ปี 15 ปี – 60 ปี มากกว่า 60 ปี 1,058,000 1,060,000 1,062,000 1,064,000 1,066,000 1,068,000 1,070,000 1,072,000 1,074,000 2561 2562 2563 2564 2565 สุราษฎร์ธานี เปรียบเทียบอัตราส่วนจำนวนประชากร ช่วงเวลา 5 ปี 18.29% 15.61%
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 7 ไฟฟ้า จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า 2 แห่ง ประปา ที่มา: กองศูนย์ข้อมูลและแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานประปา จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีสำนักงานประปา 6 แห่ง ใน 6 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอบ้านนาสาร อำเภอบ้านตาขุน อำเภอกาญจนดิษฐ์ อำเภอไชยา อำเภอเกาะสมุย รวมกำลังผลิตที่ใช้งาน 172,211 ลบ.ม./วัน มีอัตราการผลิตน้ำที่ 5,214,075 ลบ.ม./เดือน ซึ่งมีผู้ใช้น้ำ 137,009 ราย 1. โรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนรัชชประภา อำเภอบ้านตาขุน มีความจุน้ำ 5,640 ล้านลูกบาศก์เมตร มีเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าขนาด 80 เมกกะวัตต์ จำนวน 3 เครื่อง สามารถ ผลิตพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย ปีละ 554 ล้านกิโลวัตต์ 2. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนสุราษฎร์ธานี อำเภอ พุนพิน โรงไฟฟ้าพลังกังหันก๊าซ จำนวน 2 เครื่อง สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ 356.24 ล้าน กิโลวัตต์ จำนวนหมู่บ้านที่มีไฟฟ้าใช้ 942 หมู่บ้าน และหมู่บ้านที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ 227 หมู่บ้าน จำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า จำนวน 422,413 ราย (ปี 2561)
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 8 คมนาคม จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีสภาพที่ตั้งเป็นศูนย์กลางซึ่งสามารถเชื่อมโยงภาคใต้ตอนบน กับภาคใต้ตอนล่าง และ เชื่อมโยงทะเลฝั่งอันดามัน และฝั่งอ่าวไทย โดยมีโครงข่ายการคมนาคม ดังนี้ ทางน้ำ การคมนาคมทางน้ำใน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีการคมนาคมขนส่งทาง น้ำ มีเรือโดยสารวิ่งรับส่ง ในแม่น้ำตาปีและมีการ คมนาคมขนส่งสินค้าทาง ทะเล จ ากกรุงเทพฯ มายังจังหวัดสุราษฎร์ธานี และระหว่างอำเภอเมือง กับอำเภอเกาะสมุย และ เกาะพะงัน นอกจากนี้ มีการคมนาคมทางน้ำโดย เรือเฟอร์รี่ ซึ่งเป็นเรือ โดยสารข้ามฟากขนาด ใหญ่ ระหว่างฝั่งอำเภอ ดอนสัก-เกาะสมุย-เกาะ พะงัน-เกาะเต่ามีท่าเทียบ เรือบริเวณปากน้ำตาปี และคลองท่าทอง สำหรับ เรือขนถ่ายสินค้าขนาด ระวาง 2,000 – 3,000 ตัน จำนวน 18 ท่า ทางรถไฟ เส้นทางรถไฟสายใต้ผ่าน ทุกขบวน มีทั้งสถานีขนส่ง ผู้โดยสารและลานขนส่ง สินค้า แห่งเดียวในภาคใต้ รถไฟสายใต้ทุกขบวนผ่าน สถานีสุราษฎร์ธานีในเขต อำเภอพุนพินระยะทาง กรุงเทพฯ-สุราษฎร์ธานี ประมาณ 650 กิโลเมตร (สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี อยู่ห่างจากอำเภอเมือง สุราษฎร์ธานี14 กิโลเมตร) ทางรถยนต์ การเดินทางระหว่างจังหวัด ส ุ ร า ษ ฎ ร ์ ธ า น ี กั บ กรุงเทพมหานคร และ จังหวัดใกล้เคียง มีความ สะดวก มีเส้นทางที่สำคัญ คือ ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 41 แยกจาก ถนนเพชรเกษมที่จังหวัด ช ุ ม พ ร เ ข ้ า ส ู ่ จ ั ง ห วัด สุราษฎร์ธานีต่อไปยัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา แยกเข้าสู่ตัว เมืองสุราษฎร์ธานีที่อำเภอ พุนพินโดยใช้ถนนสาย 401 และสาย 417 มี เส้นทางหลักเชื่อมโยง จังหวัดในภูมิภาค เป็นถนน 4 ช่องทางจราจร และมี โครงข่ายมาตรฐานเชื่อม ทุกพื้นที่อำเภอ ทางเครื่องบิน เป็นจังหวัดที่มีท่าอากาศยาน 2 แห่ง คือ ท่าอากาศยาน สุราษฎร์ธานี และเกาะสมุย มีเส้นทางบินเชื่อมโยงทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ปัจจุบันท่าอากาศยาน สุราษฎร์ธานีมีเที่ยวบิน พ า ณ ิ ช ย ์ ม า ท ำ ก า ร บิ น ทั้งหมด 4 บริษัท ได้แก่ บริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด , บริษัท ไทยแอร์ เอเชีย จำกัด , บริษัท สาย การบินนกแอร์ จำกัด ,บริษัท ไทยไลอ้อน เมนทารี จำกัด และบริษัท ไชน่า ยูไนเต็ด แอร์ไลน์ สำหรับการบิน ระหว่างประเทศ
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 9 สถิติผู้โดยสารภายในประเทศทางเครื่องบิน พ.ศ. 2561 – 2565 ปี จำนวนเที่ยวบิน รวม ขาเข้า ขาออก 2561 14,002 1,057,501 1,051,126 2,111,188 2562 12,375 937,224 935,836 1,875,622 2563 8,923 538,868 548,716 1,090,147 2564 3,962 219,938 228,417 450,919 2565 8,321 582,455 582,341 1,167361 จังหวัดสุราษฎร์ธานีในห้วงระหว่างปี พ.ศ. 2561 – 2564 จำนวนเที่ยวบิน และนักท่องเที่ยว หรือ ผู้โดยสารในประเทศ มีจำนวนลดลง เนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิท-19) ทำให้ส่งผล กระทบต่อรายได้การท่องเที่ยวและบริการของจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นอย่างมาก 14,002 12,375 8,923 3,962 8,321 2561 2562 2563 2564 2565 จ านวนเที่ยวบินภายในประเทศ จ านวนเที่ยวบิน 1,057,501 937,224 538,868 219,938 582,455 1,051,126 935,836 548,716 228,417 582,341 2561 2562 2563 2564 2565 จ านวนผู้โดยส ายภ ายในป ระเทศ ปี 2561 - 2565 ผู้โดยสารขาเข้า ผู้โดยสารขาออก
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 10 ด้านสาธารณสุข • บุคลากรสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีบุคลากรสาธารณสุขทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน ดังนี้ 1. ภาครัฐ จำนวนและอัตราส่วนบุคลากรสาธารณสุข : ประชากรทั้งจังหวัด (1,070,220) แพทย์ จำนวน 393 คน อัตราส่วน 1 : 2,723 ทันตแพทย์ จำนวน 112 คน อัตราส่วน 1 : 9,556 เภสัชกร จำนวน 239 คน อัตราส่วน 1 : 4,478 พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 2,458 คน อัตราส่วน 1 : 435 พยาบาลเทคนิค จำนวน 23 คน อัตราส่วน 1 : 46,531 นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 597 คน อัตราส่วน 1 : 1,793 เจ้าพนักงานสาธารณสุข จำนวน 266 คน อัตราส่วน 1 : 4,023 จพ.ทันตสาธารณสุข จำนวน 121 คน อัตราส่วน 1 : 8,845 แพทย์แผนไทย จำนวน 85 คน อัตราส่วน 1 : 12,591 - โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จำนวนและอัตราส่วนบุคลากรสาธารณสุข : ประชากรทั้งจังหวัด (1,070,220) แพทย์ จำนวน 182 คน อัตราส่วน 1 : 5,880 ทันตแพทย์ จำนวน 18 คน อัตราส่วน 1 : 59,457 เภสัชกร จำนวน 55 คน อัตราส่วน 1 : 19,459 พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 999 คน อัตราส่วน 1 : 1,071 พยาบาลเทคนิค จำนวน 2 คน อัตราส่วน 1 : 535,110 นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 39 คน อัตราส่วน 1 : 27,442 เจ้าพนักงานสาธารณสุข จำนวน 13 คน อัตราส่วน 1 : 82,325 - โรงพยาบาลเกาะสมุย จำนวนและอัตราส่วนบุคลากรสาธารณสุข : ประชากรทั้งอำเภอ (70,069) แพทย์ จำนวน 29 คน อัตราส่วน 1 : 2,416 ทันตแพทย์ จำนวน 9 คน อัตราส่วน 1 : 7,785 เภสัชกร จำนวน 14 คน อัตราส่วน 1 : 5,005 พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 157 คน อัตราส่วน 1 : 446 พยาบาลเทคนิค จำนวน 2 คน อัตราส่วน 1 : 35,035
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 11 - โรงพยาบาลชุมชน จำนวนและอัตราส่วนบุคลากรสาธารณสุข : ประชากรในพื้นที่ 17 อำเภอ (815,901) แพทย์ จำนวน 163 คน อัตราส่วน 1 : 5,006 ทันตแพทย์ จำนวน 68 คน อัตราส่วน 1 : 11,999 เภสัชกร จำนวน 112 คน อัตราส่วน 1 : 7,285 พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 930 คน อัตราส่วน 1 : 877 พยาบาลเทคนิค จำนวน 8 คน อัตราส่วน 1 : 101,988 นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 106 คน อัตราส่วน 1 : 7,697 เจ้าพนักงานสาธารณสุข จำนวน 72 คน อัตราส่วน 1 : 11,332 จพ.ทันตสาธารณสุข จำนวน 53 คน อัตราส่วน 1 : 15,394 นักการแพทย์แผนไทย จำนวน 49 คน อัตราส่วน 1 : 16,651 - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : ประชากรทั้งจังหวัด (1,070,220) แพทย์ จำนวน 2 คน อัตราส่วน 1 : 535,110 ทันตแพทย์ จำนวน 7 คน อัตราส่วน 1 : 152,889 เภสัชกร จำนวน 25 คน อัตราส่วน 1 : 42,809 พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 264 คน อัตราส่วน 1 : 4,054 นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 383 คน อัตราส่วน 1 : 2,794 เจ้าพนักงานสาธารณสุข จำนวน 181 คน อัตราส่วน 1 : 5,913 จพ.ทันตสาธารณสุข จำนวน 62 คน อัตราส่วน 1 : 17,262 นักการแพทย์แผนไทย จำนวน 24 คน อัตราส่วน 1 : 44,593 - ศูนย์วิชาการและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข : ประชากรทั้งจังหวัด (1,070,220) แพทย์ จำนวน 17 คน อัตราส่วน 1 : 62,954 ทันตแพทย์ จำนวน 10 คน อัตราส่วน 1 : 107,022 เภสัชกร จำนวน 33 คน อัตราส่วน 1 : 32,431 พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 108 คน อัตราส่วน 1 : 9,909 พยาบาลเทคนิค จำนวน 11 คน อัตราส่วน 1 : 97,293 นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 69 คน อัตราส่วน 1 : 15,510 จพ.ทันตสาธารณสุข จำนวน 6 คน อัตราส่วน 1 : 178,370 นักการแพทย์แผนไทย จำนวน 12 คน อัตราส่วน 1 : 89,185
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 12 2. ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจ : ประชากรทั้งจังหวัด (1,070,220) แพทย์ จำนวน 128 คน อัตราส่วน 1 : 8,361 ทันตแพทย์ จำนวน 5 คน อัตราส่วน 1 : 214,044 เภสัชกร จำนวน 42 คน อัตราส่วน 1 : 25,481 พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 378 คน อัตราส่วน 1 : 2,831 พยาบาลเทคนิค จำนวน 8 คน อัตราส่วน 1 : 133,778 • สัดส่วนบุคลากรสาธารณสุข (ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน) : ประชากรทั้งจังหวัด (1,070,220) แพทย์ จำนวน 521 คน อัตราส่วน 1 : 2,054 ทันตแพทย์ จำนวน 117 คน อัตราส่วน 1 : 9,147 เภสัชกร จำนวน 281 คน อัตราส่วน 1 : 3,809 พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 2,836 คน อัตราส่วน 1 : 377 พยาบาลเทคนิค จำนวน 31 คน อัตราส่วน 1 : 34,523 นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 597 คน อัตราส่วน 1 : 1,793 เจ้าพนักงานสาธารณสุข จำนวน 266 คน อัตราส่วน 1 : 4,023 จพ.ทันตสาธารณสุข จำนวน 121 คน อัตราส่วน 1 : 8,845 แพทย์แผนไทย จำนวน 85 คน อัตราส่วน 1 : 12,591 3. อาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 19,285 คน อัตราส่วน 1 : 55 สถานบริการสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีสถานบริการสาธารณสุขทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน ดังนี้ 1. ภาครัฐ โรงพยาบาลศูนย์ ขนาด 800 เตียง จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 160 เตียง จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 120 เตียง จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 60 เตียง จำนวน 4 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง จำนวน 12 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 10 เตียง จำนวน 2 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิต ขนาด 1,300 เตียง จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม ขนาด 30 เตียง จำนวน 2 แห่ง โรงพยาบาลมะเร็งสุราษฏร์ธานีขนาด 90 เตียง จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 166 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชนของ รพ. จำนวน 10 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล จำนวน 7 แห่ง
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 13 สถานีอนามัย จำนวน 1 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข สาขา จำนวน 1 แห่ง 2. ภาครัฐวิสาหกิจ สถานพยาบาลเขื่อนรัชชประภา จำนวน 1 แห่ง สถานพยาบาลการไฟฟ้า จำนวน 1 แห่ง 3. ภาคเอกชน โรงพยาบาล จำนวน 12/507 แห่ง/เตียง สหคลินิก จำนวน 3 แห่ง คลินิกแพทย์เฉพาะทาง/ทั่วไป จำนวน 109/93 แห่ง คลินิกทันตกรรม จำนวน 90 แห่ง คลินิกกายภาพบำบัด จำนวน 12 แห่ง คลินิกการพยาบาลและผดุงครรภ์/การผดุงครรภ์ จำนวน 202/7 แห่ง เทคนิคการแพทย์ จำนวน 16 แห่ง กายอุปกรณ์ จำนวน 1 แห่ง 4. ร้านขายยา แผนปัจจุบันที่มีเภสัชกร จำนวน 448 แห่ง แผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ จำนวน 44 แห่ง แผนปัจจุบันบรรจุเสร็จสำหรับสัตว์ จำนวน 2 แห่ง แผนโบราณ จำนวน 40 แห่ง การท่องเที่ยว • เกาะสมุย เกาะที่มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติอยู่บริเวณอ่าวไทย พื้นที่ 1 ใน 3 ของเกาะ รายล้อมรอบภูเขา มีหาดทรายขาวสวย ชายหาดที่ทอดยาวขนานไปกับทะเล • เกาะพะงัน เป็นเกาะที่ค่อนข้างสงบ มีความร่มรื่นของทิวไม้ริมชายหาด มีหาดทรายขาว และน้ำทะเลที่ใสจึงของ เป็นเสน่ห์ของเกาะพะงัน โดยบนเกาะพะงันมีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น น้ำตกธารเสด็จ เป็นน้ำตกที่รัชกาล ที่ 5 ได้พระราชทานนามไว้และเสด็จประพาสถึง 14 ครั้ง น้ำตกแพง เป็นน้ำตกที่สวยงามมีหลายชั้น เช่น แพงน้อย ธารน้ำรัก ธารกล้วยไม้มีน้ำตลอดทั้งปีแสดงถึงความสมบูรณ์ของผืนป่า มีทางเดินป่าไปยังโดมศิลาซึ่งเป็นจุดชมวิว และชมพระอาทิตย์ตกที่สวยงาม • เกาะเต่า เป็นเกาะที่มีธรรมชาติและความสมบูรณ์ของชีวิตใต้ทะเล สวยงามด้วยแนวปะการังทั้งน้ำตื้นและน้ำลึก • เกาะนางยวน เป็นเกาะที่มีเกาะเล็ก 3 เกาะเชื่อมกันเวลาที่น้ำลง มีหาดทรายเนื้อละเอียดขาว น้ำทะเลใส มีปะการัง น้ำตื้นและน้ำลึกที่ยังสมบูรณ์และสวยงาม
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 14 • หมู่เกาะอ่างทอง เป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเลแห่งที่สอง ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ 42 เกาะ ส่วนมากเป็นเกาะ หินปูน หมู่เกาะนี้เดิมเป็นเขตหวงห้ามของทหารเรือ แต่ก็ได้มีราษฎรอพยพไปตั้งบ้านเรือน โดยประกอบอาชีพทำ สวนมะพร้าว จับปลา และเก็บรังนก • เกาะแตน เป็นเกาะที่งดงามด้วยธรรมชาติอันเงียบสงบ มีชายหาดที่ยาว ประกอบด้วยแนวปะการังและชายฝั่งที่ ค่อนข้างสมบูรณ์ • ทะเลใน ทะเลสาบกลางภูเขา อยู่บนเกาะแม่เกาะ เป็นปรากฏการทางธรณีวิทยา โดยเกิดจากแอ่งหินปูนที่ยุบตัว ทะเลในมีลักษณะเป็นวงรีมีทิวทัศน์สวยงาม • สวนโมกขพลาราม อยู่บริเวณเขาพุทธทอง เดิมชื่อวัดธารน้ำไหล มีท่านพุทธทาสภิกขุเป็นผู้ริเริ่มสร้างขึ้นเพื่อเป็น สถานที่แสวงหาความสงบและศึกษาธรรม พื้นที่โดยรอบร่มรื่นเหมาะสำหรับเป็นที่ฝึกอบรมจิตใจและศึกษาพุทธ ศาสนา • พระพุทธบาทจำลอง (วัดมะเดื่อหวาน) ตั้งอยู่บนเกาะพะงัน บนยอดเขามีมณฑปพระพุทธบาทจำลอง และจากเชิง เขาจะมีบันไดให้ขึ้นไปนมัสการพระพุทธบาท • วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ตั้งอยู่อำเภอดอนสัก พระครูสุวรรณประดิษฐ์การ หรือหลวงพ่อจ้อย เกจิอาจารย์ชื่อดังแห่ง ภาคใต้เป็นผู้บุกเบิกสร้างขึ้น และมรณภาพเมื่อปีพ.ศ. 2536 แต่ยังคงอยู่ในโลงแก้วภายในอุโบสถ บนยอดเขายัง เป็นที่ประดิษฐานพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ • วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร ตั้งอยู่ตำบลเวียง โดยองค์พระเจดีย์เป็นโบราณสถาน ที่สร้างขึ้นตามแบบลัทธิ มหายาน ตั้งแต่ครั้งอาณาจักรศรีวิชัยรุ่งเรือง รอบองค์พระธาตุมีเจดีย์เล็กๆ 4 ทิศ ล้อมรอบด้วยวิหารคด ซึ่ง ประดิษฐานพระพุทธรูปเก่าแก่ขนาดต่างๆ ทั้ง 4 ด้าน ด้านศาสนาและวัฒนธรรม ร้อยละของประชากรที่นับถือและจำนวนศาสนสถาน ประชากรโดยส่วนใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98.06 และมีวัดจำนวนมากถึง 362 วัด แยกเป็นมหานิกาย 347 วัด ธรรมยุติ 15 วัด ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 1.69 ที่เหลือนับถึงศาสนาคริสต์และอื่นๆ ร้อยละของประชากรที่นับถือและจำนวนศาสนสถาน ศาสนา ร้อยละของประชากร วัด มัสยิด โบสถ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ พุทธ 98.06 362 แห่ง อิสลาม 1.69 51 แห่ง คริสต์ 0.25 69 แห่ง อื่นๆ 191 แห่ง 2,370 ชิ้น ที่มา: สำนักงานวัฒนธรรมสุราษฎร์ธานี
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 15 ประชากรโดยส่วนใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98.06 และมีวัดจำนวนมากถึง 362 แห่ง ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 1.69 และมีมัสยิด จำนวน 51 แห่ง ที่เหลือนับถึงศาสนาคริสต์และอื่นๆ • ข้อมูลด้านศาสนาและวัฒนธรรม -ศูนย์ปฏิบัติธรรมประจำจังหวัด 10 แห่ง (วัดพัฒนาราม,วัดศานติ-ไมตรี,วัดธารน้ำไหล, วัดน้ำตกหินลาด ,วัดอรัญญาราม,วัดกาฬสิน,วัดจันทาราม,วัดทุ่งเสียด,วัดวังไทร และวัดจำปา) - ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ 6 แห่ง (อ.พนม ,อ.เมืองสุราษฎร์ธานี, อ.ไชยา, อ.เกาะสมุย, อ.ชัย บุรี, อ.ท่าชนะ) - โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ 4 โรงเรียน 1. โรงเรียนแสงธรรมพิทยาคม, 2. โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดกรวด, 3. โรงเรียนวัดพระบรมธาตุไชยาวิทยา 4. โรงเรียนพระปริยัติธรรมสามัญวัดนาสาร - ห้องเรียนมหาวิทยาลัยสงฆ์ 2 แห่ง 1. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ห้องเรียนสุราษฎร์ธานี 2. มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ศูนย์การศึกษาสุราษฎร์ธานี - ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมประจำมัสยิด 25 ศูนย์ - พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติไชยา 1 แห่ง - ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด 1 แห่ง - ศูนย์วัฒนธรรมอำเภอ 1 แห่ง - สภาวัฒนธรรมจังหวัด 1 แห่ง - สภาวัฒนธรรมอำเภอ 19 แห่ง - สภาวัฒนธรรมตำบล 102 แห่ง - สภาวัฒนธรรมเทศบาล 3 แห่ง โบราณสถาน ได้แก่ 1. พระธาตุศรีสุราษฎร์ ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี 2. วัดเขาพระนิ่ม ตำบลท่าทอง อำเภอกาญจนดิษฐ์ 3. เจดีย์วัดแหลมสอ วัดแหลมสอ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเกาะสมุย 4. เจดีย์วัดถ้ำสิงขร ตำบลถ้ำสิงขร อำเภอคีรีรัฐนิคม 5. วัดเวียง ม.4 ตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 16 6. อุโบสถวัดโพธาราม วัดสมุหนิมิต ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา 7. วัดพระบรมธาตุไชยา ม.3 ตำบลเวียง อำเภอไชยา 8. วัดแก้ว(รัตนาราม) หมู่ 2 ตำบลเลม็ด อำเภอไชยา 9. เขาประสงค์(ถ้ำใหญ่-ถ้ำน้อย) หมู่ 5 วัดถ้ำใหญ่เขาประสงค์ ตำบลวัง อำเภอท่าชนะ 10. วัดเขาพระอานนท์ อุโบสถและเจดีย์หมู่ 1 วัดเขาอานนท์ ตำบลศรีวิชัย อำเภอพุนพิน 11. แหล่งโบราณสถานเมืองเวียงสระหมู่ 7 วัดเวียงสระ ตำบลเวียงสระ อำเภอเวียงสระ 12. ถ้ำคูหา บ้านคูหา หมู่ 1 ตำบลช้างขวา อำเภอกาญจนดิษฐ์ 13. วัดน้ำรอบ หมู่ 1 ตำบลน้ำรอบ อำเภอพุนพิน 14. วัดควนท่าแร่ หมู่ 1 ตำบลทรัพย์ทวี อำเภอบ้านนาเดิม 15. วัดภูเขาน้อย หมู่.4 ตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน 16. วัดใน หมู่ 3 ตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน 17. วัดอัมพาวาส(วัดท่าม่วง) หมู่ 7 ตำบลวัด อำเภอท่าชนะ 18. วัดอุบล(ร้าง) หมู่ 1 ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา 19. วัดโท อำเภอไชยา 20. วัดจำปา หมู่ 5 ตำบลทุ่ง อำเภอไชยา 21. วัดพัฒนาราม ตำบลตลาด อำเภอเมือง 22. วัดเขาถ้ำ บ้านหัวศอก หมู่ 1 ตำบลท่าอุแท อำเภอกาญจนดิษฐ์ 23. วัดอุทยานาม(วัดประดู่) หมู่ 2 ตำบลท่าอุแท อำเภอกาญจนดิษฐ์ 24. วัดภูเขาขรม หมู่ 1 ตำบลคลองปราบ อำเภอบ้านนาสาร 25. โบราณสถานเขาพระนารายณ์(เขาศรีวิชัย) หมู่ 1 ตำบลศรีวิชัย อำเภอพุนพิน 26. วัดเขาศรีวิชัย หมู่ 1 ตำบลศรีวิชัย อำเภอพุนพิน 27. วัดเขานรเดช หมู่ 1 ตำบลศรีวิชัย อำเภอพุนพิน 28. วัดท่าสะท้อน หมู่ 3 ตำบลท่าสะท้อน อำเภอพุนพิน 29. วัดสายสมอ ตำบลเวียง อำเภอไชยา 30. วัดใหม่ชลธาร(วัดท่าโพธิ์) หมู่ 1 ตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา 31. วัดเขาน้ำร้อน หมู่ 2 ตำบลเสม็ด อำเภอไชยา
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 17 ประเพณีและวัฒนธรรม 1. ประเพณีชักพระ – ทอดผ้าป่า และแข่งขันเรือยาว มีอีกชื่อ คือ งานเดือนสิบเอ็ด ซึ่งเป็นเวลาเดียวกับ เทศกาลออกพรรษา กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ การประกวดเรือพระ ซึ่งจะมีทั้งรถพนมพระ และเรือพนมพระ ซึ่งรถและ เรือพนมพระ อาจจะตกแต่งประดับประดาด้วยการแกะสลัก หรือฉลุไม้ ตกแต่งจําลอง เสมือนฉากที่พระพุทธเจ้ากลับมา จากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ในงานพิธีจะใช้คนลาก เชื่อว่าผู้ที่ได้ร่วมลากจูงรถหรือเรือพนมพระจะได้อานิสงค์หลายประการ การจัดพุ่มผ้าป่าเป็นการจําลองพุทธประวัติของพระพุทธเจ้าแสดงออกเป็นตอน ๆ ด้วยการนําต้นไม้ หรือกิ่งไม้ ประดับกับหลอดไฟสีต่าง ๆ บ้างก็จะจัดอุปกรณ์อื่นร่วมประกอบฉาก ทั้งการเขียนภาพ ปั้นรูปดินเหนียว และ ตกแต่งด้วยเครื่องอัฐบริขาร เพื่อในเช้าวันรุ่งของวันออกพรรษาจะได้นิมนต์พระมาทำพิธีทอดผ้าป่า 2. งานแห่ผ้าห่มพระธาตุศรีสุราษฎร์ แลธรรมชาติเขาท่าเพชร ประชาชนชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ พร้อมใจกันวันจัดงานแห่ผ้าห่มพระธาตุศรีสุราษฎร์ ซึ่งเป็นการบูรณาการการทำงานร่วมกันกับทุกภาคส่วน ประชาชน นักเรียน นักศึกษา กลุ่มพลังมวลชน และจิตอสา ได้ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย และ ส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของจังหวัดสุราษฎร์ธานีการจัดกิจกรรมประกอบด้วยการลงชื่อบนผ้าห่มพระธาตุฯ และร่วมทำบุญ การสมโภชผ้าห่มพระธาตุศรีสุราษฎร์ 3. งานวันเงาะโรงเรียน โดยจะจัดขึ้นประมาณต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี ซึ่งผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัด สุราษฎร์ธานี ได้แก่ เงาะโรงเรียน เงาะมีความแตกต่างจากเงาะที่อื่น คือ หวาน และกรอบ ซึ่งนับเป็นความภูมิใจของ ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.ปี 2565 สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) 2565 ผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี2565 ของจังหวัดสุราษฎร์ธานีซึ่งได้ทำการสำรวจคุณภาพ ชีวิตของจังหวัดสุราษฎร์ธานีทั้งเขตชนบท (เขต อบต.และเขตเทศบาลตำบลที่ยกฐานะมาจาก อบต.) และเขตเมือง (เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตำบลที่ยกฐานะมาจากสุขาภิบาล) โดยจัดเก็บข้อมูลของครัวเรือนที่มีผู้อาศัย อยู่จริงในพื้นที่เกิน 6 เดือนขึ้นไป ทั้งครัวเรือนที่มีเลขที่บ้านและไม่มีเลขที่บ้านจัดเก็บได้ทั้งหมด จำนวน 202,985 ครัวเรือน จาก 19 อำเภอ 116 ตำบล 987 หมู่บ้าน 287 ชุมชน มีประชากรทั้งหมด จำนวน 557,141 คน จำแนกเป็น เพศชาย จำนวน 274,066 คน (49.19 %) เพศหญิง จำนวน 283,075 คน (50.81 %) พบว่าประชาชนมีคุณภาพชีวิต ตามเครื่องชี้วัดความจำเป็นพื้นฐาน 5 หมวด 31 ตัวชี้วัด ดังนี้ จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีตัวชี้วัด จปฐ. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์5 ลำดับแรก คือ 1) ตัวชี้วัดที่ 23 ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน 2) ตัวชี้วัดที่ 18 เด็กจบการศึกษาบังคับ 9 ปีที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ 3) ตัวชี้วัดที่ 6 คนอายุ35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจาปี 4) ตัวชี้วัดที่ 25 คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ 5) ตัวชี้วัดที่ 24 คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 18 ด้านแรงงาน ข้อมูลสถิติย้อนหลังด้านสังคม ปี พ.ศ. 2560 - 2565 หน่วยงาน : สำนักงานแรงงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี ลำดับ ที่ ข้อมูล ปี 2560 2561 2562 2563 2564 2565 1 จำนวนประชากรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป (คน) 864,443 870,517 874,974 880,593 882,123 950,179 - ผู้อยู่ในกำลังแรงงาน (คน) 589,995 599,444 605,150 617,892 625,821 628,882 - ผู้มีงานทำ (คน) 583,306 595,801 601,293 611,766 615,589 618,974 - ผู้ว่างงาน (คน) 6,689 3,643 3,722 6,126 10,529 9,908 อัตราการว่างงาน 1.13 0.61 0.62 0.99 1.68 1.58 - ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน (คน) 274,448 271,073 268,824 262,701 256,302 321,297 2 จำนวนแรงงานต่างด้าว - เมียนมาร์ (คน) 107,249 79,821 72,497 72,161 79,386 67,459 - ลาว (คน) 7,282 7,910 8,673 7,453 7,901 7,478 - กัมพูชา (คน) 5,436 3,011 2,321 1,987 2,392 2,020 รวม (คน) 119,967 90,742 83,491 81,601 89,679 76,957 จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นทุกปี ในขณะที่อัตราการว่างงานไม่คงที่ มีการผันแปรตามสภาวะ เศรษฐกิจโดยเฉพาะราคาผลผลิตทางการเกษตร (ราคายางพารา) โดยในปี 2565 มีผู้อยู่ในกำลังแรงงาน จำนวน 628,882 คน เป็นผู้มีงานทำ 618,974 คน และผู้ว่างงาน 9,908 บาท คิดเป็นอัตราการว่างงาน 1.58 ซึ่งลดลงจากปี 2564 ปี พ.ศ.2565 จำนวนแรงงานต่างด้าวทีมีใบอนุญาตทำงานในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีจำนวนทั้งสิ้น 76,957 คน โดยแรงงานต่างด้าวที่ได้รับการต่อใบอนุญาตทำงาน โดยแยกเป็นคนต่างด้าวประเภท MOU ได้แก่คนต่างด้าวสัญชาติ เมียนมาร์ จำนวน 67,459 สัญชาติลาว จำนวน 7,478 คน และสัญชาติกัมพูชา จำนวน 2,020 คน ที่เข้ามาทำงานตาม ความตกลงระหว่างรัฐบาลไทย กับ รัฐบาลประเทศต้นทาง
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 19 ข้อมูลผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม ประเภท หน่วย ปี 2561 2562 2563 2564 1.ผู้ประกันตน มาตรา 33 จำนวนสถานประกอบการ คน แห่ง 129,340 6,830 122,246 7,595 113,027 7,516 104,492 7,382 2.ผู้ประกันตน มาตรา 39 คน 15,544 16,713 18,014 20,799 3.ผู้ประกันตน มาตรา 40 คน 44,390 51,710 54,639 57,270 รวม คน 189,274 190,669 185,680 182,561 หมายเหตุ : ข้อมูล พ.ศ. 2564 เป็นข้อมูลของไตรมาสที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2564) ด้านการศึกษา สถานการณ์การศึกษา - จำนวน สถานศึกษา/นักเรียน/ครู-อาจารย์ จำนวนสถานศึกษา นักเรียน ครู-อาจารย์ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีปีการศึกษา 2560 - 2565 ที่ ปีการศึกษา จำนวน สถานศึกษา นักเรียน ครู 1 2560 674 209,261 9,416 2 2561 662 214,067 12,060 3 2562 703 199,655 10,960 4 2563 666 222,395 12,275 5 2564 666 222,039 12,676 6 2565 666 223,155 11,238 ที่มา : ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุราษฎร์ธานีปีการศึกษา 2560 – 2565
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 20 จำนวนสถานศึกษา นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัดสุราษฎร์ธานีจำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2565 จำนวน สังกัด สถานศึกษา นักเรียน ครูห้องเรียน ภาพรวมของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุราษฎร์ธานี 666 223,155 11,238 9,512 1. กระทรวงศึกษาธิการ 614 188,179 9,515 8,161 1.1 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 102 50,534 1,974 1,533 1.1.1 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 83 40,724 1,726 1,439 - โรงเรียนเอกชนในระบบจังหวัดสุราษฎร์ธานี 83 40,724 1,726 1,439 1.1.2 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุราษฎร์ธานี 19 9,810 248 94 1) ระดับการศึกษาขั้นพ ื้ นฐาน 19 9,790 246 91 2) ปวช. 2 20 2 3 1.2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ ื้ นฐาน 500 125,359 6,964 5,946 1.2.1 สพป.สุราษฎร์ธานีเขต 1 121 24,831 1,328 1,307 1.2.2 สพป.สุราษฎร์ธานีเขต 2 179 30,462 1,688 1,770 1.2.3 สพป.สุราษฎร์ธานีเขต 3 152 26,822 1,565 1,566 1.2.4 สพม.สุราษฎร์ธานีชุมพร 44 41,998 2,265 1,235 - โรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 3 1,107 115 65 1.2.5 ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 377 44 20 1.2.6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์สุราษฎร์ธานี 1 651 51 24 1.2.7 โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต้จังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 79 20 21 1.2.8 สถานศึกษาในสถานประกอบการ - ศูนย์การเรียนปัญญาภิวัฒน์สุราษฎร์ธานี 1 139 3 3
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 21 จำนวน สังกัด สถานศึกษา นักเรียน ครูห้องเรียน 1.3 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 12 12,286 577 682 - วิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐบาล 8 10,792 451 573 1.3.1 วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี 1 3,909 154 140 1.3.2 วิทยาลัยเทคนิคกาญจนดิษฐ์ 1 491 34 25 1.3.3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 3,251 115 123 1.3.4 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี 1 305 22 118 1.3.5 วิทยาลัยสารพัดช่างสุราษฎร์ธานี 1 196 27 14 1.3.6 วิทยาลัยการอาชีพไชยา 1 1,119 44 56 1.3.7 วิทยาลัยการอาชีพเวียงสระ 1 1,293 43 80 1.3.8 วิทยาลัยการอาชีพเกาะสมุย 1 228 12 17 - วิทยาลัยอาชีวศึกษาของเอกชน 4 1,494 126 109 1.3.9 วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิชัยสุวรรณภูมิ 1 432 28 30 1.3.10 วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโกสุราษฎร์ 1 278 28 32 1.3.11 วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์พาณิชยการ 1 496 31 19 1.3.12 วิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ 1 288 39 28 2. ส่วนราชการอื่น 52 34,976 1,723 1,351 2.1 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม 3 17,450 720 653 2.1.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 1 15,668 504 539 2.1.2 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิทร์วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1 861 175 53 2.1.3 มหาวิทยาลัยตาปี 1 921 41 61 2.2 กระทรวงมหาดไทย : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 40 16,243 868 638 2.2.1 ระดับการศึกษาข ั้ นพื้นฐาน 39 15,870 830 614 2.2.2 ปวช. 2 373 38 24
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 22 จำนวน สังกัด สถานศึกษา นักเรียน ครูห้องเรียน 2.3 สำนักนายกรัฐมนตรี - โรงเรียนสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด สุราษฎร์ธานี 4 105 25 20 2.3.1 โรงเรียนแสงธรรมพิทยาคม 1 9 8 8 2.3.2 โรงเรียนพระปริยัติธรรมสามัญวัดโฉลกศิลาราม 1 20 5 5 2.3.3 โรงเรียนวัดพระบรมธาตุไชยาวิทยา 1 15 4 4 2.3.4 โรงเรียนพระปริยัติธรรมสามัญศึกษาปัญญาทีปวทยานุสรณ์ 1 61 8 3 2.4 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - โรงเรียนสังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวน ชายแดน จังหวัดสุราษฎร์ธานี 4 635 52 36 2.4.1 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเทคนคิมีนบุรีอนุสรณ์1 1 154 13 9 2.4.2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านยางโพรง 1 202 16 9 2.4.3 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านกอเตย 1 118 11 9 2.4.4 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านคลองวาย 1 161 12 9 2.5 กระทรวงสาธารณสุข สถาบันพระบรมราชชนก - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 543 58 4
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 23 บทที่ 2 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ภาพรวมผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี 2564 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี 2564 ณ ราคา ประจำปี มีมูลค่า 179,155 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 178,145 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมาเท่ากับ 1,010 ล้านบาท เป็นลำดับที่ 19 ของประเทศ และเป็นลำดับที่ 3 ของ ภาคใต้รองจากจังหวัดสงขลา และนครศรีธรรมราช โดยผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อ คน (Per capita GPP) เท่ากับ 154,835 บาท ต่อคนต่อปีลดลงจาก 154,947 บาท ต่อคนต่อปีเท่ากับ 112 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.07 ผลิตภัณฑ์จังหวัดสุราษฎร์ธานีและผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ต่อคน ตามลำดับในปี2561- 2564 มูลค่า 2561 2562 2563 2564 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(ล้านบาท) 203,756 207,523 178,145 179,155 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ต่อคน (บาท) 179,627 181,698 154,947 154,835 155
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 24 สถานการณ์เศรษฐกิจ • สถานการณ์เศรษฐกิจในภาพรวม ผ ลิ ตภั ณ ฑ์ ม วล รวม จั งห วั ด สุ ร าษ ฎ ร์ ธ านี ปี 2 5 64 (Gross Provincial Product : GPP) ณ ราคาประจำปี มีมูลค่าเท่ากับ 179,155 ล้านบาท ลดลงจาก 178,145 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมาเท่ากับ 1,010 ล้านบาท มีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่ 19 ของประเทศ และเป็นอันดับที่ 3 ของภาคใต้รองจากจังหวัดสงขลา และ นครศรีธรรมราช ประกอบด้วย - ภาคเกษตร มีมูลค่าเพิ่มเท่ากับ 49,959 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 41,927 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา เท่ากับ 8,032 ล้านบาท - ภาคนอกเกษตร มีมูลค่าเพิ่มเท่ากับ 129,197 ล้านบาท ลดลงจาก 136,218ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา เท่ากับ 7,022 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ปี2564 ของจังหวัดสุราษฎร์ธานีเท่ากับ 154,835 บาท ต่อคนต่อปี ลดลงจาก 154,947 บาท ต่อคนต่อปี เท่ากับ 112 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.07 โครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัด โครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดสุราษฎร์ธานีโดยพิจารณามูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ณ ราคาประจำปีในปี พ.ศ. 2564 พบว่า ขึ้นกับภาคเกษตร มีมูลค่า 49,959 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.89 ของมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด รองลงมาได้แก่ สาขาการผลิต ฯ มีมูลค่า 28,854 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.11 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด และการขายส่ง และการขายปลีก มีมูลค่า 25,288 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.12 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ดังนี้ 1. สาขาเกษตรกรรม ป่าไม้ และสาขาประมง มีมูลค่า 49,959 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.89 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 2. ส าข าการท ำเห มื อ งแ ร่ แล ะเห มื อ งหิ น มี มู ล ค่ า 2,781 ล้าน บ าท คิ ด เป็ น ร้อ ย ละ 1.55 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 3. สาขาการผลิต มีมูลค่า 28,854ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.11ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 4. สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้ำและระบบปรับอากาศ มีมูลค่า 3,354 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.87 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 5. สาขาการจัดหาน้ำ การจัดการและการบำบัดน้ำเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล มีมูลค่า 589 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 0.33 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 6. สาขาการก่อสร้าง มีมูลค่า 6,348 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.54 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัด
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 25 7. สาขาการขายส่ง และการขายปลีกฯ มีมูลค่า 25,288 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 14.12 ของมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 8. สาขาการขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้า มีมูลค่า 9,121 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.09 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัด 9. สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร มีมูลค่า 8,465 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.72 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัด 10. ส าข าข้ อ มู ล ข่ าว ส ารแ ล ะก ารสื่ อ ส าร มี มู ล ค่ า 2,33 6 ล้ าน บ าท คิ ด เป็ น ร้อ ย ล ะ 1.3 0 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 11. สาขากิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย มีมูลค่า 9,925 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.54 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 12. สาขากิจกรรมเกี่ยวกับ อสังหาริมท รัพ ย์ มีมูลค่า 6,830 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.81 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 13. สาขากิจกรรมวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และกิจกรรมทางวิชาการ มีมูลค่า 130ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.07ของมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 14. สาขากิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน มีมูลค่า 423 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 15. สาขาการบริหารราชการ การป้องกันประเทศและการประกันสังคมภาคบังคับ มีมูลค่า 9,648ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 5.39 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 16. สาขาการศึกษา มีมูลค่า 7,911 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.42 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 17. สาขากิจกรรมสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ มีมูลค่า 6,204 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.46 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 18. สาขาศิลปะ ความบันเทิงและนันทนาการ มีมูลค่า 348 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.19 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 19. สาขากิจกรรมและบริการด้านอื่น ๆ มีมูลค่า 642 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.36 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวล รวมจังหวัด
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 26 กราฟแสดงโครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ณ ราคาประจำปี2564 สาขาเกษตรกรรม ป่ าไม้ และ สาขาประมง 27.89% สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอนา ้ และระบบปรับอากาศ 1.87% [] สาขาการก่อสร้าง 3.54% สาขาการขนส่ง และสถานที่ เก็บสินค้า 5.09% สาขาการขายส่ง และการขาย ปลีกฯ 14.12% สาขาการท าเหมืองแร่ และ สาขาข้อมูลข่าวสารและการ เหมืองหิน 1.55% สื่อสาร 1.30% สาขากิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย 5.54% สาขาที่พักแรมและบริการด้าน อาหาร 4.72% สาขากิจกรรมเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย์ 1.81% สาขากิจกรรมวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และกิจกรรมทาง วิชาการ 0.07% สาขากิจกรรมการบริหารและ บริการสนับสนุน 0.24% สาขาการผลิต 16.11% สาขาการบริหารราชการ การ ป้องกันประเทศและการ ประกันสังคมภาคบังคับ 5.39% สาขากิจกรรมด้านสุขภาพและ งานสังคมสงเคราะห์ 3.46% สาขาศิลปะ ความบันเทิงและ นันทนาการ 0.19% สาขาการศึกษา 4.42% สาขากิจกรรมและบริการด้าน อื่น ๆ 0.36%
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 27 ภาค/ปี พ.ศ. (ร้อยละการเปลี่ยนแปลง) 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ภาคเกษตร 45,138 46,758 39,200 39,197 41,927 49,959 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 23.32 22.24 19.24 18.89 23.54 27.89 เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง 45,138 46,758 39,200 39,197 41,927 49,959 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 23.32 22.24 19.24 18.89 23.54 27.89 ภาคนอกเกษตร 148,438 163,464 164,556 168,326 136,218 129,197 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 76.68 77.76 80.76 81.11 76.46 72.11 การทำเหมืองแร่และเหมืองหิน 4,240 3,205 2,900 2,625 2,861 2,781 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 2.19 1.52 1.42 1.26 1.61 1.55 การผลิต 28,902 33,919 27,462 26,669 26,184 28,854 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 14.93 16.14 13.48 12.85 14.70 16.11 ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้ำและระบบปรับอากาศ 3,383 3,495 3,238 3,444 3,352 3,354 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 1.75 1.66 1.59 1.66 1.88 1.87 การจัดหาน้ำ การจัดการและการบำบัด น้ำเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล 480 495 499 586 598 589 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 0.25 0.24 0.24 0.28 0.34 0.33 การก่อสร้าง 4,393 3,812 4,063 5,026 6,079 6,348 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 2.27 1.81 1.99 2.42 3.41 3.54 การขายส่งและการขายปลีก การซ่อม ยานยนต์และจักรยานยนต์ 24,666 26,668 25,742 25,487 24,987 25,288 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 12.74 12.69 12.63 12.28 14.03 14.12 การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า 7,221 7,413 7,741 8,849 9,149 9,121 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 3.73 3.53 3.80 4.26 5.14 5.09 ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 36,178 42,328 47,913 49,757 18,614 8,465 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 18.69 20.13 23.51 23.98 10.45 4.72 ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 1,374 1,733 1,875 2,334 2,125 2,336 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 0.71 0.82 0.92 1.12 1.19 1.30 กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 9,423 9,813 10,447 10,592 10,288 9,925 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 4.87 4.67 5.13 5.10 5.77 5.54 ตารางแสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ณ ราคาคงที่
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 28 ภาค/ปี พ.ศ. (ร้อยละการเปลี่ยนแปลง) 2559 2560 2561 2562 2563 2564 กิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 5,329 5,943 6,566 6,592 6,646 6,830 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 2.75 2.83 3.22 3.18 3.73 1.81 กิจกรรมวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และกิจกรรมทาง วิชาการ 208 221 209 225 165 130 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 0.11 0.11 0.10 0.11 0.09 0.07 กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน 1,869 2,203 2,368 2,360 785 423 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 0.97 1.05 1.16 1.14 0.44 0.24 การบริหารราชการ การป้องกันประเทศและ การประกันสังคมภาคบังคับ 7,761 8,381 9,035 8,975 9,605 9,648 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 4.01 3.99 4.43 4.32 5.39 5.39 การศึกษา 7,423 7,672 7,711 7,719 7,766 7,911 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 3.83 3.65 3.78 3.72 4.36 4.42 กิจกรรมด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 4,330 4,665 5,214 5,561 5,839 6,204 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 2.24 2.22 2.56 2.68 3.28 3.46 ศิลปะ ความบันเทิงและนันทนาการ 415 503 508 530 371 348 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 0.21 0.24 0.25 0.26 0.21 0.19 กิจกรรมการบริการด้านอื่น ๆ 843 994 1,065 998 806 642 สัดส่วนในโครงสร้าง GPP (ร้อยละ) 0.44 0.47 0.52 0.48 0.45 0.36 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 193,575 210,222 203,756 207,523 178,145 179,155 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัวประชากร(บาท) 171,621 186,643 179,627 181,698 154,947 154,835 ประชากร (1,000 คน) 1,128 1,126 1,134 1,142 1,150 1,157
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 29 • ข้อมูลด้านการเกษตร จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีพื้นที่ทั้งหมด 8.17 ล้านไร่ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม 5.08 ล้านไร่ (62.18 %) ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่เกษตรกรรมส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น 4,958,888.53 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 97.59) เป็นครัวเรือนด้านพืช 153,130 ครัวเรือน ด้านประมง 7,704 ฟาร์ม และด้านปศุสัตว์ 56,322 ครัวเรือน และเป็นแรงงานภาคการเกษตร 311,139 ราย ( ข้อมูล ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566) 1. ข้อมูลยางพาราของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวน 1 เกษตรกร (ราย) พื้นที่ยืนต้น 2 (ไร่) เนื้อที่กรีดได้2 (ไร่) ผลผลิต2 (ตัน) ผลผลิต2 เฉลี่ย (กก./ไร่) ราคาเฉลี่ย2 (บาท/กก.) 2561 81,829 2,387,351 2,169,154 576,995 226 41.75 2562 89,111 2,459,685 2,055,092 508,299 247 43.17 2563 137,662 2,422,517 2,114,568 502,618 238 44.89 2564 132,445 2,360,102 2,092,517 503,812 241 54.18 2565 124,042 2,302,845 2,058,032 504,218 245 53.79 ที่มา : 1. การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 30 มกราคม 2566 2. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 ข้อมูล ณ สิงหาคม 2565 หมายเหตุ : เป็นราคาเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา 2. ข้อมูลปาล์มน้ำมันของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวน เกษตรกร (ราย) พื้นที่ยืนต้น (ไร่) เนื้อที่ให้ผล (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) ราคาเฉลี่ย (บาท/กก.) 2561 51,609 1,309,982 1,179,458 3,640,097 3,086 3.16 2562 60,342 1,340,063 1,230,541 3,843,277 3,123 2.82 2563 67,788 1,359,380 1,300,813 3,876,333 2,852 4.66 2564 48,512 1,391,958 1,323,034 4,066,640 2,922 6.84 2565 46,621 1,412,837 1,341,821 4,151,981 2,939 7.74 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 ข้อมูล ณ วันที่ 30 มกราคม 2566 หมายเหตุ : เป็นราคาเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา •
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 30 3. ข้อมูลทุเรียนของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวน 1 เกษตรกร (ครัวเรือน) พื้นที่ยืนต้น 2 (ไร่) เนื้อที่ให้ผล2 (ไร่) ผลผลิต2 (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย2 (กก./ไร่) ราคาเฉลี่ย2 (บาท/กก.) 2561 7,291 70,520 28,191 25,368 900 86.28 2562 12,446 76,873 39,039 45,825 1,174 98.23 2563 14,568 79,994 40,967 39,396 962 80.00 2564 13,646 84,252 46,489 46,957 1,010 118.79 2565 12,660 91,710 67,207 45,282 674 114.19 ที่มา : 1. สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานีข้อมูล ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2565 2. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2565 หมายเหตุ : เป็นราคาเฉลี่ย ทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ขนาดกลาง (ผลสวย 2.5-6 กก.) ที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา 4. ข้อมูลเงาะของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวน 1 เกษตรกร (ครัวเรือน) พื้นที่ยืนต้น/2 เพาะปลูก (ไร่) เนื้อที่ให้ผล2 (ไร่) ผลผลิต2 (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย2 (กก./ไร่) ราคาเฉลี่ย2 (บาท/กก.) 2561 2,921 27,790 27,317 37,140 1,360 28.61 2562 3,521 26,677 26,116 37,819 1,448 30.22 2563 4,361 26,402 25,848 20,559 795 30.55 2564 3,319 26,849 26,131 38,915 1,489 21.48 2565 2,575 25,606 24,937 18,082 725 38.03 ที่มา : 1. สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2565 2. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2565 หมายเหตุ : เป็นราคาเฉลี่ย เงาะพันธุ์โรงเรียน (ตะกร้า) ที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 31 5. ข้อมูลมังคุดของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวน 1 เกษตรกร (ครัวเรือน) พื้นที่ยืนต้น2 (ไร่) เนื้อที่ให้ผล2 (ไร่) ผลผลิต2 (ตัน) ผลผลิต2 เฉลี่ย (กก./ ไร่) ราคาเฉลี่ย2 (บาท/กก.) 2561 2,884 13,810 12,508 5,581 446 18.96 2562 3,526 12,720 11,855 8,057 680 24.17 2563 3,586 12,457 11,794 6,296 534 15.00 2564 2,789 12,529 11,927 7,291 611 25.40 2565 2,407 11,694 11,169 1,908 171 30.00 ที่มา : 1. สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2565 2. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2565 หมายเหตุ : เป็นราคาเฉลี่ย มังคุดผิวมัน ผลคละ ที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา 6. ข้อมูลลองกองของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวน 1 เกษตรกร (ครัวเรือน) พื้นที่ยืนต้น2 (ไร่) เนื้อที่ให้ผล2 (ไร่) ผลผลิต2 (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย2 (กก./ไร่) ราคาเฉลี่ย2 (บาท/กก.) 2561 2,949 12,573 12,012 6,003 500 26.37 2562 3,327 11,542 11,116 7,546 679 25.37 2563 3,160 10,259 10,044 5,096 507 34.98 2564 2,324 10,270 10,044 4,842 482 17.51 2565 1,773 9,596 9,370 392 42 23.42 ที่มา : 1. สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2565 2. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2565 หมายเหตุ : เป็นราคาเฉลี่ย ลองกองคละ ที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 32 7. ข้อมูลกุ้งทะเลของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี กุ้งกุลาดำ กุ้งขาวแวนนาไม รวม จำนวน เกษตรกร (ฟาร์ม) เนื้อที่ (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิต ต่อไร่ (กก.) จำนวน เกษตรกร (ฟาร์ม) เนื้อที่ (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิต ต่อไร่ (กก.) เนื้อที่ (ไร่) ผลผลิต (ตัน) 2561 - 493 732 1,485 650 16,844 40,625 2,412 17,337 41,357 2562 27 639 776 1,214 629 16,245 36,979 2,276 16,884 37,755 2563 28 639 668 1,045 628 16,245 37,530 2,310 16,884 38,199 2564 24 807 1,171 1,451 655 15,855 40,265 2,539 16,662 41,436 2565 18 670 1,025 1,529 650 40,437 33,000 816 41,107 34,025 ที่มา : สำนักงานประมงจังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2565 หมายเหตุ : ปี 2565 เป็นข้อมูลบริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญของจังหวัด: สำนักงานประมงจังหวัดสุราษฎร์ธานี 18 กุมภาพันธ์ 2565 ข้อมูลราคากุ้งขาวแวนนาไมของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี กุ้งขาวแวนนาไม ขนาด (ตัว/กก.) ราคา (บาท/กก.) 2561 ขนาด 41-50 ตัว/กก. 170.54 2562 ขนาด 41-50 ตัว/กก. 164.87 2563 ขนาด 41-50 ตัว/กก. 157.03 2564 ขนาด 41-50 ตัว/กก. 174.49 2565 ขนาด 41-50 ตัว/กก. 174.25 ที่มา : สำนักงานประมงจังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ ธันวาคม 2565 8. ข้อมูลสุกรของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์1 (ครัวเรือน) จำนวนตัว ณ 1 ม.ค.1 (ตัว) ปริมาณการผลิต1 (ตัว) ราคา2 (บาท/กก.) 2561 4,268 121,457 273,746 57.20 2562 4,359 198,639 338,949 69.38 2563 3,485 214,602 364,823 74.85 2564 3,639 227,904 352,876 73.73 2565 1,564 175,580 288,506 100.74 ที่มา : 1. สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2565 2. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 ข้อมูล ณ ธันวาคม 2565 หมายเหตุ : ปี 2565 ข้อมูลจำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ที่ขึ้นทะเบียนตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน 2565 ราคาสุกรเป็นราคาเฉลี่ย สุกรขุนพันธ์ลูกผสม 80 - 100 กก. (ราคาหน้าฟาร์ม)
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 33 9. ข้อมูลไก่เนื้อของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์(1) (ครัวเรือน) จำนวนตัว ณ วันที่ 1 ม.ค.(2) (ตัว) ปริมาณการผลิต(2) (ตัว) ราคา (บาท/กก.) 2561 - 1,323,747 10,505,169 80.02 2562 - 1,467,808 8,700,708 80.56 2563 - 1,882,965 10,680,316 80.09 2564 467 2,162,725 12,559,833 - 2565 404 2,180,358 31,177,560 - ที่มา : (1) สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2565 (2) ข้อมูลจากสถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2564 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หมายเหตุ : 1. ปี 2565 ข้อมูลจำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ที่ขึ้นทะเบียนตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน 2565 2. ข้อมูลจำนวนตัว ณ วันที่ 1 มกราคม และปริมาณการผลิตปี 2565 จากข้อมูลการจัดทำปฏิทินผลผลิตสินค้าเกษตร รายเดือนระดับจังหวัดประจำปี พ.ศ. 2564 10. ข้อมูลไก่ไข่ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวนตัว ณ วันที่ 1 ม.ค. (ตัว) ปริมาณการผลิต (ฟอง) จำนวนไก่ให้ไข่ (ตัว) อัตราให้ไข่ (ฟอง/ตัว/ปี) 2561 680,000 168,776,000 578,000 292 2562 566,000 140,481,200 481,100 292 2563 615,000 143,664,000 492,000 292 2564 787,000 195,333,400 668,950 292 2565 799,800 198,510,360 679,830 292 ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2565 หมายเหตุ : ปี 2565 ข้อมูลจำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ที่ขึ้นทะเบียนตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน 2565
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 34 11. ข้อมูลโคเนื้อของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี จำนวนเกษตรกร ผู้เลี้ยงสัตว์ (ครัวเรือน) จำนวนตัว ณ 1 ม.ค. (ตัว) ปริมาณการผลิต (ตัว) จำนวนแม่พันธุ์ ที่ให้ลูก (ตัว) อัตราการเกิด (ตัว) 2561 10,800 63,732 12,067 15,084 12,067 2562 11,540 69,789 14,325 17,907 14,325 2563 11,725 71,070 14,731 18,414 14,731 2564 14,343 80,444 18,898 23,623 18,898 2565 14,298 84,021 19,925 24,907 19,925 จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ (สะสม) ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 จำนวนทั้งสิ้น 1,110 โรงงาน เงินลงทุนรวม 76,437.97 ล้านบาท และมีจำนวนคนงาน 40,672 คน โดยจำแนก ออกเป็นจำพวกโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ได้ดังนี้ จำพวกที่ จำนวนโรงงาน (โรงงาน) จำนวนเงินทุน (ล้านบาท) จำนวนคนงาน (คน) 1 - - - 2 14 68.88 160 3 1,096 76,369.10 40,512 รวม 1,110 76,437.97 40,672 ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2565 หมายเหตุ : ปี 2565 ข้อมูลจำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ที่ขึ้นทะเบียนตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน 2565
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 35 จำนวนโรงงานจำแนกรายหมวดอุตสาหกรรมที่สำคัญ ลำดับที่ กลุ่มอุตสาหกรรม จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์จากพืช 6 โรงงาน 2 อุตสาหกรรมอาหาร 137 โรงงาน 3 อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม 10 โรงงาน 4 สิ่งทอ 3 โรงงาน 5 อุตสาหกรรมเครื่องแต่งกายยกเว้นรองเท้า 1 โรงงาน 6 แปรรูปไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ 230 โรงงาน 7 เครื่องเรือนหรือเครื่องตบแต่งในอาคารจากไม้ แก้ว ยาง หรือโลหะอื่นๆ 12 โรงงาน 8 ผลิตกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 2 โรงงาน 9 เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี 9 โรงงาน 10 ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม 40 โรงงาน 11 ยางและผลิตภัณฑ์ยาง 70 โรงงาน 12 ผลิตภัณฑ์พลาสติก 21 โรงงาน 13 ผลิตภัณฑ์อโลหะ 111 โรงงาน 14 ผลิตภัณฑ์โลหะ 30 โรงงาน 15 ผลิตเครื่องจักรและเครื่องกล 5 โรงงาน 16 ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ 1 โรงงาน 17 ผลิตยานพาหนะและอุปกรณ์รวมทั้งการซ่อมยานพาหนะและอุปกรณ์ 60 โรงงาน 18 การผลิตอื่นๆ 362 โรงงาน รวม 1,110 โรงงาน
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 36 ภาคบริการการท่องเที่ยวและโรงแรม จังหวัดสุราษฎร์ธานีในปี2563 - 2564 มีการหดตัวอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบปีที่ผ่านมา เนื่องมาจากสถานการณ์ โควิด – 19 เมื่อพิจารณาจากจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวในปี 2564 จำนวนนักท่องเที่ยวรวม 481,340 คน รายได้จากการท่องเที่ยว 2,733.17 ล้านบาท และในปี2565 มีนักท่องเที่ยวรวม 3,690,642 คน เพิ่มขึ้น จากปี 2564 และรายได้จากการท่องเที่ยว 27,660.85 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2564 ซึ่งมีแนวโน้มที่การท่องเที่ยวใน จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะกลับมาดีขึ้นเหมือนเดิม จำนวนนักท่องเที่ยว 2562 2563 2564 2565 ไทย 2,309,165 1,173,123 461,186 2,847,239 ต่างชาติ 3,591,556 720,373 20,154 843,403 รวม 5,900,721 1,893,496 481,340 3,690,642 รายได้จากการท่องเที่ยว (ล้านบาท) 2562 2563 2564 2565 ไทย 17,040.24 7,645.14 2,529.74 17,579.18 ต่างชาติ 77,246.88 17,801.87 203.43 10,081.67 รวม 94,287.12 25,447.01 2,733.17 27,660.85 0 1000000 2000000 3000000 4000000 2562 2563 2564 2565 จ านวนนักท่องเที่ยว ไทย ต่างชาติ 0 20000 40000 60000 80000 2562 2563 2564 2565 รายได้จากการท่องเที่ยว ไทย ต่างชาติ
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 37 • ภาคการเงินการคลัง รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจำเดือนธันวาคม 2565 “เครื่องชี้เศรษฐกิจจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในเดือนธันวาคม 2565 บ่งชี้ว่า เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ขยายตัว เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สะท้อนจากเครื่องชี้เศรษฐกิจ ด้านอุปทานที่ขยายตัวจากภาคบริการ และภาคเกษตรกรรม ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมหดตัว ขณะที่ด้านอุปสงค์ขยายตัวจากการบริโภคภาคเอกชน และการใช้ จ่ายภาครัฐ ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนหดตัว เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเพิ่มขึ้น ทั้งจากดัชนีราคา ผู้บริโภคหมวดอาหารและเครื่องดื่ม และหมวดอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มที่เพิ่มขึ้น การจ้างงานโดยรวมดีขึ้นตาม การฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ” เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) ขยายตัว เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยดัชนีผลผลิตภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 220.64 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สะท้อนจากจำนวนผู้โดยสารผ่านสนามบินและ ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดค้าส่งค้าปลีก ขยายตัวร้อยละ 59.08 และ 13.43 ตามลำดับ และ จำนวนนักท่องเที่ยวผ่านด่าน ตรวจคนเข้าเมืองสมุยเพิ่มขึ้น 15,639 คน เนื่องจากจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ 5.84 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นจาก เดือนก่อน ที่ขยายตัวร้อยละ 2.15 สะท้อนจากปริมาณผลผลิตกุ้งขาว ปาล์มน้ำมันและยางพารา เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 90.87 56.51 และ 5.12 ตามลำดับ เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ให้ผลผลิต ขณะที่ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม หด ตัวร้อยละ -14.43 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สะท้อนจากภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดอุตสาหกรรม ที่ลดลงร้อยละ - 21.83 จากการผลิตน้ำมันปาล์ม การผลิตน้ำยางข้นลดลงเป็นสำคัญ
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 38 บทที่ 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด • เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานีพ.ศ.2566 - 2570 “เมืองเกษตรมูลค่าสูง การท่องเที่ยวยั่งยืน สังคมเป็นสุข” • ตัวชี้วัดความสำเร็จตามเป้าหมายการพัฒนาจังหวัด 1) สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปมีมูลค่าสูง 2) อุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน 3) ระบบโครงข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์เพื่อรองรับการพัฒนาจังหวัด 4) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนสู่สังคมเป็นสุข 5) ฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม • พันธกิจ 1. พัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจ (ด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมต่อเนื่องและการท่องเที่ยว) ให้มีความมั่งคั่งและเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ 2. พัฒนาสังคม คุณธรรม และคุณภาพชีวิตของประชาชน 3. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน 4. บริหารจัดการภาครัฐตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประเด็นการพัฒนาที่ 1 : พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร อุตสาหกรรมแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าสูง 1.1.1 พัฒนาและส่งเสริมการผลิตและยกระดับการแปรรูปอุตสาหกรรมยางพาราและปาล์มน้ำมันแบบ ครบวงจร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 1.1.2 พัฒนาและสนับสนุนการยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร 1.1.3 ยกระดับอุตสาหกรรมแปรรูปที่มีมูลค่าสูงเพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.1.4 ส่งเสริมการปลูกแปรรูปพัฒนาผลิตภัณฑ์และยกระดับมาตรฐานสมุนไพร 1.1.5 ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 39 1.1.6 ส่งเสริมการตลาดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรอุตสาหกรรมแปรรูป และผลิตภัณฑ์เด่นที่มี เอกลักษณ์ 1.1.7 ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : พัฒนาการท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐานเพื่อมุ่งสู่ความยั่งยืน 2.1.1 ส่งเสริมกิจกรรมและผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยว 2.1.2 บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย มุ่งสู่ความยั่งยืน 2.1.3 พัฒนาบุคลากรด้านการบริการและการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน 2.1.4 ส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2.1.5 เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยว ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : พัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ 3.1.1 พัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งเพื่อเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ในพื้นที่ 3.1.2 ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์กระจายสินค้า ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : เสริมสร้างพลังทางสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี 4.1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัยและสร้างความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน 4.1.2 ขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน 4.1.4 ยกระดับระบบบริการสาธารณสุขและส่งเสริมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก 4.1.5 ขับเคลื่อนจังหวัดคุณธรรมอย่างยั่งยืน (พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา) 4.1.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสู่เมืองอัจฉริยะ (Smart City) ประเด็นการพัฒนาที่ 5 : บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.1.1 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างถูกวิธี 5.1.2 เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้มีประสิทธิภาพ 5.1.3 เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการภัยพิบัติและสาธารณภัย 5.1.4 ยกระดับการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 40 • เป้าหมาย และตัวชี้วัด ระดับเป้าประสงค์รวม ประเด็นการพัฒนา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด แนวทาง การพัฒนา 1. พัฒนาการผลิตสินค้า เกษตร อุตสาหกรรมแปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าสูง สินค้าเกษตรและตสาหกร รมแปรรูปมีมูลค่าสูง 1) อัตราการขยายตัวของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ภาคเกษตร เพิ่มขึ้นไม่ น้อยกว่าร้อยละ 3 ต่อปี 1.1.1 พัฒนาและส่งเสริมการ ผลิตและยกระดับการแปรรูป อุตสาหกรรมยางพาราและ ปาล์มน้ำมันแบบครบวงจร เพื่อ สร้างมูลค่าเพิ่ม 2) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังห วัด (GPP) สาขา อุตสาหกรรม (ร้อยละ 0.5 /ปี) 1.1.2 พัฒนาและสนับสนุน การยกระดับมาตรฐานสินค้า เกษตร 1.1.3 ยกระดับอุตสาหกรรม แปรรูปที่มีมูลค่าสูงเพื่อเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม 3) จำนวนผลิตภัณฑ์สมุนไพรของ จังหวัดสุราษฎร์ธานีเพิ่มขึ้นไม่ น้อยกว่า 15 รายการ 1.1.4 ส่งเสริมการปลูก แปรรูปพัฒนาผลิตภัณฑ์และ ยกระดับมาตรฐานสมุนไพร 4) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของการผลิต พลังงานทดแทน (ร้อยละ 2/ปี) 1.1.5 ส่งเสริมการใช้พลังงาน ทดแทนและใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ 5) จำนวนผลิตภัณฑ์เด่น ที่มีเอกลักษณ์ของจังหวัด (1 ผลิตภัณฑ์ต่อปี) 1.1.6 ส่งเสริมการตลาดเพื่อ สร้างมูลค่าเพิ่ม สินค้าเกษตร อุตสาหกรรมแปรรูปและ ผลิตภัณฑ์เด่นที่มีเอกลักษณ์ 1.17ส่งเสริมการบริหาร จัดการน้ำเพื่อการเกษตร
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 41 ประเด็นการพัฒนา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด แนวทาง การพัฒนา 2. พัฒนาการท่องเที่ยวที่ได้ มาตรฐานเพื่อมุ่ง สู่ความยั่งยืน 2.1 อุตสาหกรรมบริการ และการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน 1) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้ จากการท่องเที่ยว (ร้อยละ 7/ปี) (จากฐานรายได้จากการ ท่องเที่ยวเฉลี่ย 3 ปี (พ.ศ.2563 – 2565)) 2.1.1 ส่งเสริมกิจกรรมและ ผลิตภัณฑ์ ด้านการท่องเที่ยว 2.1.2 บริหารจัดการแหล่ง ท่องเที่ยว ให้มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย มุ่งสู่ความยั่งยืน 2.1.3 พัฒนาบุคลากรด้านการ บริการและการท่องเที่ยวให้ได้ มาตรฐาน 2) จำนวนการจัดประชุมและ การจัดงานนิทรรศการในระดับ ภูมิภาคไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง/ปี 2.1.4 ส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์ จังหวัด สุราษฎร์ธานี 1) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้ จากการท่องเที่ยว (ร้อยละ 7/ปี) (จากฐานรายได้จากการ ท่องเที่ยวเฉลี่ย 3 ปี (พ.ศ.2563 – 2565)) 2.1.5 เพิ่มขีดความสามารถด้าน การตลาดและประชาสัมพันธ์ ด้านการท่องเที่ยว 3. พัฒนาโครงข่ายคมนาคม ขนส่งเชื่อมโยงระบบโลจิ สติกส์ 1) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของ ผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัด (GPP) สาขาการขนส่ง และการ คมนาคม (ร้อยละ 3 ปี) 3.1.1 พัฒนาโครงข่าย คมนาคมขนส่งเพื่อเชื่อมโยง ระบบโลจิสติกส์ในพื้นที่ 3.1.2 ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อ เป็นศูย์กระจายสินค้า
บรรยายสรุปจังหวัดสุราษฎร์ธานี 42 ประเด็นการพัฒนา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด แนวทาง การพัฒนา 4. เสริมสร้างพลัง ทางสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี 4.1 พัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนสู่สังคมเป็น สุข ยาเสพติด 1) ร้อยละของหมู่บ้าน ชุมชน ที่ไม่พบปัญหายาเสพติด (จากฐานปี 2564) (ร้อยละ 5.5/ปี) 4.1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการ รักษาความปลอดภัยและสร้าง ความมั่นคงในชีวิตและ ทรัพย์สิน คดี 2) อัตราคดีต่อประชากรแสนคน ลดลง (คดีอาชญากรรม กลุ่มคดี 1: คดีความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกายและเพศ และ 2 คดี ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์) : (ร้อย ละ 5 ปี) ระดับความสำเร็จของ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของ ประชากรไทย (อายุ 15-99 ปี) 4.1.2 ขจัดความยากจนและ พัฒนาคนทุกช่วงวัยตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4) ค่าเฉลี่ย O-net ม.3 ที่ เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 1/ปี) 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก และเยาวชนเพื่อเพิ่มความสามารถใน การแข่งขัน 5) สัดส่วนการเข้าศึกษาต่อใน สายอาชีวศึกษาต่อสายสามัญ (เพิ่มขึ้นปีละ 0.05) สุขภาวะ 6) ร้อยละของสถานบริการ สุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานที่ กำหนด (HA) ร้อยละ 100 4.1.4 ยกระดับบริการสาธารณสุข และส่งเสริมการแพทย์แผน ไทยและการแพทย์ทางเลือก