The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาการแพทย์ฉุกเฉิน,การเสนารักษ์ และการช่วยชีวิตเชิงยุทธวิธีขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by armynco2665, 2022-07-11 09:09:48

วิชาการแพทย์ฉุกเฉิน,การเสนารักษ์ และการช่วยชีวิตเชิงยุทธวิธีขั้นพื้นฐาน

วิชาการแพทย์ฉุกเฉิน,การเสนารักษ์ และการช่วยชีวิตเชิงยุทธวิธีขั้นพื้นฐาน

- 95 -

- การรกั ษาจังหวะการเตน้ ของหัวใจ
- การป้องกนั และควบคมุ การชอ็ ค
- การปกป้องบาดแผลจากการปนเปื้อน เมื่อสงสัยว่ามีกระดูกหัก ควรทำการเข้าเฝือก ต้องมีความ
ระมดั ระวงั กระดูกท่แี ตก หรือ ร้าวนนั้ จะไป ทิม่ หรือ ตดั กล้ามเน้ือ เส้นเลอื ด เสน้ ประสาท หรอื ผวิ หนัง

คำถามท้ายบท
1. การดแู ลผ้บู าดเจ็บทางยุทธวธิ แี บง่ เป็นกรี่ ะยะอะไรบา้ ง ?
2. ความแตกตา่ งของการดูแลกอ่ นถงึ รพ. ระหวา่ งทหารกับพลเรอื นคือ ?
3. แนวทางการดูแลผบู้ าดเจ็บระหวา่ งการปะทะ ต้องปฏบิ ตั ิอย่างไร ?
4. การห้ามเลอื ดระหว่างการปะทะจะทำการด้วยสายรัดหา้ มเลอื ดในตำแหนง่ ใด ?
5. การห้ามเลือดระหว่างการปะทะจะใช้อปุ กรณ์ประจำกายจากใคร ?
6. การดูในพน้ื ทห่ี ลงั การปะทะมีข้นั ตอนปฏิบัติอย่างไร ?
7. การดแู ลเบ้ืองตน้ ด้วยการปดิ แผลเปิดบริเวณหน้าอกปฏบิ ตั อิ ย่างไร ?
8. การหา้ มเลอื ดในพนื้ ท่หี ลงั การปะทะปฏบิ ตั ิเพมิ่ เตมิ อยา่ งไร ?
9. ขนั้ ตอนการปฏิบัตใิ นระยะ Tactical Field Care เมอ่ื ถงึ ที่ปลอดภัย คอื ?
10. ปฏิบัตกิ ารสง่ กลบั ผู้บาดเจบ็ ทางยทุ ธวธิ มี ีขน้ั ตอนอย่างไรบ้าง ?

- 96 -

บทที่ 8

เนอ้ื หาเพิ่มเตมิ ทม่ี ีการปรับปรงุ ตามแถลงหลกั สตู ร ประจำปกี ารศึกษา 64
การชว่ ยเหลอื เบ้อื งต้นผู้ที่ถกู ความรอ้ นจากเปลวระเบิด

เพื่อให้สอดคล้องกับคู่มือทดสอบผู้ชำนาญการทหารราบ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562 แผลไฟไหม้
น้ำร้อนลวกหรือการถูกความร้อนจากเปลวระเบิด บาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก (Burns) เป็นบาดแผลที่เกิดจาก
อุบตั ิเหตทุ ี่พบไดบ้ ่อยท้งั ในเดก็ และผู้ใหญ่และจากสูร้ บ เปน็ ต้น ถ้าเปน็ เพยี งเลก็ น้อยจะมีอาการปวดแสบปวดร้อนพอ
ทนได้ และค่อยๆ หายไปได้เอง แต่ถ้าเป็นมาก คือ กินบริเวณกว้างและแผลมีขนาดลึก ก็มักจะมีภาวะแทรกซ้อน
ตามมาทำใหท้ พุ พลภาพหรือเสียชีวิตได้

สาเหตขุ องแผลไฟไหม้น้ำรอ้ นลวกหรือการถกู ความร้อนจากเปลวระเบดิ
บาดแผลชนิดนี้โดยมากมักจะเกิดจากความประมาทเลินเล่อ ขาดความระวัง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
หรอื เกิดจากอุบตั ิเหตุตา่ งๆ โดยสิ่งที่ทำให้เกิดบาดแผลไฟไหมน้ ้ำรอ้ นลวกที่พบไดม้ ดี งั นี้
1. ความร้อน เช่น ไฟ (เตาไฟ ตะเกียง พลุ ประทัด บุหรี่), วัตถุที่ร้อน (เตารีด จานชามที่ใส่
ของรอ้ น), นำ้ รอ้ น (กระตกิ น้ำ กาน้ำ ไอนำ้ หมอ้ น้ำ), นำ้ มนั รอ้ น ๆ (ในกระทะ) เปน็ ต้น
2. กระแสไฟฟ้า (ไฟฟา้ ชอ็ ต)
3. สารเคมี เชน่ กรด ดา่ ง เปลวระเบดิ เชน่ ที เอน็ ที โดนาไมท์ ซีโพร์ และแอมโมเนียน เปน็ ตน้
4. รังสี เช่น แสงแดด (แสงอัลตราไวโอเลต), รังสีโคบอลต์, รังสีเรเดียม, รังสีนิวเคลียร์, ระเบิด
ปรมาณู เป็นตน้
5. การเสยี ดสีอยา่ งรุนแรง
อาการแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกหรอื การถกู ความร้อนจากเปลวระเบดิ
อาการบาดเจ็บจะมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่หลายปัจจัย เช่น ระยะเวลาที่ผิวหนัง
สัมผัสกับความร้อน ขนาดความกว้างของบาดแผล ตำแหน่งของบาดแผล และความลึกของบาดแผลไฟไหมน้ ำ้ รอ้ น
ลวกนั้นๆ ขนาดความกว้างของบาดแผล หมายถึง บริเวณพื้นที่ของบาดแผล บาดแผลที่มีขนาดใหญ่ (กินบริเวณ
กว้าง) จะมีอันตรายกว่าบาดแผลที่มีขนาดเล็ก อาจทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำ โปรตีน และเกลือแร่ ถึงกับเกิดภาวะ
ชอ็ คได้ และอาจมีโอกาสติดเช้ือถึงขัน้ เปน็ โลหติ เป็นพษิ และเสยี ชวี ติ ได้
การประเมินขนาดกวา้ งของบาดแผล โดยทั่วไปนยิ มคิดเป็นเปอร์เซน็ ต์ของพื้นที่ผิวหนังท่วั ร่างกาย
ซึง่ ถ้าคิดแบบคร่าว ๆ ก็ให้เทียบเอาวา่ แผลขนาด 1 ฝา่ มอื ของผปู้ ่วย เท่ากับ 1% ของผิวหนังท่ัวร่างกาย เช่น ถา้ แผล
มขี นาดเทา่ กับ 5 ฝา่ มือ ก็คดิ เป็นประมาณ 5% เป็นตน้ ในทางการแพทย์ได้แบ่งเปอร์เซ็นต์ของผิวหนังตามส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายไว้เปน็ มาตรฐานทั้งในเดก็ และผูใ้ หญ่ เพื่อสะดวกตอ่ การคำนวณ เปอร์เซ็นต์บาดแผลไฟไหม้นำ้ ร้อนลวก
บาดแผลจากเปลวระเบิด ตำแหน่งของบาดแผล บาดแผลที่เกิดขึ้นที่มือหรอื ตามขอ้ พับตา่ ง ๆ อาจทำให้ข้อนิ้วมือ
และข้อพับตา่ งๆ มแี ผลเป็นดึงรั้ง ทำให้เหยียดออกไม่ได้ ถ้าบาดแผลเกิดข้ึนท่ีบริเวณใบหน้า อาจทำให้เป็นแผลเป็น

- 97 -

และเสียโฉมได้มาก ถ้าถูกบริเวณตา อาจทำให้ตาบอดได้ หรือถ้าสูดควันไฟเข้าไปใน ปอดในระหว่างท่ี
เกิดเหตุ ก็อาจทำใหเ้ ย่ือบุของทางเดินหายใจเกิดการอักเสบ กลายเป็นหลอดลมอักเสบและปอดอกั เสบ ซง่ึ ในกรณีน้ี
อาจรุนแรงถึงขั้นหายใจไม่ได้และเสียชีวิตได้ ความลึกของบาดแผล หรือ ดีกรีความลึกของบาดแผล (Degree of
burn wound) ผวิ หนังคนเราจะมีความลึก 2 ชั้น ไดแ้ ก่ ชัน้ หนังกำพรา้ (Epidermis) และช้นั หนังแท้ (Dermis) เรา
สามารถแบ่งบาดบาดแผลไฟไหม้นำ้ ร้อนลวกออกได้เป็น 3 ระดับ เพื่อใช้บอกถึงความรุนแรงของการบาดเจ็บ การ
วางแผนการรักษา และผลการรกั ษา ดงั นี้

ระดับที่ 1 (First degree burn) หมายถึง บาดแผลที่มีการทำลายของเซลล์หนังกำพร้าชั้นผิว
นอกเทา่ นน้ั หนงั กำพรา้ ชั้นในยังไม่ถูกทำลาย และยงั สามารถเจรญิ ข้ึนมาแทนทส่ี ่วนผวิ นอกได้ โดยปกติจะหายได้เร็ว
และสนิท และไมท่ ำใหเ้ กิดแผลเปน็ จึงมีโอกาสหายได้สนิท ยกเวน้ ในรายที่มีการติดเช้ืออกั เสบมักเกิดจากการถูกน้ำ
ร้อน ไอน้ำร้อนเดือด การถูกแดดเผา (อาบแดด) หรือถูกวัตถุที่ร้อนเพียงเฉียดๆ และไม่นาน ซึ่งผิวหนังส่วน
ที่เป็นบาดแผลจะมีลักษณะแดงบวมเล็กน้อย และมีความรู้สึกปวดแสบปวดร้อน แต่ไม่มีตุ่มพองหรือหนังหลุดออก
โดยบาดแผลระดับนี้จะไม่ทำให้เกิดการสูญเสียน้ำและโปรตีน จึงไม่ต้องคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของ ผิวหนังที่
เกิดบาดแผล และมักจะหายได้เองโดยไม่มีอันตรายร้ายแรงและไม่ทิ้งรอยแผลเป็นเอาไว้ ยกเว้นในรายที่มี
การติดเชื้อ ๖ (โดยทั่วไปจะใช้เวลารักษาประมาณ 7 วัน) แผลไฟไหม้ IMAGESOURCE : www.healthline.com,
www.gustrength.com, www.diffen.com

ระดับท่ี 2 (Second degree burn) สามารถแบ่งย่อยออกเป็น 2 ชนิด ไดแ้ กบ่ าดแผลระดับที่ 2
ชนิดตื้น (Superficial partial-thickness burns) คือ บาดแผลที่มีการทำลายของหนังกำพร้าทั้งชั้นผิวนอกและ
ชัน้ ในสดุ และหนงั แทส้ ่วนท่อี ยู่ตืน้ ๆ ใต้หนังกำพรา้ แตย่ ังมเี ซลล์ท่ีสามารถเจรญิ ขนึ้ มาทดแทนส่วนทต่ี ายได้จงึ หายได้
เร็วภายใน 2-3 สัปดาห์ และมักไม่ทำให้เกิดแผลเป็น (ยกเว้นในรายที่มีการติดเชื้อ) แต่ก็มีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิด
ร่องรอยผิดปกติของผิวหนังหรืออาจมีโอกาสเกิดแผลเป็นแผลหดรั้งตามมาได้ หากได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง โดย
บาดแผลระดบั นม้ี กั จะเกดิ จากการถกู เปลวไฟ หรอื ถูกของเหลวลวกใส่ อาการและบาดแผลโดยรวมจะมีลกั ษณะแดง
และพุพองเป็นตุ่มน้ำใสขนาดเล็กและใหญ่ ผิวหนังอาจหลุดลอกออกเห็นเป็นเนื้อสีชมพูหรือสีแดงๆ
มีนำ้ เหลอื งซึม และผูป้ ว่ ยจะรสู้ ึกปวดแสบปวดรอ้ นมาก เพราะเส้นประสาทบรเิ วณผวิ หนังยงั เหลืออยไู่ ม่ได้ถูกทำลาย
ไปมากนัก อาจทำให้สูญเสียน้ำ โปรตีน และเกลือแร่ และติดเชื้อได้ง่าย น้ำร้อนลวก บาดแผลระดับที่ 2 ชนิดลึก
(Deep partial-thickness burns) คือ บาดแผลที่มีการทำลายของหนังแท้ส่วนลึก ลักษณะบาดแผลจะตรงกันข้าม
กับบาดแผลระดบั ที่ 2 ชนิดตื้น คอื จะไมค่ ่อยมตี ุ่มพอง แผลเป็นสีเหลอื งขาว แหง้ และไม่คอ่ ยปวด บาดแผลชนิดนี้มี
โอกาสทำให้เกิดแผลเปน็ ได้แต่ไม่มาก ถา้ ไมม่ ีการตดิ เช้อื ซำ้ เติม โดยแผลมักจะหายไดภ้ ายใน 3-6 สัปดาห์ ซึ่งการใช้
ยาปฏิชวี นะเฉพาะท่จี ะชว่ ยทำให้แผลไมเ่ กดิ การติดเชือ้ ไดแ้ ผลนำ้ ร้อนลวก

ระดับที่ 3 (Third degree burn) หมายถึง บาดแผลที่มีการทำลายของหนังกำพร้าและหนังแท้
ทั้งหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อ ขุมขน และเซลล์ประสาท และอาจกินลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก ผู้ป่วยจึงมักไม่มี
ความรู้สึกเจ็บปวดทีบ่ าดแผลเนือ่ งจากเส้นประสาทที่อยู่บรเิ วณผิวหนงั แท้ถูกทำลายไปหมดมักเกิดจากไฟไหม้ หรือ

- 98 -

ถกู ของรอ้ นนาน ๆ หรือถกู ไฟฟา้ ช็อต ถอื เปน็ บาดแผลท่ีรา้ ยแรง เพราะอาจทำให้เกิดภาวะขาดนำ้ และติดเชื้อรุนแรง
ได้ ผิวหนังท้ังช้ันจะหลดุ ลอกออกเหน็ เปน็ เน้อื แดง ๆ หรือแดงสลับขาว หรือเปน็ เนื้อทไ่ี หม้เกรียม บาดแผลระดบั น้ีจะ
ไมห่ ายเอง แผลมกั จะหายยากและเปน็ แผลเป็น บางรายจะพบแผลเปน็ ท่ีมีลักษณะนนู มาก (Hypertrophic scar or
keloid) นอกจากนยี้ งั มีโอกาสเกิดแผลหดรงั้ ทำใหข้ ้อยึดตดิ ตามมาสงู มาก ถา้ ได้รบั การรักษาไม่ถูกตอ้ งไฟไหม้นำร้อน
ลวก ในการเกิดบาดแผลไฟไหม้นำ้ ร้อนลวก หรอื เปลวระเบิด แตล่ ะครั้ง อาจมีบาดแผลที่มีความลกึ ในระดบั ที่ต่างกัน
ในคนเดยี วกนั ได้ และบางคร้ังในระยะแรกอาจแยกบาดแผลระดับที่ 2 และ 3 ออกจากกันได้ไม่ชัด แต่อย่างไรก็ตาม
บาดแผลทงั้ 2 ระดับน้ีก็ลว้ นเป็นบาดแผลทมี่ ีอนั ตรายรนุ แรงท้งั สิน้ และตอ้ งคิดเปอรเ์ ซ็นต์ของผิวหนังที่เกิดบาดแผล
ดว้ ย
การปฐมพยาบาลแผลไฟไหมน้ ้ำร้อนลวกหรอื ถกู เปลวระเบดิ เบ้ืองตน้

เมื่อพบผทู้ ี่มบี าดแผลไฟไหมน้ ำ้ ร้อนลวกหรอื ถกู เปลวระเบิด ควรรีบชว่ ยเหลืออยา่ งเร่งดว่ น (ทันท)ี ดังนี้
บาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกหรือถกู เปลวระเบิดระดบั ท่ี 1

ใหล้ า้ งทำความสะอาดแผลด้วยนำ้ สะอาดอุณหภูมปิ กติ หรือเปิดนำ้ ให้ไหลผ่าน หรือแชอ่ วยั วะสว่ นที่
เป็นแผลลงในน้ำสะอาดประมาณ 15-20 นาที หรือจนกว่าอาการปวดแสบปวดร้อนจะลดลง (อาจใช้สบู่อ่อน ๆ ชะ
ลา้ งสง่ิ สกปรกออกไปก่อนและล้างด้วยน้ำสะอาด) โดยนำ้ ทใี่ ชแ้ ช่ควรเปน็ นำ้ ธรรมดาจากกอ๊ กน้ำ ไม่ควรใช้น้ำเย็นจัด
น้ำจากตูเ้ ยน็ หรือนำ้ แข็ง เพราะอาจทำให้บาดแผลลึกมากขึ้นได้ไมค่ วรใสต่ วั ยา ครีม หรือสารใด ๆ ทาหรือชโลมลง
บนบาดแผล ถ้ายังไม่แน่ใจในสรรพคุณที่ถูกต้องของยาชนิดนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้น้ำปลา กะปิ ปลาร้า
เครื่องปรุง ยาสีฟัน และยาหม่องทา เพราะสิ่งเหลา่ นี้จะทำให้เกิดอาการระคายเคืองต่อบาดแผล เพิ่มโอกาสการตดิ
เช้ือ และทำให้รักษาได้ยากข้ึนให้ปิดแผลดว้ ยผา้ ก๊อซหรือผ้าแหง้ สะอาดถ้ายังมอี าการปวดแสบปวดร้อน ผวิ หนงั มรี อย
ถลอก มีตมุ่ พองใส หรอื มีสขี องผวิ หนงั เปลีย่ นไป ควรรบี ไปพบแพทย์
บาดแผลไฟไหมน้ ้ำร้อนลวหรือถกู เปลวระเบิดกระดับท่ี 2

ให้ล้างแผลหรือแช่แผลด้วยน้ำสะอาดอุณหภูมิปกติด้วยวิธีดังที่กล่าวมา ใช้ผ้าสะอาดซับให้แห้ง
ทาดว้ ยยา (ถา้ มี) แลว้ ใช้ผา้ ก๊อซหรอื ผ้าแห้งสะอาดปิดแผลไวแ้ ผลท่ีเปน็ ตุ่มนำ้ ใส ไมค่ วรเอาเขม็ ไปเจาะเพ่อื ระบายเอา
น้ำออก เพราะเข็มที่ใช้อาจไม่สะอาด ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยติดเช้ือบาดทะยักหรือเกิดแผลอักเสบได้ถ้าบาดแผลเกิดมี
ขนาดกว้าง เช่น ประมาณ 10-15% (10-15 ฝ่ามือ) ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะช็อกได้อย่างรวดเร็ว หรือเกิด
บาดแผลที่บริเวณใบหน้า (รวมทั้งปากและจมูก) ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยหายใจได้ลำบาก หรือเกิดบาดแผลที่ตา หู มือ
เทา้ หรืออวัยวะสบื พันธ์ุ ซงึ่ อาจทำใหผ้ ู้ปว่ ยเกิดเป็นแผลเปน็ ไดง้ ่าย ควรรบี นำผูป้ ว่ ยส่งโรงพยาบาลทันที และในขณะ
ทรี่ อส่งโรงพยาบาล อาจชว่ ยเหลอื ผู้ป่วยในเบ้ืองตน้ ดว้ ยการเปล้อื งเส้ือผ้าของผู้ป่วยออกจากบรเิ วณท่ีถูกไฟไหม้หรือ
น้ำร้อนลวก ถ้าถอดออกลำบากให้ตัดออกเป็นชิ้น ๆ แต่ถ้าเสื้อผ้าติดกับบาดแผลแน่นอย่าดึงออก เพราะจะทำให้
ผิวหนังหลุดลอกออกมาเป็นแผลและทำให้ผู้ป่วยเจ็บมากขึ้น แต่ควรใช้ผ้าสะอาดคลุมไว้ถ้ามีกำไลหรือแหวนก็ควร
ถอดออกให้หมด เพราะหากปลอ่ ยไว้ น้ิวหรอื ข้อมอื อาจบวมทำให้ถอดออกได้ยากใหย้ กสว่ นทีม่ ีบาดแผลไว้ให้สูงกว่า
ระดับหัวใจถ้ามีอาการคล้ายจะเป็นลม ควรให้ผู้ป่วยนอนยกเท้าขึ้นสูงเล็กน้อยควรใช้ผ้าสะอาดบางๆ คลุมร่างกาย

- 99 -

ของผู้ป่วยเอาไว้ เพื่อช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ (ในกรณีที่ผิวหนังเสียหน้าที่ อุณหภูมิร่างกายจะลดลง
ซ่ึงผวิ หนงั จะเกดิ ภาวะหนาวสนั่ ได้) ถ้าผ้ปู ว่ ยกระหายน้ำ หรือต้องใชเ้ วลาในการเดนิ ทางไปถึงโรงพยาบาลมากกว่า 2
ชั่วโมง ควรให้ผู้ป่วยดืม่ สารละลายน้ำตาลเกลือแร่ หรืออาจให้กินน้ำส้มคั้นกไ็ ด้ โดยควรให้ดืม่ ครั้งละ 1/4-1/2 แก้ว
ทกุ ๆ 15 นาทีให้ผปู้ ่วยรบั ประทานยาพาราเซตามอล (Paracetamol) 1-2 เมด็ เพอ่ื ชว่ ยระงบั อาการปวด และอาจให้
รับประทานยาไดอะซีแพม (Diazepam) ในขนาด 5 มลิ ลิกรัม 1/2-1 เม็ด
บาดแผลไฟไหมน้ ำ้ ร้อนลวหรือถกู เปลวระเบิดกระดับที่ 3

เนื่องจากเป็นบาดแผลที่มีขนาดลึก ซึ่งอาจทำให้มีอันตรายร้ายแรงได้ จึงควรรีบนำส่งผู้ป่วยไป
รักษาที่โรงพยาบาลโดยเร็วทุกราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าบาดแผลในเด็กที่มีขนาดมากกว่า 10% หรือบาดแผลใน
ผู้ใหญ่ที่มีขนาด 15% และก่อนนำส่งโรงพยาบาล อาจปฐมพยาบาลผู้ป่วยในเบื้องต้นไปด้วยเช่นเดียวกับบาดแผล
ระดับที่ 1 และ 2 ดังกล่าวการรักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกสำหรับการรักษาในสถานพยาบาล โดยแพทย์หรือ
เจ้าหน้าทสี่ าธารณสุขหรือกองทัพต่างๆ อาจให้การรกั ษาผ้ปู ่วย ถา้ เปน็ เพียงบาดแผลระดับที่ 1 และระดับที่ 2 ชนิด
ตื้น ให้การรักษาโดยการล้างแผลด้วยน้ำเกลือ ซับแผลให้แห้ง แล้วทาด้วยครีมที่มีประสิทธิภาพในการฆ่าเช้ือ
(Topical antibiotic) หรือใช้วัสดุปิดแผลต่างๆ ที่มีขายในท้องตลาดก็เพียงพอแล้ว และถ้าผู้ป่วยรู้สึกปวดก็ให้
รบั ประทานยาแก้ปวดพาราเซตามอล (Paracetamol)สำหรบั บาดแผลระดับที่ 1 อาจใช้ครีมสเตียรอยด์ หรอื เจลว่าน
หางจระเข้ขององค์การเภสัชกรรม ทาบางๆ หรือทาด้วยวาสลินหรือน้ำมันมะกอกแทนก็ได้สำหรับยาปฏิชีวนะทา
เฉพาะที่ (Topical antibiotic) ทน่ี ิยมใชก้ นั มากท่สี ดุ คอื 1% ซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซนี (Silver sulfadiazine) เพราะมี
ฤทธิ์กว้างในการครอบคลุมเชื้อแบคทีเรีย แต่ในกรณีที่ใช้ไปนานๆ แล้วเกิดเชื้อดื้อยา อาจเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอ่ืน
ตามความไวของเช้ือ เช่น ใช้เจนตามัยซินครีม (Gentamicin cream) ถ้าเป็นเชื้อแบคทเี รียแกรมลบ, ใช้ฟูซิดินครมี
(Fucidin cream) ถ้าเป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก (เช่น Staphylococcus, Streptococcus หรือเชื้อ MRSA) เป็น
ต้นในปัจจุบันการดูแลรักษาบาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกก้าวหน้าไปมาก โดยมีวัสดุปิดแผล ใหม่ๆ
(Burn wound dressing product) ที่มีคุณภาพดีหลายชนิดที่ถูกนำมาใช้กบั บาดแผลไฟไหมน้ำร้อนลวกระดับที่ 1
และระดับที่ 2 ชนิดตื้น เชน่ ACTICOAT, AQUACEL® Ag, Askina® Calgitrol® Ag, Mepitel®, Urgotul® SSD
เป็นต้น ซึ่งการเลอื กใช้วัสดปุ ิดแผลอย่างถูกต้องและการไดร้ ับการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิดจะทำให้บาดแผลหาย
เร็วขึ้น ลดการเกิดแผลเป็น และลดความทุกข์ทรมานของผู้ป่วยลงไดม้ าก ดังนั้น เมื่อมีบาดแผลไฟไหมน้ ้ำร้อนลวก
ควรได้รับการรักษาท่ีถกู ตอ้ งจากแพทยโ์ ดยเรว็ แตถ่ า้ เปน็ บาดแผลระดับท่ี 2 ชนดิ ลกึ ถงึ ระดับที่ 3 การรักษาโดยการ
ผ่าตัดจะได้ผลดีกว่าถ้าเป็นบาดแผลระดับที่ 2 และ 3 ในกรณีดังต่อไปนี้ ควรส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
ได้แก่ เกิดบาดแผลที่ตา หู ใบหนา้ มือ เท้า อวัยวะสบื พนั ธุ์ หรือตามขอ้ พบั ต่างๆ, เกดิ บาดแผลระดับที่ 2 ในเด็กท่ีมี
ขนาดมากกว่า 10% (10 ฝา่ มือ) หรือในผู้ใหญ่ทีม่ ีขนาดมากกว่า 15% (15 ฝา่ มอื ), เกิดบาดแผลระดับที่ 3 ทม่ี ีขนาด
มากกวา่ 2% (2 ฝ่ามือ), เกดิ บาดแผลในทารก เด็กเลก็ (อายนุ ้อยกว่า 5 ป)ี หรอื ผูส้ งู อายุ (อายุมากกว่า 55 ป)ี เพราะ
ถงึ แมจ้ ะมขี นาดไมก่ วา้ งมาก แตก่ อ็ าจทำใหม้ ีอนั ตรายไดม้ ากกวา่ ทีพ่ บในคนวัยหนมุ่ สาว

- 100 -

ดงั นั้นจงึ ควรนำไปรกั ษาที่โรงพยาบาลทุกราย, สดู ควันไฟหรอื ถูกเปลวระเบดิ เขา้ ไปในระหว่างทเี่ กดิ เหตุ, มีภาวะช็อก
(ควรให้น้ำเกลือไประหว่างทางด้วย)ถ้าไม่มีอาการดังกล่าวในข้อ 2 อาจให้การรักษาโดยชะล้างแผลด้วยเกลือท่ี
ปราศจากเชื้อ และถ้ามีคราบเขม่าติดแน่น อาจใช้สบู่ช่วยล้างออกได้ แต่ห้ามถูแผลแรง ๆ เพราะจะทำให้เกิดการ
บาดเจ็บมากขึ้น หลังจากล้างแผลแล้ว ให้ใช้ผ้าที่ปราศจากเชื้อซับน้ำให้แห้ง ทาด้วยยาฆ่าเชื้อและฉีดยาป้องกัน
บาดทะยัก ให้รับประทานยาพาราเซตามอล (Paracetamol) ถ้ามีอาการปวดถ้ามีตุ่มพองเล็ก ๆ เกิดที่ฝ่ามือเพียง
2-3 ตุ่ม ไมค่ วรใชเ้ ขม็ เจาะ แต่ใหท้ าด้วยยาฆา่ เชื้อ เชน่ โพวิโดน-ไอโอดนี (Povidone-iodine) หรอื ทงิ เจอร์เมอไทโอ
เลต (Merthiolate) และปิดดว้ ยผ้าก๊อซ แลว้ ตมุ่ จะค่อย ๆ แห้งหลุดล่อนไปเองภายใน 3-7 วนั ถา้ มีตมุ่ พองเปน็ บรเิ วณ
กว้าง ใหใ้ ชก้ รรไกรท่ที ำใหป้ ราศจากเช้อื ขริบเอาหนงั ทีพ่ องออก แล้วลา้ งด้วยน้ำเกลอื ซับแผลใหแ้ หง้ แลว้ ทาด้วยครมี
ซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน (Silver sulfadiazine), ครีมซัลฟาไมลอน (Sulfamylon), น้ำยาโพวิโดน-ไอโอดีน
(Povidone-iodine) หรอื พ่นด้วยสเปรยพ์ รเี ดกซ์ (Predexspray) ถา้ เปน็ แผลท่ีบรเิ วณแขนหรือขา ให้ใชผ้ า้ พันเอาไว้
แต่ถ้าเป็นท่ีหน้าหรือลำตวั ให้เปดิ แผลไว้ แล้วล้างแผลและใส่ยาวนั ละ 1-2 คร้งั เม่อื ดีขนึ้ คอ่ ยทำห่างขน้ึ ถ้ามีตุ่มพอง
ที่แขนขา หลังมอื หลังเท้า หลงั จากทำความสะอาดด้วยน้ำกับสบแู่ ล้วให้ใช้มีดหรอื กรรไกรทีท่ ำใหป้ ราศจากเชอ้ื (เช่น
แช่ในแอลกอฮอล์แล้ว) เจาะให้เป็นรู แล้วใช้ผ้าก๊อซที่ปราศจากเชื้อกดซับน้ำเหลืองให้แห้ง แล้วทาด้วยโพวิโดน -
ไอโอดีนหรือทงิ เจอรใ์ ส่แผลสด แลว้ พนั ด้วยผา้ ยดื ให้ผิวท่ีพองกดแนบสนิท ภายใน 2-3 วนั หนังท่ีพองจะหลุดล่อนไป
เองแผลระดับที่ 2 ที่มีขนาดไม่กว้าง หลังจากล้างแผลแล้วให้ทายาลงบนแผลและปิดทับด้วย Non-adherent
dressing หรอื ปดิ แผลด้วย Biologic dressing แลว้ ใช้ผา้ ก๊อซหลายๆ ช้นั ทับปิดอีกครั้ง แตถ่ ้าแผลระดบั ท่ี 2 มีขนาด
กวา้ งมากกว่า 3% หรือเป็นแผลระดับท่ี 3 ให้ทาแผลดว้ ยยาฆา่ เชอ้ื บริเวณบาดแผล (Topical chemotherapeutic
agent) แล้วปิดทับดว้ ย Non-adherent dressing และผ้ากอ๊ ซหลายๆ ชัน้ และควรเปดิ แผลดูและเปล่ียน Dressing
หลังจากนั้น 24-48 ชั่วโมง ถ้าแผลไม่มีอาการติดเชื้อให้ท้ิงไว้นาน 2-3 วัน จึงเปลี่ยนแผลอกี ครั้ง ถ้าแผลไม่หายเอง
ภายใน 3 อาทติ ยแ์ ละมีขนาดใหญ่ต้องรกั ษาโดยการผา่ ตัดปลกู ถา่ ยผวิ หนัง (Skin graft) บาดแผลทใ่ี บหน้า ใหท้ าด้วย
1% คลอแรมฟินีคอล (Chloramphenicol ointment) และเปิดแผลทิ้งไว้ ทายาบ่อยๆ วันละ 3-4 ครั้ง เพื่อไม่ให้
แผลแหง้ ถา้ จะใชย้ าทาซิลเวอรซ์ ัลฟาไดอะซนี (Silver sulfadiazine) ต้องระวังอยา่ ใหเ้ ขา้ ตาบาดแผลทม่ี อื หลังจาก
ทายาและปดิ แผลแลว้ แพทยจ์ ะแนะนำให้ใส่เฝือกดาม ยกมอื และแขนสูงกวา่ ระดบั หวั ใจ หลังจาก 72 ชว่ั โมงไปแล้ว
สามารถถอดเฝือกออกและเร่ิมทำการบริหารกลา้ มเนอ้ื บริเวณทม่ี ีบาดแผลตอ่ ไปบาดแผลที่ข้อพับที่ทำใหเ้ กิดแผลเป็น
ดงึ รัง้ ข้อต่อใหค้ ดงอ (เหยียดไมไ่ ด)้ ในกรณีนส้ี ามารถป้องกันไดโ้ ดยใชเ้ ฝอื กดามข้อพบั ขอ้ นัน้ ไว้ต้ังแต่แรกบาดแผลที่
ขา หลังจากทายาและปิดแผลแล้วให้ยกขาสงู และให้นอนน่ิงๆ อยบู่ นเตยี งนาน 72 ช่ัวโมง แลว้ จึงเริม่ ให้เดินได้ (ถ้า
ไมม่ ีแผลทีฝ่ ่าเท้า)บาดแผลท่อี วยั วะสืบพนั ธ์ุ ใหเ้ ปดิ แผลท้ิงไวห้ ลังจากทายาแล้วโดยไมต่ ้องปิดแผล และลา้ งแผลทายา
ใหม่ทุกครั้งที่ขับถ่าย ถ้าบาดแผลยังไม่ดีขึ้นภายใน 1-2 สัปดาห์ หรืออาการทั่วไปไม่ดี (เช่น มีไข้สูง มีอาการเบื่อ
อาหาร) หรือมีการตดิ เช้ือเกดิ ข้ึนควรไปรักษาที่โรงพยาบาล ถ้าบาดแผลลึกอาจต้องให้การรักษาด้วยการผ่าตัดปลกู
ถ่ายผิวหนัง (Skin graft) บาดแผลที่เกิดจากความรอ้ นหรือไฟ มักทำใหผ้ ู้ปว่ ยมอี าการปวดและเกดิ การติดเชื้อตามมา
ได้ ดงั น้นั การดูแลรกั ษาหลักๆ คือ การให้ยาแก้ปวด (ในบางกรณีอาจใช้ยาแก้ปวดท่ีออกฤทธ์ิทส่ี มอง (เชน่ มอร์ฟีน)

- 101 -

และยาลดการอกั เสบ (NSAIDs) และยาปฏิชวี นะท่ีมีทงั้ ชนดิ กนิ และทา ซง่ึ จะชว่ ยป้องกนั การถูกทำลายของแผลหรือ
อวัยวะที่ไดร้ บั บาดเจบ็ จากเชื้อแบคทีเรียและช่วยไมใ่ ห้เกิดการตดิ เชือ้ บาดแผลจากการถูกไฟฟ้าช็อต เป็นสาเหตุให้
ร่างกายขาดน้ำหล่อเลี้ยงอวัยวะของร่างกาย การดูแลรักษาโดยแพทย์จะเป็นการให้สารละลายน้ำเกลือทางหลอด
เลือดเป็นหลัก ร่วมกับสารที่ช่วยขับปัสสาวะ (Osmotic Diuretic) บาดแผลที่เกิดจากสารเคมี เช่น จากการถูกกรด
หรือด่าง ควรให้การปฐมพยาบาลโดยการรีบชะล้างแผลด้วยน้ำก๊อกทันที เป็นเวลาอย่างน้อย 5 นาที แล้วไป
โรงพยาบาล ซ่งึ แพทย์ให้การรักษาแบบเดยี วกับบาดแผลไฟไหม้นำ้ รอ้ นลวกหรอื เปลวระเบิดภาวะแทรกซ้อนในระยะ
2-3 วันแรก คือ ภาวะขาดนำ้ และช็อก ถา้ ผู้ป่วยมบี าดแผลกว้าง แพทยจ์ ะให้สารนำ้ ได้แก่ รงิ เกอร์แลกเตท (Ringer's
lactate) โดยในวันแรกอาจให้ในขนาด 4 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ต่อเนื้อที่บาดแผล 1% โดยให้ครึ่งหนึ่งใน
8 ชั่วโมงแรก และอีกครึ่งหนึ่งที่เหลือให้หมดภายใน 16 ชั่วโมงต่อมา วันต่อมาอาจให้น้ำเกลือและพลาสมา
สว่ นการตดิ เชอ้ื ท่อี าจเกิดขนึ้ หลังจากมีบาดแผล 2-3 วันไปแล้ว (หรอื หลงั 1 สัปดาห์) ถ้าบาดแผลมขี นาดกว้างก็จะมี
โอกาสติดเชื้อรุนแรง และโดยทัว่ ไป ถือว่าบาดแผลระดับที่ 2 ที่มีขนาดมากกว่า 30% และบาดแผลระดับที่ 3 ที่มี
ขนาดมากกวา่ 10% ถอื เป็นบาดแผลรุนแรง รกั ษาไดย้ ากและผู้ป่วยมักมีอัตราการเสยี ชวี ิตสงู การดูแลตนเองหลังรับ
การรกั ษาของผ้ปู ว่ ยบาดแผลไฟไหมน้ ้ำร้อนลวก รักษาความสะอาดของแผลให้ดีหมนั่ ทายาหรอื รับประทานยาตามที่
แพทยส์ ัง่ อย่างเคร่งครัดหลีกเลีย่ งการสัมผัสฝุ่นหรืออะไรก็ตามท่ีจะทำให้เกิดการระคายเคืองหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับ
สัตว์ทกุ ชนิด เพราะหากโดนบริเวณบาดแผล อาจทำให้เกดิ อาการคนั หรอื มกี ารตดิ เชื้อไดง้ ่าย ควรเนน้ การรบั ประทาน
อาหารที่มีโปรตีนสูงให้มากๆ เช่น เน้ือ นม ไข่ ถั่วต่างๆ เพื่อช่วยเสริมการสร้างเนื้อเยื่อใหม่บริเวณบาดแผลให้
บาดแผลสมานปิดเรว็ ขน้ึ บริเวณขอ้ ตอ่ ตา่ งๆ ของรา่ งกาย เชน่ ข้อมอื น้วิ มือ ขอ้ พบั แขน ขอ้ ศอก ข้อเทา้ คอ ไหล่ ที่มี
แผลคอ่ นข้างลึก ซ่ึงอาจทำใหเ้ กิดแผลเป็นดึงรง้ั มีผลให้ขอ้ ตอ่ ตา่ งๆ ยึดติด ทำให้เคลอ่ื นไหวได้ไมเ่ ต็มท่ี หรอื เกดิ ผิดรูป
ผิดร่างไปจากเดิม และอาจก่อให้เกิดความพิการขึ้นได้ ดังนั้น ผู้ป่วยจึงควรบริหารข้อต่อนั้น ๆ อย่างจริงจังและ
สมำ่ เสมอเมอื่ แผลหายดีแล้วจะต้องระวงั ไม่ใหแ้ ผลถูกแสงแดดหรือให้ใชค้ รีมกันแดดเปน็ เวลา 3-6 เดอื น และควรใช้
น้ำมันหรือครีมโลชั่นทาที่ผิวหนังอยู่เสมอเพื่อลดอาการแห้งและคันสำหรับแผลที่หายโดยใช้เวลามากกว่า
3 อาทิตย์ หรือแผลที่หายหลังจากการทำผ่าตัดปลูกถ่ายผิวหนัง (Skin graft) แนะนำให้ใส่ผ้ายืด (Pressure
garment) เพือ่ ป้องกันการเกดิ แผลเปน็ นนู หนา (Hypertrophic scar) แตต่ ้องใชต้ ดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานานอย่างนอ้ ย 2-
3 เดือน หากไม่ได้ผลอาจรักษาแผลเป็นนูนด้วยการฉีดยาประมาณเดือนละ 1 ครั้งจนกว่าแผลเป็นจะเรียบ
และอาจใช้ยาทารักษาแผลเปน็ รวมด้วย นอกจากนี้ควรหลีกเลีย่ งการเกาหรอื นวดบริเวณแผลเปน็ แรงๆ เพราะจะทำ
ให้แผลเปน็ ยืดกว้างกว่าเดมิ

- 102 -

การปอ้ งกนั แผลไฟไหมน้ ำ้ ร้อนลวกหรือถูกเปลวระเบิด
ไฟไหม้นำ้ รอ้ นลวก หรอื ถูกเปลวระเบดิ เป็นอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่วนใหญ่

แล้วมักจะเกิดจากความประมาทแทบทั้งสิ้น อุบัติเหตุ การรักษาความปลอดภัย พิทักษ์รักษาป้องกันประเทศชาติ
ดงั นน้ั การป้องกันในเบ้อื งตน้ จึงควรปฏบิ ัติดงั นี้

1. ถ้าต้องทำอาหารและอาจตอ้ งสัมผัสของรอ้ น ควรระมัดระวงั และปอ้ งกนั ตนเองใหด้ ี
2. ในบ้านที่มีเด็กเล็กควรระมัดระวังและจัดหาสถานที่ที่วางวัสดุที่มีความร้อนให้เหมาะสมให้หา่ ง
จากมือเด็ก อยา่ วางกระตกิ นำ้ รอ้ น กานำ้ ร้อน หมอ้ นำ้ แกง ตะเกียง ไมข้ ดี หรือวัตถอุ ืน่ ๆ ทม่ี คี วามร้อนไว้ใกล้ มือเด็ก
และอยา่ ใหเ้ ด็กเล่นในห้องครัว อยา่ วางบหุ ร่ี ตะเกยี ง ไว้ใกลผ้ ้าหม่ มุ้ง หรือสิ่งท่ีอาจติดไฟได้ง่าย
3. สำหรับบุคลากรที่ต้องทำงานเกี่ยวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องทำความร้อนต่างๆ ที่มีโอกาส
สัมผสั กับเปลวไฟหรอื เปลวเพลงิ สงู ควรมกี ารป้องกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม
4. การปฏิบัติหน้าที่รักษาความมั่นคงของชาติของเจ้าหน้า เช่น ทหาร ตำรวจ อาสาสมัคร และ
เจา้ หน้าทอ่ี ่นื ๆ ต้องไม่ประมาทต่อสถาการณต์ ่างๆ ตัดสินใจด้วยความรอบคอบ

ภาพประกอบ แผลไฟไหม้ นำ้ ร้อนลวก หรือ ถกู เปลวระเบดิ และเปอร์เซ็นต์

ระดับท่ี 1 (First degree burn) ระดบั ท่ี 2 (Second degree burn ระดับที่ 3 (Third degree burn)

- 103 -

การดูแลเบ้ืองต้นในผู้ปว่ ยฉกุ เฉินโรคตดิ เชื้อ และโรคตดิ เชอื้ อบุ ตั ิใหม่
โรคระบาด หมายถึง โรคที่เกิดขนึ้ แล้วจะตดิ ต่อแพรไ่ ปอย่างรวดเรว็ และกว้างขวาง
โรคติดเช้ือ หมายถงึ โรคท่ีเกิดจากการติดเชอ้ื จุลินทรีย์ ไวรสั หรอื เชอ้ื โรคอนื่ ๆ
โรคติดต่อ หมายถึง โรคที่เม่ือเกิดขึ้นแล้วตดิ ต่อแพร่ไปถึงผู้อื่นได้ด้วยการสัมผัสร่างกาย ถูกสารคดั

หลั่ง หรือการใช้ข้าวของร่วมกับผู้ที่เป็นโรค เป็นต้น โรคติดต่อมีทั้งโรคที่ร้ายแรงและโรคที่ไม่ร้ายแรง เช่น หวัด
อีสุกอีใส หัด วัณโรค โรคผวิ หนงั

โรคติดเชื้ออบุ ัตใิ หม่(โรคเกิดใหม่ Emerging Infectious Diseases) หมายถึง โรคที่ไม่เคยรู้จกั กนั
มาก่อน อาจเป็นโรคทเ่ี กิดข้นึ ใหม่หรือโรคที่ระบาดมาใหม่ เช่น โรคไข้หวัด 2009, โรคบรูเซลโลสิส (BRUCELLOSIS)
โรคแมวข่วน (CAT-SCRATCH DISEASE) , โรคไข้ลสั สา (LASSA FEVER) , โรคลชิ มาเนยี (LEISHMANIASIS) ,โรคเม
ลอิ อยโดสสิ (MELIOIDOSIS), และ โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เปน็ ตน้

โรคอุบัตซิ ำ้ หมายถงึ โรคทีม่ กี ารรกั ษาจนหายขาดไปจากสงั คมแลว้ แตก่ ลบั มาเกดิ ขึน้ ใหม่ เช่นโรค
เทา้ ช้าง ซ่ึงมกี ารควบคมุ จนไม่มผี ูเ้ ป็นโรคนมี้ าหลายปแี ล้ว แตก่ ลบั มาพบผู้ปว่ ยดว้ ยโรคดังกล่าวใหม่ในปีนี้การติดเช้ือ
ในสมอง มีดังนนน.้ี -

1. การติดเชื้อไดท้ ้งั ในเยื่อหุม้ สมอง เนอื้ สมอง และฝีในสมอง
A สาเหตุ: เชื้อจากกระแสเลือดหรือจากอวัยวะที่อยู่ใกล้ สมอง เช่น ไซนัส ฟัน และหูลามเข้า

สมอง
B อาการ: ปวดศีรษะ ไข้, คลื่นไส้อาเจียน, สบั สนหรือ หมดสติ คอแข็ง ชกั
C การรักษา: เบื้องตนการกูชพี A B C
Airway ใสทอชวยหายใจ
Breathing ใหออกซเิ จน
Circulation ใหนำ้ เกลอื เพอื่ คงความดนั โลหติ
- ลดความดนั โดยยกศีรษะใหสูงจากเตยี ง 30 องศา
- การใหย้ าฆาเชอ้ื ซง่ึ แพทยจะพิจารณาตามเชอื้ กอโรคแตละชนดิ

2. ไขกาฬหลังแอน (Meningococcal disease) สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Neisseria meningitides
ตดิ ตอโดยการแพรจากคนสูระบบทางเดินหายใจของผูติดเชื้อ โดยการไอ จามผานทางละอองฝอยกับผูสัมผัสใกลชิด
ไดแก คูสามีภรรยา บุคคลที่อยูบานเดียวกัน และบุคลากรทางการแพทยที่ใหการดูแลเกี่ยวกับการชวยหายใจ
เครือ่ งสองดตู า การดดู เสมหะ เปนตน
อาการมี 2 แบบ คือ

2.1 โลหิตเปนพิษ อาการเฉียบพลัน เสียชีวิตใน 6-12 ชม. มาดวยอาการไขสูง ปวดศีรษะ
ปวดทอง จดุ เลอื ดออกที่ผวิ หนงั บางราย

- 104 -

2.2 เยื่อหุมสมองอักเสบ ปวดศีรษะ คอแข็งจนเสียชวี ติ ไดการวินิจฉัยโรค จากอาการและเพาะ
เชือ้ จากนำ้ ไขสันหลัง และเลือด
การควบคุมโรค

1. ผูปวยควรอยูในหองแยกจนครบ 24 ชม. หลงั จากได ยาฆาเชอ้ื ทีเ่ หมาะสม
2. ผสู ัมผสั และผูใกลชดิ (< 1เมตร) ใหพจิ ารณาเก็บตัวอยางจากโพรงจมูก

การปองกนั กรณีสัมผัสผูปวย ควรไดรับยา Rifampicin ปองกนั ในกลุมตอไปน้ี
- อยรู วมกบั บานเดียวกนั กับผูปวยภายใน 7 วนั กอนเปนโรค
- สมั ผสั กบั สารหล่ังจากผูปวยโดยตรงเชนแปรงสฟี น การจบู กูชีพแบบเปาปาก
- บคุ คลกรแพทยที่ใสทอชวยหายใจผูปวย โดยไมได้ใสหนากาก ปองกันตนเอง
3. การตดิ เชอ้ื ทางชองคอ (Epiglottitis) การอกั เสบตดิ เชือ้ ของชองคอสวนบนมกั พบในเด็กอายุ 2-6
ปพบโรคในผูใหญไดนอย อาการ เด็กจะมาดวยอาการเจ็บคอ กลืนอาหารลําบาก หรือน้ำลายไหลจากปากตลอด
เพราะกลนื ลงไมได เสยี งแหบ หายใจมเี สยี ง ดัง และหายใจไมสะดวก อาการมักเปนคอนขางรวดเรว็ สวนอาการในผู
ใหญมักไมรุนแรงเทาเด็ก ผู้ป่วยมีอาการดงั กลาว ตองตรวจคอดวยความระวงั อยาใชไมกดลิน้ ลึกเขาไปในคอหอย
เพราะอาจทาํ ใหคอหอย บวมมากขึน้ หรอื สายเสยี งหดเกรง็ จนหายใจไมออกไดการรักษาเบื้องตน
- ประเมนิ และชว่ ยเหลือเบ้ืองตน้ คอื
- ประเมินและชว่ ยเหลือด้านทางเดนิ หายใจ (Airway) ถาใสทอชวยหายใจตองเตรียมใสในหอง
ผาตัด เพราะถาชองคอบวมมากจนใสทอไมไดอาจตองเจาะคอ
- ประเมินและช่วยเหลือด้านการหายใจ (Breathing) ใหออกซิเจน
- ประเมินและช่วยเหลือด้านระบบไหลเวียนโลหิต (Circulation) ใหน้ำเกลือเพื่อคงความดัน
โลหติ ใหปกติ
- ใหยาฆาเชอ้ื ตามเชอ้ื กอโรคแตละชนิด
4. ปอดอักเสบ (Pneumonia)
- สาเหตุ เชอื้ กอโรคของปอดอกั เสบเปน็ ไดท้ ั้งจากแบคทเี รยี และไวรัส
- อาการ ไข ไอ หอบเหนอ่ื ย หายใจมเี สียงวี๊ด หายใจเรว็ หายใจไมสะดวก เจ็บหนาอก เจบ็ ทอง
อาเจยี นหมดสติ
- ปจจัยเสี่ยง ตอการเกิดปอดอักเสบ ถุงลมโปงพอง โรคหัวใจ โรคชัก ไมคอยรูสึกตัว ชวย
เหลอื ตวั เองไมได หมดสติ สําลักอาหาร โรคภมู คิ ุมกันต่ำ
5. ตบั อกั เสบ
- สาเหตุ : ไวรัสตับอักเสบ B กอใหเกิดตับอักเสบไดบอยที่สุดการติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบ B
หรือไวรัสตับอักเสบ C แบบเรื้อรัง เป็นปัจจัยเสี่ยงกอให้เกิดตับแข็ง และมะเร็งตับ ได้มากกว่าประชากรทั่วไป ***

- 105 -

ไวรัสตบั อกั เสบ B, C ตดิ ต่อทางเลอื ดไวรัสตับอกั เสบ A ติดตอ่ ทางการรบั ประทานอาหาร น้ำ ท่ีปนเปื้อนสารคัดหล่ัง
อย่างน้ำลาย หรืออจุ จาระของคน ทีต่ ิดเชื้อเชอื้ ไวรสั ตับอักเสบ A

- อาการ : ไข อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง อาจพบมีเลือดออกงายหรอื มีจ้ำเลือดตาม
แขนขา อาจพบตัวเหลอื ง ตาเหลอื ง

- การปอ้ งกนั : สำหรบั ไวรสั ตบั อกั เสบ A คอื ใชช้ อ้ นกลางในการรบั ประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น
การล้างมอื ก่อนรับประทานอาหารทกุ คร้งั และล้างมอื หลังจากเข้าห้องน้ำทกุ คร้งั

- การตรวจรกั ษา : ในกรณที ่สี งสัยว่าอาจติเช้ือไวรัสตับอกั เสบ ควรรีบไปโรงพยาบาลพบแพทย์
เพ่ือทำการตรวจรักษา

6. ไขเลือดออก (DHF)
- สาเหตุ เกิดจากยุงลายเป็นพาหะของเช้อื ไวรัสเดงกี่ ซงึ่ ไวรัสเดงกี่น้ีทำใหเ้ กิดโรคไข้เลือดออกขน้ึ
- ยงุ ลาย มกั กดั คนในเวลากลางวัน ผู้ปว่ ยท่ีเคยเป็นไขเ้ ลือดออกมาแล้ว ก็สามารถติดเช้ือและเป็น

ไขเ้ ลอื ดออกซ้ำอีกได้
- อาการ แบ่งออกเปน็ 3 ระยะ
1. ระยะไขสูง ไขสูงนาน 2-7 วัน และมักไมตอบสนองตอ ยาลดไข พบอาการชักในเด็กเล็ก

ปวดศีรษะ อาเจียน มักไมมีอาการน้ำมูกและไอ ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ตับโตและกด เจ็บ อาจพบจุดเลือดออก
ท่ีผิวหนัง

2. ระยะวิกฤต ช่วงหลังไข้ลดงลใน 48 ช่วั โมงแรก เปนระยะที่ไขมักลดลงอยางรวดเรว็ ระยะนี้
จะเสยี่ งต่อภาวะชอ็ ก เพราะหากมอี าการร่วั ของพลาสมามากอาจเกิดจากภาวะชอ็ ก (shock) ผปู วยจะมีอาการกระ
สบั กระสาย มอื เทา เยน็ ชพี จรเตนเรว็ และเบาบาง ความดันโลหติ ต่ำ เลือดออกไดบอย จึงคอยคอยเฝ้าระวงั อาการ
ของผู้ปว่ ยในระยะนี้ให้ดี

3. ระยะฟน คอื ไข้ลง อาการดีข้นึ เรมิ่ อยากอาหาร ปสสาวะ เพม่ิ ขนึ้
- การรักษา โรคไขเลือดออก ควรเช็ดตัวบอยๆ ใหไขลด รับประทานยาพาราเซตตามอล

เมื่อมีไข้ (ไมควรใชยาแอสไพรินเพราะอาจทาํ ใหตบั วายได) และด่ืมนำ้ ตามมากๆ ไมแนะนาํ ใหดืม่ น้ำท่ีมสี แี ดงหรือ
สดี ําเน่อื งจากหากอาเจียนจะเขาใจ ผดิ วาเปนเลือดออกจากกระเพาะอาหารได้

7. โรคฉีห่ นู (Leptospirosis)
- สาเหตุ : เกิดจากโรคเลปโตสไปรา พบในปสสาวะ เลือด และเนื้อเยื่อของสัตวที่ติดเชื้อ เชน

หนู มีรายงานบอยชวงน้ำทวม
- อาการ : ไข ปวดกลามเนอื้ เลอื ดออกในเยอ่ื บตุ า เยื้อหุม สมองอกั เสบ ตา ตวั เหลอื ง ปสสาวะ

อกั เสบ หรือไต วาย ปอดอักเสบ หอบเหน่อื ย หรอื ไอเปนเลอื ด
- การวินิจฉัย : จากอาการ และการเพาะเชื้อไดในเลือด หรือ เนื้อเยื่อตางๆ หรือมีภูมิคุมกันต

อเช้อื สูงในเลือด

- 106 -

- การรักษา
1. การรักษาเบื้องตนหรือการกูชีพ โดยใชหลัก A (Airway ทางเดินหายใจ), B (Breathing
การหายใจ), C (Circulation การไหลเวยี นโลหติ ) โดยตองรักษาระดบั ความดนั โลหติ ใหสมดุล
2. การใหยาฆา่ เชือ้
- การปองกนั หลีกเล่ยี งการสัมผสั กับเน้ือเย่ือ เลอื ด หรอื ปสสาวะที่ติดเช้ือ
8. เอดส์ (AIDS)
- สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัส Human Immunodeficiency Virus (HIV) ที่ไปทําลายเม็ด
เลือดขาวใหตำ่ ลง จนงายตอการติดเชื้ออ่ืน และเปนมะเร็งไดงาย เชอื้ HIV ติดตอไดทางการมีเพศสัมพนั ธ และการ
ไดร้ บั เลือด
- อาการ : ไข ผอม ตอมนำ้ เหลอื งโต ปวดศีรษะ สบั สน และมอี าการของการติดเชื้อแทรกซ้อน
ในอวัยวะตางๆ เชน ปอดอกั เสบ ซึ่งจะมีอาการไข้ เหนือ่ ยหอบ หรอื ตดิ เชอื้ ในเยอ่ื ห้มุ สมอง ซึง่ จะมอี าการไข้ ปวด
ศีรษะ และอาเจียนพุงได
- วินิจฉยั โรค : จากอาการ และผลเลือดตรวจพบ anti HIV เปนผลบวก
- การรกั ษา : ในปัจจบุ ันยังไม่มีการรกั ษาที่หายขาด จะมกี ารรกั ษาในเรอื่ งรกั ษาโรคติดเช้ือแทรก
ซ้อน และการให้ยาตานไวรสั เพอ่ื ลดปริมาณไวรสั ให้มากทสี่ ดุ
9. บาดทะยกั (Tetatus)
- สาเหตุ : เกดิ จากแผลปนเปอนเช้ือ Clostridium Tetanii
- อาการ : ขากรรไกรแข็ง กลามเน้ือบนใบหนาแขง็ เกร็ง ลาํ ตัว และแขนขา อาจแข็งเกรง็ จนหลงั
แอนได โดยทย่ี งั รูสกึ ตวั ดี ตลอดเวลา
- การปองกัน
- ในเดก็ ฉีดวัคซีนตามอายุท่กี ําหนดตามโปรแกรมวัคซนี ของสาธารณสุข
- หากมีบาดแผล ล้างแผลให้สะอาด และควรไปโรงพยาบาล ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาว่าควร
ใหว้ ัคซนี ปอ้ งกันบาดทะยกั ด้วยหรอื ไม่
10. โรคพษิ สนุ ขั บา (Rabies)
- สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัส Rabies หรือไวรัสพิษสุนัขบ้า ติดตอมาสูคนโดยถูก สัตวที่เปนโรค
กัดซึ่งเชื้อไวรัสพิษสุนัขบ้าจะแพรเชื้อมาทางน้ำลาย ซึ่งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทุกชนิดสามารถติดเชื้อพิษสุนัขบ้า
และแพรเ่ ช้ือมาสูค่ นได้
- อาการ มักมอี าการใน 20-90 วนั หลงั ไดรับเชื้ออยางไรก็ตามอาจใชเวลานานกวานี้ อาการเริ่ม
ที่ปวดศีรษะ อาเจียน ตอมาดิ้นทุรนทุราย เห็นภาพหลอน อาการสําคัญ คือ กลืนน้ำไมได ซึ่งพบไดครึ่งหนึ่งของ
ผปู วยสวนนอยทอี่ าจพบอาการแขนขาออนแรง หรืออัมพาต รว่ มด้วย

- 107 -

- การปองกนั : กรณถี ูกสัตว์กัด หรอื ถกู เลียแผลหรอื ถกู เลียเยอื่ เมอื ก ควรรบี ไปโรงพยาบาล เพ่อื
ฉดี วคั ซีนปอ้ งกนั โรคพษิ สุขนขั บ้า ซง่ึ แพทย์จะเปน็ ผู้พิจารณาฉีดวัคซนี ป้องกนั พษิ สนุ ขั บา้ และล้างแผลใหส้ ะอาด และ
ควรสังเกตอาการสัตว 10 วัน หากสัตวมีอาการใหรีบไปโรงพยาบาลอีกครั้ง เพื่อตรวจร่างกาย และแจ้งหน่วยงาน
สาธารณสุขทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

- การดูแลแผล : ลางแผลทันทีดวยน้ำและสบู่หลายๆ ครั้ง แล้วล้างสบู่ออกใหห้ มด จากนั้นเช็ด
ดวย 70% แอลกอฮอล หรอื ทิงเจอรไอโอดีน หรอื โพวดิ นี และไม่ควรเยบ็ ปิดแผล หรอื ไปโรงพยาบาลทำแผล
11 วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เรื้อรัง และเกิดได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย เช่น ต่อมน้ำเหลือง กระดูก เยื่อหุ้ม
สมอง ปอด ส่วนมากพบเป็นท่ีปอดเกิดจากเชือ้ แบคทีเรยี เข้าสู่ร่างกาย โดยการหายใจเอาเชือ้ เข้าไป สาเหตุส่งเสรมิ
คอื รา่ งกายอ่อนแอหรือผทู้ ่ีภมู ิต้านทานตำ่

การติดต่อ : ติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ โดยการสูดเอาเชื้อในอากาศ ซึ่งเกิดจากการ
ไอ จาม ของผูท้ ี่มเี ช้ือเข้าไปในปอด

อาการ : อาการและอาการแสดงเฉพาะท่ี ไดแ้ ก่ เจบ็ อก ไอเร้ือรงั เกิน 3 สัปดาห์ข้ึนไป ไอเปน็
เลือด หายใจหอบ และตอ่ มน้ำเหลืองโต อาการทั่ว ๆ ไป ทพ่ี บได้ คือ อ่อนเพลีย เหนือ่ ย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
โดยไมท่ ราบสาเหตุ มไี ขต้ ่ำ ๆ ในตอนบา่ ยหรอื คำ่ แต่บางรายอาจจะมไี ข้สงู หรือไม่มีไข้กไ็ ด้
การรักษา : สามารถรักษาให้หายได้ใน 6 - 9 เดือน โดยผู้ป่วยต้องรับประทานยาตามชนิด (รับประทานยาตอ่ เนือ่ ง
นานประมาณ 6-9 เดอื น) และขนาดทแี่ พทย์สงั่ อยา่ งสม่ำเสมอจนครบกำหนด
การปฏบิ ัติตวั ของผู้ปว่ ยวณั โรคปอด :

- อยใู่ นห้องท่มี อี ากาศถ่ายเทได้สะดวกและแสงแดดส่องถงึ
- ใช้ผา้ ปดิ ปากและจมูกเวลาไอหรือจามและอยา่ ไอหรือจามรดผู้อ่นื
- บ้วนเสมหะลงในภาชนะทีม่ ฝี าปดิ แล้วทำลายโดยการต้มหรอื เผา และหา้ มบว้ นเสมหะทิ้งลงพืน้
- รักษาความสะอาดรา่ งกาย ปาก ฟัน เพอื่ ให้รา่ งกายสดชน่ื แข็งแรง
- รับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ เช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่ ผัก และผลไม้ต่างๆ งดอาหารท่ีปรุงไม่สุก
อาหารรสเผ็ดจัด เปรีย้ วจัด และของหมกั ดอง เพอ่ื ให้รา่ งกายมีสุขภาพสมบูรณ์แขง็ แรงและระบบขบั ถ่ายเป็นปกติ
- ด่ืมน้ำวันละ 2 – 3 ลติ รในกรณที ีไ่ มม่ ขี ้อจำกัด
- พกั ผอ่ นใหเ้ พียงพอ
- งดสบู บุหร่ี ดื่มสรุ า และยาเสพตดิ ทุกชนิด
- รับประทานยาตามแพทยส์ ง่ั อย่างสมำ่ เสมอจนครบกำหนดภายใต้การสงั เกตโดยตรงจากญาติ ไม่
ควรหยุดยาเอง เพราะจะทำใหเ้ ชือ้ โรคดอ้ื ยาซ่งึ ยากต่อการรกั ษาและทำให้เสียค่าใช้จ่ายเพ่มิ มากขน้ึ
- มาพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง ถ้าผู้ป่วยขาดการรักษาเกิน 1 เดือนและเสมหะได้ผลบวกจะต้อง
เรมิ่ ต้นรักษาใหม่ต้ังแตต่ น้
- ไมค่ วรใกล้ชิดเดก็ เลก็ หรือผูท้ มี่ ภี ูมิต้านทานร่างกายตำ่

- 108 -

- เมื่อมีอาการผิดปกติ เช่น มีผื่นคัน หูตึง ตามัว เสียการทรงตัว ไอเป็นเลือด ตัวเหลือง ตาเหลือง
ให้มาพบแพทยก์ อ่ นนดั ได้ทันที

11. โรคไขหวดั ใหญ่ (Flu) และไขหวัดนก (Bird Flu)
อาการ : อาการจะเริ่มหลังได้รับเชื้อ 1-4 วัน ผู้ป่วยจะมีไข้ทันทีทันใด ปวดศีรษะ หนาวส่ัน

ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย อาการจะรุนแรง และป่วยนานกว่าไข้หวัดธรรมดา ในรายที่อาการไม่รุนแรง
จะหายภายใน 2 สัปดาห์ ในรายท่ีอาการรุนแรง จะมีภาวะแทรกซ้อน เรอื่ งปวดบวม และการหายใจ ล้มเหลว
ผู้ปว่ ยท่มี คี วามเสีย่ งสูงตอ่ การเกิดภาวะแทรกซอ้ น คือ ผปู้ ว่ ยทอ่ี ายมุ ากกวา่ 65 ปีขึ้นไป เดก็ อายตุ ำ่ กว่า 2 ปี ผู้ป่วย
ท่มี โี รคเรอ้ื งรงั

การปองกันโรค : ลางมือเมื่อสัมผัสผู้ป่วย หรือสารคัดหลั่งของผูปวยแมสวมถุงมือก็ตอง
ลางมือ โดยใชสบฟู อกประมาณ 15-20 นาที หรือใชนำ้ ยาลางมือใชอุปกรณปองกนั ตนเอง ไดแก สวมถุงมือและเสื้อ
คลมุ กนั เปอนอาจตองสวมรองเทาบูท และแวนตาเพอ่ื ปองกันไมใหเช้ือกระเดน็ เขาตา บุคลากรที่ดแู ลผูปวยใกลชิด
หรือผูที่ตองทําลายสัตวปก ควรสวมหนากาก N-95 การฉีดวัคซีนปองกัน (สำหรับไข้หวัดใหญ่) :สําหรับมาตรฐาน
บุคลากรการแพทยตองไดรับวัคซีน ปองกันไขหวัดใหญปีละ 1 ครั้ง เพื่อปองกันการติดเชื้อไขหวัดใหญ การรักษา :
เมอ่ื สงสยั ว่าเปไ็ ข้หวัดใหญ่ หรือ ไขห้ วัดนก ควรรีบไปโรงพยาบาลเพอ่ื ตรวจรกั ษา โดยจะต้องระมดั ระวังไม่ใหเ้ ชือ้ แพร่
ไปสู่ผอู้ น่ื ด้วย

12. โรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
โรคนี้เกิดจากเชื้อไวรัสเชื้อเดียวกับไข้หวัด แต่ทำไมอาการถึงรุนแรง แล้วโคโรนาไวรัสเข้าไป

ทำลายปอดจนเน้ือเย่ือเสยี หายไดถ้ าวรเลยไหม มาทำความเข้าใจก่อนตื่นตระหนกไปมากกว่าน้ี สถานการณ์ COVID-
19 ยังคงขยายวงกวา้ งอย่างต่อเน่ืองในหลาย ๆ ประเทศ รวมถึงในบ้านเราเองดว้ ย ดังนั้นเพือ่ ความชัดเจนในข้อมูล
เกี่ยวกับโรคที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ เราอยากให้มาทำความรู้จักโรค COVID-19 ให้กระจ่าง พร้อมไขข้อสงสัย
เกย่ี วกบั ความรุนแรงของโคโรนาไวรสั เช้อื นท้ี ำลายปอดได้แคไ่ หน มาเชก็ เลย
COVID-19 คอื อะไร

โรค COVID-19 คือ โรคติดเชื้อจากไวรัสชนิดหนึ่ง ซึ่งพบการระบาดในช่วงปี 2019 ที่เมืองอู่ฮ่ัน
ประเทศจีน โดยในตอนนั้นเราจะรู้จักกันโรคน้ีในชื่อว่า ไวรัสอู่ฮั่น ก่อนทีภ่ ายหลังจะระบุเชื้อก่อโรคได้วา่ เป็นเชื้อใน
ตระกูลโคโรนาไวรัส แต่เป็นสายพันธใุ์ หม่ที่ไมเ่ คยเกิดขึน้ มาก่อน ดังนั้น ทางองค์การอนามัยโลก จึงไดต้ งั้ ช่อื โรคติดต่อ
ชนิดนี้ใหม่อยา่ งเป็นทางการ โดยมีชื่อว่า COVID-19 เพื่อไม่ใหเ้ กิดรอยมลทินกับพื้นทีท่ ี่เกิดการระบาดของโรคด้วย
COVID-19 โคโรนาไวรัส เชอื้ น้ีมีมานานและหลายสายพนั ธุ์

โคโรนาเป็นเช้อื ไวรัสที่กอ่ ให้เกิดโรคทางเดนิ ระบบหายใจ มีมานานกว่า 60 ปี แลว้ และจัดเป็นเชื้อ
ไวรสั ตระกลู ใหญ่ท่มี ีอย่หู ลายสายพนั ธ์ุ โดยชอื่ โคโรนากม็ ีทมี่ าจากลกั ษณะของเชอื้ ไวรสั ท่ีรปู ร่างคล้ายมงกฎุ (Corona
เป็นภาษาละตินทแี่ ปลว่ามงกฎุ ) เนอื่ งจากเชอื้ ไวรัสชนิดนี้มสี ารพันธุกรรมเปน็ RNA มเี ปลอื กหุ้มด้านนอกที่ประกอบ

- 109 -

ไปด้วยโปรตีนคลมุ ดว้ ยกลุ่มคาร์โบไฮเดรต ไขมนั เป็นป่มุ ๆ ยื่นออกไปจากอนุภาคไวรสั อธิบายง่ายๆ คอื เป็นเช้อื ไวรัส
ท่ีมีหนามอยู่รอบตวั จงึ สามารถเกาะตวั อยใู่ นอวยั วะทีเ่ ป็นเปา้ หมายของเช้อื ไวรัสได้

โคโรนาไวรัสเป็นเชื้อที่ก่อโรคได้ทั้งในคนและสัตว์ เนื่องจากตัวไวรัสมีสารพันธุกรรม RNA ซึ่งมี
โอกาสกลายพันธ์ุสูง สามารถติดเชื้อขา้ มสปีชีส์กันได้ โดยเฉพาะในสถานทีท่ ่มี ีการรวมตัวของสตั ว์อยา่ งหนาแน่น เช่น
ตลาดค้าสัตว์ เปน็ ตน้ ดังนนั้ ต้นตอการแพร่ระบาดของโรคก็อาจจะมาจากสัตว์ปีก เชน่ นก ค้างคาว ไก่ หรอื สัตวเ์ ลี้ยง
ลกู ดว้ ยนม เชน่ มา้ วัว แมว สนุ ขั กระตา่ ย หนู อฐู รวมไปถึงสตั ว์เลื้อยคลานอย่างงู เป็นตน้ จรงิ ๆ แล้วเราเจอกับโค
โรนาไวรสั กนั อยูเ่ นืองๆ เพราะอยา่ งท่บี อกว่าโคโรนาไวรัสมอี ยู่หลายสายพนั ธ์ุ แต่สว่ นใหญจ่ ะไมก่ อ่ ให้เกิดโรครุนแรง
เป็นเพยี งไขห้ วดั ธรรมดา แตก่ ็มโี คโรนาไวรสั บางสายพนั ธุ์ทก่ี อ่ อาการรุนแรงจนถงึ ข้ันปอดอักเสบได้ เชน่ โรคซาร์ส ที่
มสี าเหตุมาจากโคโรนาไวรัสสายพันธ์ุ SARS-CoV ขา้ มสปชี ีส์จากค้างคาวมาสู่ตวั ชะมด แลว้ มาติดเชอื้ ในคน และโรค
เมอร์ส ที่มีสาเหตุมาจากโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ MERS-CoV ข้ามสปีชีส์จากค้างคาวสู่อูฐ และมาติดเชื้อในคน และ
ล่าสุดกบั เชอื้ โคโรนาไวรสั สายพนั ธ์ุท่กี ่อโรค COVID-19 ซงึ่ เป็นโคโรนาไวรสั สายพนั ธ์ุใหม่แกะกล่อง โดยโคโรนาไวรัส
สายพันธุ์ใหม่ 2019 มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า SARS-CoV-2 เป็นเชื้อไวรัสลำดับที่ 7 ในตระกูล coronaviruses
lineage B จีนัส betacoronavirus ที่ก่อให้เกิดโรคในคน เชื้อโคโรนาไวรสั สายพันธุ์ SARS-CoV-2 มีต้นตอมาจาก
ไหน

COVID-19 จากการศกึ ษาทางพนั ธกุ รรมของไวรสั และการเรยี งลำดับของรหัสแต่ละตัวทำให้พบต้น
ตอของเชื้อ SARS-CoV-2 ว่า ไวรัสสายพันธุ์ใหม่ชนิดนี้มีจำนวนนิวคลีโอไทด์ที่เหมือนกันถึงร้อยละ 89.1 ของเช้ือ
SARS-like coronaviruses ในค้างคาวที่เคยพบในประเทศจีน และในภายหลังก็มีข้อมูลที่ยืนยันว่า ต้นตอของ
โคโรนาไวรัสสายพันธ์ุใหม่ 2019 เกดิ จากการผสมสารพันธกุ รรมระหวา่ งโคโรนาไวรัสของค้างคาวกบั โคโรนาไวรัสใน
งเู หา่ กลายพันธุ์เป็นโคโรนาไวรัส สายพนั ธุ์ SARS-CoV-2 ที่แพร่เชื้อจากงูเหา่ มายังคนได้ โคโรนาไวรัสสายพันธ์ุใหม่
ระบาดในคนได้อยา่ งไร

โคโรนาไวรสั เป็นเชือ้ ท่ีไมส่ ามารถอยู่เดีย่ วๆ ได้แต่จะแฝงตัวอยูใ่ นละอองฝอยจากการไอ จาม และ
สารคัดหล่งั อยา่ งน้ำมูก น้ำลาย หรืออจุ จาระ ดงั นนั้ การแพรเ่ ชื้อโคโรนาไวรัสสายพนั ธุ์ใหม่ ผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดก็ต้องได้รับ
เช้อื ผ่านการสูดดมละอองฝอยขนาดใหญ่และละอองฝอยขนาดเลก็ ในอากาศ รับเชื้อเข้าไปในทางเดนิ หายใจ หรอื ใคร
ที่อยู่ใกล้ผู้ป่วยในระยะ 1-2 เมตร ก็อาจจะติดเชื้อจากการสูดฝอยละอองขนาดใหญ่ และฝอยละอองขนาดเล็กจาก
การไอ จาม รดกันโดยตรง หรือหากอยู่ห่างจากผู้ติดเช้ือในระยะ 2 เมตรขึ้นไป ก็อาจติดเชือ้ จากการสูดฝอยละออง
ขนาดเล็กได้เหมือนกัน นอกจากนี้โคโรนาไวรัส สายพันธุ์ใหม่ ยังอาจแพร่เชื้อโดยการสัมผัสได้ เช่น การจับของใช้
สาธารณะร่วมกัน แล้วมาสมั ผสั เยอื่ บตุ ่างๆ ในร่างกาย เช่น ขยี้ตา สัมผัสปาก หรอื หยิบของกินเขา้ ปาก เปน็ ตน้

COVID-19 การทเ่ี ชื้อไวรัสจะก่อโรคในรา่ งกายเราได้ เราตอ้ งได้รบั เชอื้ ไวรัสดงั กล่าวผา่ นเย่อื บตุ ่างๆ
จนนำไปสกู่ ารติดเชื้อทีร่ ะบบทางเดินหายใจสว่ นบน เช่น เซลล์เย่ือบุหลอดลม ซึ่งไวรัสจะใช้ผวิ เซลล์ของไวรัสจับกับ
เอนไซม์ท่ผี วิ เซลล์มนุษย์ จากนนั้ ไวรัสจะค่อยๆ เพ่ิมจำนวนเชอื้ ในตัวเรา ซง่ึ หากภูมติ า้ นทานของเราไม่สามารถจดั การ
กบั เช้ือไวรสั นไ้ี ด้ จำนวนเชอื้ ไวรัสกจ็ ะเพม่ิ มากข้นึ และกระจายไปยังเซลล์ขา้ งเคยี ง ทำลายเซลลใ์ นหลอดลมและปอด

- 110 -

ทำใหป้ อดอกั เสบและเกิดภาวะทางเดินหายใจล้มเหลวได้ ติดเชื้อโคโรนาไวรสั แล้วอันตรายต่อปอดแคไ่ หน ตอ้ งบอก
ว่า ไมใ่ ช่ทุกคนทเ่ี ป็นโรคนี้ แล้วเชื้อจะลงปอดเสมอไป โดยกรมควบคุมโรคเคยให้ข้อมูลไวว้ ่า มีเพียง 15-20% ที่เชื้อ
ลงปอดแล้วทำให้เป็นปอดอักเสบ แต่เมื่อลงปอดไปแล้วจะก่อความรุนแรงแค่ไหน ขึ้นอยู่กับ
ภูมิต้านทานร่างกายของแต่ละคน ขณะที่ข้อมูลผูต้ ิดเชื้อในประเทศจีนพบวา่ การลงปอดมักเกิดขึน้ ในสปั ดาหท์ ี่สอง
หลังจากไดร้ ับเช้ือแลว้ แต่มีผู้ติดเชือ้ ประมาณ 80% ท่เี ช้อื ไม่ลงปอด เป็นเพียงไข้หวดั ธรรมดา

ทั้งนี้ กรณีเชื้อไวรัสลงปอดจะเกิดขึ้นเมื่อเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายแล้วจะแบ่งตัวและเจริญเติบโตใน
เซลลม์ นษุ ย์ เช่น เซลลข์ องเย่ือบุหลอดลม จงึ จะกอ่ โรคได้ และเซลลม์ นษุ ย์ทีต่ ิดเชือ้ จะเพิ่มจำนวนและปล่อยเช้ือไวรัส
ออกมานอกเซลล์ เพอื่ ไปกอ่ โรคในเซลล์ข้างเคียง เมื่อเชือ้ ไวรสั เพม่ิ มากขนึ้ เรื่อยๆ จะทำลายเซลล์มนุษย์ในหลอดลม
ถงุ ลม และเน้ือปอด รวมทัง้ เซลลข์ า้ งเคยี งดว้ ย หากภมู ิคุม้ กนั ของร่างกายไม่แข็งแรงพอ หรือสรา้ งภูมิต้านทานข้ึนมา
ช้า เพราะเม็ดเลือดขาวเพิ่งพบกบั เชื้อไวรัสเปน็ ครั้งแรก ทำให้ภูมิต้านทานทำลายเชื้อไม่ทัน ผู้ป่วยจะมีอาการปอด
อักเสบ และเมือ่ เซลลท์ ่ีตดิ เชอื้ จำนวนมากตาย จะถูกทดแทนดว้ ยพงั ผดื ในเวลา 2-3 สปั ดาหห์ ลังการเจ็บป่วย อย่างไร
ก็ตาม มขี ้อมูลว่า ผปู้ ว่ ยที่มอี าการปอดอักเสบส่วนใหญ่ เนื้อปอดจะถกู ทำลายไปราว 20% ซึ่งหากเนอ้ื ปอดถูกทำลาย
ไมถ่ ึง 50% ร่างกายฟ้ืนฟเู องไดต้ ามสภาพแตล่ ะคน ทวา่ จะมีผู้ปว่ ยราว 5% ทเ่ี น้ือปอดถกู ทำลาย 70-80% กรณีน้ีถือ
วา่ วิกฤต ร่างกายอาจฟนื้ ตัวไม่ไหว หรอื แพทย์อาจตอ้ งใช้เคร่ือง ECMO หรอื เคร่อื งหัวใจ-ปอดเทียมแบบเคล่ือนย้าย
มาทำงานแทนหวั ใจและปอดของผู้ป่วย ซึ่งหากช่วยไม่ไหว สุดท้ายแล้วระบบหายใจจะล้มเหลวและเปน็ เหตใุ ห้ผูต้ ดิ
เชอ้ื โคโรนาไวรสั เสียชีวิต

COVID-19 ผู้ป่วย COVID-19 มีโอกาสเป็นปอดอักเสบได้มากน้อยแค่ไหนโดยทั่วไปแล้ว หากเป็น
คนที่มีภมู ิต้านทานแขง็ แรง ไม่มีโรคประจำตัว ไม่มีปัญหาท่ีปอด ส่วนใหญ่จะสามารถทนตอ่ การกอ่ โรคของเชื้อโคโร
นาไวรสั สายพันธ์ใุ หม่ ทค่ี อ่ ยๆ เพิม่ จำนวนขึน้ พรอ้ มกันนั้นภมู ิคมุ้ กนั ของร่างกายกจ็ ะพยายามต่อสู้กับเชื้อไวรัสได้ทัน
กาล กอ่ นท่ปี อดจะเสียหายหนัก แตส่ ำหรับคนท่ีมภี ูมิต้านทานไม่แขง็ แรง เช่น ผสู้ งู อายุ ผ้ทู ่ีมีโรคประจำตัวผู้ท่ีได้รับ
ยากดภูมิคุ้มกัน ทำให้ร่างกายผลิตเซลล์เม็ดเลือดขาวมาสู้โรคได้ไม่ทัน หรือผู้ที่มีโรคปอดเรื้อรังอยู่แล้ว รวมทั้งคน
ที่สูบบุหรี่บ่อยๆ ก็อาจทำให้ปอดตดิ เชื้ออย่างรุนแรงและรวดเร็วขึ้น โคโรนาไวรัส สายพันธุ์ใหม่ มีชีวิตอยู่ได้นานแค่
ไหน ขอ้ มลู จาก ศ. นพ.ธีระรัฒน์ เหมะจฑุ า เผยว่า เชอื้ โคโรนาไวรสั จะมีชวี ิตอย่ไู ด้ทีอ่ ุณหภมู ิประมาณ 20-40 องศา
เซลเซียส โดยสามารถอยู่บนพื้นผวิ ได้นานถงึ 20 วัน ในสภาพอากาศเย็น และในสภาพอากาศรอ้ น เช้อื ไวรัสจะอยู่ได้
3-9 วัน ขณะที่เพจ Infectious ง่ายนิดเดียวให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า จากการศึกษาไวรัสที่มีลักษณะคล้ายกัน พบว่า
สามารถอยูบ่ นพ้ืนผิวโลหะ แกว้ ไม้ หรอื พลาสติก ประมาณ 4-5 วนั ณ อณุ หภูมิหอ้ ง แต่ในสภาพภมู อิ ากาศประมาณ
4 องศาเซลเซยี ส เชอ้ื จะอยู่ได้ราว ๆ 28 วัน ในกรณีอุณหภูมมิ ากกว่า 30 องศาเซลเซียส อายุเชอ้ื ไวรัสจะส้นั ลง และ
ในสภาพความชนื้ ทม่ี ากกว่า 50% เชอื้ ไวรสั จะอยไู่ ด้นานกวา่ สภาพความชื้นท่ี 30%

โคโรนาไวรัส สายพันธุ์ใหม่ กลัวอะไร เชื้อไวรัสตัวนี้ไม่ทนความร้อน ดังนั้นแค่เจออุณหภูมิ 70
องศาเซลเซียส ก็ทำให้เชื้อตายได้ นอกจากน้ีเชือ้ ไวรสั ตัวนี้ยังจะตายได้ง่าย ๆ ด้วยแอลกอฮอล์ที่ความเข้มข้น 70%
และการทำความสะอาดด้วยสบู่อย่างเหมาะสม กลา่ วคอื ลา้ งมอื ด้วยสบู่เป็นระยะเวลา 15-30 วนิ าที รวมไปถึงสาร

- 111 -

ลดแรงตึงผิวต่าง ๆ เช่น ผงซักฟอก สารฟอกขาว (Sodium hypochlorite) ที่ความเข้มข้น 0.1-0.5% โพวิโด
ไอโอดีน 1% หรือไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ 0.5-7.0% เป็นต้น สิ่งเหล่านี้แหละท่ีโคโรนาไวรัสจะไม่ทน เพราะไวรัส
ชนิดนี้มีไขมันหุ้มอยู่ด้านนอก ดังนั้น หากใช้สารลดแรงตึงผิวทำลายไขมันที่หุม้ อยู่ได้ ก็จะฆา่ ไวรัสได้ COVID-19 วิธี
ปอ้ งกนั โคโรนาไวรัส ควรทำยงั ไง เราสามารถป้องกนั การตดิ เชือ้ โคโรนาไวรัสได้ ดงั น้ี

1. หลกี เลย่ี งการอย่ใู นพื้นท่ีทมี่ กี ารระบาดของโรค
2. สวมหนา้ กากอนามยั ซง่ึ จะชว่ ยลดความเสยี่ งในการสูดดมละอองฝอยขนาดใหญ่ไดถ้ ึง 80%
3. อยหู่ า่ งจากผู้ปว่ ย หรือผู้ทมี่ ีอาการไอ จาม อย่างนอ้ ย 2 เมตร
4. ล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังจับหรือใช้ของสาธารณะ หลังเข้าห้องน้ำ และก่อนรับประทาน
อาหาร
5. หลกี เล่ยี งการเอามือสมั ผัสใบหนา้ และดวงตา
6. กินอาหารปรงุ ร้อน สดใหม่ และใชช้ อ้ นกลางทุกคร้งั

จริงๆ แล้วเราสามารถป้องกัน และลดความเสี่ยงการติดเชื้อโคโรนาไวรัส ซึ่งเป็นสาเหตุ
ของโรค COVID 19 ได้ ดงั นั้นอยากใหท้ ุกคนดแู ลสขุ ภาพและรกั ษาสุขอนามัยของตวั เองให้ดี จะได้ห่างไกลจากโรคน้ี
กนั อาการของไวรัสโควดิ -19 ทีส่ งั เกตไดง้ า่ ย ๆ ดว้ ยตวั เอง ดังนี้

1. มีไข้
2. เจบ็ คอ
3. ไอแหง้ ๆ
4. นำ้ มูกไหล
5. หายใจเหน่ือยหอบ
กลุม่ เสีย่ งตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนาสายพันธใุ์ หม่ หรอื โควดิ -19
1. เดก็ เลก็ (แตอ่ าจไม่พบอาการรนุ แรงเท่าผูส้ ูงอายุ)
2. ผู้สงู อายุ
3. คนท่มี โี รคประจำตัวอยแู่ ลว้ เชน่ โรคหวั ใจ เบาหวาน โรคปอดเร้อื รัง
4. คนที่ภูมิคุ้มกันผดิ ปกติ หรอื กินยากดภูมติ ้านทานโรคอยู่
5. คนท่มี ีน้ำหนกั เกนิ มาตรฐานมาก (คนอว้ นมาก)
6. ผู้ที่เดินทางไปในประเทศเสย่ี งติดเช้อื เช่น จนี เกาหลีใต้ ญป่ี ่นุ ไตห้ วนั ฮอ่ งกง มาเก๊า สิงคโปร์
มาเลเซีย เวียดนาม อิตาลี อิหรา่ น ฯลฯ
7. ผู้ทตี่ อ้ งทำงาน หรือรกั ษาผู้ป่วย ติดเชือ้ ไวรสั โคโรนาสายพันธ์ใุ หม่ หรือโควดิ -19 อย่างใกลช้ ดิ
8. ผู้ที่ทำอาชีพที่ต้องพบปะชาวต่างชาติจำนวนมาก เช่น คนขับแท็กซี่ เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล
ลกู เรือสายการบินตา่ ง ๆ เป็นต้น

- 112 -

หากมอี าการโควิด 19 ควรทำอย่างไร?
หากมอี าการของโรคท่ีเกิดขน้ึ ตาม 5 ข้อดงั กลา่ ว ควรพบแพทยเ์ พอื่ ทำการตรวจอย่างละเอยี ด และ

เมื่อแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบัง ไม่บิดเบือนข้อมูลใด ๆ เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อ
การวนิ ิจฉัยโรคอย่างถูกต้องมากที่สดุ หากเพงิ่ เดินทางกลับจากพนื้ ที่เสยี่ ง ควรกกั ตวั เองอยแู่ ต่ในบ้าน ไม่ออกไปข้าง
นอกเปน็ เวลา 14-27 วัน เพอื่ ใหผ้ ่านช่วงเชอื้ ฟกั ตัว (ใหแ้ น่ใจจรงิ ๆ ว่าไม่ติดเช้อื )
วธิ ปี อ้ งกนั การติดเชอื้ ไวรัสโคโรนาสายพนั ธใุ์ หม่

1. หลีกเลี่ยงการใกล้ชดิ กบั ผู้ป่วยทม่ี อี าการไอ จาม นำ้ มกู ไหล เหนอ่ื ยหอบ เจ็บคอ
2. หลีกเลย่ี งการเดินทางไปในพืน้ ท่เี สี่ยง
3. สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่ออยู่ในทีส่ าธารณะ ระมัดระวังการสัมผัสพื้นผิวที่ไม่สะอาด และ
อาจมีเชื้อโรคเกาะอยู่ รวมถึงสิ่งที่มีคนจับบ่อยครั้ง เช่น ที่จับบน BTS, MRT, Airport Link ที่เปิด-ปิดประตูในรถ
กลอนประตตู ่าง ๆ ก๊อกนำ้ ราวบันได ฯลฯ เมอื่ จบั แล้วอย่าเอามือสมั ผัสหน้า และขา้ วของเคร่ืองใชส้ ่วนตวั ตา่ ง ๆ เช่น
โทรศัพทม์ อื ถือ กระเปา๋ ฯลฯ
4. ล้างมือให้สม่ำเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของ
แอลกอฮอล์ไมต่ ำ่ กวา่ 70% (ไมผ่ สมน้ำ)
5. งดจับตา จมูก ปากขณะท่ีไมไ่ ดล้ ้างมอื
6. หลีกเลยี่ งการใกล้ชดิ สัมผัสสัตว์ตา่ ง ๆ โดยทไี่ มม่ ีการปอ้ งกนั
7. รบั ประทานอาหารสุก สะอาด ไม่ทานอาหารทท่ี ำจากสตั ว์หายาก สำหรบั บุคลากรทางการแพทย์
หรือผู้ที่ต้องดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโควิด-19 โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่
แว่นตานริ ภัย เพ่อื ปอ้ งกนั เชอ้ื ในละอองฝอยจากเสมหะหรอื สารคดั หลงั่ เข้าตา
โรคภมู ิแพ้ (allergy)
โรคภูมแิ พ้ในไทยมีอัตราการตรวจพบมากขนึ้ 3-4 เท่า เม่อื เทียบกับเม่ือ 10 ปีก่อนโรคภูมิแพ้ที่พบ
มากท่ีสุดคือ โรคภูมิแพ้ของระบบทางเดนิ หายใจการหาสาเหตุของการแพ้ ดว้ ยวิธี Skin Prick Test สามารถจะช่วย
ให้แพทย์วางแผนรักษาต่อไดอ้ ย่างตรงจดุ การรักษาผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้ระบบหายใจ โดยการใช้ยาแล้วอาการไมด่ ีขึน้
อาจตอ้ งเสริมภูมิด้วยการฉดี วัคซนี
โรคภูมแิ พ้คืออะไร โรคภูมแิ พเ้ ป็นโรคท่ีเกดิ จากร่างกายของเราทมี่ ีปฏิกิริยาตอบโต้ต่อสารก่อภูมิแพ้
ตา่ งๆ ไรฝ่นุ รงั แคของสุนขั และแมว แมลงสาบ เกสรดอกหญ้า
อาการของโรคภมู แิ พ้ โรคนมี้ สี าเหตุนงึ มาจากพันธกุ รรม ดงั น้นั หากมบี คุ คลในครอบครัวเป็นโรคนี้
อาจสง่ ผลใหอ้ าการรนุ แรงขนึ้ และการแสดงอากาแพ้จะแสดงออกมาทางระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย โรคภมู แิ พ้
เกิดขึ้นกับระบบใดในรา่ งกายระบบหายใจ มีอาการตัง้ แตน่ ้ำมูกไหล จาม คันจมูก คัดจมูก (คนทั่วไปเรียกว่าโรคแพ้
อากาศ) หรอื อาจมอี าการรุนแรง เช่น ไอ แนน่ หนา้ อก มีอาการหอบ ซึง่ เป็นอาการของโรคหืด สาเหตุของโรคภูมิแพ้
ของระบบทางเดินหายใจ ส่วนมากเกิดจากสารก่อภูมิแพ้ในอากาศ โดยในคนไทยส่วนใหญ่มักเกิดจากการแพ้ไรฝุน่

- 113 -

รองลงมาคือ แมลงสาบ ขนและรงั แคสัตว์เลี้ยง เช่น แมว สุนัข เกสรพืช หรอื เช้อื ราในอากาศ “สำหรับในเด็กเล็กๆ
การแพอ้ าหารเช่น นมววั ไข่ อาจแสดงอาการออกมาทางระบบหายใจได้ เชน่ หายใจครดื คราด เปน็ ตน้ ”ผิวหนัง เช่น
ผื่นลมพิษ ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Eczema) หรือ ผื่นแพ้จากการสัมผัส สาเหตุใหญ่ของลมพิษมักเกิดจากอาหารและยา
ส่วนผื่นภูมิแพ้ผิวหนังมักเกิดขึ้นในเด็กที่มีพันธุกรรมของโรคภูมิแพ้ในครอบครัว อาจเกิดจากการแพ้อาหาร เช่น
นมวัว ไข่ ซึ่งทำให้เกิดผื่น โดยมักเกิดบริเวณแก้มในเด็กเล็กหรือข้อพบั ในเด็กโตระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ อาการ
ปวดทอ้ ง อาเจียน ถา่ ยเปน็ มกู เลอื ด สาเหตสุ ว่ นใหญเ่ กดิ จากการแพ้อาหาร
ระบบอื่นๆ (ที่มักมีอาการรุนแรง) ผู้ป่วยบางรายมีอาการแพม้ าก อาจมีอาการเกิดขึ้นในทุกระบบ เช่น หอบ ลมพิษ
ช็อค หรืออาจรุนแรงจนเสียชีวิตภายหลังจากการกินอาหารบางชนิด เช่น กุ้ง ถั่วลิสง ฯลฯ หรือภายหลังได้รับยา
เช่น เพนิซลิ ลิน

โรคภูมิแพ้พบมากน้อยเพียงใด ? ปัจจุบันโรคภูมิแพ้พบมากขึ้นทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย
มีอุบัติการณ์ของโรคภูมิแพ้มากขึ้น 3-4 เท่า เมื่อเทียบกับเมื่อ10 ปีก่อน โดยพบโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ร้อยละ
23-30 โรคหืดรอ้ ยละ 10-15 โรคผนื่ ผวิ หนงั อักเสบจากภมู ิแพร้ ้อยละ 15 และโรคแพ้อาหารรอ้ ยละ 6 การพบโรค
ภูมิแพ้ของระบบการหายใจเพิ่มขึ้นในประเทศไทยก็เพราะวิถีของคนไทยเปลี่ยนไป ประชากรมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น
อย่กู นั อยา่ งแออัด บา้ นเรือนจากเดมิ ทมี่ ีลกั ษณะโปรง โล่ง มกี ารถา่ ยเทอากาศดเี ปล่ียนไปเปน็ แบบตะวันตกมากขึ้น มี
เพดานเตีย้ ประดบั ประดาไปด้วยเคร่ืองเรือน ปดิ หน้าตา่ งตลอดเวลา เปิดเครือ่ งปรับอากาศ ภายในห้องมีพรมซึ่งมีไร
ฝุ่นมาก มตี น้ ไม้ประดบั ซึ่งมีเชื้อรา นิยมเล้ยี งสนุ ขั แมวในบา้ น บางคนถึงกับเอาไปนอนด้วย สง่ิ ตา่ งๆ เหล่านี้ล้วนเป็น
สารก่อภูมแิ พท้ ่เี ราสดู หรอื สัมผัสเข้าสรู่ ่างกายตลอดเวลาย่งิ กระต้นุ ใหร้ ่างกายเกิดอาการแพ้ขึ้น นอกจากนีย้ ังมีปัจจัย
อื่น ๆ เช่น มลพิษในอากาศ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ฝุ่นละอองตามถนน ควันจากท่อรถยนต์และจากโรงงาน
อุตสาหกรรม ควนั บุหรี่ เหลา่ น้ีล้วนเป็นปัจจยั ทำให้เกดิ อุบัตกิ ารณข์ องโรคภมู ิแพ้ในปจั จุบันเพม่ิ มากขน้ึ เชน่ กัน

สาเหตุของโรคภมู ิแพ้ พันธุกรรม โรคภูมแิ พห้ ลายโรค จะเกดิ ขนึ้ ได้งา่ ยถา้ มพี ันธุกรรม เชน่ โรคหืด
โรคแพ้อากาศ และผื่นภูมิแพ้ในเด็กยิ่งถ้ามีประวัติว่าทั้งพ่อและแม่เป็น จะยิ่งมีโอกาศมากกว่าพ่อหรือแม่เป็นฝ่าย
เดียว กล่าวคือถ้าพอ่ หรือแมเ่ ปน็ โรคภูมแิ พ้จะทำให้ลูกมีโอกาสเปน็ โรคภูมิแพ้ประมาณร้อยละ 30-50 แต่ถ้าทั้งบดิ า
และมารดาเป็นโรคภูมิแพ้จะมีผลให้บุตรมีโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้มากขึ้นถึงร้อยละ 50-70 ในขณะที่เด็กที่มาจาก
ครอบครวั ทีไ่ ม่มีประวตั โิ รคภมู ิแพ้เลยมโี อกาสเป็นโรคภูมิแพ้เพยี ง 10% โรคภูมิแพ้บางอยา่ ง สาเหตุจากพนั ธกุ รรมไม่
ค่อยเป็นปัจจัยสำคัญมากนัก เช่น ลมพิษ แพ้จาการสัมผัส เช่น แพ้เครื่องประดับ แพ้เครื่องสำอาง เป็นต้น
สิ่งแวดล้อม เปน็ ปจั จยั ทสี่ ำคญั มาก เพราะสารกอ่ ภูมิแพ้ท่จี ะเข้าสรู่ า่ งกายเราเกิดจากสงิ่ แวดล้อมทัง้ สิ้น ไม่ว่าสารก่อ
ภูมิแพ้ที่เข้าร่างกายโดยการหายใจ การรับประทาน หรือการสัมผัส สารก่อภูมิแพ้บางอย่างสังเกตได้ง่าย เช่น มี
อาการหลังจากรับประทานทะเลอาจเกิดผื่นลมพษิ ภายในเวลาครึ่งชั่วโมง หรือกินยาแล้วมีผื่นขึ้น ผู้ป่วยกวาดบ้าน
เล่นกับแมวหรอื สุนขั แลว้ เกิดอาการจาม คดั จมูกหรือหอบ สารก่อภมู แิ พบ้ างอย่างสงั เกตได้ยากเพราะมองไมเ่ ห็นด้วย
ตาเปล่า เช่น เกสร เชื้อราในอากาศ หรือไรฝุ่นในบ้าน ซึ่งพบมากตามที่นอน หมอน โซฟา ห้องรับแขก พรม ฯลฯ

- 114 -

นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยร่วมที่ทำให้เกิดของโรคภูมิแพ้ได้ง่ายขึ้นหรือมีอาการรุนแรงขึ้น เช่น อากาศเย็น มลพิษใน
อากาศจากความควนั รถ ควันโรงงาน อุตสาหกรรม ฝนุ่ ละอองตามท้องถนน ควนั บุหรีอ่ ีกด้วย

มอี าการอย่างไร จงึ สงสัยวา่ เปน็ โรคภูมแิ พ้ ระบบการหายใจ ตง้ั แตจ่ าม คนั จมูก น้ำมกู ไหล คัดจมูก
คันตา คนั คอ หรือไอเร้อื รงั มีเสมหะ มอี าการหอบเหนอื่ ย หายใจเสยี งดงั ว้ดี ๆ อาการดังกลา่ วอาจเป็นๆ หายๆ อาจมี
อาการเป็นไปตามฤดูกาล หรือเป็นตลอดเกือบทั้งปี ขึ้นอยู่กับความรุนแรงและสาเหตุระบบผิวหนัง อาจแสดงเป็น
ลมพิษ ผื่นคันตามข้อพับ ในเด็กอาจมีผื่นแดงบริเวณแก้มระบบทางเดินอาหาร ตั้งแต่คลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง
ปวดท้อง ถา่ ยเป็นมูกเลอื ด แสดงอาการทกุ ระบบ ในคนไข้ทีแ่ พ้รุนแรง อาจมที ง้ั อาการหอบ หายใจลำบาก ลมพิษขึ้น
ช็อคหรืออาจเสยี ชวี ติ

การวินิจฉัยโรคภูมิแพ้ แพทย์จะซักประวัติผู้ป่วยโดยละเอียด การตรวจร่างกาย ตรวจทาง
ห้องปฏบิ ัติการในบางราย หรือในรายทต่ี อ้ งการทราบสาเหตวุ า่ แพ้อะไรอาจใชก้ ารทดสอบผิวหนงั การทดสอบภูมิแพ้
ทางผิวหนัง การทดสอบผิวหนัง หรือ skin prick test เพื่อตรวจหาว่าผู้ป่วยแพ้สารก่อภูมิแพ้ชนิดใดบ้าง โดยมีวิธี
ทดสอบ ดังนี้

แพทย์หยดน้ำยาซ่งึ เปน็ สารสกัดลงบนทอ้ งแขนหรือบรเิ วณหลงั
ใชเ้ ขม็ สะกดิ เบาๆ (วธิ นี ม้ี กั ทำไดใ้ นเด็กอายุ 2 ปขี ึ้นไปที่ใหค้ วามร่วมมือ)
หลงั จากสะกดิ แพทย์จะอา่ นผลใน 15-20 นาที และจะรวู้ า่ แพ้สารอะไร
* คนไขต้ ้องงดรับประทานยาแกแ้ พ้ ยานอนหลับ กอ่ นการทดสอบ 1 สปั ดาห์
* หากมีการใชย้ าสเตียรอยด์ควรแจ้งให้แพทยท์ ราบก่อนการทดสอบ
การรักษาโรคภูมิแพ้ หลีกเลี่ยงจากสารที่แพ้ (ถ้าเราทราบว่าแพ้สารอะไร) หากทราบว่าแพ้สาร
อะไร ก็พยายามหลีกเลี่ยงสารน้นั ให้มากท่สี ดุ เม่อื สารกอ่ ภมู ิแพ้ไม่เข้ารา่ งกายก็จะไมม่ ีอาการ สารก่อภมู ิแพบ้ างอย่าง
หลีกเลี่ยงง่ายเช่น หลีกเลี่ยงจากสัตว์เลี้ยง จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการของโรคลดลงได้ สารบางอย่างหลีกเลี่ยงได้ยาก
เช่น เกสรหญ้า เกสรต้นไม้ เชื้อราในอากาศ ที่มีอยู่ในบรรยากาศทีเ่ ราหายใจ มีมากน้อยแล้วแตส่ ถานที่และฤดูกาล
สารบางอย่างหลีกเลี่ยงได้ยากแต่ทำให้น้อยลงได้ เช่น ไรฝุ่นตามที่นอน หมอน พรม ก็หมั่นทำความสะอาด ดูดฝุ่น
สมำ่ เสมอ ผ้าปูท่ีนอน ปลอกหมอนควรทำความสะอาดบอ่ ยๆ ถ้าซกั ด้วยเครือ่ งควรปรบั อุณหภูมิให้ร้อนประมาณ 60
องศาเซลเซียส และซักทุกสัปดาห์ จะช่วยลดจำนวนไรฝุน่ ได้ หรืออาจใช้ผ้าปูที่นอน ปลอกหมอนกนั ไรฝุ่น ก็จะช่วย
ลดไรฝุ่นในที่นอน ที่ก่อให้เกิดอาการได้พอสมควร ในกรณีที่ผู้ป่วยแพ้จากการสัมผัส เช่น ผื่นคันบริเวณที่ถูก
เครื่องประดับ เครื่องสำอาง ก็งดการใช้ผื่นก็จะไม่เกิด ให้ยาเฉพาะโรค การใช้ยามักเป็นการควบคุมอาการไม่ให้
เกิดขึ้น ในปัจจุบันเมื่อเข้าใจพยาธิสภาพของโรคต่างๆ ดีขึ้น ก็สามารถใช้ยาควบคุมอาการ ลดการอักเสบ
นอกเหนือจากการใชย้ าระงับอาการ ทำใหค้ วบคุมโรคต่างๆ ไดง้ ่ายข้นึ เชน่ การฉีดวัคซีนภมู ิแพ้ โรคภูมิแพ้ระบบ
หายใจ เช่น โรคแพ้อากาศ โรคหืด ที่มีสาเหตุจากาการแพ้สารก่อภูมิแพ้บางอย่างซึ่งไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น
เกสรพืช เชื้อรา หรือ ไรฝุ่น และถ้าผู้ป่วยมีอาการมากใช้ยาแล้วไม่ดีขึ้นอาจต้องเสริมภูมิด้วยการฉีดวัคซีนภูมิแพ้
วิธกี ารกค็ อื ฉีดสารสกดั ที่ผู้ป่วยแพเ้ ข้ารา่ งกายครงั้ ละน้อยๆ คอ่ ยๆ เพิม่ จำนวนจนถงึ ระดับท่ีควบคุมอาการได้แต่ต้อง

- 115 -

ใช้ระยะเวลานาน ระยะแรกๆ อาจต้องฉีดทุกสัปดาห์นานประมาณ 6 เดือน ต่อไปอาจจะทุก 2 สัปดาห์ ทุก 3
สปั ดาห์ และ 4 สปั ดาห์ ตามลำดับ การรกั ษาแบบน้ี กินเวลานานอาจใช้เวลา 3-6 ปี ซ่งึ ทำให้อาการต่างๆ ลดน้อยลง

การป้องกนั ไมใ่ ห้เกดิ โรคภูมแิ พ้ ใหท้ ารกกนิ นมแมอ่ ยา่ งเดยี วต้ังแตแ่ รกเกดิ จนถึงอายุอย่างนอ้ ย 4-6
เดือน ใหน้ มสูตรพิเศษ กรณที ่ีนมแม่ไม่พอหรือจำเปน็ ตอ้ งใหน้ มอนื่ เสรมิ อาจมีประโยชน์ในการปอ้ งกนั การเกิดผื่นแพ้
ผิวหนงั อักเสบในทารกกลุ่มเสีย่ ง

อาหารเสริมตามวัยสามารถใหไ้ ดเ้ มอ่ื ทารกอายุ 4-6 เดอื น ทั้งน้ขี ึ้นกบั ความพร้อมของทารก โดยเร่ิม
จากอาหารทีม่ ีความเสี่ยงตอ่ การแพน้ อ้ ยกอ่ น เช่น ขา้ ว ผกั ใบเขยี ว ไก่ หมู เป็นต้น

หลีกเลี่ยงสารก่อภูมแิ พ้ในบ้านโดยเฉพาะอยา่ งย่ิง ห้องนอนทารกควรเป็นหอ้ งโปรง่ สะอาด มีของ
เท่าทีจ่ ำเป็น ทีน่ อน หมอน ควรใชช้ นดิ ใยสังเคราะห์ หลีกเลย่ี งนุ่น ผ้าปูท่ีนอน ปลอกหมอนควรซกั บอ่ ยๆ ถ้าเป็นไป
ได้ ควรซกั ในนำ้ ร้อน ไมค่ วรมตี ุ๊กตาทม่ี ีขน พรม หรือหนังสือในห้องนอน เชด็ ถู ทำความสะอาดหอ้ งเป็นประจำ ควร
เปิดให้อากาศถ่ายเทและแสงแดดเข้าได้ ไมค่ วรมผี ู้สูบบหุ รีใ่ นบ้าน ใหห้ ลกี เล่ียงควนั สิง่ ระคายทางระบบหายใจให้มาก
ท่ีสดุ นอกจากนั้นพยายามหลกี เล่ยี งการตดิ เชอ้ื ระบบการหายใจ เพราะเชอ้ื ไวรัสบางอย่างมผี ลทำใหเ้ ด็กมีโอกาสเป็น
โรคภูมแิ พไ้ ด้ง่ายขึน้ หรอื มอี าการมากขึ้น 10 วิธีป้องกันโรคภูมแิ พ้

ในปัจจุบันโรคภูมแิ พถ้ ือเปน็ โรคยอดนยิ มท่ีคนเมืองเปน็ กนั มากที่สุดโรคหน่งึ ซึ่งแน่นอนว่าสาเหตุก็
มาจากสภาพแวดลอ้ มของสงั คมเมืองใหญท่ เี่ ตม็ ไปด้วย ฝุ่น ควัน และมลภาวะ รวมถึงภยั ลา่ สุดอย่างฝุน่ PM 2.5 โดย
สง่ิ เหล่านี้ลว้ นแล้วแต่เป็นตวั กระตนุ้ อาการภูมิแพ้ และสง่ ผลให้ร่างกายค่อย ๆ อ่อนแอลง ถ้าใครทเ่ี คยหรือกำลังเป็น
โรคภมู ิแพอ้ ยจู่ ะรวู้ า่ โรคน้ีสามารถก่อทั้งความรำคาญและความทรมานจากอาการ ไอ จาม คดั จมูก น้ำมูกไหล น้ำตา
ไหล หรืออาการคันตามตัว ซ่งึ ต้องบอกก่อนว่านีย่ งั ไมใ่ ช่ปัญหาใหญท่ ่สี ุดของโรคภมู แิ พเ้ พราะปัญหาจริง ๆ คือเมื่อคณุ
เปน็ ภมู แิ พค้ ร้ังหนึง่ แล้วจะหาทางรษาให้หายขาดได้ยากมาก ดงั นนั้ ทางทดี่ ที ี่สดุ ก็คอื หาวิธีปอ้ งกนั ตัวเองเพ่ือลดความ
เสี่ยงจากการเปน็ โรคน้ีจะดกี ว่า วา่ แล้ววนั นเ้ี รากจ็ ะมาแชร์ 10 วธิ ปี อ้ งกนั โรคภูมิแพ้ ทจี่ ะช่วยปกป้องคุณจากภูมิแพ้
ไดแ้ ทบทุกชนิดไม่ว่าจะภมู แิ พ้ฝุ่น ภมู ิแพ้อากาศ ภมู ิแพผ้ วิ หนัง หรอื ภูมแิ พ้ทางเดินหายใจ ถา้ ใครอยากรู้ว่าจะต้องทำ
อย่างไรบา้ งก็ตามมาดูกนั ได้เลย

1. ทำความสะอาดร่างกายอย่างสม่ำเสมอ สำหรับวิธแี รกท่จี ะช่วยป้องกนั การเกดิ โรคภูมิแพ้ได้ก็คือ
การชำระล้างและทำความสะอาดร่างกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเป็นการกำจัดเศษฝุ่นละออง หรือเกสรดอกไม้ที่อาจ
ตดิ ตามตัวเวลาออกไปนอกบ้าน ซ่ึงถา้ หากเราไม่ได้ทำความสะอาดร่างกายให้ดเี ศษฝุ่นและละอองเกสรเหล่าน้ีอาจจะ
เกิดการหมักหมมและส่งผลให้ร่างกายเกิดอาการแพ้ได้ นอกจากนี้เศษฝุ่นที่ติดอยู่กับร่างกายแล้วไม่ได้รับการชำระ
ลา้ งออกไปกจ็ ะลอยวนอยใู่ นบา้ นของเราอีกตา่ งหาก

2. ทำความสะอาดที่อยูอ่ าศยั อยเู่ ป็นประจำ บา้ นของเราเป็นเหมือนศูนย์รวมฝนุ่ โดยเฉพาะบ้านทีอ่ ยู่
ใจกลางเมอื งหรืออยูต่ ิดถนนใหญ่จะมีฝุน่ เยอะมากเป็นพิเศษ ซง่ึ เจ้าฝ่นุ ท่ลี อยเข้ามาก็จะหลบอย่ตู ามซอก มุม และใต้
ข้าวของเคร่ืองใชต้ า่ ง ๆ ของบ้าน ซ่ึงถา้ หากปล่อยไว้ก็จะหมักหมมจนกลายเป็นสาเหตขุ องภมู แิ พ้ เราจงึ ต้องมกี ารทำ
ความสะอาดท่อี ยอู่ าศัยอยเู่ ปน็ ประจำ โดยเฉพาะห้องนอนจะตอ้ งได้รบั การดูแลมากเปน็ พิเศษ เพราะไม่ว่าจะหมอน

- 116 -

ท่นี อน หรอื ผา้ หม่ ของเราก็ล้วนแล้วแต่เป็นท่ีอาศัยของไรฝุน่ ซง่ึ เจ้าไรฝนุ่ ตัวรา้ ยน้ีถอื เปน็ สาเหตหุ ลักอนั ดบั ต้น ๆ ของ
อาการโรคภมู ิแพ้ เมื่อไหรก่ ็ตามทเ่ี ราสูดดมเขา้ ไปไรฝุน่ เข้าไปมาก ๆ กอ็ าจจะทำให้เกิดอาการภมู ิแพ้ต่าง ๆ เช่น เยื่อ
จมกู อักเสบ ผวิ หนังอักเสบ และอาการของโรคหอบหดื เป็นตน้

3. ใส่เสือ้ ผา้ ท่สี ะอาด เสอ้ื ผ้าที่สะอาดเป็นอีกปจั จัยท่จี ะช่วยปอ้ งกนั การเกดิ โรคภมู แิ พ้ได้ เพราะเวลา
ที่เราออกไปข้างนอกบา้ นเสื้อผ้าถือจะกลายแหล่งสะสมของฝุ่นและเป็นตัวนำพาฝุ่นเข้ามาในบ้านของเรา ดังนั้นจึง
ควรซักทำความสะอาดเสอ้ื ผ้าใหด้ แี ละนำไปตากแดดทุกครงั้ เพื่อป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดเชอื้ ราด้วย

4. รักษาอุณหภูมิของร่างกายให้อบอุ่นเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคภูมิแพ้เราควรจะรักษา
อุณหภมู ิร่างกายให้อบอนุ่ อยู่เสมอ ควรหลกี เลี่ยงการอยู่ในท่ีที่หนาวและรอ้ นจัดเกนิ ไปหรือการท่ีอุณหภูมิเปล่ียนข้ึน
ลงอย่างรวดเร็ว เพราะสิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่จะส่งผลให้ภูมิต้านทานของเราต้องทำงานหนักขึ้น และทำให้ร่างกาย
อ่อนแอจนเกิดอาการภมู แิ พ้ไดน้ ่ันเอง

5. หมั่นออกกำลังกายอยู่เป็นประจำ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอถือเป็นวิธีป้องกนั และช่วย
บรรเทาอาการของโรคภูมิแพไ้ ดด้ ีที่สุดวิธีหนึง่ เพราะการออกกำลังกายจะช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานใหแ้ ข็งแรง และ
ชว่ ยซอ่ มแซมภมู ิคุ้มกนั ทบี่ กพรอ่ งใหก้ ลบั มาทำงานได้ดดี งั เดิม

6. พักผอ่ นให้เพียงพอ การพกั ผ่อนให้เพียงพอเป็นอีกวิธีท่ีจะช่วยเสริมสร้างภมู ิต้านทานให้แข็งแรง
ลองสงั เกตดวู ่าถ้าหากชว่ งไหนท่พี กั ผ่อนน้อยคุณจะรู้สกึ อ่อนเพลยี และป่วยง่ายเนอ่ื งจากร่างกายมีภูมิต้านทานต่ำลง
นอกจากน้กี ารพกั ผอ่ นนอ้ ยจะทำให้สารฮสิ ตามนี ซ่ึงเป็นสารสำคัญท่ีก่อให้เกิดอาการภูมิแพห้ ล่งั ออกมามากขนึ้ อกี ดว้ ย

7. รับประทานอาหารหรืออาหารเสริมที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง การรับประทานอาหารหรือ
อาหารเสริมที่มีโภชนาการสูงเป็นอกี ทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยลดความเสี่ยงหรือช่วยบรรเทาอาการของโรคภูมิแพ้ได้
เพราะสารอาหารหลายอย่างสามารถช่วยเรื่องการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน ให้ภูมิคุ้มกันแข็งแรงและทำงานได้
อย่างเปน็ ปกติ โดยเฉพาะอาหารเสรมิ วติ ามนิ ซแี ละถ่งั เช่าชว่ ยโรคภูมแิ พไ้ ด้อยา่ งดเี ย่ียม

8. หลีกเลี่ยงความเครียด หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าจริงๆ แล้วความเครียดนั้นเป็นสาเหตุหนึ่งที่
กอ่ ใหเ้ กิดโรคภูมิแพ้ได้ เพราะความเครยี ดจะไปกระตุน้ ใหร้ ่างกายผลติ สารฮิสตามนี เพ่ิมขึ้น จึงทำให้เส่ียงท่ีจะเกิดเป็น
โรคภูมแิ พต้ ามมา นอกจากนถี้ ้าหากคุณมีความเครียดสะสมนานวันเข้าร่างกายของคุณจะผลิตฮอรโ์ มนคอร์ติซอล ซึ่ง
เป็นฮอร์โมนความเครยี ดที่สามารถเข้าไปรบกวนการทำงานของระบบภูมคิ ้มุ กันได้

9. งดพฤติกรรมท่สี ่งผลเสยี ต่อรา่ งกาย ถ้าอยากจะปอ้ งกนั ตัวเองจากโรคภมู ิแพ้คุณควรงด เชน่ การ
สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ เพราะพฤติกรรมเหล่านี้จะทำให้ร่างกายอ่อนแอ และเป็นต้นเหตุให้ภูมิคุ้มกันลดลง
ดังนั้นคนทม่ี พี ฤติกรรมที่ส่งผลเสียกบั รา่ งกายอย่เู ปน็ ประจำกค็ วรจะตอ้ งหาทางปรบั เปลยี่ นการใชช้ ีวติ ซะใหม่

10. หลีกเล่ียงสารเคมีทเ่ี ป็นตวั ก่อภูมิแพ้ รอบตวั เรานนั้ เตม็ ไปด้วยสารเคมี ไมว่ า่ จะในสบู่ ยาสระผม
หรือเครอ่ื งสำอาง ซึง่ ถึงแมจ้ ะมแี ค่เพียงเล็กน้อยแต่ถ้าใช้อย่างตอ่ เน่อื งกม็ คี วามเสย่ี งทีส่ ารเคมีเหล่านี้จะก่อให้เกิดโรค
ภูมิแพ้ได้ ซึ่งทางออกก็คือพยายามหลีกเลี่ยงข้าวของเครื่องใช้ที่มีการผสมสารเคมี เช่น ปรอท สเตียรอยด์ หรือ
สารเคมที ีฤ่ ทธิ์เปน็ กรดอืน่ ๆ ดว้ ย

- 117 -

กลุ่มอาหารช่วยต้านโรคภมู แิ พ้ 6 กลมุ่ อาหารช่วยตา้ นโรคภมู ิแพ้
“โรคภมู แิ พ้” เปน็ โรคยอดฮติ ทค่ี นส่วนใหญใ่ นปัจจุบันป่วยกัน สาเหตมุ าจากพันธกุ รรมประกอบกับ

ชีวิตความเปน็ อยูแ่ บบสมัยใหม่และมลภาวะที่เพิ่มมากขึ้น ซ่ึงวธิ กี ารรกั ษาและการปอ้ งกนั มหี ลากหลายวธิ ี ตั้งแต่การ
ทานยา หลีกเลี่ยงตัวกระตุ้นอาการ ออกกำลังกายในวันนี้เราจึงมี 6 กลุ่มอาหารต้านโรคภูมิแพ้มานำเสนอ เป็นอกี
หนึ่งทางเลือกที่เหมาะสำหรับคนทีใ่ ส่ใจกับการดูแลรักษาร่างกายด้วยวธิ ีการทางธรรมชาติ อยากรู้ว่ามีกลุ่มอาหาร
อะไรบา้ งรบี อ่าน แล้วหามารบั ประทานกันเลย รู้จักโรคภูมแิ พ้ โรคภูมิแพ้เป็นกลุม่ ของโรคที่มีอาการแสดงได้หลาย
ระบบ เกิดจากความผิดปกติของร่างกายที่มีต่อสารก่อภูมิแพ้จากสิ่งแวดล้อม ทำให้เกดิ การสร้างภูมิท่ีไปกระตุ้นให้มี
การหลงั่ สารขึ้นที่เนื้อเยื่อตา่ งๆ ทำใหเ้ กิดการอกั เสบของอวัยวะ จนเกิดเป็นอาการต่างๆ ออกมา ซ่ึงอาการที่เกิดก็จะ
แตกต่างกัน ตามระดับความแพ้ อย่างลมพิษที่ผิวหนัง คัดจมูก คันตา เจ็บคอ บางรายอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
สำหรับสาเหตุเช่นนั้นเกิดจากกรรมพันธุ์และสารกอ่ ภมู ิแพ้ในสิง่ แวดล้อม แตส่ ารกอ่ ภมู แิ พ้ส่วนใหญ่ที่พบบ่อ เป็นส่ิงที่
หลีกเล่ยี งไดย้ าก ทำใหค้ นส่วนใหญเ่ ปน็ เรอ้ื รัง ฝุ่นละออง ละอองเกสร ขนสัตวเ์ ลี้ยง 6 อาหารตา้ นภมู ิแพ้

1 .กลมุ่ วิตามนิ ซ:ี วติ ามนิ ซี มีสว่ นช่วยในการปอ้ งกนั การหลั่งฮีสตามีน ซึ่งเป็นสาระสำคัญท่ีร่างกาย
สร้างขน้ึ และทำใหเ้ กิดอาการภูมแิ พ้อาหารเพม่ิ วิตามนิ ซี : ในผกั ใบเขียว เชน่ ตำลึง ผักโขม บร็อคโคลี กะหล่ำปลี ใน
ผลไม้รสเปรี้ยว เชน่ สับปะรด ส้ม สตรอเบอรี่ มะนาว โดยวัตถดุ บิ เหลา่ น้ีสามารถดัดแปลงเมนูได้ตามท่ีคุณต้องการ

2. กลุ่มวิตามินเอ: ช่วยในเรื่องการสร้างเนือ้ เยื่อ และช่วยเสริมสร้างเยื่อบุต่างๆ ของร่างกาย ปรับ
การทำงานของระบบภูมคิ ุ้มกันในทางเดินหายใจและทางเดินอาหารให้สมดุลอาหารเพิม่ วิตามิน : วิตามินชนิดนี้พบ
มากในกลุ่มผักผลไม้ที่มีสีเขียวเข้ม สีส้ม หรือสีเหลือง เช่น ฟักทอง แครอท มะละกอสุก มะม่วงสุก แคนตาลูป
มะเขอื เทศ เปน็ ตน้

3. กลุ่มโปรตีน : โปรตีนกลุ่มนี้สามารถช่วยสร้างภมู ิคุ้มกันร่างกายได้ เพราะหน่วยย่อยที่เล็กทีส่ ุด
ของโปรตนี คือกรดอะมิโน ซึ่งเป็นสารสำคญั ในการนำไปสร้างภูมิคุ้มกันต่างๆอาหารเพิม่ โปรตีน : อย่างที่ทราบกันดี
โปรตีนเป็นหนึ่งในอาหารหลัก 5 หมู่ ซึ่งจะมีมากในเนื้อสัตว์ที่เป็นเนื้อล้วน อย่างเนื้ออกไก่ เนื้อหมู และไข่ไก่
นอกจากนี้กย็ งั พบได้ในถว่ั ตา่ งๆ

4. กลุ่มโอเมก้า 3 : โอเมก้า 3 จะช่วยลดอาการอักเสบ ปรับภูมิคุ้มกันของร่างกาย ช่วยในการ
ตอบสนองต่อเชื้อโรค และสารแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายได้เป็นอยา่ งดี อาหารเพิ่มโอเมก้า 3 : คุณสามารถเลือก
ทานได้จาก ปลาทะเลน้ำลึก เช่น ปลาทู ปลาทูน่า ปลาแซลมอน ปลากะพง ซึ่งอาหารกลุ่มนี้อาจมีส่วนไปกระตุ้น
อาการภูมิแพ้ได้ ดังนั้นควรตรวจสอบให้แน่นอนก่อนว่าคุณแพ้อาหารทะเลหรือไม่ ส่วนกรดไขมันโอเมก้า 3 ก็มี
ประโยชนเ์ ชน่ กัน พบมากในเมล็ดทานตะวัน เมลด็ ฟกั ทอง ถว่ั เหลอื ง และผกั ใบสีเขยี วเข้ม

5. กลุ่มซีลิเนียม : สารอาหารกลุ่มนี้จะช่วยกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้ต่อสู้กับสิ่ง
แปลกปลอม หรือสารกระตุน้ ภูมิแพ้ได้อาหารเพิ่มซลี ิเนยี ม : พบมากในพืชตระกูลหอม เช่น หอมหัวใหญ่ หอมแดง
เป็นตน้

- 118 -

6. กลุ่มฟลาโวนอยด์เควอเซทิน : สารชนิดนี้เป็นสารต้านอาการแพ้และลดการอักเสบ ช่วยยับย้ัง
การปลอ่ ยสารฮสิ ตามินซึง่ ทำให้เกดิ อาการภมู แิ พ้ไดอ้ าหารเพมิ่ ฟลาโวนอยด์เควอเซทิน : พบมากในกระเทยี ม และพชื
ตระกลู หอม อยา่ งหอมหวั ใหญ่ หอมหัวแดง และในแครอทผักกาดหอม แอปเปิ้ล เป็นตน้

ทั้งนี้คำแนะนำนีเ้ หมาะกบั ผู้ท่ีไม่ไดแ้ พอ้ าหารเหล่านี้ หากไม่แน่ใจควรปรึกษาแพทย์ นอกจากการ
ทานอาหารตา้ นโรคภูมิแพ้เหลา่ น้แี ลว้ อย่าลืมออกกำลงั กาย พกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ และหลกี เลยี่ งตวั กระตุ้นอาการ รว่ ม
ดว้ ย เพ่อื ให้คณุ มรี ่างกายทีแ่ ขง็ แรงและไกลโรคอยา่ งแท้จริง

คำถามทา้ ยบท
1. สาเหตุของแผลไฟไหม้นำ้ รอ้ นลวกหรือการถูกความรอ้ นจากเปลวระเบิด ?
2. ระดับของแผลไฟไหมม้ ีกี่ระดับ อะไรบ้าง ?
3. จงอธิบายแผลไฟไหมร้ ะดบั ที่ ๒ ( Second degree burn) เปน็ อย่างไร ?
4. การปฐมพยาบาลบาดแผลไฟไหมร้ ะดับท่ี 3 ควรปฏิบัตอิ ยา่ งไร ?
5. โรคตดิ เชอ้ื อุบตั ิใหม่ ( Emernging Infectious Diseaases) หมายถงึ อะไรยกตัวอยา่ ง ?
6. จงอธิบายโรค Covid – 19 พร้อมวธิ ปี อ้ งกันมาพอสงั เขป ?
7. อาการของโรค Covid – 19 เป็นอย่างไร ?
8. ไข้เลือดออกอะไรเปน็ พาหะนำโรคและอาการแบ่งเปน็ กีร่ ะยะ ?
9. โรคภมู แพค้ อื อะไร ( Allergy) ?
10. วธิ กี ารปอ้ งกันโรคภมู แิ พค้ วรปฏิบตั ิอ

- 119 -

เอกสารอ้างองิ

โรงเรยี นเสนารกั ษ์ กรมแพทย์ทหารบก ความร้พู ืน้ ฐานของรา่ งกายมนุษย์ พ.ศ.2562
โรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก สัญญาณชีพ พ.ศ.2562
โรงเรยี นเสนารกั ษ์ กรมแพทย์ทหารบก การใชย้ าเบื้องตน้ พ.ศ.2562
โรงเรียนเสนารกั ษ์ กรมแพทย์ทหารบก ระบบทางเดนิ หายใจ,การหายใจและการชว่ ยเหลือ พ.ศ.2562
โรงเรยี นเสนารักษ์ กรมแพทยท์ หารบก ประเมินสถานภาพผปู้ ว่ ยฉุกฉนิ ขน้ั ต้น พ.ศ.2562
โรงเรยี นเสนารกั ษ์ กรมแพทย์ทหารบก การชีวิตขัน้ พื้นฐาน ( BLS) พ.ศ.2562
โรงเรยี นเสนารักษ์ กรมแพทยท์ หารบก การดูแลเบ้ืองต้นผ้ปู ว่ ยฉกุ เฉนิ พ.ศ.2562
โรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก การดูแลเบ้ืองต้นในผูป้ ว่ ยทไี่ ด้รับบาดเจ็บ พ.ศ.2562
โรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทยท์ หารบก การเสนารักษ์ พ.ศ.2562
โรงเรยี นเสนารกั ษ์ กรมแพทยท์ หารบก การชว่ ยเหลือผู้ปว่ ยทางยุทธวิธี ( TCCC ) พ.ศ.2562
โรงเรยี นเสนารักษ์ กรมแพทยท์ หารบก ทกั ษะในสนามรบ พ.ศ.2562
โรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก กิจเฉพาะ พ.ศ.2562
สำนกั งานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามยั พิทักษ์สภากาชาดไทย การปฐมพยาบาลฉุกเฉนิ และการก้ชู ีพข้ันพืน้ ฐาน
(Emergency First Aid and Basic CPR) พิมพ์ครัง้ ท่ี 1กรกฎาคม 2563

-----------------------------------------------------------------------------------

- 120 -

กรรมการผูจ้ ัดทำ

วชิ า การแพทย์ฉกุ เฉิน,การเสนารกั ษ์ และ
การชว่ ยชวี ติ เชงิ ยุทธวิธี ขัน้ พน้ื ฐาน

แผนกวิชาสามญั กศ.รร.นส.ทบ.

1. พ.อ. ประเสริฐ สนุ ันท์ชัยกุล ประธานกรรมการ
2. พ.อ. สรุ ินทร์ เศรษฐศักดาศิริ กรรมการ
3. พ.อ. ทวีศักดิ์ คงอยู่ กรรมการ
4. พ.อ. วัชรพล กาบกรณ์ กรรมการ
5. พ.ท. วนิ ยั เฟื่องฟู กรรมการ
6. พ.ท. สมพร เอมวงษ์ กรรมการ
7. พ.ท. อนุสรณ์ มังคสิงห์ กรรมการ
8. พ.ท. เจนรบ ลองจำนงค์ กรรมการ
9. ร.อ. วฒุ ิไกร ศรีมนั ตะ กรรมการ
10. พ.ท. สถติ ย์ เทยี มเมฆ กรรมการ/เลขานกุ าร
11. จ.ส.อ. ไกรฤทธิ์ คงทอง กรรมการ/ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร


Click to View FlipBook Version