The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลรายงานการสาธิตการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Llitaa 123, 2021-01-03 09:05:35

สรุปผลรายงานการสาธิตการสอน

สรุปผลรายงานการสาธิตการสอน

สรุปผลรายงานการสาธิตการสอน
เร่ือง การจดั กิจกรรมตามแนวคดิ ความสุข 5 มติ ิ ดา้ นท่ี 2 สุขสนกุ

จัดทาโดย

นางสาวลลติ า หว่านพชื
รหสั นกั ศึกษา 620610368

เสนอ
อาจารย์ ดร. พรรณภัทร ปล่งั ศรเี จริญสขุ

อาจารย์บญุ มา เขียววิชัย

รายวชิ า 469201 เทคนคิ การสอนผู้ใหญ่

ภาคการศกึ ษาต้น ปกี ารศึกษา 2563
คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าการศกึ ษาตลอดชวี ติ

มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

คานา

รายงานการสังเกตการสอนฉบับนี้เป็นส่วนหน่ึงของวิชา 469201 เทคนิคการสอนผู้ใหญ่
จัดทาข้นึ เพือ่ สรุปขอ้ มลู จากการสาธิตการสอนในรายวิชานี้ ในรายงานประกอบด้วยแผนการจัดการ
เรียนรู้ เนอ้ื หาโดยสรุปเกย่ี วกับเรอ่ื งทน่ี ามาสาธติ การสอน เนอื้ หาโดยสรุปเกี่ยวกับวิธีการและเทคนิค
การสอนท่ีนาใช้ในการสาธิต ประสบการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสาธิต ผลประเมินการสอน
ประมวลภาพการสาธิตการสอน และเอกสารอ้างอิง

ผจู้ ัดทาขอขอบคุณ อาจารย์ ดร.พรรณภัทร ปลั่งศรีเจริญสุข และอาจารย์บุญมา เขียววิชัย
ที่ปรกึ ษารายวชิ า ที่ให้คาแนะนาและแนวทางในการสาธิตการสอนครั้งน้ี ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า
รายงานฉบับนจี้ ะเปน็ ประโยชน์แก่ผู้อ่านและผู้ท่ีสนใจ

สารบัญ หนา้
เรอื่ ง 1
แผนการจดั การเรียนรู้ 2
เนอ้ื หาโดยสรปุ เกยี่ วกับเร่ืองที่นามาสาธิตการสอน 9
เน้ือหาโดยสรปุ เก่ยี วกบั วธิ กี ารและเทคนิคการสอนท่ีนาใชใ้ นการสาธิต 10
ประสบการณ์และสงิ่ ทไี่ ดเ้ รียนรจู้ ากการสาธิต 10
ผลประเมินการสอน 11
ประมวลภาพการสาธิตการสอน 13
แผนการสอน/การจัดกจิ กรรมต้นแบบ 14
เอกสารอา้ งอิง 15
ภาคผนวก

1

แผนการจดั การเรยี นรู้
“การจัดกจิ กรรมตามแนวคิดความสุข 5 มติ ิ ดา้ นที่ 2 สุขสนุก”
สาระสาคญั
การจดั กจิ กรรมตามแนวคิดความสุข 5 มติ ิ ด้านท่ี 2 สขุ สนุก (Recreation)
กลุ่มเปา้ หมาย
ผทู้ ่มี ีส่วนเกีย่ วข้องในการทางานเกย่ี วกับผสู้ ูงอายุ
วตั ถุประสงค์
1. สามารถอธบิ ายแนวคดิ ตามความสขุ 5 มิติ ด้านท่ี 2 สุขสนกุ ได้
2. สามารถระบุกิจกรรมท่เี กย่ี วข้องกับแนวคิดตามความสขุ 5 มิติ ดา้ นท่ี 2 สขุ สนกุ ได้
3. บอกถงึ ประโยชนข์ องกิจกรรมตามแนวคิดความสขุ 5 มิติ ด้านที่ 2 สขุ สนกุ ได้
4. สามารถออกแบบกจิ กรรมตามแนวคดิ ความสุข 5 มติ ิ ดา้ นที่ 2 สุขสนุกได้
เนอ้ื หา
1. เรื่องทฤษฎกี จิ กรรมของผู้สงู อายุ (The Activity Theory of Aging)
2. เร่อื งแนวคิดตามความสขุ 5 มติ ิ
3. เรอื่ งการจัดกิจกรรมตามแนวคิดความสขุ 5 มิติ ด้านที่ 2 สุขสนุก (ตัวอยา่ งกิจกรรม)
วิธีการ
- การบรรยายเนือ้ หาประกอบ PowerPoint
- สาธิตตัวอย่างกจิ กรรมทใี่ ช้ในการจัดกจิ กรรมตามแนวคดิ ความสขุ 5 มิติ ด้านที่ 2 สุขสนุก
ให้ผ้ทู เ่ี ขา้ รว่ มฝกึ อบรมไดล้ องเลน่ โดยใหผ้ เู้ ข้ารว่ มสมมุติตนเองเป็นผสู้ งู อายุ

2

ขั้นตอนการฝกึ อบรม
ข้นั ที่ 1 ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น
- ชแี้ จงเกยี่ วกบั การจดั กจิ กรรมสาหรบั ผสู้ งู อายุ
- เกร่ินนาเขา้ สบู่ ทเรยี นดว้ ยการตงั้ คาถาม “ท่านมวี ิธกี ารเลอื กกิจกรรมทเ่ี หมาะสมกบั การจัด

กจิ กรรมสาหรบั ผสู้ ูงอายอุ ย่างไร
ขัน้ ท่ี 2 ขนั้ จดั การเรียนรู้

1. บรรยายหวั ข้อทฤษฎีกิจกรรมของผ้สู งู อายุ แนวคิดตามความสุข 5 มิติ และการจัด
กิจกรรมตามแนวคดิ ความสุข 5 มติ ิ ดา้ นที่ 2 สขุ สนกุ

2. สาธิตกิจกรรมตามแนวคิด ความสุข 5 มติ ิ ดา้ นที่ 2 สุขสนุก
- ช้ีแจงถงึ วตั ถุประสงค์การสาธิต และใหผ้ ู้เขา้ ร่วมสมมตุ ิวา่ ตนเองเปน็ ผู้สงู อายุ
- ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมเลน่ กจิ กรรมตามแนวคิดความสุข 5 มิติ ด้านท่ี 2 สขุ สนกุ โดยใช้

เปน็ กจิ กรรม ตาบอดคลาช้าง
- ในการเลน่ กจิ กรรมจะมีคาถามอยู่ในกล่องปรศิ นาที่นามาใชเ้ ปน็ อปุ กรณใ์ นการจดั ให้

แตล่ ะกลมุ่ ช่วยกันตอบคาถาม โดยใช้แนวคิดท่บี รรยายมากอ่ นหนา้ น้ีมาพจิ ารณา

ทรัพยากรการเรยี นรู้ (สอ่ื การเรยี นร/ู้ อปุ กรณ์)
1. PowerPoint ประกอบการบรรยายเน้ือหา
2. อปุ กรณ์ในการทดลองเล่นกจิ กรรม (กิจกรรมท่ี 2 ตาบอดคลาชา้ ง)
2.1 กลอ่ งทบึ สาหรบั ใส่ของ (จานวน 2 กลอ่ ง)

3

2.2 สง่ิ ของในกล่อง คอื ปากกา ยางลบ ดินสอ ไมบ้ รรทัด ลกู บอล ลูกอม ยางวง
กระดาษชิ้นเลก็ กระดาษทิชชู่ เหรียญ ซองขนม ไฮไลท์ ฝาขวด ขวดครีมตา่ ง ๆ (จานวน
อย่างละ 2 ชิน้ )
*สิ่งของทีน่ ามาใส่ในกล่องในขอ้ 2 สามารถเปล่ียนแปลงได้ แลว้ แตว่ ทิ ยากรจะกาหนด

2.3 แบบคาถามทใี่ ชใ้ นการเล่นกจิ กรรม
การวัดผล

สังเกตการฟัง การมสี ่วนร่วมในการทากจิ กรรม การตอบคาถาม และการประเมินของ
ผูเ้ ขา้ รว่ มการฝกึ อบรม

การประเมนิ ผล
ผูเ้ ข้ารว่ มการฝึกอบรมสามารถตอบคาถามไดร้ อ้ ยละ 80

4

เนื้อหาโดยสรปุ เรอ่ื ง “การจดั กจิ กรรมตามแนวคดิ ความสุข 5 มติ ิ ด้านที่ 2 สุขสนุก”

1. ทฤษฎีกิจกรรมของผ้สู งู อายุ (The Activity Theory of Aging)

ทฤษฎีกิจกรรมอธิบายว่า เม่ือบุคคลมีอายุมากขึ้นสถานภาพทางสังคมจะลดลงพร้อมกับ
บทบาทเก่า แตผ่ ู้สงู อายยุ ังมีความต้องการทางสังคม ความพอใจในการร่วมกจิ กรรม มคี วามสนใจและ
ร่วมเปน็ สมาชิกในกิจกรรมต่างๆ ความสุขของผูส้ งู อายุจึงสัมพันธ์กบั การมีบทบาทหรือความสมารถใน
การดารงกจิ กรรมทางสังคม ทั้งนท้ี ฤษฎกี ิจกรรมเป็นทฤษฎที ี่เกยี่ วกับการสงู อายใุ นเชิงสงั คมวิทยา ซ่ึง
คานึงถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านสงั คม ในส่วนทเี่ กีย่ วข้องกบั กระบวนการสงู อายุ และมีผลกระทบตอ่
กัน นักทฤษฎีกจิ กรรมในระยะเริ่มต้น ได้แก่ เบอร์เกส (Burgess อา้ งถึงใน สุรกลุ เจนอบรม, 2534) ท่ี
เช่ือว่า การทีผ่ ู้สูงอายุลดบทบาททางสังคมของตนเองลงทาใหไ้ ม่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและไม่ได้รับ
การสนับสนุนจากสังคม เป็นผลให้พวกเขาเหล่านั้นไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ต่อมาใน ค.ศ.
1968 ทฤษฎีน้ไี ด้รบั การยกย่องอยา่ งกว้างขวาง จากการนาเสนอของฮาร์วิกเฮิร์ต (Harvighurst อ้าง
ถึงใน วนิดา ทองปล้อง, 2546) ที่กล่าวว่า ผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมหรือมีภารกิจปฏิบัติสม่าเสมอ มี
บคุ ลกิ ภาพกระฉับกระเฉง จะทาให้เกิดความพงึ พอใจในชีวิตและปรบั ตัวได้ดีกว่าผู้สูงอายุท่ีปราศจาก
กิจกรรมหรือบทบาทภารกิจหนา้ ทีใ่ ดๆ ผูส้ งู อายทุ ่ีสามารถรกั ษาระดับกิจกรรมของตนไว้ตามบทบาท
และสถานภาพจะรู้สึกว่าตนเองเป็นบุคคลที่มีคุณค่าเป็นท่ียอมรับของสังคม ทาให้มีความสุขและมี
ความพึงพอใจในชีวิต

แนวคิดเร่อื งการร่วมกจิ กรรมของผู้สูงอายุข้างต้นสอดคล้องกับ เดคเคอร์ (Decker, 1980 :
131-135 อ้างถึงใน กรรณิการ์ เจริญลักษณ์, 2545 : 65) ที่ว่า กิจกรรมเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญ
สาหรับบุคคลทุกวัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุจะทาให้สุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ การท่ีผู้สูงอายุมี
กิจกรรมจะทาใหผ้ สู้ ูงอายนุ ัน้ คงบทบาทและสถานภาพของตนเองไว้ ทาให้รู้สึกว่ามีคุณค่าและเป็นที่
ยอมรับของสังคม และบรรลุ ศิริพานิช (2533) ท่ีกล่าวว่า เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุหรือเกษียณอายุแล้ว
เวลาว่างมมี าก กิจกรรมในยามว่าง กิจกรรมนันทนาการ หรือการเรียนรู้สิ่งใหม่ หรือการให้บริการ
ผูอ้ น่ื จะนาความพึงพอใจมาให้ ทาใหร้ สู้ ึกมชี ีวิตชีวาและมคี วามหมาย

กล่าวโดยสรปุ ได้ว่า การทากจิ กรรมต่างๆ มีส่วนสาคัญทีจ่ ะทาให้ผูส้ ูงอายุได้มีโอกาสแสดง

5

ศกั ยภาพในการแสดงบทบาทในสังคม รู้สกึ ว่าตนมคี ุณค่า เป็นประโยชน์ต่อสังคม เกิดความพงึ พอใจ

ในชีวิตของตนเอง ดังนั้นหากผู้สูงอายุมีโอกาสในการทากิจกรรมต่างๆ ได้หลากหลาย ย่อมจะเป็น
หนทางทีท่ าให้ผสู้ ูงอายสุ มารถปรับตัวกับการเปลย่ี นแปลงต่างๆ ทง้ั ภายในตวั เองและรอบตวั ได้มาก

ขน้ึ และมคี วามพึงพอใจในชีวิตของตนสูงข้ึน

(อ้างอิงจาก : จิตตรา มาคะผล และคณะ. (2562) การพัฒนารูปแบบมหาลัยวัยที่สาม คณะ
ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร สาหรบั การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของผ้สู งู อายุ. รายงานการ
วิจยั และพัฒนา สาขาวิชาการศึกษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. หนา้ 15 ทฤษฏีกิจกรรมของผู้สงู อายุ)

2. แนวคิดตามความสุข 5 มิติ

ในการพฒั นาความสุขเชงิ จิตวทิ ยาในผสู้ งู อายนุ ัน้ จาเปน็ ตอ้ งนิยามความสุขที่พร้อมจะนามา
ปฏิบตั ิและสามารถวัดในเชิงสัมพันธ์ได้ จึงจะทาให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีซ่ึง กรม
สุขภาพจติ โดย นพ.สจุ รติ สุวรรณชพี รว่ มกับ สานกั พัฒนาสุขภาพจิตกรมสุขภาพจิตไดก้ าหนดนิยาม
ความสุขของผู้สงู อายุ ในเชิงจติ วทิ ยาเป็น 5 ดา้ น ดงั นี้

ด้านที่ 1 : สุขสบาย (Health) หมายถึง ความสามารถของผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพ
รา่ งกาย ใหม้ สี มรรถภาพรา่ งกายทีแ่ ขง็ แรง คลอ่ งแคล่ว มีกาลัง สามารถตอบสนองต่อความต้องการ
ทางกายภาพได้ตามสภาพท่ีเปน็ อยู่ มีเศรษฐกิจหรอื ปจั จยั ท่จี าเป็นพอเพยี ง ไม่มีอุบัติภัยหรืออันตราย
มสี ภาพแวดลอ้ มทส่ี ง่ เสรมิ สุขภาพ ไม่ตดิ ส่ิงเสพตดิ

ด้านที่ 2 : สขุ สนุก (Recreation) หมายถงึ ความสามารถของผู้สูงอายุในการเลือกวิถีชีวิตที่
รื่นรมย์สนุกสนาน ด้วยการทากิจกรรมทกี่ อ่ ให้เกิดอารมณ์เป็นสุข จิตใจสดชืน่ แจม่ ใส กระปร้ีกระเปร่า
มคี ุณภาพชวี ติ ทดี่ ี ซ่ึงกิจกรรมทเี่ หลา่ นีส้ ามารถ ลดความซึมเศร้า ความเครยี ดและความวติ กกังวลได้

ดา้ นท่ี 3 : สุขสงา่ (Integrity) หมายถงึ ความร้สู ึกพึงพอใจในชีวิต ความภาคภูมิใจในตนเอง
ความเช่อื มั่นในตนเอง เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง การยอมรบั นบั ถือตนเอง ให้กาลังใจตนเองได้ เห็นอกเห็น
ใจผอู้ น่ื มีลกั ษณะเอ้ือเฟอ้ื แบง่ ปัน และมีส่วนรว่ มในการช่วยเหลือผอู้ ่ืนในสังคม

6

ด้านที่ 4 : สขุ สว่าง (Cognition) หมายถึง ความสามารถของผู้สูงอายุด้านความจา ความคิด
คิดอย่างมีเหตุมีผล มีการสื่อสาร การวางแผนและการแก้ไขปัญหา ความสามารถในการคิดแบบ
นามธรรม รวมทั้งความสามารถในการจัดการสิง่ ต่างๆ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

ด้านที่ 5 : สุขสงบ (Peacefulness) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการรับรู้-เข้าใจ
ความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และสามารถจัดการกับสภาวะอารมณ์ท่ีเกิดข้ึนได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ สามารถผ่อนคลายให้เกิดความสขุ สงบกบั ตนเองไดร้ วมท้ังความสามารถในการปรับตัว
ยอมรบั สภาพส่งิ ท่ีเกิดข้นึ ตามความเป็นจริง

(อ้างอิงจาก : กองส่งเสรมิ และพัฒนาสุขภาพจติ . (2560) คู่มือวิทยากรจัดกิจกรรมสร้างสขุ 5 มติ ิ สา
หรับผู้สูงอายุ. กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. หน้า13
แนวคดิ เรือ่ งความสุข 5 มติ )ิ

3. การจดั กจิ กรรมตามแนวคิดความสุข 5 มิติ ด้านที่ 2 สุขสนุก (Recreation)

ปญั หาท่พี บเสมอในผ้สู ูงอายุคือความเหงา ว้าเหว่ ซึมเศร้า และขาดกิจกรรมที่จะช่วยทาให้
ชวี ิตมีสสี นั หรอื ขาดกจิ กรรมขณะรวมกลุ่มในสถานบริการ/ในชมรมเป็นต้น กิจกรรมสุขสนุกจึงเป็น
กจิ กรรมเสริมทที่ า ใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลินเมอื่ มีการรวมกลมุ่ ของผสู้ ูงอายุหรอื บางกิจกรรมกเ็ หมาะสม
ในการทากิจกรรมเป็นรายบุคคลและสามารถนากลับไปใช้กับคนในครอบครัวเพ่ือเสริมสร้าง
สมั พันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัวกับผู้สูงอายุได้ ท้ังนี้ในการเลือกกิจกรรมเพ่ือแนะนาให้กับ
ผู้สูงอายขุ ้นึ อย่กู ับดุลยพินิจของวิทยากรหรือความชอบของผู้สูงอายุเป็นหลัก และไม่มีข้อจากัดของ
จานวนหรือประเภทกจิ กรรมทจ่ี ะดาเนนิ การ แต่วทิ ยากรควรเน้นเรื่องการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุต่อ
กจิ กรรมท่จี ดั ขนึ้ เพื่อสร้างความรู้สึกถึงการมีส่วนร่วม ลดการแยกตัวและเพิ่มการมีปฏิสัมพันธ์ของ
ผสู้ งู อายุกับเพ่อื นๆ ในกลุ่ม ซง่ึ เป็นการสรา้ งสงั คมใหก้ บั ผสู้ งู อายทุ ต่ี ิดสงั คม และส่งเสรมิ คุณภาพชีวติ ที่
ดเี พื่อชีวิตให้ยืนยาว

กจิ กรรม เน้นไปทก่ี ารจดั กจิ กรรมนันทนาการ ทสี่ รา้ งความสดชน่ื สรา้ งพลัง ความมีชีวิตชีวา
อยา่ งสร้างสรรค์และดงี ามในรูปแบบของการทากิจกรรม การแสดงออกในด้านกีฬาดนตรีศิลปะงาน
อดเิ รก เป็นต้น และเป็นกิจกรรมท่ีทาในเวลาว่าง ทาด้วยความสมัครใจ อาจทากิจกรรมได้ทั้งเดี่ยว
หรอื การรวมกลุม่

7

รูปแบบการจดั กิจกรรมสขุ สนกุ ในผสู้ งู อายุ
กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมราสวย
ประเภทกจิ กรรม กิจกรรมเป็นทมี นอก/ในสถานท่ี
วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ความสนกุ สนาน ได้เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ใหผ้ ู้สูงอายไุ ดร้ าวงอีกครงั้
วธิ ีการเล่น
1. วทิ ยากรเปดิ เพลงราวง (1-2 เพลง)
2. ใหผ้ สู้ ูงอายุยนื เป็นวงกลม และราวง สมาชกิ โหวต ใครราสวยคนนัน้ ชนะ
กจิ กรรมที่ 2 ตาบอดคลาช้าง
ประเภทกิจกรรม กิจกรรมเป็นทมี นอกสถานท่ี (outdoorteam)
วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อความสนกุ สนาน ทางานเปน็ ทีม วางแผนรว่ มกนั
วธิ ีการเลน่
1. แบ่งผ้สู ูงอายุเป็น 2 ทีม
2. ให้ผู้สูงอายุควานหาของท่ีกาหนดในกล่องที่เตรียมไว้ โดยแข่งกันทีละคู่จาก
ตวั แทนของแตล่ ะทมี
3. ทีมทีส่ ามารถหาของไดถ้ ูกต้องและใช้เวลาน้อยทีส่ ดุ เปน็ ผู้ชนะ
*คาแนะนาส่งิ ของที่นา มาทา เป็นปริศนาแลว้ แต่วิทยากรจะกาหนด
กิจกรรมที่ 3 เกมร้องเพลง
ประเภทกจิ กรรม ภายใน/ภายนอกสถานที่
วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ฟ้นื ฟูความจา ไดค้ วามพอใจ ความสขุ ใจ
วธิ กี าร

8

1. แจกเนอื้ รอ้ งเพลงให้ผู้สงู อายุ
2. ให้ผสู้ งู อายุฝกึ ร้องตาม อาจเล่นดนตรีประกอบ(พณิ แคน ขล่ยุ ฯลฯ) หรอื ไม่มกี ไ็ ด้
3. เนื้อเพลงตามความพอใจของผู้สงู อายุ
กจิ กรรมท่ี 4 เกมปาร์ต้วี ันเกดิ
ประเภทกิจกรรม ภายในสถานที่
วัตถุประสงค์ เพ่อื การรจู้ ักการอยู่รว่ มกนั ในสังคมและยอมรับผูอ้ ืน่
วิธีการเลน่
1. ให้ผสู้ งู อายเุ ตรยี มจดั งานวนั เกดิ ให้กบั เพอ่ื นทเ่ี กดิ ในเดอื นตา่ ง ๆ
2. ใหผ้ ู้สูงอายุร่วมทาการ์ดวนั เกดิ ให้เพื่อน (อปุ กรณ์แลว้ แตจ่ ะเลือก)
กิจกรรมที่ 5 กจิ กรรมตามบริบทและความถนดั ของผูส้ งู อายใุ นแต่ละพ้นื ที่

(อา้ งอิงจาก : กองสง่ เสริมและพฒั นาสขุ ภาพจิต. (2560) คู่มอื วทิ ยากรจดั กจิ กรรมสร้างสุข 5 มิติ สา
หรบั ผ้สู ูงอายุ. กองส่งเสริมและพฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข. หน้า33 การ
จัดกิจกรรมดา้ นท่ี 2 : สุขสนุก)

9

เทคนคิ และวธิ ีและเทคนคิ ทีน่ ามาสาธิตการสอน

- ด้านเนือ้ หา

เนอ้ื หา เทคนิคและวิธที ใ่ี ช้ ระยะเวลา
3 นาที
1. ทฤษฎีกิจกรรมของ - บรรยาย
ผสู้ งู อายุ (The Activity - บรรยาย 2 นาที
Theory of Aging)
5 นาที
2. แนวคดิ ตามความสขุ
5 มิติ

3. การจัดกิจกรรมตาม - บรรยาย
แนวคดิ ความสขุ 5 มิติ ดา้ นที่ 2
สุขสนุก (Recreation)

- ด้านกิจกรรม

กจิ กรรม เทคนิคและวิธที ี่ใช้ ระยะเวลา
10 นาที
1. สาธติ กิจกรรมตาม - เกม (ตาบอดคลาช้าง)
แนวคดิ ความสขุ 5 มติ ิ ดา้ นที่
2 สขุ สนกุ

10

ประสบการณ์และสิง่ ท่ีไดจ้ ากการสาธิตการสอนครัง้ น้ี

จากการสาธติ การสอนคร้งั น้ไี ดร้ ู้วิธีการทาแผนการสอนมากขน้ึ ทัง้ ในด้านเน้ือหา เทคนิค
วิธีการ กิจกรรม และรายละเอยี ดตา่ งๆทนี่ าใช้ เพ่ือให้เหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการพรเี ซ้นต์
หน้าชัน้ เรยี น การทาสอื่ /อปุ กรณท์ จ่ี ะนามาใชใ้ นการสาธิตด้วย

ผลประเมนิ การสอน

จากการสาธติ การสอนคร้ังน้ี คา่ เฉล่ียผลประเมินกิจกรรมจากการทาแบบประเมิน เป็นดังน้ี

1. ไดร้ ับความรูใ้ นเรอ่ื งของการจดั กจิ กรรมตามแนวคิดความสขุ 5 มิติ อยู่ในระดบั มากทีส่ ุด

ด้านท่ี 2 สขุ สนกุ

2. มคี วามเหน็ ว่ากิจกรรมทจี่ ดั มปี ระโยชนต์ อ่ ตนเอง อยใู่ นระดับ มากที่สุด

3. เนื้อหาในการฝกึ อบรมชดั เจน และครอบคลมุ อยใู่ นระดับ มากที่สุด

4. กจิ กรรมทจ่ี ัดสามารถนาไปใช้ได้จรงิ อยูใ่ นระดบั มากทส่ี ดุ

5. เห็นความสาคญั ของการจดั กิจกรรมเก่ยี วกับผู้สงู อายุ อย่ใู นระดับ มากท่สี ดุ

6. กจิ กรรมทีย่ กตวั อย่างมคี วามสนกุ สนาน สอดคล้องกบั เนอ้ื หา อยู่ในระดับ มากท่สี ดุ

การฝกึ อบรม

7. กจิ กรรมทย่ี กตวั อยา่ งมีความเหมาะสมกบั เนือ้ หาทีจ่ ดั อยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ

8. ระยะเวลาในการฝึกอบรบมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ มากที่สดุ

11

ประมวลภาพสาธติ การสอน
ข้นั ที่ 1 ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน

- ช้แี จงเกี่ยวกบั การจัดกจิ กรรมสาหรบั ผสู้ ูงอายุ

- เกริน่ นาเขา้ สบู่ ทเรยี นด้วยการตงั้ คาถาม “ท่านมวี ธิ ีการเลอื กกจิ กรรมทเ่ี หมาะสมกับการจดั
กจิ กรรมสาหรบั ผสู้ ูงอายอุ ยา่ งไร”

ขนั้ ท่ี 2 ขั้นจัดการเรียนรู้

12

1. บรรยายหวั ขอ้ ทฤษฎกี จิ กรรมของผสู้ งู อายุ แนวคดิ ตามความสขุ 5 มติ ิ และการจดั
กจิ กรรมตามแนวคดิ ความสุข 5 มติ ิ ดา้ นที่ 2 สขุ สนกุ

2. สาธิตกิจกรรมตามแนวคดิ ความสุข 5 มิติ ด้านที่ 2 สขุ สนกุ
- ชแ้ี จงถึงวัตถปุ ระสงคก์ ารสาธติ และใหผ้ ู้เขา้ ร่วมสมมุตวิ ่าตนเองเปน็ ผสู้ งู อายุ
- ให้ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมเลน่ กิจกรรมตามแนวคิดความสขุ 5 มติ ิ ดา้ นท่ี 2 สุขสนุก โดยใช้

เป็นกจิ กรรม ตาบอดคลาช้าง
- ในการเลน่ กจิ กรรมจะมคี าถามอยใู่ นกล่องปริศนาทนี่ ามาใช้เปน็ อปุ กรณ์ในการจัด ให้

แตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกันตอบคาถาม โดยใชแ้ นวคิดท่ีบรรยายมากอ่ นหน้านี้มาพจิ ารณา
ข้ันท่ี 3 การทาแบบประเมินความพึงพอใจ

13

แผนการสอน/การจดั กจิ กรรมต้นแบบ
เน้ือหา และกิจกรรมอ้างอิงมาจากหนังสือเร่ือง การพัฒนารูปแบบมหาลัยวัยท่ีสาม คณะ

ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาหรับการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ (เร่ืองทฤษฏี
กิจกรรมของผู้สูงอายุ) และหนังสือคู่มือวิทยากรจัดกิจกรรมสร้างสุข 5 มิติ สาหรับผู้สูงอายุ (เร่ือง
แนวคดิ ตามความสุข 5 มิติ และเรื่องการจดั กิจกรรมดา้ นท่ี 2 : สุขสนกุ )

14

เอกสารอ้างอิง

จิตตรา มาคะผล และคณะ. (2562) การพัฒนารูปแบบมหาลัยวัยที่สาม คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร สาหรับการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ. รายงานการวิจัยและ
พฒั นา สาขาวชิ าการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. หน้า15 ทฤษฏกี จิ กรรมของผสู้ ูงอาย)ุ

กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต. (2560) คู่มือวิทยากรจัดกิจกรรมสร้างสุข 5 มิติ สา หรับ
ผสู้ ูงอายุ. กองสง่ เสรมิ และพฒั นาสุขภาพจติ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. หน้า13 แนวคิด
เรอ่ื งความสุข 5 มติ )ิ

กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต. (2560) คู่มือวิทยากรจัดกิจกรรมสร้างสุข 5 มิติ สา หรับ
ผสู้ ูงอายุ. กองส่งเสรมิ และพัฒนาสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. หน้า33 การจัด
กิจกรรมดา้ นที่ 2 : สขุ สนกุ )

15

ภาคผนวก

แบบประเมิน“การจัดกจิ กรรมตามแนวคดิ ความสขุ 5 มติ ิ ด้านที่ 2 สขุ สนุก”

16

แบบประเมิน“การจัดกจิ กรรมตามแนวคดิ ความสุข 5 มติ ิ ด้านท่ี 2 สขุ สนกุ ”

คาชแ้ี จง ใหผ้ ตู้ อบแบบประเมนิ ทาเครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งทีต่ รงตามความเห็นของทา่ น

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปเกีย่ วกบั ผู้ตอบแบบประเมิน

 เพศหญงิ  เพศชาย

ตอนที่ 2 การประเมินความพงึ พอใจในการเข้าร่วมการฝกึ อบรม

ระดบั ผลของการประเมนิ มี 5 ระดบั มคี วามหมายดังน้ี

5 = มากทส่ี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยท่สี ดุ

ระดบั ผลการประเมินความพึงพอใจ

รายการ จากการเขา้ รว่ มการฝึกอบรม

5 4 3 21

1. ท่านได้รับความรู้ในเร่ืองของ การจัด
กจิ กรรมตามแนวคดิ ความสขุ 5 มิติ ดา้ นที่ 2 สขุ สนกุ

2. ท่านมีความเห็นว่ากิจกรรมทจ่ี ัดมีประโยชน์
ต่อตนเอง

3. เน้ือหาในการฝึกอบรมชัดเจน และ
ครอบคลุม

4. กิจกรรมทจี่ ดั สามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริง

5. ท่านเห็นความสาคัญของการจัดกิจกรรม
เกย่ี วกบั ผู้สงู อายุ

6. กิจกรรมที่ยกตัวอย่างมีความสนุกสนาน

17

สอดคล้องกบั เนือ้ หาการฝึกอบรม

7. กจิ กรรมทยี่ กตัวอย่างมีความเหมาะสมกับ
เนอ้ื หาทจ่ี ัด

8. ร ะยะเ วลาใ นกา รฝึกอ บรบมี ควา ม
เหมาะสม

ภาพรวมความพงึ พอใจของกจิ กรรม

ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ

................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version